Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 12

ผู้หญิงในโลกดิจทิ ลั กับสื่อไม่ ปลอดภัย: มุมมองทางประชากรและสังคม

พิชฌ์ นิพัทธ์ วิชัยโน1


ภานรินทร์ น้ำเพชร 2

บทคัดย่ อ

การเข้ าสูโ่ ลกดิจิทลั เป็ นปรากฏการณ์ทางสังคมที่มีความเป็ นพลวัตและนำมาซึง่ ความเสี่ยงในสังคม


เครื อข่ายดิจิทลั หลากหลายรูปแบบโดยเฉพาะการได้ รับสื่อไม่ปลอดภัยและไม่สร้ างสรรค์ บทความนี ้ได้ ศกึ ษา
องค์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้ องกับสื่อไม่ปลอดภัยผ่านมุมมองทางประชากรและสังคม โดยมุ่งทำความเข้ าใจ
การศึกษารูปแบบวิถีชีวิตทางดิจิทลั และการป้องกันความเสี่ยงจากสื่อไม่ปลอดภัยของผู้หญิงในโลกดิจิทลั
สำหรับการศึกษาที่อาศัยวิธีการวิจยั เชิงปริ มาณครัง้ นี ้ได้ เก็บข้ อมูลด้ วยแบบสอบถามจากชาวดิจิทลั หญิง จำนวน
541 คน และนำข้ อมูลมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติ
การศึกษาครัง้ นี ้ได้ จำแนกให้ เห็นถึงความหลากหลายของชาวดิจิทลั หญิงกับการป้องกันความเสี่ยงจาก
สื่อไม่ปลอดภัยที่สามารถแบ่งออกได้ เป็ น 8 กลุม่ ประกอบด้ วย กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงที่ม่งุ มัน่ ในการตระหนักถึงสื่อ
ไม่ปลอดภัย กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงที่ตระหนักถึงปั ญหาทางสุขภาพเมื่อเข้ าใกล้ สื่อไม่ปลอดภัย กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิง
สายสืบ กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงนักนิเวศวิทยาดิจิทลั สู้การพนันออนไลน์ กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงที่ให้ ความสำคัญกับ
บรรทัดฐานที่เชื่อมโยงระหว่างโลกออฟไลน์กบั โลกออนไลน์ กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงนักกฎหมายดิจิทลั กลุม่ ชาว
ดิจิทลั หญิงที่เคยใกล้ ชิดกับการพนันออนไลน์ และกลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงที่ให้ ความสำคัญกับมารยาทดิจิทลั

คำสำคัญ: ผู้หญิง, โลกดิจิทลั , สื่อไม่ปลอดภัย, การพนันออนไลน์, ชาวดิจิทลั ไทย

Women in the Digital World and Unsafe Media: Population and Social
Perspectives
Pychaniphat Wichaino1
Phanarin Namphet2

1
หัวหน้ าโครงการพัฒนาการเฝ้าระวังสื่อการพนันออนไลน์ของชาวดิจิทลั ไทย สนับสนุนโดยกองทุนพัฒนาสื่อ
ปลอดภัยและสร้ างสรรค์ ประจำปี 2564 ประเภทส่งเสริ มและสนับสนุนเด็กและเยาวชน อีเมล pychaniphat@
gmail.com
2
เจ้ าหน้ าที่สนับสนุนวิชาการ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) (ศมส.) อีเมล phanarin.n@sac.or.th
11
The leader of the Project for the Development of Precautions against Online Gambling of Digital
Thai People, which was funded by the Safe and Creative Media Development Fund in 2021 in the
category of Promoting and Supporting Children and Adolescents. email: pychaniphat@gmail.com
Abstract
Going digital is a dynamic social phenomenon that brings risks in a wide range of network
societies, especially exposure to unsafe media. This article has been studied knowledge of issues
related to unsafe media through demographic and social perspectives. It aims to understand the
digital lifestyle and prevention of women's unsafe media risks in the digital world. This quantitative
research-based study collected data with questionnaires from 541 female digital people, and the
data analyzed using statistical methods.
The research found that the diversity of female digital people and the risk of unsafe media
that can divided into 8 groups: 1) a group of female digital people who are committed to recognizing
unsafe media 2) a group of female digital people who are aware of health problems when
approaching unsafe media 3) female digital people detective group 4) female digital ecologist
fighting online gambling 5) a group of female digital people who value the norms that connect the
offline world with online world 6) female digital lawyers group 7) a group of female digital people who
used to be close to online gambling; 8) a group of female digital people who value digital etiquette.

Keywords: Women, Digital World, Unsafe Media, Online Gambling, digital Thai people

ลงทะเบียนเข้ าสู่ระบบ: ว่ าด้ วยโลกดิจทิ ลั ผู้หญิง และความเสี่ยง


ก่ อนเผชิญหน้ ากับความเสี่ยง: ป้อนข้ อมูลเข้ าสู่โลกดิจทิ ลั
การเข้ าสูโ่ ลกดิจิทลั (Digital World) เป็ นปรากฏการณ์ทางสังคมที่สำคัญและมีความเป็ นพลวัตสูงจาก
การที่สื่อต่าง ๆ สามารถเปลี่ยนแปลง หรื อเกิดขึ ้นใหม่ได้ อยู่ตลอดเวลา ในโลกดิจิทลั ประชากรที่เข้ ามาสูโ่ ลกใบนี ้
เรี ยกว่า “ชาวดิจิทลั ” (Digital Natives) ซึง่ มีด้วยกัน 3 กลุม่ สำคัญ ได้ แก่ ชาวดิจิทลั รุ่นใหม่ (New-Digital
Natives) เป็ นผู้ที่เกิดในช่วงปี พ.ศ. 2539-2549 ชาวดิจิทลั รุ่นเก่า (Old-Digital Natives) เกิดอยู่ในช่วง พ.ศ.
2524-2538 (จุลนี เทียนไทย, และคณะ, 2563, หน้ า 3) และอีกกลุม่ หนึง่ คือ ชาวดิจิทลั อพยพ (Digital
Immigrant) ที่เกิดก่อนปี พ.ศ. 2524 ซึง่ ชาวดิจิทลั ต่างมีคณ ุ ลักษณะที่แตกต่างกันออกไป
เมื่อพิจารณาโลกดิจิทลั ในมุมมองทางสังคมวิทยาภายใต้ อิทธิพลของสังคมวิทยาดิจิทลั (Digital
Sociology) ได้ มีการปะทะกันระหว่างความรู้ที่เทคโนโลยีมีสว่ นสำคัญในการกำหนดความเป็ นไปของสังคม
(Technological Determinism) ที่เป็ นการศึกษาตามแนววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม (STS) กับกลุม่ การ
ศึกษาที่ให้ ความสนใจไปยังการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสารในโลกดิจิทลั เป็ นหลักซึง่ การศึกษาในรูปแบบหลังมุ่ง
ไปยังการทำความเข้ าใจช่องว่างทางดิจิทลั (Digital Divide) และปฏิบตั ิการที่เกิดขึ ้นในโลกดิจิทลั ซึง่ เป็ นการ
ศึกษากระแสหลัก รวมไปถึงการพัฒนาต่อยอดกรอบคิดทางสังคมวิทยาขึ ้นมาเพื่อทำความเข้ าใจความเข้ มข้ น

