ส่วนหน้า แผนฯ คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 39

พิเศษ 1

คำนำ
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว
้ ัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้สถานศึกษานำไปใช้
เป็ นกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนการจัดการเรียน
การสอนและจัดกิจกรรม
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาผูเ้ รียนให้มีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ตามเป้ าหมายของหลักสูตร ตลอดจนให้เกิดผลสำเร็จตามเจตนารมณ์
ของการปฏิรูปการศึกษา ดังนัน
้ ขัน
้ ตอนการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปปฏิบัติ
จริงในชัน
้ เรียนของครูผู้สอนจึงจัดเป็ นหัวใจสำคัญในการพัฒนาผู้เรียน

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด ได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้


รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 เล่ม 1 ขึน
้ เพื่อให้ครูผู้สอนใช้เป็ นแนวทางวางแผน
จัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยจัดทำเป็ นหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและ
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ (Backward
Design) ตลอดจนเน้นกิจกรรมแบบ Active Learning อันจะช่วยให้ผู้
ปกครองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถมั่นใจในผลการเรียนรู้และคุณภาพ
ของผู้เรียนที่มีหลักฐานตรวจสอบผล
การเรียนรู้อย่างเป็ นระบบ

ผู้สอนสามารถนำแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี ้ ไปเป็ นแนวทางวางแผน


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบการใช้หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 เล่ม 1 ที่ทางบริษัทจัดพิมพ์จำหน่าย โดย

พิเศษ 2
ทัง้ นีก
้ ารออกแบบการเรียนรู้ (Instructional Design) ได้ดำเนินการตาม
กระบวนการ ดังนี ้

1 หลักการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยจะกำหนดผลการเรียนรู้ไว้เป็ นเป้ าหมายใน
การจัดการเรียนการสอน ผูส ้ อนจะต้องศึกษาและวิเคราะห์รายละเอียดของ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัดทุกข้อว่า ระบุให้ผเู้ รียนต้องมีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องอะไร และต้องสามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัดที่
เกิดขึน
้ กับผู้เรียนจะนำไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ด้านใดแก่ผู้เรียน
มาตรฐานการเรียนรู้
ผู้เรียนรู้อะไร
และตัวชีว
้ ัด
ผู้เรียนทำ
นำไป อะไรได้
สู่

สมรรถนะสำคัญของผู้ คุณลักษณะอันพึง
น จกรรมการเรียนรูประสงค์
2 หลักการจัเรีดยกิ ้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
เมื่อผู้สอนวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัด และ
ได้กำหนดเป้ าหมายการจัดการเรียนการสอนเรียบร้อยแล้ว จึงกำหนด
ขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนลงมือ
ปฏิบัติตามขัน ้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้จนบรรลุมาตรฐาน
และตัวชีว้ ัดทุกข้อ
มาตรฐานการเรียนรู้ หลักการจัดการเรียน
เป้ าหมาย
และตัวชีว้ ัด เน้นผู้เรูรี้ยนเป็ นสำคัญ
การเรียนรู้
สมรรถนะสำคัญของ สนองความแตกต่าง
และการ
ผู้เรียน ระหว่างบุคคล
คุณลักษณะอันพึง พัฒนา
เน้นพัฒนาการทางสมอง
ประสงค์ คุณภาพ
กระตุ้นการคิด
ของผู้เรียน ของผู้เพิรีเยศษ
น 3
เน้นความรู้คู่คุณธรรม
3 หลักการบูรณาการกระบวนการเรียนรู้สู่ผลการเรียนรู้
เมื่อผู้สอนกำหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนไว้แล้ว จึงกำหนดรูปแบบการเรียนการสอนและ
กระบวนการเรียนรู้ ที่จะฝึ กฝนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ บรรลุตามมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชีว้ ัด โดยเลือกใช้กระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัดที่เป็ นเป้ าหมายในหน่วยนัน ้ ๆ เช่น
กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเผชิญสถานการณ์และการแก้ปัญหา
กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย
กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการทางสังคม ฯลฯ กระบวนการเรียนรู้
ที่มอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัตินน ั ้ จะต้องนำไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะ
สำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้ที่
กำหนดไว้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้

