แนวข้อสอบ ผคค.น้ำ 01

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

แนวข้อสอบ* “ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษทำงนำ”

( *สรุปจำกกำรสอบ ศูนย์ ศสอ.จุฬำฯ ควรใช้เป็นแนวทำงประกอบกำรอ่ำนหนังสือ )


[1] แนวทางในการอ่านหนังสือ อ้างอิงจาก ขอบเขตเนื้อหาของข้อสอบมาตรฐานเพื่อขึ้นทะเบียนผู้ควบคุมระบบบาบัดมลพิษประจาปี พ.ศ. 2554

แต่ในขอบเขตปี 2554 มี 8 บท หนังสือปัจจุบัน พิมพ์ครั้งที่ 8/2561 มี 9 บท เพิ่มบท 6 เครื่องจักรและอุปกรณ์ในระบบบาบัด

http://ehwm-exam.com/downloads/UP2.pdf ***เน้นบทที่3, 5 และ 7 ใช้เก็บคะแนนได้ดี***

บทที่ 1 สถานการณ์มลพิษน้า (เนื้อหาร้อยละ 5) [1]


หน้ำ
(1-1) Self-purification = การทาความสะอาดตัวเองของแม่น้า
สาเหตุหลักของแหล่งน้าเสื่อมโทรม= ขาดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนัก
(1-2) WQI คืออะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง?
ตารางที่ 1.1 ค่าดัชนี WQI
(1-12) ตารางที่ 1.15 ดัชคุณภาพน้าทะเล (ข้อสอบถามข้อใดถูกต้อง ภาพรวมเป็นอย่างไร )
(1-13) การรั่วไหลของน้ามัน แท่นเจาะแม็กซิโกใช้กระบวนการใดบาบัด = ชีววิทยา
(1-14) สาเหตุแม่น้าแม่กลองเน่าเสีย = โรงงานน้าตาลริมแม่น้า
(1-16) Eutropication สาเหตุคือ = ปริมาณธาตอาหารเกิน ( N P )

บทที่ 2 มลพิษน้าและผลกระทบ (เนื้อหาร้อยละ 5) [1]


หน้ำ
(2-1) Algee Bloom สาเหตุคือ = ปริมาณธาตอาหารเกิน ( N P ) ทาให้สาหร่ายเติบโตรวดเร็ว
(2-7) ค่าสมมูลประชากร คือ = ดูสูตรและหน่วยของค่าสมมูลประชากร
กลไกการทาความสะอาดตัวเองของแม่น้า = กลไก 4 ระยะ, ค่า DO, กราฟ รูปที่ 2.1
ข้อสอบมี ให้ข้อมูลมีโรงงานตั้งริมแม่น้า A B C มีระยะห่างบอก, โรงไหน DO ต่าสุด
(2-9) สารที่ทาให้รสและกลิ่นของน้าเปลี่ยนไป = สปก.ฟีนอล
(2-10) ตารางที่ 2.7 สารมลพิษ เน้น วิธีการบาบัดสารพิษแต่ละชนิด
(2-13) ปัญหาสภาวะโลกร้อน ก๊าซที่ก่อให้เกิดสภาวะโรคร้อน
บทที่ 3 กฎหมายเกี่ยวกับมลพิษน้าจากภาคอุตสาหกรรม (เนื้อหาร้อยละ 15) [1]
หน้ำ
(3-7) โทษ รายงานผลเท็จ จาคุก 2 ปี ปรับ 200,000 , กิจการก่อให้เกิดอันตราย จาคุก 1 ปี ปรับ
100,000
(3-14) ตำรำง 3.2 ประเภทของแหล่งน้า 5 ประเภท แบ่งตามการนาไปใช้ประโยชน์ได้
(3-17) หัวข้อประเภทของแหล่งน้าในแม่น้าต่างๆ ดูตาราง และแผนที่ คร่าวๆ
(3-28) พรบ.โรงงาน 2535 กาหนด “ห้ามระบายน้าทิ้งออกนอกโรงงานเว้นแต่บาบัดแล้ว แต่ต้อง
ไม่ใช่กำรเจือจำง”
(3-29) ตารางค่ามาตรฐานน้าทิ้งโรงงาน เน้น pH TDS SS BOD TKN COD อุณหภูมิ
(3-30) ค่าที่มีการยกเว้นให้ รง.บางประเภท ปล่อยได้มากกว่าค่ามาตรฐานปกติ คือ BOD5 COD
TKN อ่านตำรำงที่ 3.11 ค่าแตกต่างได้เท่าไหร่ และ ค่านั้นๆ ยกเว้นให้โรงงานประเภทใดบ้าง
(3-38) กฎหมาย อุปกรณ์ online monitoring อ่าน โรงงานใดต้องติด และตำรำงที่ 3.15 โรงใดติด
BOD โรงใดติด COD
(3-41) ตำรำงที่ 3.16 ขนาดโรงงานที่ต้องมีบุคลากร สวล. จาแค่ปริมาณของเสีย ไม่เน้นรายละเอียด
(3-43) ตำรำงที่ 3.17 หน้าที่ของ ผู้จัดการสวล. ผู้ควบคุมระบบบาบัด ผู้ปฏิบัติงานประจาระบบ
เน้นจาว่า ผจก.สวล. จะเน้นงานรับรองรายงาน จัดทาแผนฉุกเฉินไม่มีหน้าที่ทารายงาน ผู้
ควบคุมจะตรวจสอบควบคุมระบบ จัดทารายงานผล แต่ไม่ต้องปฏิบัติงานที่เครื่องจักร เป็น
หน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานประจาระบบ
(3-48) พารามิเตอร์ที่ ต้องรายงานใน รว.1 รว.2 และ กาหนดการส่งรายงานให้ กรอ.