2
Academic Support Officer, Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public
Organisation) email: phanarin.n@sac.or.th
ของปฏิสมั พันธ์ในโลกดิจิทลั เช่น ทุนดิจิทลั (Digital Capital) ที่พฒ ั นามาจากกรอบคิดเรื่ องทุนของ Pierre
Bourdieu เป็ นต้ น (Fussey, and Roth, 2020, pp.663-664)
มิติของการศึกษาปฏิสมั พันธ์ในโลกดิจิทลั ชาวดิจิทลั ส่วนใหญ่ตา่ งมีปฏิสมั พันธ์ตอ่ สิ่งที่เป็ นมนุษย์และ
สิ่งที่เป็ นวัตถุ โดยสิ่งที่เป็ นวัตถุเห็นได้ ชดั คือความใกล้ ชิดกับสื่อ รูปภาพ วีดีโอ และ มีม (Meme) ซึง่ เข้ ามามีสว่ น
สัมพันธ์ตอ่ การเกิดปฏิสมั พันธ์ทางสังคมในโลกดิจิทลั เป็ นอย่างมาก อีกทังรู้ ปแบบการสื่อสารระหว่างกันยังได้
เปลี่ยนแปลงไปด้ วยการมีวตั ถุเป็ นตัวกลาง เช่น การสื่อสารบอกเล่าความรู้สกึ บางอย่างที่แทนที่จะถ่ายทอดออก
เป็ นตัวอักษรแต่กลับสามารถสื่อสารระหว่างกันด้ วยมีม เป็ นต้ น รวมไปถึงความสามารถในการใช้ แพลตฟอร์ ม
เพื่อขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม เช่น การเคลื่อนไหวด้ วยแฮชแท็ก (Hashtag Activism) ในโลก
ทวิตเตอร์ ซงึ่ ทำให้ เกิดภาพแทนร่วม (Collective Representation) ของประเด็นที่ต้องการเคลื่อนไหว เช่น การที่
น้ำท่วมกรุงเทพมหานครซึง่ ทำให้ สรรพสิ่งในโลกออฟไลน์ตกอยู่ในสภาวะชะงักงัน แต่แพลตฟอร์ มทวิตเตอร์ กลับ
เป็ นแพลตฟอร์ มที่ยงั สามารถเคลื่อนไหวต่อไปได้ ซึง่ เต็มไปด้ วยอารมณ์และความรู้สกึ ของผู้คนจากโลกออฟไลน์
หลัง่ ไหลไปในโลกออนไลน์ เป็ นต้ น (Fussey, and Roth, 2020, pp.668-669; Sangkhamanee, 2021, pp.165-
167)
ขณะที่การมีปฏิสมั พันธ์ในโลกดิจิทลั อีกรูปแบบหนึง่ ที่นำมาซึง่ ความเสี่ยงภัยในโลกออนไลน์ผ่านการ
สามารถเข้ าถึงสื่อที่ไม่ปลอดภัยอย่างสื่อการพนันออนไลน์ได้ อย่างรวดเร็ว โดยการทำงานดังกล่าวของดิจิทลั ได้
เปลี่ยนบทบาททางสังคมในโลกดิจิทลั ให้ กลายเป็ นผู้เล่นการพนันออนไลน์ได้ อย่างรวดเร็ว โดยงานของสายชล
ปั ญญชิต (2555) ชี ้ชวนให้ เห็นว่าการพนันออนไลน์เป็ นสิ่งที่สามารถเข้ าถึงได้ ในโลกดิจิทลั และเยาวชนกลายเป็ น
ผู้เล่นคนสำคัญและเกิดผู้เล่นหน้ าใหม่เพิม่ มากขึ ้น โดยข้ อเสนอดังกล่าวได้ มองเชื่อมโยงโลกดิจิทลั ในฐานะโลก
ออนไลน์ที่เชื่อมโยงเข้ ากับโลกออฟไลน์อย่างแนบแน่นผ่านสถานการณ์และบริ บทของการแข่งขันฟุตบอล ซึง่
แสดงให้ เห็นว่าการมีปฏิสมั พันธ์ในโลกดิจิทลั กับความเสี่ยงภัยมีความเชื่อมโยงกันกับโลกทังสองใบอย่ ้ างแยก
ออกจากกันไม่ขาด เมื่อพิจารณารายงานศูนย์ศกึ ษาปั ญหาการพนัน ประจำปี พ.ศ. 2565 โดยศูนย์ศกึ ษาปั ญหา
การพนัน (2565) แสดงให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการระบาดของโรคติดเชื ้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)
ได้ ทำให้ การพนันออนไลน์เปลี่ยนแปลงบริ บทจากการเล่นเพื่อเข้ าสังคม (Social Gambling) ไปสูก่ ารเล่นใน
ลักษณะของความหมกมุ่น ซึง่ สื่อและธุรกิจการพนันออนไลน์มีการขยายตัวเพิ่มมากขึ ้น รวมไปถึงการมีบคุ คล
สาธารณะเข้ าไปมีสว่ นพัวพันทังในฐานะผู ้ ้ ร่วมลงทุนและผู้ชกั จูงได้ ทำให้ นิเวศวิทยาของสื่อการพนันออนไลน์
เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยมีเด็กและเยาวชนเป็ นกลุม่ เป้าหมายและกลายเป็ นผู้เล่นหน้ าใหม่
ยืนยันตัวตน: การประกอบสร้ างความเป็ นหญิงในโลกดิจทิ ลั
การเคลื่อนไหวของผู้หญิงในโลกดิจิทลั ในฐานะชาวดิจิทลั หญิงได้ มีสว่ นสัมพันธ์กบั พัฒนาการทาง
ความคิดของสตรี นิยมเป็ นอย่างมาก (Feminism) โดยมีฐานความคิดว่าผู้หญิงสามารถเข้ าสูโ่ ลกดิจิทลั เพื่อ
เคลื่อนไหวเกี่ยวกับสิทธิและความเท่าเทียมในประเด็นทางเพศ สีผวิ และการเลือกปฏิบตั ิในรูปแบบต่าง ๆ ซึง่
ทำให้ เครื อข่ายสังคมออนไลน์มีบทบาทสำคัญในการเสริ มสร้ างพลังอำนาจให้ กบั ผู้หญิง เช่น การเคลื่อนไหวด้ วย
แฮชแท็ก #MeToo (หทัยรัตน์ บุณโยปั ษฎัมภ์, 2564, หน้ า 17-19) สตรี นิยมไซเบอร์ (Cyberfeminism) เป็ นกระ
แสความคิดที่เกิดขึ ้นจากการเข้ าสูพ่ ื ้นที่เครื อข่ายในสังคมออนไลน์ที่ก่อให้ เกิดช่องว่างทางดิจิทลั ระหว่างชายและ
หญิงในการเข้ าถึงพื ้นที่ดงั กล่าว ซึง่ กลับไปสูค่ วามคิดของการแบ่งงานกันทำ (Division of Labor) ในโลกออนไลน์
ที่ความเป็ นชาย ความเป็ นหญิง และวิถีทางเพศที่หลากหลายมีการเข้ าถึงโลกดิจิทลั แตกต่างกันออกไปตามวิถี
ชีวิตทางดิจิทลั รวมไปถึงการมองว่าวิถีชีวิตของผู้หญิงจะเปลี่ยนไปในโลกดิจิทลั ทังในแง่ ้ ของการเคลื่อนไหวทาง
ความคิด การกลายเป็ นพื ้นที่ปลอดภัยจากการกดขี่ทางเพศที่ต้องพบเจอในโลกออฟไลน์ และสามารถเชื่อมต่อ
กับผู้หญิงได้ ทวั่ โลก (Daniels, 2009, pp.104-109)
ในงานชิ ้นสำคัญของ Donna Haraway เรื่ อง “A Cyborg Manifesto” ได้ ชี ้ชวนให้ เห็นถึงการข้ ามพ้ น
เรื่ องของการเมืองอัตลักษณ์ทางเพศและตัดข้ ามวิธีคิดแบบคู่ตรงกันข้ ามระหว่างชายและหญิงที่ขีดเส้ นแบ่งทาง
ชีววิทยาอย่างเด่นชัดภายใต้ สิ่งที่เรี ยกว่า “การเมืองไซบอร์ ก” ที่ความเป็ นชายและความเป็ นหญิงต่างถูกประกอบ
สร้ างร่วมกันที่สานสัมพันธ์กนั ขึ ้นเป็ นเครื อข่ายขึ ้นมา มากกว่าการมีแก่นแท้ ของความเป็ นเพศที่มีลกั ษณะแข็งทื่อ
และตายตัว โดยที่ไซบอร์ กเป็ นเสมือนระบบเครื่ องจักรที่สามารถควบคุมตนเองได้ และปรับตัวเองให้ เข้ ากับสภาพ
แวดล้ อมที่ดำรงอยู่ได้ เสมอ ทังนี ้ ้ การดำเนินไปของไซบอร์ กจะต้ องเป็ นการเกื ้อหนุนและมีสว่ นผสมที่พงึ่ พากัน
และกัน (Lupton, 2015, pp.569-572; และ นฤพนธ์ ด้ วงวิเศษ, 2565, ออนไลน์) งานชิ ้นดังกล่าวจึงช่วยแสดงให้
เห็นว่าการเข้ าสูโ่ ลกดิจิทลั ที่ผ้ คู นสามารถปกปิ ดตัวตนและสามารถเลือกประกอบสร้ างความเป็ นเพศได้ แตกต่าง
กันทำให้ ความเป็ นชายและความเป็ นหญิงอยู่ในสภาวะที่มีความเป็ นพลวัต ซึง่ งานเขียนของ Haraway กลายมา
เป็ นพื ้นฐานสำคัญของการศึกษาสตรี นิยมกับดิจิทลั ในระยะต่อมา
ขณะที่การศึกษาของ Churchill & Craig (2019) พยายามทำความเข้ าใจบทบาททางเพศในโลกดิจิทลั
ผ่านการเปลี่ยนแปลงแบบคูข่ นานระหว่างการเข้ าสูโ่ ลกออนไลน์กบั ทัศนคติของประชากรวัยทำงานที่หนั สูก่ าร
ทำงานแบบอิสระซึง่ เป็ นฐานเศรษฐกิจแบบครัง้ คราว (Gig Economy) โดยชาวดิจิทลั ชายและชาวดิจิทลั หญิง
ต่างมีการเลือกใช้ แพลตฟอร์ มดิจิทลั เพื่อการทำงานฐานเศรษฐกิจแบบครัง้ คราวในลักษณะงานของการดูแล