4 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วย
ผู้สอนต้องกำหนดขัน ้ ตอนและ
วิธีปฏิบัติให้ชัดเจน โดยเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือฝึ กฝนและฝึ กปฏิบัติมากที่สุด
ตามแนวคิดและวิธีการสำคัญ คือ
1)การเรียนรู้ เป็ นกระบวนการทางสติปัญญา ที่ผู้เรียนทุกคนต้องใช้
สมองในการคิดและทำความเข้าใจ
ในสิ่งต่าง ๆ ร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ทดลองค้นคว้า จนสามารถสรุป
เป็ นความรู้ได้ด้วยตนเอง และ
สามารถนำเสนอผลงาน แสดงองค์ความรู้ที่เกิดขึน ้ ในแต่ละหน่วยการ
เรียนรู้ได้

2)การสอน เป็ นการเลือกวิธีการหรือกิจกรรมที่เหมาะสมกับการเรียนรู้


ในหน่วยนัน
้ ๆ และที่สำคัญ คือ ต้องเป็ นวิธีการที่สอดคล้องกับสภาพผู้
พิเศษ 4
เรียน ผู้สอนจึงต้องเลือกใช้วิธีการสอน เทคนิคการสอน และรูปแบบ
การสอนอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้
ได้อย่างราบรื่นจนบรรลุตัวชีว้ ัดทุกข้อ
3)รูปแบบการสอน ควรเป็ นวิธีการและขัน ้ ตอนฝึ กปฏิบัติที่ส่งเสริมหรือ
กระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถคิดอย่างเป็ นระบบ เช่น รูปแบบการสอนแบบ
สืบเสาะหาความรู้ (5Es) รูปแบบการสอนโดยใช้การคิดแบบ
โยนิโสมนสิการ รูปแบบการสอนแบบ CIPPA Model รูปแบบการเรียน
การสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้
แบบ 4MAT รูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค JIGSAW,
STAD, TAI, TGT
4)วิธีการสอน ควรเลือกใช้วิธีการสอนที่สอดคล้องกับเนื้อหาของบท
เรียน ความถนัด ความสนใจ และสภาพปั ญหาของผูเ้ รียน วิธีสอนที่ดี
จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลการเรียนรู้ตามในระดับผลสัมฤทธิท ์ ี่
สูง เช่น วิธีการสอนแบบบรรยาย การสาธิต การทดลอง การอภิปราย
กลุ่มย่อย การแสดงบทบาทสมมติ การใช้กรณีตัวอย่าง การใช้
สถานการณ์จำลอง การใช้ศูนย์การเรียน การใช้บทเรียนแบบโปรแกรม
เป็ นต้น
5)เทคนิคการสอน ควรเลือกใช้เทคนิคการสอนที่สอดคล้องกับวิธีการ
สอน และช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาในบทเรียนได้ง่ายขึน ้ สามารถ
กระตุ้นความสนใจและจูงใจให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้
อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการใช้ผังกราฟิ ก (Graphic
Organizers) เทคนิคการเล่านิทาน การเล่นเกมเทคนิคการใช้คำถาม
การใช้ตัวอย่างกระตุ้นความคิด การใช้ส่ อ ื การเรียนรู้ที่น่าสนใจ เป็ นต้น
6)สื่อการเรียนการสอน ควรเลือกใช้ส่ อ ื หลากหลายกระตุ้นความสนใจ
และทำความกระจ่างให้เนื้อหาสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ และเป็ น
เครื่องมือช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตัวชีว้ ัดอย่างราบรื่น เช่น
สื่อสิง่ พิมพ์ เอกสารประกอบการสอน แถบวีดิทัศน์ แผ่นสไลด์
คอมพิวเตอร์ VCD LCD Visualizer เป็ นต้น ควรเตรียมสื่อให้
ครอบคลุมทัง้ สื่อการสอนของครูและสื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน

5 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบย้อนกลับตรวจสอบ
พิเศษ 5
เมื่อผู้สอนวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ รวมถึงกำหนดรูปแบบการ
เรียนการสอนไว้เรียบร้อยแล้ว จึงนำเทคนิควิธีการสอน วิธีจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ไปลงมือจัดการเรียนการสอน ซึ่งจะนำผู้เรียนไปสู่
การสร้างชิน ้ งานหรือภาระงาน เกิดทักษะกระบวนการและสมรรถนะสำคัญ
ตามธรรมชาติวิชา รวมทัง้ คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัดที่เป็ นเป้ าหมาย
ของหน่วยการเรียนรู้ ตามลำดับขัน ้ ตอนการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ ดังนี ้

