Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

โครงงานสิ่ งประดิษฐ์

เครื่ องฆ่ าเชื้อด้ วยแสง UVC ระบบสายพานลําเลียงอัตโนมัติ

ผู้จัดทํา

นายอาชา หมื่อละกู่

นายคัมภีร์ โกเมนรัตน์ กลุ

นายภูวนนท์ อายีก่ ู

ครูทปี่ รึกษาโครงงาน : นายอดิเรก เภารัตน์


หน่ วยงาน : ศูนย์ ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน เขต 7
จังหวัดเชียงใหม่
บทที่ 1 ทีม่ าและความสํ าคัญ

เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ทําให้มีการตื่นตัวใน


การป้องกันการแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสดังกล่าว จึงเกิดแรงจูงใจให้คณะผูจ้ ดั ทําโครงงานได้สร้าง
สิ่ งประดิษฐ์ที่สามารถ ฆ่าเชื้อโรคเช่นเชื้อไวรัสไข้หวัด ที่อาจติดมากับในพัสดุต่างๆ ซึ่งสิ่ งประดิษฐ์ที่คณะ
ผูจ้ ดั ทําโครงงานจัดทํานั้น มีจุดมุ่งหมายที่จะอํานวยความสะดวกต่อผูใ้ ช้งาน โดยการทํางานของสิ่ งประดิษฐ์
นั้น มีการออกแบบให้ทาํ งานเป็ นระบบอัตโนมัติ โดยมีเซนเซอร์ตรวจจับและควบคุมการทํางานด้วยชุด
สมองกล ( ชุดKidBright ) ทั้งนี้เมื่อสร้างโครงงานสิ่ งประดิษฐ์เสร็ จสิ้ นแล้ว สามารถนํามาใช้งานได้จริ ง เช่น
การฆ่าเชื้อโรคที่ติดมากับพัสดุต่างๆก่อนที่จะนําเข้าภายในศูนย์ฝึกและอบรมฯ หรื อในพัสดุที่ผปู ้ กครอง
นํามาในการเยีย่ มเด็กและเยาวชน เป็ นต้น

วัตถุประสงค์

1. เพื่อนําความรู ้ที่ได้รับจากการอบรมมาประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์กบั หน่วยงาน


2. เพื่อผลิตสิ่ งประดิษฐ์ที่สามารถฆ่าเชื้อโรค ป้องกันการแพร่ กระจายของเชื้อโรค
3. เพื่อเรี ยนรู ้การสร้างสรรค์นวัตกรรมโดยใช้ชุดบอร์ดไมโคร คอนโทรลเลอร์ KidBright

กลุ่มเป้ าหมาย

เจ้าหน้าที่,เด็กและเยาวชนและผูเ้ ข้ามาติดต่อภายในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนเขต 7 จังหวัด


เชียงใหม่

สมมติฐานในการทํางาน
1. สามารถกําจัดเชื้อโรคต่างๆ ที่ติดมากับพื้นผิววัสดุสิ่งของ,พัสดุต่างๆ
2. สามารถควบคุมการทํางานแบบอัตโนมัติไร้คนควบคุม
3. สามารถลดเวลาในการใช้งานและมีความปลอดภัยมากกว่ากล่องฉายแสง UVC แบบเดิม
ทีม่ าและการพัฒนาต่ อยอดของสิ่ งประดิษฐ์

จากการหาข้อมูลวิธีการฆ่าเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) มีการยอมรับอย่างแพร่ หลายว่า