(Care) และใช้ ความคิดสร้ างสรรค์เป็ นหลัก ขณะที่ชาวดิจิทลั ชายมักเลือกทำงานผ่านแพลตฟอร์ มที่มีการใช้ แรง
กาย เช่น การขนส่ง เป็ นต้ น งานชิ ้นดังกล่าวชวนให้ มองไปถึงการเกิดขึ ้นของปรากฏการณ์ในโลกออนไลน์ที่มี
ลักษณะเป็ นคูก่ บั โลกออฟไลน์อยู่อย่างสม่ำเสมอ
จากที่กล่าวมาข้ างต้ น หากพิจารณาประกอบกับการประกอบสร้ างความเป็ นหญิงในโลกดิจิทลั ผ่านมุม
มองของปฏิบตั ินิยมฝรั่งเศส (French Pragmatism) ซึง่ พัฒนามาจาก Boltanski & Thévenot (1999; 2006) ที่มี
พื ้นฐานทางความคิดว่าปฏิบตั ิการในโลกชีวิตประจำวันของผู้คนต่างมีความแตกต่างกันออกไปและมีคณ ุ ค่าใน
ตนเอง ประสบการณ์และคุณค่าแห่งชีวิตเป็ นสิ่งที่ผ้ คู นต่างพัฒนาขึ ้นมาภายใต้ ความคิดสร้ างสรรค์และนวัตกรรม
ฐานคิดชีวิตประจำวัน ความคิดดังกล่าวจึงเปิ ดพื ้นที่ให้ ผ้ คู นต่างแสดงออกซึง่ ความคิดสร้ างสรรค์และสามารถ
สร้ างปฏิบตั ิการที่ไม่ได้ ขึ ้นอยู่กบั ความคิดของโครงสร้ างทางสังคม เรี ยกว่าโลกแห่งคุณค่า (Order of Worth) ใน
บทความนี ้อยากชี ้ชวนให้ เห็นว่าโลกดิจิทลั (The Digital World) เป็ นโลกที่สามารถประกอบสร้ างขึ ้นได้ จากการมี
ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้ องกับโลกดิจิทลั ทังการได้้ รับสื่อ การส่งต่อสื่อ และการสร้ างสื่อผ่านความคิดสร้ างสรรค์ของ
ผู้ใช้ งานในโลกดิจิทลั อีกทังยั ้ งเห็นว่าในโลกแห่งดิจิทลั นี ้ผู้หญิงมีรูปแบบวิถีชีวิตและการป้องกันความเสี่ยงจาก
สื่อไม่ปลอดภัยที่หลากหลายและมีความแตกต่างกันออกไป ซึง่ จะยืนยันความคิดดังกล่าวด้ วย
ข้ อค้ นพบจากการเก็บข้ อมูลการวิจยั ในลำดับถัดไป
ใส่ รหัสป้องกันความเสี่ยง
ท่ามกลางการเคลื่อนไหวเข้ าสูโ่ ลกดิจิทลั ในฐานะสังคมเครื อข่าย (Network Society) ที่มาพร้ อมกับสื่อ
และข้ อมูลขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงกันอย่างซับซ้ อน ซึง่ สังคมเครื อข่ายดังกล่าวได้ ขยายตัวออกไปเป็ น 2 รูปแบบ
สำคัญคือ สังคมเครื อข่ายของคนแปลกหน้ า และสังคมเครื อข่ายของคนที่ร้ ูจกั กันอยู่แล้ ว ซึง่ ต่างเกิดขึ ้นเพื่อสร้ าง
ความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างกัน (พัน นิลพันธุ์ ฉัตรไชยยันต์, 2555, หน้ า 24-26) และยังเป็ นการหันกลับไปสู่
ความเป็ นปึ กแผ่นทางสังคม (Social Solidarity) ที่มีความสัมพันธ์แบบหลวมผ่านการรวมตัวกลุม่ คนที่ชื่นชอบใน
สิ่งเดียวกัน เช่น กลุม่ แฟนคลับ เป็ นต้ น ขณะเดียวกันการเข้ าสูโ่ ลกดิจิทลั ทำให้ เกิดการปรับตัวของผู้คนเพื่อให้
สามารถเชื่อมโยงกับสังคมเครื อข่ายได้ อาทิ การปรับรูปแบบการเรี ยนการสอนในการใช้ การสื่อสารออนไลน์ให้
มากขึ ้น การเน้ นการเรี ยนรู้โดยใช้ สื่อออนไลน์เป็ นฐาน เป็ นต้ น (ฐิ ตินนั ท์ ผิวนิล, 2562, หน้ า 76-79)
อย่างไรก็ตาม การเข้ าสูโ่ ลกดิจิทลั และการเชื่อมโยงกันเป็ นสังคมเครื อข่ายได้ น ำมาซึง่ ความเสี่ยงต่อการ
ได้ รับสื่อที่ไม่ปลอดภัยโดยเฉพาะสื่อการพนันออนไลน์ได้ อย่างมากมาย ตัวอย่างที่เห็นได้ ชดั คือ ข่าว “"บิ๊กรอย"
ทลายเว็บพนัน กลางเมืองมหาสารคาม พบเงินหมุนเวียนกว่า 50 ล้ าน” (ไทยรัฐออนไลน์ , 2566, ออนไลน์) หรื อ
“ทลายเว็บพนัน paris99th พบเงินหมุนเวียนกว่า 360 ล้ าน” (MRG Online, 2566, ออนไลน์) ซึง่ ชักชวนให้ เกิดผู้
เล่นหน้ าใหม่โดยการผลิตสื่อเพื่อเชิญชวนผ่านช่องทางออนไลน์ที่ชาวดิจิทลั ไทยกลายเป็ นเป้าหมายสำคัญของ
ปฏิบตั ิการเผยแพร่และนำเข้ าสื่อที่ไม่ปลอดภัยดังกล่าว การใส่รหัสป้องกันความเสี่ยงเหล่านี ้จึงเป็ นหลักสำคัญใน
การสร้ างความตระหนักและความสามารถในการป้องกันตนเองจากสื่อที่ไม่ปลอดภัยที่มาพร้ อมกับการเข้ าสูโ่ ลก
ออนไลน์ โดยการใส่รหัสป้องกันความเสี่ยงในโลกดิจิทลั ควรเน้ นในมิติของความเข้ าใจเนื ้อหา (Understanding)
มิติของความสามารถในการประเมินเนื ้อหา (Evaluation) และมิติของการมีปฏิสมั พันธ์ตอ่ เนื ้อหาอย่างปลอดภัย
(Response) ซึง่ มีมิติทางด้ านประชากรและสังคมเข้ ามาเกี่ยวข้ อง เช่น ช่วงวัย เพศ และระดับการศึกษา
ประสบการณ์ในการใช้ อินเทอร์ เน็ต เป็ นต้ น (พนม คลี่ฉายา, 2565, หน้ า 43; 144)
สำหรับ ฐานิดา บุญวรรโณ, อัจฉริ ยา ชูวงศ์เลิศ, บุศริ นทร์ เลิศชวลิตสกุล, และกุลธิดา ศรี วิเชียร (2565)
ได้ ชี ้ชวนให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างดิจิทลั กับมิติทางสังคม โดยเฉพาะในเรื่ องของครอบครัวดิจิทลั ที่สงั คม
เครื อข่ายเข้ ามามีบทบาทสำคัญในการสร้ างความสัมพันธ์และการมีสว่ นร่วมให้ เกิดขึ ้นในครอบครัว มีการแลก
เปลี่ยนข้ อมูล และทำให้ ดิจิทลั กลายเป็ นส่วนหนึง่ ของชีวิตประจำวัน การมีสายสัมพันธ์ครอบครัว (Family
Bonding) ที่แน่นแฟ้นและมีความรู้สกึ ร่วมกันเป็ นหนึง่ จะทำให้ เกิดความเข้ มแข็งในการป้องกันตนเองจากความ
เสี่ยงของสื่อดิจิทลั ได้ ผ่านการแบ่งปั นและการแบ่งงานกันทำระดับดิจิทลั ด้ วยการพัฒนาความสามารถในการใช้
สื่อดิจิทลั ได้ อย่างเหมาะสม เช่นเดียวกันกับงานของ ภัทรพร ทำดี (2564) ที่แสดงให้ เห็นถึงความสำคัญของ
ความเป็ นปึ กแผ่นทางสังคมของสถาบันครอบครัวที่มีความสัมพันธ์กบั โลกดิจิทลั โดยโลกดิจิทลั ได้ ท ำให้
ครอบครัวมีหน้ าที่ใหม่คือการแบ่งปั นข้ อมูลและเสริ มสร้ างการเรี ยนรู้เชิงข้ อมูลระหว่างกัน อีกทังยั ้ งเชื่อมประสาน
ความแตกต่างระหว่างรุ่นประชากรในครอบครัวให้ สามารถเข้ าสูโ่ ลกดิจิทลั ได้ อย่างปลอดภัยและสร้ างสรรค์
ความเป็ นปึ กแผ่นหรื อการมีความรู้สกึ ร่วมกันเป็ นหนึง่ นี ้เป็ นพลังสำคัญในการป้องกันความเสี่ยงจากการได้ รับสื่อ
ดิจิทลั ที่ไม่ปลอดภัยได้ เป็ นอย่างดี
จากข้ อมูลที่กล่าวมาแล้ วนัน้ ในการศึกษาครัง้ นี ้ ผู้วิจยั เห็นว่าความเสี่ยงจากการได้ รับสื่อดิจิทลั ที่ไม่
ปลอดภัยเป็ นประเด็นที่น่ากังวลต่อวิถีชีวิตทางดิจิทลั ของชาวดิจิทลั ไทย จึงต้ องการศึกษารูปแบบวิถีชีวิตทาง
ดิจิทลั และการป้องกันความเสี่ยงจากสื่อไม่ปลอดภัยของผู้หญิงในโลกดิจิทลั โดยมุ่งเน้ นไปที่ชาวดิจิทลั ไทยที่
ประกอบสร้ างความเป็ นหญิงในโลกดิจิทลั ซึง่ ศึกษาชาวดิจิทลั รุ่นใหม่ ชาวดิจิทลั รุ่นเก่า และชาวดิจิทลั อพยพ โดย
ผลการศึกษาจะเป็ นข้ อมูลพื ้นฐานสำคัญต่อการทำความเข้ าใจรูปแบบวิถีชีวิตทางดิจิทลั และการป้องกันความ
เสี่ยงจากสื่อไม่ปลอดภัยของชาวดิจิทลั หญิงและนำไปสูก่ ารพัฒนาเชิงนโยบายและมาตรการเพื่อการป้องกัน
ความเสี่ยงจากสื่อไม่ปลอดภัยโดยเฉพาะสื่อการพนันออนไลน์ได้ ตอ่ ไป