บทที่ 4 การป้องกันมลพิษด้วยเทคโนโลยีสะอาด (เนื้อหาร้อยละ 5) [1]


บทนี้รายละเอียดเนื้อหาที่เป็นตัวอย่างการทาเทคโนโลยีสะอาดต่างๆ ไม่ค่อยออก(อาจจะไม่ต้องอ่าน
เนื้อหา) เน้นความหมายของและหลักการเบื้องต้นของกระบวนการต่างๆเช่น CT, P2, KAIZEN, PDCA หัวข้อ
4.8 สรุปและตำรำงที่ 4.15 ในหน้าที่ (4-41)

บทที่ 5 การบ้าบัดน้าเสีย (เนื้อหาร้อยละ 20) [1]


หน้ำ
(5-1) คาสาคัญ ความหมาย และควรจาศัพท์อังกฤษด้วย
(5-2) ระบบบาบัด ขั้นต้น สอง สาม สุดท้าย แต่ละอันมีระบบอะไร
ข้อสอบ(3/62)ออกเป็นศัพท์อังกฤษของระบบ และถามว่า ข้อใดเรียงระบบการบาบัดถูกต้อง
ทริคจาว่า กระบวนการฆ่าเชื้อโรคด้วย Ozone, ครอรีน จะเป็นขั้นสุดท้าย
(5-4) ตำรำงที่ 5.1 เน้นจากระบวนการต่างๆเป็นศัพท์อังกฤษเลย
(5-7) ลักษณะทางกายภาพ ชีวภาพ ของน้าเสียควรอ่านทั้งหมด หน้าที่ 5-7 ถึง 5-11
(5-15) คาสาคัญ ความหมาย และหลักการคร่าวๆทางกายภาพ และควรจาศัพท์อังกฤษด้วย
(5-21) จำรูป5.10 ข้อสอบ(3/62)จะมีรูป และชี้ลูกศรถามว่าตรงนั้นคืออะไร เช่น scraper, scum
baffle
(5-22) คาสาคัญ ความหมาย และหลักการคร่าวๆทางกายเคมี และควรจาศัพท์อังกฤษด้วย
หลักการรวมตะกอน chemical coagulation ส่วนประกอป 3 ส่วน ถังกวนเร็ว-เติมสาร
ถังกวนช้า-สร้างตะกอน+รวมตะกอน ถังตกตะกอน , coagulant และ coagulant aid คือ
มีอะไรบ้าง
Jar test เพื่อ = หาปริมาณสารเคมีที่เหมาะสมและ pH ที่เหมาะสม ในการตกตะกอน
(5-24) ตกตะกอนผลึก chemical precipitation ใช้ ด่าง ปูนขาวนิยมกว่า ปลอดภัยกว่า
ฟล็อคใหญ่กว่า
(5-28) oxidation-reduction สารออกซิไดซ์ สารรีดิวซ์ so2 รีดิวซ์ cr6+ เป็น cr3+ ที่พิษน้อยกว่า
(5-30) คาสาคัญ ความหมาย และหลักการคร่าวๆทางชีวภาพ และควรจาศัพท์อังกฤษด้วย
Nitrification คือ ไนโตโซโมแนส เปลี่ยนแอมโมเนีย NH3 เป็น ไนไทรต์ NO2-
จากนั้น ไนโตรแบคเตอร์ เปลี่ยนไนไทรต์ NO2- เป็น ไนเทรต NO3-
Denitrification คือ การเปลี่ยน ไนเทรต NO3- เป็นไนโตรเจน N2
F/M, HRT, SRT จาเป็นสูตร ข้อสอบช้อยส์ออกแนวคล้ายๆกับสูตรที่เป็นตัวหนังสือ
ความหมาย

(5-33) การบาบัดแบบใช้อากาศ โดยจุลินทรีย์ องค์ประกอบคือ C5H7NO2 1 กรัม ใช้ O2 1.42 กรัม