การใช้แสง UVC นั้นมีประสิ ทธิภาพสู งในการฆ่าเชื่อไวรัสประเภทเชื้อไข้หวัดที่อาติดมากับพื้นผิววัสดุต่างๆ
เช่น ถุงมือ หน้ากากอนามัยเป็ นต้น ซึ่งโดยส่ วนใหญ่จะนิยมใช้ดว้ ยวิธีการอบในตูท้ ี่มีหลอด เพื่อฆ่าเชื้อ แต่
ทั้งนี้ยงั มีขอ้ จํากัดในการใช้งาน เช่น ความยุง่ ยากในการต้องเปิ ด-ปิ ดกล่องฉายแสง UVC หรื อต้องไม่เปิ ดตู ้
ขณะที่หลอด UVC ยังทํางานอาจทําให้เกิดอันตรายต่อผิวหนังและดวงตาเป็ นต้น ซึ่งคณะทํางานได้เล็งเห็น
ปัญหาในข้อนี้ จึงได้มีแนวความคิดว่า หากมีส่ิ งประดิษฐ์ที่อาํ นวยความสะดวก เช่นเพียงแค่วางพัสดุหรื อ
สิ่ งของที่ตอ้ งการฆ่าเชื้อไว้ในด้านหนึ่งของเครื่ อง ระบบจะลําเลียงพัสดุเคลื่อนผ่านแสง UVC อัตโนมัติและ
สามารถรับพัสดุในอีกด้านของเครื่ องโดยที่ผใู ้ ช้งานไม่ตอ้ งปิ ด-เปิ ดเครื่ อง เป็ นต้น

ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ

1. เด็กและเยาวชนได้รับความรู ้จาการสร้างสิ่ งประดิษฐ์ดงั กล่าว


2. สามารถกําจัดเชื้อโรคต่างๆเช่นเชื้อไวรัสที่อ่อนไหวต่อแสง UVC
3. สะดวกในการใช้งานและลดเวลาในการใช้งานกว่าตูฉ้ ายแสง UVC แบบเดิม
บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง

คุณสมบัตขิ องรังสี UVC


รังสี UVC เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่น 200-280 nm มีความสามารถทําลายเชื้อโรคที่
เรี ยกว่า Ultraviolet Germicidal Irradiation (UVGI) ทําลายได้ท้ งั แบคทีเรี ย ไวรัส ราเส้นใย ยีสต์ เป็ นต้น
ปกติจะไม่พบ UVC ในธรรมชาติเนื่องจากไม่สามารถผ่านชั้นโอโซนของโลกลงมาได้ การทําลายเชื้อโรคจึง
ต้องใช้แหล่งกําเนิดรังสี ได้แก่ หลอดไอปรอทที่มีแรงดันภายในหลอดตํ่าหรื อที่ทว่ั ไปเรี ยกว่า “หลอดฆ่า
เชื้อ” และ UVC-LEDs ที่ให้รังสี UVC ที่ความยาวคลื่นไม่ต่าํ กว่า 253.7 nm

กลไกการฆ่ าเชื้อโรค
สารพันธุกรรมของเชื้อโรค เช่น DNA และ/หรื อ RNA จะดูดซับรังสี UV ที่ความยาวคลื่น 253.7
nm ซึ่งเป็ นความยาวคลื่นของรังสี UVC รังสี จะทําลายโครงสร้างกรดนิวคลีอิกซึ่งเป็ นองค์ประกอบของ
DNA และ RNA ทําให้เชื้อโรคไม่สามารถเพิ่มจํานวนและตายในที่สุด

ข้ อควรระวัง

1. สิ่ งของที่จะนํามาฆ่าเชื้อโรคด้วย UVC ต้องทําความสะอาดไม่ให้มีคราบสกปรกหรื อฝุ่ นละออง


เนื่องจาก UVC มีความสามารถในการทะลุผา่ นตํ่า
2. วางสิ่ งของสัมผัสกับ UVC โดยตรง
3. ตรวจสอบความเข้มของรังสี ระยะห่าง และระยะเวลาสัมผัสให้เหมาะสม
4. ผูใ้ ช้งานควรหลีกเลี่ยงการสัมผัส UVC โดยตรง เนื่องจากทําให้เกิดการอักเสบของดวงตาและ
ผิวหนังได้