โลกออนไลน์ มีอะไรน่ าสนใจ?: วัตถุประสงค์ ของการวิจัย


เพื่อศึกษารูปแบบวิถีชีวิตทางดิจิทลั และการป้องกันความเสี่ยงจากสื่อไม่ปลอดภัย ของผู้หญิงในโลก
ดิจิทลั

เข้ าสู่สนามออนไลน์ : วิธีการวิจัย


เข้ าถึงชาวดิจทิ ลั และข้ อมูล: กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่ าง
การศึกษาครัง้ นี ้เป็ นการวิจยั เชิงปริ มาณ ผู้วิจยั ทำการเก็บข้ อมูลด้ วยแบบสอบถาม (Questionnaire)
จากกลุม่ ประชากรชาวดิจิทลั ไทยที่เป็ นผู้หญิงในโลกออนไลน์โดยเน้ นไปที่แพลตฟอร์ ม เฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ ซึง่ ไม่
ทราบจำนวนประชากรที่แน่ชดั และโลกออนไลน์มีการเพิ่มขึ ้นของประชากรตลอดเวลา จึงได้ กำหนดกลุม่ ตัวอย่าง
ด้ วยวิธีการแบบไม่ทราบจำนวนของประชากร โดยใช้ สตู รของ Khazanie (1996) ได้ จำนวนกลุม่ ตัวอย่าง 385 คน
จากนันทำการเก็
้ บข้ อมูลด้ วยการสุม่ ตามความสะดวก (Convenience Sampling) ผ่านแบบสำรวจออนไลน์ โดย
มีผ้ ตู อบแบบสอบถามกลับมา จำนวน 541 คน
การศึกษาครัง้ นี ้ให้ ความสำคัญกับจริ ยธรรมการวิจยั ในมนุษย์เพื่อป้องกันผลกระทบและคำนึงถึงความ
เปราะบางในการให้ ข้อมูล จึงได้ มีการขอจริ ยธรรมการวิจยั ในมนุษย์จากคณะกรรมการจริ ยธรรมสำหรับการ
พิจารณาโครงการที่ทำวิจยั ในมนุษย์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ โดยการเก็บรวบรวมข้ อมูล วิเคราะห์ข้อมูล
และการนำเสนอผลการวิจยั จะหลีกเลี่ยงความเชื่อมโยงไปถึงผู้ให้ ข้อมูลได้ โดยตรง ซึง่ การศึกษานี ้ได้ รับการ
รับรองจริ ยธรรมการวิจยั ในมนุษย์รหัสโครงการ SWUEC-123/2565E
แปรรูปข้ อมูลขนาดใหญ่ จากโลกออนไลน์ : การวิเคราะห์ ข้อมูลทางสถิติ
การวิเคราะห์ข้อมูลที่เป็ นข้ อมูลเชิงปริ มาณอาศัยการวิเคราะห์ทางสถิติ ได้ แก่ สถิติบรรยาย คือ ความถี่
ร้ อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึง่ ทำให้ เห็นข้ อมูลภูมิหลังทางประชากร สังคม และดิจิทลั ของชาว
ดิจิทลั ที่เป็ นกลุม่ ตัวอย่าง สำหรับการศึกษารูปแบบวิถีชีวิตและการป้องกันความเสี่ยงจากสื่อไม่ปลอดภัยของผู้
หญิงในโลกดิจิทลั ได้ อาศัยเทคนิคการวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Analysis) ซึง่ เป็ นการจัดกลุม่ ตัวแปรที่มีความ
สัมพันธ์ ทังนี ้ ้ การวิเคราะห์ปัจจัยผู้วิจยั เลือกใช้ การวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก (Principle Component
Analysis) ที่มีคา่ ไอแกน (Eigen Values) มากกว่า 1 และเลือกใช้ แกนหมุนปั จจัย (Factor Rotation) ในรูปแบบ
วาริแมกซ์ (Varimax Rotation) (กนกวรา พวงประยงค์, 2563, หน้ า 11)

