Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

พันธะเคมี

ชนิดของพันธะเคมี
พันธะภายในโมเลกุล พันธะระหว่างโมเลกุล
(intramolecular bond) (intermolecular bond)
พันธะโคเวเลนต์ (covalent bonds) พันธะไฮโดรเจน (hydrogen bonds)
พันธะไอออนิก (ionic bonds) แรงแวนเดอร์วาลส์
(Van der Waals forces)
พันธะโลหะ ( metallic bonds) แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล - ไอออน
(molecule-ion attractions)
มากพันธะไอออนิก
พันธะไอออนิก ( Ionic bond ) หมายถึงแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดในสารประกอบที่
เกิดขึน้ ระหว่าง 2 อะตอมอะตอมที่มีคา่ อิเล็กโตรเนกาติวิตีตา่ งกัน อะตอมที่มีคา่ อิเลคโตร
เนกาติวิตีนอ้ ยจะให้อิเลคตรอนแก่อะตอมที่มีคา่ อิเลคโตรเนกาติวิตีมาก
สมบัตขิ องสารประกอบไอออนิก
1. มีขวั้ เพราะสารประกอบไอออนิกไม่ได้เกิดขึน้ เป็ นโมเลกุลเดี่ยว แต่จะเป็ นของแข็งซึง่
ประกอบด้วยไอออนจานวนมาก ซึง่ ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงยึดเหนี่ยวทางไฟฟ้า
2. ไม่นาไฟฟ้าเมื่ออยูใ่ นสภาพของแข็ง แต่จะนาไฟฟ้าได้เมื่อใส่สารประกอบไอออนิกลง
ในนา้ ไอออนจะแยกออกจากกัน ทาให้สารละลายนาไฟฟ้าในทานองเดียวกันสารประกอบที่
หลอมเหลวจะนาไฟฟ้าได้ดว้ ยเนื่องจากเมื่อหลอมเหลวไอออนจะเป็ นอิสระจากกัน
3 . มีจหุ ลอมเหลวและจุดเดือดสูง ความร้อนในการทาลายแรงดึงดูดระหว่างไอออน
ให้กลายเป็ นของเหลวต้องใช้พลังงานสูง
4 . สารประกอบไอออนิกทาให้เกิดปฏิกิรยิ าไอออนิก คือ ปฏิกิรยิ าระหว่างไอออนกับ
ไอออน ทัง้ นีเ้ พราะสารไอออนิกจะเป็ นไอออนอิสระในสารละลาย ปฏิกิรยิ าจึงเกิดทันที
5 . สมบัติไม่แสดงทิศทางของพันธะไอออนิก สารประกอบไอออนิกเกิดจากไอออนที่มี
ประจุตรงกันข้ามรอบ ๆ ไอออนแต่ละไอออนจะมีสนามไฟฟ้าซึง่ ไม่มีทิศทาง
6. เป็ นผลึกแข็ง แต่เปราะและแตกง่าย
พันธะโควาเลนต์
พันธะโควาเลนต์ (Covalent bond) หมายถึง พันธะในสารประกอบที่เกิดขึน้
ระหว่างอะตอม 2 อะตอมที่มีคา่ อิเล็กโตรเนกาติวิตีใกล้เคียงกันหรือเท่ากัน แต่ละอะตอมต่างมี
ความสามารถที่จะดึงอิเล็กตรอนไว้กบั ตัว อิเล็กตรอนคูร่ ว่ มพันธะจึงไม่ได้อยู่ ณ อะตอมใด
อะตอมหนึ่งแล้วเกิดเป็ นประจุเหมือนพันธะไอออนิก
พันธะโลหะ
พันธะโลหะ (Metallic Bond ) คือ แรงดึงดูดระหว่างไออนบวกซึง่ เรียงชิดกันกับ
อิเล็กตรอนที่อยูโ่ ดยรอบหรือเป็ นแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดจากอะตอมในก้อนโลหะใช้เวเลนส์
อิเล็กตรอนทัง้ หมดร่วมกัน อิเล็กตรอนอิสระเกิดขึน้ ได้ เพราะโลหะมีวาเลนส์อิเล็กตรอนน้อย
และมีพลังงานไอออไนเซชันต่า
สมบัตขิ องโลหะ
1.เป็ นตัวนาไฟฟ้าได้ดี เพราะมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปได้งา่ ยทั่วทัง้ ก้อนของโลหะ แต่
โลหะนาไฟฟ้าได้นอ้ ยลงเมื่ออุณหภูมิสงู ขึน้ เนื่องจากไอออนบวกมีการสั่นสะเทือนด้วยความถี่
และช่วงกว้างที่สงู ขึน้ ทาให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไม่สะดวก
2.โลหะนาความร้อนได้ดี เพราะมีอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้ โดยอิเล็กตรอนซึง่ อยูต่ รง
ตาแหน่งที่มีอณ
ุ หภูมิสงู จะมีพลังงานจลน์สงู และอิเล็กตรอนที่มีพลังงานจลน์สงู จะเคลื่อนที่ไป
ยังส่วนอื่นของโลหะ
3.โลหะตีแผ่เป็ นแผ่นหรือดึงออกเป็ นเส้นได้ เพราะไอออนบวกแต่ละไอออนอยูใ่ น
สภาพเหมือนกันๆ กัน และได้รบั แรงดึงดูดจากประจุลบเท่ากันทัง้ แท่งโลหะ ไอออนบวกจึง
เลื่อนไถลผ่านกันได้โดยไม่หลุดจากกัน
4.โลหะมีผิวเป็ นมันวาว เพราะกลุม่ ของอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้โดยอิสระจะรับและ
กระจายแสงออกมา จึงทาให้โลหะสามารถสะท้อนแสงซึง่ เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้
5.โลหะมีจดุ หลอมเหลวสูง เพราะพันธะในโลหะ เป็ นพันธะที่เกิดจากแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างวาเลนซ์อิเล็กตรอนอิสระทัง้ หมดในด้อนโลหะกับไอออนบวกจึงเป็ นพันธะที่แข็งแรงมาก

You might also like