จากเป้ าหมาย
หลักฐานชิน้ งาน/ภาระ
และหลักฐาน เป้ าหมายการเรียนรู้
งาน
คิดย้อนกลับ ของหน่วย
แสดงผลการเรียนรู้ของ
สู่จุดเริ่มต้น
หน่วย
ของกิจกรรม
แสดงผลการ
การเรียนรู้ จากกิจกรรม
4 กิจกรรม คำถามชวน
3 กิจกรรมเรีคำถามชวน
ยนรู้ของหน่วย
คิด การเรียนรู้
คิด
2 กิจกรรม คำถามชวน ทีละขัน
้ บันได
คิด
1 กิจกรรม คำถามชวน สู่หลักฐานและ
คิด เป้ าหมายการ
เรียนรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ นอกจากจะเปิ ดโอกาสให้ผู้
เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงแล้ว จะต้องฝึ กฝนกระบวนการคิดทุกขัน
้ ตอน โดยใช้
เทคนิคการตัง้ คำถามกระตุ้นความคิด และใช้ระดับคำถามให้สัมพันธ์กับ
เนื้อหาการเรียนรู้ ตัง้ แต่ระดับความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การ
วิเคราะห์ การประเมินค่า และ
การสร้างสรรค์ นอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจบทเรียนอย่างลึกซึง้

พิเศษ 6
แล้วยังเป็ นการเตรียมความพร้อม
เพื่อสอบ O-NET ซึ่งเป็ นการทดสอบระดับชาติที่เน้นกระบวนการคิดระดับ
วิเคราะห์ด้วย และในแต่ละแผนการเรียนรู้จึงมีการระบุคำถามเพื่อกระตุ้น
ความคิดของผู้เรียนไว้ด้วยทุกกิจกรรม ผู้เรียนจะได้ฝึกฝนวิธีการทำข้อสอบ
O-NET ควบคู่ไปกับการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามผลการเรียนรู้ที่สำคัญ

ทัง้ นีก
้ ารออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยจะครอบคลุม
กิจกรรมการเรียนรู้ และ
การประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และ
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางฯ การศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 พร้อมทัง้ ออกแบบเครื่องมือการวัดและประเมินผล
ตลอดจนแบบบันทึกผลการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ไว้ครบถ้วน สอดคล้องกับ
มาตรฐานด้านคุณภาพผูเ้ รียน เช่น
แบบบันทึกผลด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการอ่านและแสวงหาความรู้ ด้าน
สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร เป็ นต้น ผูส
้ อน
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้ประกอบการจัดทำ
รายงาน
การประเมินตนเอง (Self Assessment Reports) จึงมั่นใจอย่างยิ่งว่า การนำ
แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนีไ้ ป
์ างการเรียนของ
เป็ นแนวทางจัดการเรียนการสอนจะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิท
นักเรียนให้สูงขึน
้ ตามมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาทุกประการ

คณะผู้จัดทำ

พิเศษ 7
สารบัญ
หน้า
สรุปหลักสูตรฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พิเศษ 1-2

ตัวชีว
้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
พิเศษ 3

คำอธิบายรายวิชา คณิตศาสตร์ ม.5 พิเศษ 4

โครงสร้างรายวิชา คณิตศาสตร์ ชัน


้ ม.5 พิเศษ 5-6

โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา คณิตศาสตร์ ม.5 พิเศษ 7-


13

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟั งก์ชัน
ตรีโกณมิติ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 การวัดความยาวส่วนโค้งและพิกัดของจุดปลาย
ส่วนโค้ง 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ค่าของ
ฟั งก์ชันไซน์และฟั งก์ชันโคไซน์ 19
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ฟั งก์ชันตรีโกณมิติอ่ น
ื ๆ 31
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ฟั งก์ชันตรีโกณมิติของมุม 41
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การใช้
ตารางค่าฟั งก์ชันตรีโกณมิติ 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 กราฟของฟั งก์ชันตรีโกณมิติ 60

พิเศษ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 ฟั งก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของ
จำนวนจริงหรือมุม 69
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ฟั งก์ชัน
ตรีโกณมิติของสองเท่า สามเท่า และครึ่งเท่าของจำนวนจริง 76
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างผลบวก ผลต่าง
84
และผลคูณของฟั งก์ชันตรีโกณมิติ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ตัวผกผันของฟั งก์ชันตรีโกณมิติ 91
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เอกลักษณ์ตรีโกณมิติและสมการตรีโกณมิติ
99
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 กฏของไซน์และโคไซน์ 105
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 การหาระยะและความสูง 113

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เมทริกซ์
123
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ระบบ
สมการเชิงเส้น 139