นำข้ อมูลออกจากโลกออนไลน์ : ผลการศึกษาและข้ อค้ นพบ


สำหรับการศึกษาครัง้ นี ้ ผู้วิจยั อาศัยการนำเสนอผลการวิจยั ในรูปแบบสถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้ วย
ความถี่ ร้ อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร่วมกับสถิติเชิงอ้ างอิงที่อาศัยเทคนิคการวิเคราะห์ปัจจัย
โดยมีผลการวิจยั ดังนี ้
เปิ ดโปรไฟล์ : ข้ อมูลภูมิหลังทางประชากร สังคม และดิจทิ ลั
สำหรับภูมิหลังทางประชากร สังคม และดิจิทลั ของชาวดิจิทลั หญิงที่เป็ นกลุม่ ตัวอย่าง จากการสำรวจ
พบว่า ชาวดิจิทลั หญิงที่เป็ นกลุม่ ตัวอย่างเป็ นชาวดิจิทลั รุ่นใหม่ (New-Digital Natives) ซึง่ เป็ นผู้ที่เกิดในช่วงปี
พ.ศ. 2539-2549 คิดเป็ นสัดส่วน 0.73 ของตัวอย่างทังหมด ้ นอกนัน้ เป็ นชาวดิจิทลั รุ่นเก่า (Old-Digital Natives)
และชาวดิจิทลั อพยพ (Digital Immigrant) ในแง่ของการนับถือศาสนาและความเชื่อมัน่ ที่ยดึ ถือของชาวดิจิทลั
หญิงมีการยึดมัน่ ศาสนาพุทธเป็ นหลัก รองลงมาไม่นบั ถือศาสนา ศาสนาคริ สต์ ศาสนาอิสลาม และอื่น ๆ เช่น
ฮินดู พหุศาสนา เป็ นต้ น ตามลำดับ ด้ านอาชีพของชาวดิจิทลั หญิงที่เป็ นกลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่ที่เป็ นชาวดิจิทลั
รุ่นใหม่จะเป็ นนิสิต/นักศึกษา และชาวดิจิทลั รุ่นเก่าและชาวดิจิทลั อพยพมักประกอบอาชีพ
เมื่อพิจารณาภูมิหลังทางดิจิทลั ผ่านการทำความเข้ าใจจากมิติสารพัดสื่อ (Polymedia) ซึง่ เสนอโดย
แดเนียล มิเลอร์ (Daniel Miller) (2562) ที่ไม่สามารถทำความเข้ าใจแพลตฟอร์ มได้ อยากแยกขาดออกจากกัน
โดยการเลือกใช้ สื่อจะขึ ้นอยู่กบั สถานการณ์และบริ บททำให้ ชาวดิจิทลั เป็ นมีเหตุผลและมีความยืดหยุ่นเป็ นอย่าง
มากในการนำตนเองเข้ าสูแ่ พลตฟอร์ มดิจิทลั สำหรับชาวดิจิทลั หญิงที่เป็ นกลุม่ ตัวอย่างมีการเลือกใช้ แพลตฟอร์ ม
อินสตาแกรม (Instagram) มากที่สดุ เป็ นอันดับแรก ซึง่ เห็นว่าเป็ นแพลตฟอร์ มที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตของตนเอง
ถัดมาคือใช้ เฟซบุ๊ก (Facebook) และทวิตเตอร์ (Twitter) ตามลำดับ ในมิติของการพูดคุยแลกเปลี่ยนงานและ
การสังสรรค์ร่วมกันกับครอบครัวและเพื่อนจะเลือกใช้ ไลน์ (Line) ติดต่อสื่อสารในรูปแบบข้ อความ ด้ านของ
ประเภทสื่อที่ชาวดิจิทลั หญิงที่เป็ นกลุม่ ตัวอย่างเลือกติดตาม 5 อันดับแรก ประกอบด้ วย ซีรีส์/ภาพยนตร์ /ละคร
ข่าวสังคม/การเมือง ข่าวบันเทิงและรายการบันเทิง ข่าวอาชญากรรม และข่าวเศรษฐกิจและการลงทุน เป็ น
ประเภทสื่อที่ติดตามมากที่สดุ ตามลำดับ
ในมิติของความรอบรู้ทางดิจิทลั (Digital Literacy) พบว่า กลุม่ ตัวอย่างมากกว่าครึ่งเป็ นผู้ที่มีความ
รอบรู้ระดับสูง โดยคิดเป็ นร้ อยละ 98.52 และมีความรอบรู้ระดับต่ำอยู่ที่ร้อยละ 1.48 เพียงเท่านัน้ จึงอาจกล่าวได้
ว่าชาวดิจิทลั หญิงส่วนใหญ่มีความรอบรู้ทางดิจิทลั อยู่ในระดับดีและมีแนวโน้ มที่จะสามารถใช้ วิจารณญาณใน
การเลือกรับสื่อได้ เมื่อพิจารณาในด้ านของการป้องกันความเสี่ยงจากสื่อที่ไม่ปลอดภัย กลุม่ ตัวอย่างมีสดั ส่วน
ของความสามารถในการป้องกันความเสี่ยงอยู่ในระดับสูง คิดเป็ นสัดส่วน 0.98 ของตัวอย่างทังหมด ้
ใส่ รหัส-จับกลุ่มป้องกัน: รูปแบบวิถีชีวิตและการป้องกันความเสี่ยงจากสื่อไม่ ปลอดภัยของผู้
หญิงในโลกดิจทิ ลั
การศึกษาความหลากหลายของผู้หญิงกับโลกดิจิทลั อาศัยเทคนิคการวิเคราะห์ปัจจัยและวิเคราะห์องค์
ประกอบหลัก โดยผู้วิจยั ได้ อาศัยภูมิหลังทางดิจิทลั ได้ แก่ ความรอบรู้ด้านดิจิทลั การป้องกันความเสี่ยงจากสื่อ
ไม่ปลอดภัยที่เน้ นไปยังสื่อการพนันออนไลน์ และพฤติกรรมการป้องกันการรับสื่อไม่ปลอดภัย เพื่อแสดงให้ เห็น
ถึงความสัมพันธ์จากการจับกลุม่ ของตัวแปรทัง้ 3 ตัว สามารถจัดองค์ประกอบได้ 8 กลุม่ โดยมีรายละเอียดดังนี ้
กลุ่มองค์ ประกอบที่ 1 กลุ่มชาวดิจทิ ลั หญิงที่ม่ ุงมั่นในการตระหนักถึงสื่อไม่ ปลอดภัย (Eigen
Values = 6.566 ค่าร้ อยละของความแปรปรวน 13.679 ค่าน้ำหนักปั จจัย 0.746-0.828) ชาวดิจิทลั หญิงกลุม่ นี ้มี
ความมุ่งมัน่ ต่อสื่อไม่ปลอดภัยอย่างสื่อการพนันออนไลน์วา่ มีคณ ุ ลักษณะของการทำให้ ผ้ เู ล่นอยากกลับมาแก้ มือ
เสมอเพื่อให้ ได้ ทนุ คืน การเล่นหนึง่ ครัง้ ทำให้ มีการใช้ เงินจำนวนมาก ถึงแม้ ในชัว่ ขณะของอารมณ์ในการพบเจอ
สื่อไม่ปลอดภัยอย่างสื่อการพนันออนไลน์จะทำให้ เกิดความรู้สกึ ของความตื่นเต้ นในการนำเสนอสื่อ แต่การหลีก
เลี่ยงที่จะไม่เข้ าใจสื่อดังกล่าวเป็ นทางเลือกที่ปลอดภัยต่อการจะนำไปสูก่ ารติดการพนันออนไลน์และจะนำมาซึง่
ปั ญหาที่สง่ ผลกระทบไปยังคนรอบตัว เช่น การยืมเงินของผู้อื่นมาเล่นต่อเรื่ อย ๆ เป็ นต้ น
กลุ่มองค์ ประกอบที่ 2 กลุ่มชาวดิจทิ ลั หญิงที่ตระหนักถึงปั ญหาทางสุขภาพเมื่อเข้ าใกล้ ส่ ือไม่
ปลอดภัย (Eigen Values = 3.997 ค่าร้ อยละของความแปรปรวน 8.327 ค่าน้ำหนักปั จจัย 0.686-0.794)