การทดสอบการทําลายเชื้ อโรค
ประเมินได้จากปริ มาณรังสี UVC ที่เชื้อโรคสัมผัสหรื อเรี ยกว่า“UV dose” โดยที่ UV dose = UV
intensity x เวลา

หน่วย : UV dose คือ Ws/m2 , UV intensity คือ W/m2 และ เวลา คือ วินาที ตัวอย่างเช่น การฆ่า
เชื้อโคโรน่าไวรัสที่เป็ นสาเหตุของโรค SARS ด้วย UVC ที่ความยาวคลื่น 254 nm ความเข้มแสง 0.9
W/m2 ที่ระยะห่ าง 80 cm จะต้องใช้เวลา 60 นาที จึงจะทําลายเชื้อโรคได้หมด ดังนั้นหากจะลดเวลาการฆ่า
เชื้อต้องเพิ่มความเข้มของแสง UVC
บทที่ 3 อุปกรณ์ และวิธีการทํางานของสิ่ งประดิษฐ์

อุปกรณ์ การทําสิ่ งประดิษฐ์

1. บอร์ด KidBright

2. ชุดสายพานลําเลียง

3. ชุดจ่ายไฟ DC 12 โวลท์

4. ชุดชาร์จแบตเตอร์รี่ 12 โวลท์

5. เซนเซอร์ตรวจจับวัตถุ

6. แบตเตอร์รี่ 12 โวลท์

7. สายไฟฟ้า

9. ชุดโครงสร้างอลูมิเนียม

10.หลอดไฟฟ้าแสดงสภาวะการทํางาน

11. หลอดรังสี UVC


การทํางานของสิ่ งประดิษฐ์

ในการทําโครงงานสิ่ งประดิษฐ์ในครั้งนี้ คณะผูจ้ ดั ทําต้องใช้องค์ความรู ้ในด้านต่างๆ ความรู ้ดา้ น


ระบบกลไกการขับเคลื่อนสายพานลําเลียง ความรู ้ดา้ นระบบการควบคุมโดยใช้ชุดบอร์ด
ไมโครคอนโทรลเลอร์ KidBright ความรู ้ดา้ นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ความรู ้ดา้ นการฆ่าเชื้อไวรัสโดยใช้
แสง UVC ซึ่งในการทํางานของเครื่ องมีข้นั ตอนการทํางานดังนี้

เมื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าและเปิ ดสวิตช์เครื่ อง อุปกรณ์ทางไฟฟ้าทุกตัวอยูใ่ นสภาวะรอการทํางานและ


จะทํางานตามขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 เมื่อเซนเซอร์ตวั ที่ 1 ด้านทางเข้าสามารถตรวจจับวัสดุหรื อวัตถุที่ถูกวางไว้ดา้ นทางเข้า