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เม
ทริกซ์ 145
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เมทริกซ์
ผกผัน 165
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ดีเทอร์มิ
แนนต์ 174
หน้า

พิเศษ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การใช้เม
ทริกซ์แก้ระบบสมการเชิงเส้น 186

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวกเตอร์
ในสามมิติ 200
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ระบบ
พิกัดฉากสามมิติ 215
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เวกเตอร์
227
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เวกเตอร์ใน
ระบบพิกัด 240
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ผลคูณเชิง
สเกลาร์ 255
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 ผลคูณ
เชิงเวกเตอร์ 269
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การนำเวกเตอร์ในสามมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา
278

พิเศษ 10
สรุปหลักสูตรฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ *
คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อความสำเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
เนื่องจากคณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็ นระบบ มีแบบแผน สามารถ
วิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้
อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา ได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม และสามารถนำไปใช้
ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี ้ คณิตศาสตร์ยังเป็ นเครื่องมือในการ
ศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อ่ น
ื ๆ อันเป็ นรากฐานในการพัฒนา
ทรัพยากรบุคคลของชาติให้มีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ทัดเทียม
กับนานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์จึงจำเป็ นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อ
ให้ทน
ั สมัยและสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัฒน์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช
2551 จัดทำขึน
้ โดยคำนึงถึงการส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีทก
ั ษะทีจ
่ ำเป็ นสำหรับ
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็ นสำคัญ นัน
่ คือ การเตรียมผูเ้ รียนให้มท
ี ก
ั ษะด้านการคิด
วิเคราะห์ การคิดอย่างมีวจ
ิ ารณญาณ
การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสารและการร่วมมือ ซึ่ง
ส่งผลให้ผู้เรียนรู้เท่าทันการเปลีย
่ นแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ
สภาพแวดล้อม สามารถแข่งขันและอยู่ร่วมกับประชาคมโลกได้ ทัง้ นีก
้ ารจัด
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ประสบความสำเร็จนัน
้ จะต้องเตรียมผู้เรียนให้มีความ
พร้อมที่จะเรียนรู้สง่ิ ต่าง ๆ พร้อมทีจ
่ ะประกอบอาชีพเมื่อจบการศึกษา หรือสามารถ
ศึกษาต่อในระดับทีส
่ งู ขึน
้ ดังนัน
้ สถานศึกษาควรจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมตาม
ศักยภาพของผู้เรียน

พิเศษ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐานพุทธศักราช 2551 ได้จัดเป็ น 3 สาระ ดังแผนภาพ
ต่อไปนี ้
สาระที่ 2 การวัด
และเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 - ค
2.2

สาระที่ 1 จำนวน
กลุ่มสาระการ
และพีชคณิต
เรียนรู้ สาระที่ 3 สถิติและความ
มาตรฐาน ค 1.1 - ค
น่าจะเป็ น
คณิตศาสตร์
1.3
มาตรฐาน ค 3.1 - ค 3.2

คณิตศาสตร์เพิ่มเติม - สาระจำนวนและพีชคณิต - สาระการวัดและเรขาคณิต - สาระ


สถิติและความน่าจะเป็ น - สาระแคลคูลัส

* สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวชีว


้ ัดและสาระการ
เรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย, 2560)

พิเศษ 2
พิเศษ 3
ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม *

สาระจำนวนและพีชคณิต
1. เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ
ของจำนวน ผลที่เกิดขึน
้ จากการ
ดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้
ชั ้
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

ม. 1. เข้าใจจำนวนเชิงซ้อนและ จำนวนเชิงซ้อน
5 ใช้สมบัติของ - จำนวนเชิงซ้อนและสมบัติของ
จำนวนเชิงซ้อนในการแก้ จำนวนเชิงซ้อน
ปั ญหา - จำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขัว้
2. หารากที่ n ของ - รากที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน เมื่อ n
จำนวนเชิงซ้อน เมื่อ n เป็ นจำนวนนับที่
เป็ นจำนวนนับที่มากกว่า 1 มากกว่า 1

2. เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และ


นำไปใช้
ชั ้
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

ม. 1. เข้าใจฟั งก์ชันตรีโกณมิติ ฟั งก์ชันตรีโกณมิติ
5 และลักษณะกราฟ - ฟั งก์ชันตรีโกณมิติ
ของฟั งก์ชันตรีโกณมิติ และ - ฟั งก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
นำไปใช้ในการ
แก้ปัญหา