ชาวดิจิทลั หญิงกลุม่ นี ้มีการตระหนักว่าเมื่อเข้ าใกล้ สื่อไม่ปลอดภัยอย่างสื่อการพนันออนไลน์ และหากกลายเป็ น
ผู้เล่นการพนันออนไลน์จะทำให้ เกิดปั ญหาทางด้ านสุขภาวะทางจิต โดยเฉพาะการก่อให้ เกิดความเครี ยด การ
เสียสุขภาพจิต รวมไปถึงการขาดความผูกผันทางสังคม (Social Bond) กับสถาบันครอบครัวและนำไปสูก่ ารใช้
ความรุนแรงที่อาจเกิดขึ ้นได้ ซึง่ การกลายเป็ นผู้เล่นการพนันออนไลน์เป็ นเสมือนการติดยาเสพติด การไม่เข้ าใกล้
สื่อดังกล่าวจึงเป็ นการตังต้้ นที่สำคัญที่จะไม่นำไปสูป่ ั ญหาทางสุขภาพที่อาจเกิดขึ ้นได้ จากการกลายเป็ นผู้เล่น
การพนันออนไลน์
กลุ่มองค์ ประกอบที่ 3 กลุ่มชาวดิจทิ ลั หญิงสายสืบ (Eigen Values = 5.799 ค่าร้ อยละของความ
แปรปรวน 27.805 ค่าน้ำหนักปั จจัย 0.821-0.894) ชาวดิจิทลั หญิงกลุม่ นี ้เมื่อพบเห็นสื่อไม่ปลอดภัยอย่างสื่อการ
พนันออนไลน์จะสามารถใช้ สื่อออนไลน์ในการหาข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับที่มา ผลกระทบ และการป้องกันตนเอง
จากสื่อดังกล่าวได้ เป็ นอย่างดี และยังสามารถหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสื่อการพนันออนไลน์ได้ อีกด้ วย อีกทังยั ้ ง
สามารถส่งต่อข้ อมูลที่ค้นคว้ ามาได้ ให้ กบั เพื่อน ๆ และคนรอบตัวเพื่อให้ ระวังไม่ให้ เข้ าสื่อการพนันออนไลน์ได้
กลุ่มองค์ ประกอบที่ 4 กลุ่มชาวดิจทิ ลั หญิงนักนิเวศวิทยาดิจทิ ลั สู้การพนันออนไลน์ (Eigen
Values = 2.630 ค่าร้ อยละของความแปรปรวน 5.479 ค่าน้ำหนักปั จจัย 0.580-0.721) ชาวดิจิทลั หญิงกลุม่ นี ้มี
คุณลักษณะสำคัญคือการป้องกันตนเองจากสื่อไม่ปลอดภัยอย่างสื่อการพนันออนไลน์ ปฏิเสธการพนันออนไลน์
และเน้ นการมีปฏิสมั พันธ์กบั สิ่งที่ดี โดยเมื่อได้ รับลิงค์เชิญชวนเล่นการพนันออนไลน์จะลบทิ ้งทันที หลีกเลี่ยงการ
เข้ าเว็บไซต์ที่มีการชวนเล่นการพนันออนไลน์ การมีปฏิสมั พันธ์กบั สิ่งแวดล้ อมของนิเวศวิทยาดิจิทลั ที่เชื่อมโยง
ระหว่างโลกออฟไลน์กบั โลกออนไลน์ เช่น การหลีกเลี่ยงการมีปฏิสมั พันธ์กบั ผู้ที่มาชวนเล่นการพนันออนไลน์ทงั ้
ในโลกออฟไลน์ (เพื่อนและคนรู้จกั ) และโลกออนไลน์ (การถูกเชิญเข้ ากลุม่ ไลน์การพนันออนไลน์ ) เป็ นต้ น
กลุ่มองค์ ประกอบที่ 5 กลุ่มชาวดิจทิ ลั หญิงที่ให้ ความสำคัญกับบรรทัดฐานที่เชื่อมโยงระหว่ าง
โลกออฟไลน์ กับโลกออนไลน์ (Eigen Values = 1.893 ค่าร้ อยละของความแปรปรวน 3.945 ค่าน้ำหนัก
ปั จจัย 0.679-0.771) ชาวดิจิทลั หญิงกลุม่ นีใ้ ห้ ความสำคัญกับมารยาทดิจิทลั โดยเฉพาะการส่งต่อสื่อที่ไม่
ปลอดภัยอย่างสื่อการพนันออนไลน์ไปยังคนในครอบครัวและเพื่อน รวมไปถึงมีการสร้ างบรรทัดฐาน (Norms)
ในโลกออนไลน์ที่มีความสัมพันธ์กบั โลกออฟไลน์อย่างการมีวิธีปฏิบตั ิหรื อการตักเตือนเมื่อคนในครอบครัวมีการ
ส่งต่อสื่อที่ไม่ปลอดภัยและมีการชักชวนให้ คลิกอ่านสื่อที่สง่ ต่อมาดังกล่าว
กลุ่มองค์ ประกอบที่ 6 กลุ่มชาวดิจทิ ลั หญิงนักกฎหมายดิจทิ ลั (Eigen Values = 1.606 ค่าร้ อย
ละของความแปรปรวน 3.346 ค่าน้ำหนักปั จจัย 0.572-0.728) ชาวดิจิทลั หญิงกลุม่ นีม้ ีความรอบรู้เกี่ยวกับ
กฎหมายดิจิทลั โดยทราบว่าการส่งต่อสื่อไม่ปลอดภัยไปยังบุคคลอื่น ๆ มีความผิดตามกฎหมาย ซึง่ สามารถสืบ
ต้ นตอของที่มาของสื่อนัน้ ๆ ที่อาจสร้ างความวิตกกังวลต่อการที่บคุ คลอื่น ๆ จะได้ รับสื่อดังกล่าวต่อ ชาวดิจิทลั
หญิงกลุม่ นี ้กล้ าที่จะสามารถอ้ างอิงความผิดตามกฎหมายและใช้ เนื ้อหาสาระทางกฎหมายแจ้ งเตือนคนรอบตัว
เพื่อให้ ไม่สง่ ต่อสื่อไม่ปลอดภัยต่อไปได้
กลุ่มองค์ ประกอบที่ 7 กลุ่มชาวดิจทิ ลั หญิงที่เคยใกล้ ชิดกับการพนันออนไลน์ (Eigen Values =
1.442 ค่าร้ อยละของความแปรปรวน 3.005 ค่าน้ำหนักปั จจัย 0.611-0.824) ชาวดิจิทลั หญิงกลุม่ นี ้เคยใกล้ ชิด
กับการเข้ าสูเ่ ส้ นทางการพนันออนไลน์ผ่านการได้ รับสื่อการพนันออนไลน์ เมื่อเวลาผ่านไปจะมีการกลับมาคิด
ทบทวนและตระหนักว่าการใกล้ ชิดกับการพนันออนไลน์ทำให้ ตนประสบกับปั ญหาทางด้ านการเงิน มีความวิตก
กังวล และรู้สกึ ผิดกับการเล่นการพนันออนไลน์
กลุ่มองค์ ประกอบที่ 8 กลุ่มชาวดิจทิ ลั หญิงที่ให้ ความสำคัญกับมารยาทดิจทิ ลั (Digital
Etiquette) (Eigen Values = 1.171 ค่าร้ อยละของความแปรปรวน 2.439 ค่าน้ำหนักปั จจัย 0.553-0.621)
ชาวดิจิทลั หญิงกลุม่ นี ้ให้ ความสำคัญกับมารยาทดิจิทลั ซึง่ ถือเป็ นหนึง่ ในความรอบรู้ทางดิจิทลั (Digital Literacy)
ที่จะช่วยให้ สามารถอยู่ร่วมกันในโลกออนไลน์และช่วยป้องกันไม่ให้ เกิดการเข้ าถึงสื่อการพนันออนไลน์ได้ เป็ น
อย่างดี โดยมีการตระหนักถึงการเคารพซึง่ กันและกันในโลกออนไลน์และไม่ก่อให้ ผลกระทบต่อผู้อื่นจากการใช้
สื่อออนไลน์ของตนเอง เช่น การใช้ ถ้อยคำไม่สภุ าพ การแสดงความคิดเห็นเสียดสี และการส่งต่อข้ อความที่ไม่
เป็ นความจริ ง เป็ นต้ น และยังสามารถวิเคราะห์และใช้ วิจารณญาณในการที่จะเลือกรับและส่งต่อสื่อออนไลน์ได้
โดยเฉพาะสื่อที่เข้ าข่ายว่าจะไม่ปลอดภัย