ของเครื่ อง เซนเซอร์จะส่ งสัญญานทางไฟฟ้า เข้ามาในขาด้าน Input ของชุดไมโครคอนโทรลเลอร์
KidBright (Input 1)
ขั้นตอนที่ 2 เมื่อชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ KidBright ได้รับสัญญานทางไฟฟ้าจากเซนเซอร์แล้ว
ตามที่เขียนโปรแกรมไว้ ระบบจะประมวลผลและส่ งสัญญานทางไฟฟ้าออกทางด้าน Output ของชุด
ไมโครคอนโทรลเลอร์ KidBright (Output 1)
ขั้นตอนที่ 3 เมื่อชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ KidBright ส่ งสัญญานทางไฟฟ้าออกทางด้าน Output 1
แล้ว ในส่ วนของ Output 1 นี้จะเชื่อมต่อกับชุดรี เลย์ โดยชุดรี เลย์จะทําหน้าที่รับสัญญานทางไฟฟ้าของ
Output แล้วจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กบั อุปกรณ์ เช่น มอเตอร์ขบั เคลื่อนสายพานลําเลียงและหลอดแสง UVC
ต่อไป
ขั้นตอนที่ 4 เมื่อชุดรี เลย์จ่ายกระแสไฟฟ้าให้กบั อุปกรณ์มอเตอร์และหลอดแสง UVC ทําให้ชุด
สายพานลําเลียงเคลื่อนที่ นําวัสดุที่ตอ้ งการรับแสง UVC เคลื่อนที่ผา่ นลําแสง UVC ในกล่องที่ปิดมิดชิดทํา
ให้เชื้อโรคที่อาจติดกับพื้นผิววัตถุที่อ่อนไหวต่อแสง UVC ตายลง โดยในขั้นตอนนี้จะมีการปิ ดกั้นไม่ ให้มี
แสง UVC เล็ดลอดออกมาภายนอกหรื อออกมาให้นอ้ ยที่สุด
ขั้นตอนที่ 5 เมื่อวัสดุเคลื่อนที่ผา่ นลําแสง UVC ในกล่องแล้วและเลื่อนออกมาในอีกด้านของกล่อง
เซนเซอร์ตวั ที่ 2 ด้านทางออกทําหน้าที่ตรวจจับวัตถุที่เคลื่อนที่ออกมา และเมื่อตรวจจับได้แล้วว่ามีวตั ถุ
ออกมาเซนเซอร์ดา้ นทางออกนี้ จะส่ งสัญญานทางไฟฟ้า ให้กบั ชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ KidBright ในขา
ด้าน Input 2 ชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ KidBright ระบบจะประมวลผลและสัง่ หยุดการส่ งสัญญานทางไฟฟ้า
Output 1 ให้กบั รี เลย์ไฟฟ้า เป็ นผลให้ ชุดมอเตอร์ขบั เคลื่อนสายพานลําเลียงและหลอดรังสี UVC หยุดการ
ทํางานอยูใ่ นสภาวะรอการทํางานในครั้งต่อไป
บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน

จากการทดสอบการทํางานของสิ่ งประดิษฐ์ ได้ผลการทดสอบเป็ นที่หน้าพอใจ โดยชุด


ไมโครคอนโทรลเลอร์ KidBright สามารถรับสัญญาน Input จากเซนเซอร์ท้ งั 2 ตัว และสัง่ งานผ่าน Output
ควบคุมให้ชุดส่ งกําลังขับเคลื่อนสายพานลําเลียง ให้ระบบทํางานฉายแสง UVC และสัง่ หยุดการทํางาน
ตามที่ได้โปรแกรมไว้
คําสั่ งโปรแกรม
บทที่ 5 สรุปผลการดําเนินงาน

ผลการดําเนินงานสรุปได้ ดังนี้
1. สามารถนําความรู ้ที่ได้รับจากการอบรมมาประยุกต์ใช้สร้างสิ่ งประดิษฐ์เทคโนโลยี ให้เกิด
ประโยชน์ กับ หน่วยงาน
2. สามารถผลิตสิ่ งประดิษฐ์ที่สามารถฆ่าเชื้อโรค ป้องกันการแพร่ กระจายของเชื้อโรค
3. เด็กและเยาวชนได้เรี ยนรู ้การสร้างสรรค์นวัตกรรมโดยใช้ชุดบอร์ดไมโคร คอนโทรลเลอร์
KidBright

ข้ อเสนอแนะ
1. สามารถนําสิ่ งประดิษฐ์ไปต่อยอดไปใช้กบั สถานที่ต่างๆที่ตอ้ งการฆ่าเชื้อโรคที่อ่อนไหวต่อแสง
UVC เช่นเชื้อไวรัส ไข้หวัดชนิดต่างๆ เป็ นต้น
2. ผูใ้ ช้งานควรหลีกเลี่ยงการสัมผัส UVC โดยตรง เนื่องจากทําให้เกิดการอักเสบของดวงตาและ
ผิวหนังได้

You might also like