พิเศษ 4
* สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวชีว
้ ัดและสาระการ
เรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย, 2560)

3. ใช้นพ
ิ จน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้
ปั ญหาที่กำหนดให้
ชั ้
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

ม. 1. แก้สมการตรีโกณมิติ และ ฟั งก์ชันตรีโกณมิติ
5 นำไปใช้ใน - เอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ
การแก้ปัญหา - กฎของโคไซน์และกฎของไซน์
2. ใช้กฎของโคไซน์และกฎ
ของไซน์ใน
การแก้ปัญหา
3. เข้าใจความหมาย หา เมทริกซ์

พิเศษ 5
ผลลัพธ์ของการบวก - เมทริกซ์ และเมทริกซ์สลับเปลี่ยน
เมทริกซ์ การคูณเมทริกซ์ - การบวกเมทริกซ์ การคูณเมทริกซ์กับ
กับจำนวนจริง จำนวนจริง การคูณ
การคูณระหว่างเมทริกซ์ ระหว่างเมทริกซ์
และหาเมทริกซ์ - ดีเทอร์มิแนนต์
สลับเปลี่ยน หาดีเทอร์มิ - เมทริกซ์ผกผัน
แนนต์ของเมทริกซ์ - การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เม
n × n เมื่อ n เป็ น ทริกซ์
จำนวนนับที่ไม่เกินสาม
4. หาเมทริกซ์ผกผันของเม
ทริกซ์ 2 × 2
5. แก้ระบบสมการเชิงเส้น
โดยใช้เมทริกซ์
ผกผัน และการดำเนินการ
ตามแถว
6. แก้สมการพหุนามตัวแปร จำนวนเชิงซ้อน
เดียวดีกรีไม่เกินสี่ - สมการพหุนามตัวแปรเดียว
ที่มีสัมประสิทธิเ์ ป็ น
จำนวนเต็ม และนำไปใช้
ในการแก้ปัญหา

สาระการวัดและเรขาคณิต
1. เข้าใจเวกเตอร์การดำเนินการของเวกเตอร์ และนำไปใช้
ชั ้
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

พิเศษ 6
ม. 1. หาผลลัพธ์ของการบวก เวกเตอร์ในสามมิติ
5 การลบเวกเตอร์ - เวกเตอร์ นิเสธของเวกเตอร์
การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลร์ - การบวก การลบเวกเตอร์ การคูณ
หาผลคูณเชิง เวกเตอร์ด้วยสเกลาร์
สเกลาร์ และผลคูณเชิงเวก - ผลคูณเชิงสเกลาร์ ผลคูณเชิงเวก
เตอร์ เตอร์
2. นำความรู้เกี่ยวกับเวกเตอร์
ในสามมิติไปใช้
ในการแก้ปัญหา

สาระสถิติและความน่าจะเป็ น
1. เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็ น และนำไปใช้
ชั ้
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

ม. 1. เข้าใจและใช้หลักการการ หลักการนับเบื้องต้น
5 บวกและการคูณ - หลักการบวกและการคูณ
การเรียงสับเปลี่ยน และ - การเรียงสับเปลี่ยน
การจัดหมู่ในการ  การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น
แก้ปัญหา  การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลมกรณี
ที่สิ่งของแตกต่างกัน
ทัง้ หมด

พิเศษ 7
- การจัดหมู่กรณีที่สิ่งของแตกต่างกัน
ทัง้ หมด
- ทฤษฎีบททวินาม
2. หาความน่าจะเป็ นและนำ ความน่าจะเป็ น
ความรู้เกี่ยวกับ - การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
ความน่าจะเป็ นไปใช้ - ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์

พิเศษ 8
คำอธิบายรายวิชา
คณิตศาสตร์
รายวิชาเพิม
่ เติม กลุม
่ สาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 เล่ม 1

เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน

ศึกษาเกี่ยวกับฟั งก์ชันตรีโกณมิติ การวัดความยาวส่วนโค้งและพิกัดของ


จุดปลายส่วนโค้ง ค่าของฟั งก์ชันไซน์และโคไซน์ ฟั งก์ชันตรีโกณมิติอ่ น
ื ๆ
ฟั งก์ชันตรีโกณมิติของมุม การใช้ตารางค่าฟั งก์ชันตรีโกณมิติ กราฟของ
ฟั งก์ชันตรีโกณมิติ ฟั งก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจำนวนจริง
หรือมุม ฟั งก์ชันตรีโกณมิติของสองเท่า สามเท่า และครึ่งเท่าของจำนวนจริง
หรือมุม ความสัมพันธ์ระหว่างผลบวก ผลต่าง และผลคูณของฟั งก์ชัน
ตรีโกณมิติ ตัวผกผันของฟั งก์ชันตรีโกณมิติ เอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ
กฎของไซน์และโคไซน์ และการหาระยะทางและความสูง ระบบสมการเชิง
เส้น การหาเมทริกซ์ผกผันของ 2 × 2 ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ n × n เมื่อ
n เป็ นจำนวนนับที่ไม่เกินสาม และการใช้เมทริกซ์แก้ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบพิกัดฉากสามมิติ เวกเตอร์ เวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก ผลคูณเชิงสเกล
าร์ ผลคูณเชิงเวกเตอร์ และการนำเวกเตอร์ในสามมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัว
ให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึ กทักษะ โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป
รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การ
ให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความ

พิเศษ 9
รู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ใน
ชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้
อย่างเป็ นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง

ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจฟั งก์ชันตรีโกณมิติและลักษณะกราฟของฟั งก์ชันตรีโกณมิติ
และนำไปใช้ในการแก้ปัญหา
2. แก้สมการตรีโกณมิติ และนำไปใช้ในการแก้ปัญหา
3. ใช้กฎของโคไซน์และกฎของไซน์ในการแก้ปัญหา
4. เข้าใจความหมาย หาผลลัพธ์ของการบวกเมทริกซ์ การคูณเมทริกซ์
กับจำนวนจริง การคูณระหว่าง
เมทริกซ์ และหาเมทริกซ์สลับเปลี่ยน หาดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์
n × n เมื่อ n เป็ นจำนวนนับที่ไม่
เกินสาม
5. หาเมทริกซ์ผกผันของเมทริกซ์ 2 × 2
6. แก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ผกผัน และการดำเนินการตาม
แถว

7. หาผลลัพธ์ของการบวก การลบเวกเตอร์ การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกล


าร์ หาผลคูณเชิงสเกลาร์ และผลคูณ
เชิงเวกเตอร์
8. นำความรู้เกี่ยวกับเวกเตอร์ในสามมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา
พิเศษ 10
รวม 8 ผลการเรียนรู้

พิเศษ 11
โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชัน
้ ม.5

พิเศษ 12
ลำดั ชื่อหน่วย ผลการ เวลา
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้ (ชม.)

1 ฟั งก์ชัน 1. เข้าใจ 40

ตรีโกณมิติ ฟั งก์ชัน

ตรีโกณมิติ
และ
ลักษณะ
ฟั งก์ชันตรีโกณมิติ ประกอบ
กราฟ
ด้วยฟั งก์ชันไซน์และโคไซน์
ของ
ค่าของฟั งก์ชันไซน์และ
ฟั งก์ชัน
โคไซน์ ฟั งก์ชันตรีโกณมิติ
อื่น ๆ ที่มีความสัมพันธ์กับ
ตรีโกณมิติ ฟั งก์ชันไซน์และโคไซน์
และ ฟั งก์ชันตรีโกณมิติของมุม
นำไปใช้ การใช้ตารางค่าฟั งก์ชัน
ในการ ตรีโกณมิติในการหาค่าของ
แก้ ฟั งก์ชันตรีโกณมิติ ฟั งก์ชัน
ปั ญหา ตรีโกณมิติของสองเท่า สาม
2. แก้ เท่า และครึ่งเท่าของ
สมการ จำนวนจริงหรือมุมความ
สัมพันธ์ของผลบวกผลต่าง
ตรีโกณมิติ และผลคูณของฟั งก์ชัน
และ ตรีโกณมิติ ตัวผกผันของ
นำไปใช้ ฟั งก์ชันตรีโกณมิติ
ในการ เอกลักษณ์และสมการ
พิเศษ 13
พิเศษ 14
ลำดั ชื่อหน่วย ผลการ เวลา
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้ (ชม.)

