Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 4

ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Introduction to International Relations


ความรู้เบือ้ งต้ นทางความสัมพันธ์ ระหว่ างประเทศ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธีวินท์ สุพุทธิกุล
ปั จจัยผลักดันพฤติกรรมรั ฐในเวที IR
Interested in IR
Security/military = Realism – Relative gain
Wealth/Welfare= Liberalism – Absolute gain
Status/Esteem = Constructivism

ภายใต้ สภาวะ Anarchy รั ฐอาจจะ…


Self-help
Balance of Power
Bandwagon with power = ผูกมิตรสัมพันธ์เข้าหารัฐมหาอำนาจ
Cooperation

Levels of Analysis in IR ---หน่ วยในการวิเคราะห์ จะแตกต่ างไปตามแต่ ละแนวคิดทฤษฎี


ที่ถูกใช้ ใน
การอธิบาย
มี 3 ระดับหลัก ๆ
1. Sub-state/Individual
2. State/Unit
3. Structure/System
*ในการวิเคราะห์ทาง IR ควรกำหนดหรื อเลือกระดับในการวิเคราะห์ที่ชดั เจนหรื ออาจจะ
ศึกษาแบบ Inter-mestic Analysis แบบเจาะจงเป็ นรายกรณี

Theory of IR

i. Realism
ii. Liberalism
ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1.Theory of Realism ---Neorealism by Kenneth N. Waltz

-สนใจตัวแสดง “รัฐ” เป็ นหลักในการวิเคราะห์เพราะรัฐเป็ น legitimate right for Violence


or legitimate use of force = รัฐผูกขาดการใช้ความรุ นแรงในเวทีโลกและภายในรัฐ
-ศึกษาแบบ State-Centric view
-มุ่งอธิ บายพฤติกรรมของรัฐจากระดับโครงสร้างซึ่งเป็ นตัวแปรถาวร หรื อ เป็ น Anarchy
(The absence of central authority)
-เป้ าหมายทุกรัฐ=ความอยูร่ อด+ความมัน่ คง*** = High Politics (เป็ นผลประโยชน์ที่ไม่
สามารถต่อรองหรื อประนีประนอมได้)
-รัฐเป็ นตัวแสดงที่มีเหตุมีผล (Rational actor) =มี การคำนวณผลได้-ผลเสี ยในการดำเนิ น
นโยบายต่างประเทศ
-มีการ Balance of Power ระหว่างรัฐ
-นำแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ มาใช้ในการอธิ บาย IR ผ่านทฤษฎีเกมส์ (Game Theory) โดยที่
แต่ละรัฐจะพยายามดำเนินนโยบายหรื อการกระทำเพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ของตนภายใต้กรอบของ
สภาวะอนาธิปไตย
-มองสภาวะ Anarchy ในเชิงลบ

ปัญหาการจัดการความมั่นคง
“Security Dilemma = ทางแพร่ งแห่ งความมั่นคง”
= ทางเลือกในการดำเนิ นนโยบายที่ยากจะตัดสิ นใจหรื อมีความลังเลในการดำเนิ นนโยบาย
1.อยูเ่ ฉย
2.เพิ่มพูนอำนาจและความมัน่ คง

ปัจจัยที่ก่อให้ เกิด security dilemma ในสภาวะ Anarchy


-ยากที่จะประเมิน offensive/defensive
ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-ยากทีจะประเมินศักยภาพที่แท้จริ งของอีกฝ่ าย/ยากที่จะคาดคะเนเจตนาที่แท้จริ ง
-รัฐให้ความสำคัญกับ Balance of Power ---> รัฐที่มีอำนาจมากถูกมอง = ภัย
คุกคาม
รัฐพยายามพัฒนาศักยภาพทางแสนยานุภาพเพือ่ ความทัดเทียม

International Cooperation in Realism aspects


-รัฐไม่อาจแน่ใจเจตนาที่แท้จริ งของรัฐอื่นได้ = หวาดระแวง ผิดสัญญา etc.
-ความร่ วมมือเป็ นไปได้ยากเพราะ รัฐต่างคำนึงถึง “ส่ วนต่างของผลได้” (gain)
- รัฐให้ความสำคัญกับ Relative gain > Absolute gain
ผลประโยชน์เชิงเปรี ยบเทียบ > ผลปย.เชิงสัมบูรณ์
***Relative gain = สนใจประโยชน์โดยเปรี ยบเทียบกับอีกฝ่ าย
(ฝ่ ายใดได้มากได้นอ้ ย ได้เปรี ยบหรื อเสี ยเปรี ยบ )
***Absolute gain = ขอให้ได้ประโยชน์ท้ งั สองฝ่ ายไม่สนได้มากหรื อน้อย
Neo-Realism จะมองและกังวลว่าอีกฝ่ ายจะได้มากกว่าตน

2. Theory of Neo-Liberal Institutionalism ----> Robert Keohane &


Joseph Nye 1970s

“ทำไมรัฐจึงร่ วมมือกันในสภาวะอนาธิปไตย”
ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

มี “International Institutions”= regime + IOS


(กฎเกณฑ์ +IOs)

Classical Liberalism or Idealism ----> จุดเริ่ มต้นของการศึกษา IR มาจากทฤษฎี


และแนวคิด
แบบ “Classical Liberalism”
-เชื่อในความก้าวหน้าของมนุษย์
-มนุษย์โดยธรรมชาติน้ น ั ดี มีเหตุผลเชิงคุณธรรม
-ส่ งเสริ มระบบปั จเจกชน สิ ทธิ ในการแสดงออกโดยเสรี
-แนวทางสู่ การเลี่ยงสงครามตามมุมมองของ Classical Liberalism
ตั้ง “สถาบันระหว่ างประเทศ” = ช่ วยลดความหวาดระแวง

= The establishment of LN after the end of


WWI 1918
-การติดต่อสื่ อสารระหว่างรัฐ
-กำลังทหารมีบทบาทลดลง ให้ความสำคัญกับความร่ วมมือ

You might also like