(5-48) ขั้นตอนในการย่อยสลายแบบไม่ใช้อากาศ 4 ขั้นตอน (รูปประกอบหน้า 5-49)
Hydrolysis -> ย่อย สปก. โมเลกุลใหญ่
Acidogenesis -> สร้างกรดไขมัน VFA
Acitogenesis -> กรดไขมัน VFA ถูกนาไปสร้างเป็นอซิติก
Methanogenesis -> สร้างมีเทน
(5-58) จารูปที่ 5.44 ข้อสอบ(3/62) มีรูปแบบนี้ให้ และถามว่าโซนไหนแป็น แฟคัลทีฟ แอโรบิค
แอนแอโรบิค
(5-63) การบาบัดแบบน้าเสียไหลแนวดิ่ง ตั้งฉากกับชั้นกรอง คือ = แบบ VF
ระบบบาบัดแต่ละอย่างในบทนี้ จากหน้า 5-34 ถึง 5-65 เน้นอ่านหลักการบาบัด ข้อดี
ข้อเสีย ค่าตัวเลขทีใ่ ช้ในการออกแบบน่าจะไม่ค่อยออก
(5-66) ลักษณะตะกอน ถังตกตะกอนขั้นแรกจะเหม็น เป็นเมือก ย่อยง่าย, จากการรวมตะกอน จะ
แตกต่างตามชนิดโลหะ, จากระบบแบบใช้อากาศ AS TF RBC จะสีน้าตาล เป็นปุ๋ย ไม่มีกลิ่น
แต่ถ้าหยุดเติมอากาศจะเหม็นอย่างรวดเร็ว กลายเป็นสีดา, แบบไม่ใช้อากาศ สีน้าตาลแก่ปน
ดา กลิ่นจางๆ
(5-67) รูปที่ 5.49 จาขั้นตอนเป็นศัพท์อังกฤษ และอ่านรายละเอียดขั้นตอนคร่าวๆ หน้า 68ถึง72
(5-73) การบาบัดเฉพาะเรื่อง ทั้งหมด เน้นแค่หลักการ ว่าใช้สารอะไรบาบัดอะไร ไม่เน้นรายละเอียด

บทที่ 6 เครื่องจักรและอุปกรณ์ (เนื้อหาร้อยละ 5) [1]


หน้ำ
(6-2) PI Diagram คือ แสดงอุปกรณ์และเครื่องจักร ข้อสอบมีรูปแล้วถามว่าตรงนั้นคืออะไร
เครื่องจักรและอุปกรณ์แต่ละอย่างในบท6 จาว่าใช้ทาอะไร แค่นั้น การตรวจสอบ แก้ไข ส่วนใหญ่จะ
เป็นการตรวจซ่อมเครื่องจักร และติดต่อผู้ขาย(ซึ่งจะไม่ใช่หน้าที่โดยตรงของผู้ควบคุมระบบ จึงอาจไม่ออกสอบ)

บทที่ 7 การควบคุมดูแลระบบบ้าบัดน้าเสีย (เนื้อหาร้อยละ 15) [1]


หน้ำ
(7-3) Hydraulic profile คือ ผังที่มีการแสดงระดับน้าในส่วนต่างๆของระบบบาบัดน้าเสีย
(7-9) ข้อสอบ (3/62) ออกสอบให้หาค่า BOD เฉลี่ย
(7-17) จาชนิดจุลินทรีย์ และรายละเอียดรูป7.4
*ข้อสอบคานวณจากบทที่7 น่าจะออกที่สูตรเล็กๆ เช่น F/M, HRT, SRT ไม่แอดวานซ์แบบตัวอย่างใหญ่ๆ*
(7-18) จาลักษณะของตะกอน กลิ่น ฟอง ของระบบเอเอส และระบบอื่นๆ จนถึงหน้า 7-20
(7-21) BOD:N:P:Fe ระบบบาบัด*ใช้อากาศ* คือ 100 : 5 : 1 : 0.5
(7-23) BOD:N:P ระบบบาบัด*ไม่ใช้อากาศ* คือ 100 : 1.1 : 2
(7-46) ตำรำง7.3 ปัญหาและวิธีแก้ไข เน้นจาตารางนี้

บทที่ 8 การตรวจสอบคุณภาพน้าเสียโรงงานเบืองต้น (เนื้อหาร้อยละ 5) [1]


บทนี้จาวิธีการเก็บรักษาตัวอย่าง และเวลาที่เก็บไว้ได้ ส่วนการทดลองวิเคราห์คุณภาพน้า เน้นจาหลัก
การของการทดลองนั้นๆ ข้อสอบ(3/62)มีออกหลักการ aas แบบย่อ , หน้า 8-52 การปัดตัวเลขในรายงานผล
ทดลอง และหน้า 8-47 การควบคุมคุณภาพการทดสอบ(ถามว่าวิธีใดไม่ใช่การควบคุมคุณภาพ)

บทที่ 9 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (เนื้อหาร้อยละ 5) [1]


บทนี้อ่านผ่านๆได้เลย เนื้อหาไม่ยาก ไม่ต้องจาเยอะ คล้ายๆบทที่ 4

You might also like