ออกจากสนามออนไลน์ : สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ


การศึกษาผู้หญิงในโลกดิจิทลั กับการป้องกันความเสี่ยงจากสื่อไม่ปลอดภัยจากมิติทางประชากรและ
สังคมช่วยเผยให้ เห็นถึงความหลากหลายของความเป็ นตัวตนของชาวดิจิทลั หญิงที่เป็ นกลไกสำคัญในการ
ป้องกันตนเองจากการได้ รับสื่อที่ไม่ปลอดภัยโดยเฉพาะสื่อการพนันออนไลน์ในหลากหลายรูปแบบ จากการจัด
กลุม่ เชิงองค์ประกอบสามารถสรุปได้ วา่ ในโลกดิจิทลั มีตวั ตนการป้องกันความเสี่ยงจากสื่อที่ไม่ปลอดภัย 8 กลุม่
สำคัญ ประกอบด้ วย กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงที่ม่งุ มัน่ ในการตระหนักถึงสื่อไม่ปลอดภัย กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงที่
ตระหนักถึงปั ญหาทางสุขภาพเมื่อเข้ าใกล้ สื่อไม่ปลอดภัย กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงสายสืบ กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงนัก
นิเวศวิทยาดิจิทลั สู้การพนันออนไลน์ กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงที่ให้ ความสำคัญกับบรรทัดฐานที่เชื่อมโยงระหว่างโลก
ออฟไลน์กบั โลกออนไลน์ กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงนักกฎหมายดิจิทลั กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงที่เคยใกล้ ชิดกับการพนัน
ออนไลน์ และกลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงที่ให้ ความสำคัญกับมารยาทดิจิทลั การจัดองค์ประกอบดังกล่าวสะท้ อนให้ เห็น
ว่าในโลกแห่งดิจิทลั มีคณ ุ ค่า ปฏิบตั ิการ และนวัตกรรมเพื่อใช้ วิถีชีวิตทางดิจิทลั แตกต่างกันออกไป (Boltanski &
Thévenot, 1999; 2006) โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่ชาวดิจิทลั หญิงประชิดเข้ ากับความเสี่ยงจากสื่อที่ไม่
ปลอดภัยต่าง ๆ
สำหรับกลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงที่ม่งุ มัน่ ในการตระหนักถึงสื่อไม่ปลอดภัย และกลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงที่
ตระหนักถึงปั ญหาทางสุขภาพเมื่อเข้ าใกล้ สื่อไม่ปลอดภัย เป็ นกลุม่ ที่มีลกั ษณะคล้ ายคลึงกันคือ การรู้ถึงผลเสีย
ของสื่อที่ไม่ปลอดภัยที่อาจก่อให้ เกิดผลกระทบต่อสุขภาพโดยเฉพาะสุขภาพจิตที่เป็ นผลมาจากการติดการพนัน
ออนไลน์ ลักษณะของกลุม่ ดังกล่าวมีความเด่นชัดในมิติของความเข้ าใจเนื ้อหา (Understanding) ซึง่ มีความ
เกี่ยวข้ องกับการลดความเสี่ยง (Risk Reduction) ด้ วยความสามารถในการป้องกันตนเองและไม่สนับสนุนการ
เข้ าถึงเนื ้อหาที่สร้ างความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้นในโลกดิจิทลั ได้ (พนม คลี่ฉายา, 2563, หน้ า 6-7;2565, หน้ า 144)
ในส่วนของกลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงสายสืบ เป็ นกลุม่ ที่มีลกั ษณะของการชอบค้ นคว้ าและสามารถประเมิน
เนื ้อหาของสื่อได้ อย่างรอบด้ าน โดยงานศึกษาของจุลนี เทียนไทย และคณะ (2563) ชี ้ชวนให้ เห็นว่าทักษะการ
สืบค้ นข้ อมูลเป็ นทักษะสำคัญของชาวดิจิทลั ไทย ซึง่ เป็ นทักษะที่ทำให้ ชาวดิจิทลั ไทยสามารถใช้ ชีวิตอยู่บนโลก
ดิจิทลั ได้ เป็ นอย่างดี โดยทักษะการสืบค้ นข้ อมูลเป็ นสิ่งที่ทำงานร่วมกันกับการเคลื่อนไหวของฐานข้ อมูลออฟไลน์
ขนาดใหญ่ที่ถกู ทำให้ กลายเป็ นเอกสารดิจิทลั ในโลกออนไลน์ เช่น หนังสือ บทความ และแหล่งอ้ างอิงที่แต่เดิม
เคยอยู่เพียงโลกออฟไลน์ก็ได้ กลายมาเป็ นเอกสารดิจิทลั อย่างหลากหลาย เป็ นต้ น การสืบค้ นข้ อมูลเหล่านี ้ยัง
ทำงานร่วมกับอุปนิสยั ของชาวดิจิทลั ไทยที่ช่างสังเกตและมีคำถามต่อสิ่งที่พบเจออยู่อย่างสม่ำเสมอ ขณะที่ข้อ
เสนอของ Gambetti (2020) ที่ตอ่ ยอดมาจากความคิดของ Pierre Bourdieu ในเรื่ องของฮาบิทสั (Habitus) และ
ทุน (Capital) ภายใต้ วิธีวิทยาการวิจยั แบบชาติพนั ธุ์วรรณนาออนไลน์ (Netnography) โดยที่ฮาบิทสั ดิจิทลั
(Digital Habitus) เป็ นสิ่งที่ปรากฏให้ เห็นผ่านการมีความโน้ มเอียงเชิงอุปนิสยั ที่ผสมผสานเข้ ากับเครื่ องมือและ
การสื่อสารในโลกดิจิทลั ที่มีความสลับซับซ้ อนโดยสามารถทำความเข้ าใจได้ ผ่านการมีปฏิสมั พันธ์ในโลกดิจิทลั
การเลือกรับเนื ้อหาในโลกออนไลน์ และความไม่คงที่ของสื่อสังคมออนไลน์ ซึง่ มีทงสิ ั ้ ่งที่เป็ นมนุษย์และไม่ใช่
มนุษย์มีปฏิสมั พันธ์ร่วมกันในพื ้นที่สงั คมเครื อข่าย การมีนิสยั และทักษะของการชอบสืบค้ น หรื อความค้ นคว้ าจึง
เป็ นฮาบิทสั ดิจิทลั ที่กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงสายสืบพัฒนาขึ ้นมาจากการเรี ยนรู้และการเข้ าไปเป็ นส่วนหนึง่ ในชุมชน
หนึง่ ที่ทำให้ เกิดการขัดเกลาเกี่ยวกับสื่อร่วมกันทังทางตรงและทางอ้
้ อม
กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงนักนิเวศวิทยาดิจิทลั สู้การพนันออนไลน์ และกลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงที่เคยใกล้ ชิดกับ
การพนันออนไลน์ ชาวดิจิทลั หญิง 2 กลุม่ นี ้มีวิถีชีวิตทางดิจิทลั ที่มีความคล้ ายคลึงกันซึง่ มุ่งเน้ นไปยังการมีสภาพ
แวดล้ อม หรื อนิเวศวิทยาทางดิจิทลั (Digital Ecology) ที่ดีด้วยการสามารถเลือกมีปฏิสมั พันธ์กบั ชาวดิจิทลั คน
อื่น ๆ ในทางที่ดีจะช่วยทำให้ เกิดความเป็ นอยู่ที่ดีในโลกดิจิทลั (Digital Wellbeing) ตามมา โดยความเป็ นอยู่ทีดี
ในโลกดิจิทลั สามารถเริ่ มต้ นจากปั จเจกบุคคลและเชื่อมโยงกับมาสูก่ ลุม่ ทางสังคมได้ เช่น การส่งต่อสื่อหรื อ
เนื ้อหาที่เป็ นประโยชน์มากกว่าการส่งต่อสื่อหรื อเนื ้อหาที่ไม่ปลอดภัยและไม่เกิดความสร้ างสรรค์ เป็ นต้ น ซึง่
แสดงให้ เห็นว่าโลกดิจิทลั มีสว่ นสัมพันธ์กบั ความเป็ นโครงสร้ างทางสังคมอย่างใกล้ ชิด (Büchi, 2021, pp.5-8)
กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงที่ให้ ความสำคัญกับบรรทัดฐานที่เชื่อมโยงระหว่างโลกออฟไลน์กบั โลกออนไลน์
กลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงนักกฎหมายดิจิทลั และกลุม่ ชาวดิจิทลั หญิงที่ให้ ความสำคัญกับมารยาทดิจิทลั ชาวดิจิทลั
หญิง 3 กลุม่ นี ้มีความเชื่อมโยงและมีคณ ุ ลักษณะที่มีความคล้ ายคลึงกัน ซึง่ เห็นว่าการเข้ าสูโ่ ลกดิจิทลั ควรมีการ
สร้ างบรรทัดฐานทางดิจิทลั (Digital Norms) ที่จะทำให้ เกิดการป้องกันการส่งต่อสื่อไม่ปลอดภัยได้ อย่างรอบด้ าน
โดยบรรทัดฐานทางดิจิทลั เป็ นสิ่งที่เกิดขึ ้นร่วมกันบรรทัดฐานทางสังคมออฟไลน์โดยเฉพาะในบริ บทของกฎหมาย
ที่สามารถแสดงให้ เห็นความผิดเมื่อนำเข้ าข้ อมูลที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้ างสรรค์เข้ าสูโ่ ลกดิจิทลั
ในอีกมิติหนึง่ คือการทำให้ สถาบันทางสังคมอยู่ในสภาวะใกล้ ชิดกับการใช้ สื่อออนไลน์และการแสดง
พฤติกรรมในโลกดิจิทลั ฐานิดา บุญวรรโณ และคณะ (2565) และภัทรพร ทำดี (2564) ได้ ชี ้ชวนให้ เห็นถึงการ
สร้ างความสัมพันธ์ทางสังคมในโลกออฟไลน์ที่เหนียวแน่นจะนำมาสูก่ ารสร้ างบรรทัดฐานที่ดีในโลกดิจิทลั โดย
เฉพาะการสร้ างสายสัมพันธ์ภายในครอบครัวให้ เข้ มแข็ง ซึง่ เป็ นการมองว่าสถาบันครอบครัวยังคงดำรงอยู่ใน
สถานะของสถาบันทางสังคมที่สามารถขัดเกลาทางสังคมและเกิดการเรี ยนรู้ทางวัฒนธรรมดิจิทลั เพื่อการอยู่ร่วม
กันและกลายเป็ นสังคมดิจิทลั ที่มีความสร้ างสรรค์ได้ อีกทังยั ้ งจำเป็ นต้ องมีการสร้ างการตระหนักรู้ในประเด็น
มารยาทดิจิทลั (Digital Etiquette) ในเรื่ องของมารยาทในการสื่อสารคือการที่ร้ ูจกั กาลเทศะในการเลือกสื่อสาร
กับคูส่ นทนา หรื อการสื่อสารสูส่ าธารณะ รวมไปถึงมารยาทในโลกออนไลน์ซงึ่ มีความเป็ นพลวัตไปตาม
แพลตฟอร์ มของการเลือกสนทนา เช่น การใช้ สติกเกอร์ ในไลน์ การแสดงความคิดเห็นในโพสต์สาธารณะ เป็ นต้ น
นอกจากนี ้ยังควรจะต้ องคำนึงถึงการละเมิดมารยาทในโลกออนไลน์ผา่ นการนำข้ อมูลหรื อสื่อที่ไม่ปลอดภัยและ
ไม่สร้ างสรรค์เข้ าสูส่ งั คมเครื อข่ายซึง่ จะเป็ นกลไกเชิงสังคมที่ช่วยคัดกรองและป้องกันการได้ รับสื่อที่มีเนื ้อหาเชิง
ลบได้ (ฐิ ตินนั ท์ ผิวนิล, 2564, หน้ า 405-412)
การศึกษาครัง้ นี ้ได้ แสดงให้ เห็นถึงความหลากหลายของความเป็ นตัวตนของชาวดิจิทลั หญิงที่เป็ นกลไก
สำคัญในการป้องกันตนเองจากการได้ รับสื่อที่ไม่ปลอดภัยโดยเฉพาะสื่อการพนันออนไลน์ในหลากหลายรูปแบบ
ซึง่ มีความแตกต่างไปตามคุณลักษณะ ฮาบิทสั และทัศนคติที่มีตอ่ การเข้ าสูโ่ ลกออนไลน์ สำหรับทิศทางใน
อนาคตของการศึกษาวิจยั ในประเด็นนี ้อาจมีการต่อยอดไปสูก่ ารทำความเข้ าใจในมิติที่ครอบคลุมถึงผู้มีความ
หลากหลายทางเพศ ซึง่ อาจมีทกั ษะหรื อคุณลักษณะที่สามารถนำมาใช้ ป้องกันตนเองจากการได้ รับสื่อที่ไม่
ปลอดภัยแตกต่างกันออกไป อีกทังยั ้ งควรมีการขยายต่อยอดงานวิจยั ไปสูก่ ารวิจยั เชิงปฏิบตั ิการอย่างมีสว่ นร่วม
เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมและปฏิบตั ิการเกี่ยวกับความรอบรู้ด้านดิจิทลั และความรอบรู้ด้านสื่อไม่ปลอดภัยให้ มี
ความเป็ นรูปธรรมมากยิ่งขึ ้น ทังนี ้ ้ การศึกษานี ้ได้ มีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปใช้ ประโยชน์เชิงนโยบายดังนี ้
1) กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้ างสรรค์ ควรมีการขับเคลื่อนและให้ การสนับสนุนแบบมุ่งเป้าไปยัง
ด้ านการสร้ างนิเวศวิทยาดิจิทลั ที่ดีและเหมาะสมโดยคำนึงถึงมิติทางเพศอย่างครอบคลุมและมีความรอบด้ าน
โดยคำนึงถึงความแตกต่างหลากหลายในโลกออนไลน์
2) สถาบันการศึกษาโดยเฉพาะในระดับขันพื ้ ้นฐานควรมีการพัฒนาหลักสูตรการเรี ยนรู้ทางด้ าน
เทคโนโลยีดิจิทลั ที่ให้ ความสำคัญกับประเด็นความรอบรู้ด้านดิจิทลั และการเข้ าถึงนิเวศวิทยาดิจิทลั ได้ อย่าง
ปลอดภัย ซึง่ จะเป็ นทักษะสำคัญให้ กบั ผู้เรี ยนในอนาคตในฐานะกรอบการเรี ยนรู้วคั ซีนแห่งโลกดิจิทลั (Digital
Vaccine)