3 เวกเตอร์ใน 1. หา เวกเตอร์ หรือ ปริมาณ 20


สามมิติ ผลลัพธ์ของ เวกเตอร์ เป็ นปริมาณที่มี
การบวก ทัง้ ขนาดและทิศทาง ส่วน
การ ปริมาณที่มีแต่ขนาดอย่าง
ลบเวก เดียว จะเรียกว่า ปริมาณ
เตอร์
มาณสเกลาร์ ซึ่งเวกเตอร์
การคูณ
สามารถดำเนินการบวก
เวกเตอร์
ลบ เวกเตอร์ได้ โดยอาศัย
ด้วย
บทนิยามการบวก ลบเวก
สเกลาร์
เตอร์ที่ได้มาจากบทนิยาม
หาผล
การเท่ากันของเวกเตอร์
คูณเชิง
หรือจะใช้อีกวิธีการหนึ่งที่
สเกลาร์
และผล เรียกว่า กฏของรูปสี่เหลี่ยม

คูณเชิง ด้านขนานก็ได้ อีกทัง้ การ

เวกเตอร์ คูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์
2.นำความ จะใช้แนวคิดจากการบวก
รู้ เวกเตอร์ ซึง่ เป็ นเวกเตอร์ที่
เกี่ยวกับ เท่ากัน
เวกเตอร์ ผลคูณเชิงสเกลาร์ คือ
ใน ผลคูณของเวกเตอร์ที่ได้
สามมิติ
ผลลั
พิเศษ 15พธ์เป็ นสเกลาร์ ส่วน
พิเศษ 16
โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1
เวลา 80 ชั่วโมง

พิเศษ 17
แนวคิด/รูปแบบ
เวลา
หน่วยการ การสอน/
แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน (ชั่วโ
เรียนรู้ วิธีการสอน/
มง)
เทคนิค
1. ฟั งก์ชัน แผนที่ 1 การวัดความ แบบนิรนัย 1. ทักษะการ 1. ตรวจใบงานที่ 1.1 เรื่อง การหา 2
ตรีโกณ ยาวส่วนโค้ง สำรวจ ตำแหน่งของจุดปลายส่วนโค้ง
มิติ และพิกัดของ ค้นหา ของวงกลมหนึ่งหน่วย
จุดปลาย 2. ทักษะการ 2. ประเมินการนำเสนอผลงาน
ส่วนโค้ง ประยุกต์ใช้ 3. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
ความรู้ 4. สังเกตความมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 2 ค่าของ แบบอุปนัย 1. ทักษะการ 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ที่ 1.2 5
ฟั งก์ชันไซน์และ สำรวจ 2. ตรวจ Exercise ที่ 1.2
ฟั งก์ชันโคไซน์ ค้นหา 3. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
2. ทักษะการ 4. สังเกตความมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
ประยุกต์ใช้ การทำงาน
ความรู้
แผนที่ 3 ฟั งก์ชัน แบบนิรนัย 1. ทักษะการ 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ที่ 1.3 3
ตรีโกณมิติอ่ น
ื ๆ สำรวจ 2. ตรวจ Exercise ที่ 1.3
พิเศษ 18
พิเศษ 19
แนวคิด/รูปแบบ
เวลา
หน่วยการ การสอน/
แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน (ชั่วโ
เรียนรู้ วิธีการสอน/
มง)
เทคนิค
แผนที่ 6 กราฟของ แบบ Concept 1. ทักษะการ 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ที่ 1.6 3
ฟั งก์ชัน Based สำรวจ 2. ตรวจ Exercise ที่ 1.6
ตรีโกณมิติ Teaching ค้นหา 3. ประเมินการนำเสนอผลงาน
2. ทักษะการ 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
ประยุกต์ใช้ 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
ความรู้ 6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 7 ฟั งก์ชัน แบบ Concept 1. ทักษะการ 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ที่ 1.7 3
ตรีโกณมิติของ Based สำรวจ 2. ตรวจ Exercise ที่ 1.7
ผลบวกและ Teaching ค้นหา 3. ประเมินการนำเสนอผลงาน
ผลต่างของ 2. ทักษะการ 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
จำนวนจริง ประยุกต์ใช้ 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
หรือมุม ความรู้ 6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 8 ฟั งก์ชัน แบบ Concept ทักษะการ 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ที่ 1.8 3
พิเศษ 20
พิเศษ 21
แนวคิด/รูปแบบ
เวลา
หน่วยการ การสอน/
แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน (ชั่วโ
เรียนรู้ วิธีการสอน/
มง)
เทคนิค
แผนที่ 9 ความสัมพันธ์ แบบ Concept ทักษะการ 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ที่ 1.9 3
ระหว่าง Based สำรวจค้นหา 2. ตรวจ Exercise ที่ 1.9
Teaching 3. ประเมินการนำเสนอผลงาน
ผลบวก ผล
4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
ต่าง และผลคูณ
5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
ของฟั งก์ชัน
6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
ตรีโกณมิติ
การทำงาน

แผนที่ 10 ตัวผกผัน แบบนิรนัย 1. ทักษะการ 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ที่ 1.10 4


ของฟั งก์ชัน เชื่อมโยง 2. ตรวจ Exercise ที่ 1.10
2. ทักษะการ 3. ประเมินการนำเสนอผลงาน
ตรีโกณมิติ
ประยุกต์ 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
ใช้ความรู้ 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
พิเศษ 22
พิเศษ 23
แนวคิด/รูปแบบ
เวลา
หน่วยการ การสอน/
แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน (ชั่วโ
เรียนรู้ วิธีการสอน/
มง)
เทคนิค
แผนที่ 2 เมทริกซ์ แบบนิรนัย 1. ทักษะการ 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ที่ 2.2 5
เปรียบเทียบ 2. ตรวจ Exercise ที่ 2.2
2.ทักษะการ 3. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
เชื่อมโยง 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
3. ทักษะการให้ 5. สังเกตความมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
เหตุผล การทำงาน
แผนที่ 3 เมทริกซ์ แบบ Concept 1. ทักษะการ 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ที่ 2.3 4
ผกผัน Based เชื่อมโยง 2. ตรวจ Exercise ที่ 2.3
Teaching 2. ทักษะการ 3. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
ปรับ 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
โครงสร้าง 5. สังเกตความมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
3. ทักษะการ การทำงาน
ตีความ
4. ทักษะ
กระบวนการ
พิเศษ 24
พิเศษ 25
แนวคิด/รูปแบบ
เวลา
หน่วยการ การสอน/
แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน (ชั่วโ
เรียนรู้ วิธีการสอน/
มง)
เทคนิค
แผนที่ 5 การใช้เม แบบนิรนัย 1. ทักษะการ 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ที่ 2.5 5
ทริกซ์แก้ระบบ ปรับ 2. ตรวจ Exercise ที่ 2.5
โครงสร้าง 3. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
สมการเชิงเส้น
3. ทักษะการ 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
ตีความ 5. สังเกตความมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
4. ทักษะ การทำงาน
กระบวนการ
คิดแก้ปัญหา
3. เวกเตอร์ แผนที่ 1 ระบบพิกัด แบบ Concept 1. ทักษะการ 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ที่ 3.1 2
ในสาม ฉากสามมิติ Based เชื่อมโยง 2. ตรวจ Exercise ที่ 3.1
มิติ Teaching 2. ทักษะการ 3. ตรวจใบงานที่ 3.1 เรื่อง ระยะทาง
คิดคล่อง ระหว่างจุดสองจุดในระบบ
พิกัดฉากสามมิติ
4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
พิเศษ 26
พิเศษ 27
แนวคิด/รูปแบบ
เวลา
หน่วยการ การสอน/
แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน (ชั่วโ
เรียนรู้ วิธีการสอน/
มง)
เทคนิค
แผนทื่ 3 เวกเตอร์ใน แบบ Concept 1. ทักษะการ 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ที่ 3.3 5
ระบบพิกัดฉาก Based เชื่อมโยง 2. ตรวจ Exercise ที่ 3.3
Teaching 2. ทักษะการ 3. ตรวจใบงานที่ 3.3 เรื่อง ขนาดของเวก
คิดคล่อง เตอร์ในระบบพิกัดฉาก
3. ทักษะ สองมิติและสามมิติ
กระบวนการ 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
คิดแก้ปัญหา 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 4 ผลคูณเชิง แบบ Concept ทักษะ 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ที่ 3.4 3
สเกลาร์ Based กระบวนการคิด 2. ตรวจ Exercise ที่ 3.4
Teaching แก้ปัญหา 3. ตรวจใบงานที่ 3.4 เรื่อง ผลคูณเชิง
สเกลาร์
4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
พิเศษ 28
แนวคิด/รูปแบบ
เวลา
หน่วยการ การสอน/
แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน (ชั่วโ
เรียนรู้ วิธีการสอน/
มง)
เทคนิค
แผนทื่ 6 การนำเวก แบบ Concept 1. ทักษะการ 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ที่ 3.3 2
เตอร์ในสามมิติไปใช้ใน Based เชื่อมโยง 2. ตรวจ Exercise ที่ 3.3
Teaching 2. ทักษะการ 3. ตรวจใบงานที่ 3.3 เรื่อง ขนาดของเวก
การแก้ปัญหา
คิดคล่อง เตอร์ในระบบพิกัดฉาก
3. ทักษะ สองมิติและสามมิติ
กระบวนการ 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
คิดแก้ปัญหา 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน

พิเศษ 29

You might also like