กิตติกรรมประกาศ
งานวิจยั นี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของโครงการวิจยั เรื่ อง “การพัฒนาการเฝ้าระวังสื่อการพนันออนไลน์ของชาว
ดิจิทลั ไทย” ได้ รับทุนสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้ างสรรค์ ประจำปี 2564 ประเภทส่งเสริ ม
และสนับสนุนเด็กและเยาวชน

รายการอ้ างอิง
กนกวรา พวงประยงค์ . (2563). รูปแบบการดำเนินชีวิตของคนรุ่นใหม่ในสังคมชนบทไทยภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศกึ ษาพื ้นที่การเรี ยนรู้ด้วยการบริ การสังคมของบัณฑิตอาสาสมัคร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . วารสารวิ ชาการมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยบูรพา, 28(2),
1-28.
จุลนี เทียนไทย และคณะ. (2563). การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติ กรรม และทัศนคติ ในอนาคตของ
ชาวดิ จิทลั ไทย. สำนักงานการวิจยั แห่งชาติ (วช.).
ฐานิดา บุญวรรโณ, อัจฉริ ยา ชูวงศ์เลิศ, บุศริ นทร์ เลิศชวลิตสกุล, และกุลธิดา ศรี วิเชียร. (2565). ข้ อถกเถียงเรื่ อง
ความยัง่ ยืนทางดิจิทลั : มิติครอบครัวและความสัมพันธ์ เกษตรกรรม การท่องเที่ยง และการอพยพย้ าย
ถิ่น. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยนเรศวร, 18(2), 39-72.
ฐิ ตินนั ท์ ผิวนิล. (2562). สุขภาพจิตของครูไทยจากการใช้ เครื อข่ายสังคมออนไลน์. วารสารประชากรศาสตร์ ,
35(1), 62-86.
ฐิ ตินนั ท์ ผิวนิล. (2564). มารยาทดิจิทลั : ข้ อกำหนดในการสื่อสารออนไลน์ที่พลเมืองดิจิทลั ไทยควรตระหนัก .
วารสารวิ ชาการ กสทช., 5(5), 62-86.
แดเนียล มิเลอร์ . (2562). Why We Post: ส่องวัฒนธรรมโซเชียลมีเดียผ่านมานุษยวิทยาดิจิทลั . (แปลโดย ฐณฐ
จินดานนท์). บุ๊คสเคป.
ไทยรัฐออนไลน์. (2566). "บิ๊กรอย" ทลายเว็บพนัน กลางเมืองมหาสารคาม พบเงินหมุนเวียนกว่า 50 ล้ าน.
สืบค้ นจาก, https://www.thairath.co.th/news/crime/2632243
นฤพนธ์ ด้ วงวิเศษ. (2565). The Cyborg Manifesto, ดอนน่า ฮาราเวย์ และมานุษยวิ ทยา The Cyborg
Manifesto, Donna Haraway and Anthropology. สืบค้ นจาก, https://www.sac.or.th/portal/th/arti
cle/detail/375
พนม คลี่ฉายา. (2563). ความผูกพัน ความเสี่ยงจากการใช้ สื่อสังคมออนไลน์ และความรอบรู้ทางดิจิทลั และการ
รู้เท่าทันของประชาชน. วารสารนิ เทศศาสตร์ , 38(3), 1-16.
พนม คลี่ฉายา. (2565). กระบวนทัศน์ความรอบรู้เรื ่องสือ่ พัฒนาการ และปฏิ บตั ิ การจากสือ่ ดัง้ เดิ มสู่สือ่ ดิ จิทลั .
โครงการตำราและเอกสารวิชาการ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พัน นิลพันธุ์ ฉัตรไชยยันต์. (2555). เครื อข่ายสังคมกับชุมชนออนไลน์ : พัฒนาการ ความหมาย และรูปแบบการ
ขยายเครื อข่าย. วารสารนิ เทศศาสตร์ , 30(4), 18-29.
ภัทรพร ทำดี. (2564). ผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีตอ่ ประชากรต่างรุ่นในครอบครัวจากมุมมองของ
ประชากรชาวดิจิทลั ไทย. วารสารประชากรศาสตร์ , 37(2), 1-20.
ศูนย์ศกึ ษาปั ญหาการพนัน. (2565). รายงานศูนย์ศกึ ษาปั ญหาการพนัน ประจำปี 2565. ศูนย์ศกึ ษาปั ญหา
การพนัน.
สายชล ปั ญญชิต. (2555). สังคมวิทยาการพนัน: จากข้ อถกเถียงทางสังคมวิทยาถึงการแก้ ไขปั ญหาเยาวชนเล่น
พนันฟุตบอล. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยศรี นคริ นทรวิ โรฒ, 15(1), 93-104.
หทัยรัตน์ บุณโยปั ษฎัมภ์. (2564). สังคมวิ ทยาว่าด้วยเพศภาวะและเพศวิ ถี. โครงการผลิตหนังสือและตำรา
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ.
Boltanski, L., and Thévenot, L. (1999). The Sociology of Critical Capacity. European Journal of Social
Theory, 2(3), 359-377.
Boltanski, L., and Thévenot, L. (2006). On Justification: Economies of Worth (trans. C Porter).
Princeton University Press.
Büchi, M. (2021). Digital well-being theory and research. New Media & Society, 2021, 1-18. DOI: 10.
1177/14614448211056851
Churchill, B., and Craig, L. (2019). Gender in the gig economy: Men and women using digital
platforms to secure work in Australia. Journal of Sociology, 55(4), 741-761. DOI:
10.1177/144078331989 4060
Daniels, J. (2009). Rethinking Cyberfeminism(s): Race, Gender, and Embodiment. Women's Studies
Quarterly, 37(1), 101-124.
Fussey, P., and Roth, S. (2020). Digitizing Sociology: Continuity and Change in the Internet Era.
Sociology, 54(4), 659-674.
Gambetti, R. (2020). Netnography, Digital Habitus, and Technocultural Capital. In Netnography
Unlimited: Understanding Technoculture Using Qualitative Social Media Research, Robert
V. Kozinets & Rossella Gambetti (eds.), pp.293-319. Routledge.
Lupton, D. (2015). Donna Haraway: The Digital Cyborg Assemblage and the New Digital Health
Technologies. In The Palgrave Handbook of Social Theory in Health, Illness and Medicine,
Fran Collyer (ed.), pp.567-581. Palgrave Macmillan.
MRG Online. (2566). ทลายเว็บพนัน paris99th พบเงิ นหมุนเวียนกว่า 360 ล้าน. สืบค้ นจาก,
https://mgronline
.com/crime/detail/9660000003089
Sangkhamanee, J. (2021). Bangkok Precipitated: Cloudbursts, Sentient Urbanity, and Emergent
Atmospheres. East Asian Science, Technology and Society: An International Journal, 15(2),
153-172. DOI: 10.1080/18752160.2021.1896122

You might also like