12E837EE 4-5เลขที่3,6,,7,10,18,36,37,38,39

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 10

1.

ชื่อโครงการ
Way to study to future.

2. หลักการและเหตุผล
ความเหลื่อมล้ำ คือ ความไม่เท่าเทียม ไม่เสมอภาคซึ่งปรากฏใน
ทุกๆเรื่องทุกที่และทุกเวลาทั่วโลกเป็นปัญหาอันดับต้นๆ ไม่อาจจะขจัด
ให้หมดสิ้นไปได้เป็นสิง่ ที่ควบคู่กับสังคมมานานซึ่งจะเชื่อมโชงไปถึง
ความเป็นอยู่ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการศึกษา สำหรับประเทศไทยก็
เผชิญกับปัญหานี้เป็นอันดับต้นๆเช่นกันและยังเป็นปัญหาที่สะสมปม
ความยากจนและเหลื่อมล้ำแม้ว่าประเทศไทยจะลงทุนด้านการศึกษา
ด้วยงบประมาณที่สูงแล้วก็ตาม
การที่สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพก็จะสามารถ
เปลี่ยนแปลงตัวเองได้
มีความสามารถในทางเศรษฐกิจเป็นอิสระจากการพึ่งพาไม่เพียเท่านั้น
การศึกษาจะทำให้เรามีความรู้และข้อมูลที่เพียงพอในการเข้าไปมีส่วน
สำคัญของการแก้ไขปัญหาต่างๆในสังคมรวมถึงเป็นผู้สร้างการ
เปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้อีกด้วย การศึกษาที่มีคุณภาพให้ทุกคนใน
สังคมเข้าถึงได้หรือได้รับโอกาสคือการสร้างความเสมอภาคด้วยการสร้าง
โอกาสไม่ให้มีการเหลื่อมล้ำในการศึกษาและสามารถต่อยอดไปสู่การ
สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ
เนื่องจากการศึกษาส่งผลในหลายด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้าน
สังคมวัฒนธรรม
ในปัจจุบันรัฐบาลจึงค้นพบแนวทางที่หลากหลายเพื่อให้เยาวชนได้ศึกษา
ต่อให้ได้มากที่สุด
เพื่อประโยชน์ของเยาวชนให้ได้รับสิทธิ์ในการเรียนรู้เท่าเทียมกัน
ความสำคัญในการศึกษาของประเทศไทย ส่งผลกระทบถึงสังคม
และประเทศชาติรัฐบาลได้มีการกำหนดการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างต่ำคือ
มัธยมศึกษาปีที่6 เพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชนได้ศึกษาต่อจึงค้นหาแนวทาง
ศึกษาที่หลากหลายให้เยาวชนได้เข้าถึงการศึกษาได้มากที่สุด การลด
ความยากจนและความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาด้วยคุณภาพดี ก็เพื่อสร้าง
พลเมืองที่มีคุณภาพเป็นอิสระที่จะพึ่งตนเองได้
ด้วยเหตุผลนี้กลุ่มของพวกเราจึงศึกษาหนทางอื่นๆในการศึกษา
เพื่อเปิดโอกาสให้คนที่ต้องการจะศึกษาต่อโดยแต่ละหนทางจะมีเกณฑ์
การรับต่างๆโดยมีข้อจำกัดที่แต่ละโรงเรียนหรือแต่ละสถาบันได้กำหนด
ไว้ให้ยกตัวอย่าง เช่น กรณีที่เราจะศึกษาต่อระบบของกศน. ทางกศน.ก็
จะมีข้อจำกัดหรือข้อบัง เช่น ควรมีการจบการศึกษาของชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่3(ภาคบังคับ) จากที่กล่าวมาทั้งหมดนี้พวกเราเลยเลือกที่จะศึกษา
หนทางในการศึกษาต่อ เพื่อหาแนวทางให้เด็กภายในประเทศได้รับการ
ศึกษาที่ถูกต้องและเท่าเทียมกัน

3. วัตถุประสงค์
3.1 เพื่อศึกษาและจัดทำอินโฟกราฟิกความรู้เกี่ยวกับหนทางใน
การศึกษาต่อ
3.2 เพื่อเผยแพร่ให้ผู้สนใจได้รับความรู้เกี่ยวกับการศึกต่อในระดับ
ที่ต้องการ

4. กลุ่มเป้าหมาย
-เชิงปริมาณ นักเรียนทั้งหมดในโรงเรียนสายน้ำผึ้งฯ
-เชิงคุณภาพ นักเรียนทั้งหมดในโรงเรียนสายน้ำผึ้งฯได้รับความรู้เกี่ยวกับ
หนทางในการศึกษาต่อ

5. ระยะเวลาดำเนินการ
3 พฤศจิกายน 2565 - 31 มกราคม 2566

6. สถานที่ดำเนินการ
6.1 สถานที่
โรงเรียนสายน้ำผึ้งในพระอุปถัมภ์
6.2 สถานที่เผยแพร่
เฟซบุ๊กเพจ “วิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้แห่ง
สายน้ำผึ้ง”

7. วิธีดำเนินการ
ท วิธีดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา
ี่ ดำเนินงาน
1 วางแผน และเลือกหัวข้อ กัญญาณัฐ สังข์นาค 15 ธันวาคม
3 2565
พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
อาคิรา ธันยธร 38
ธนศร นวลวิลัย 39

2 มอบหมายหน้าที่ใน กัญญาณัฐ สังข์นาค 17 ธันวาคม


สมาชิกและรวบรวมข้อมูล 3 2565
พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
อาคิรา ธันยธร 38
ท วิธีดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา
ี่ ดำเนินงาน
ธนศร นวลวิลัย 39
3 นำข้อมูลาวิเคราะห์คัด กัญญาณัฐ สังข์นาค 25 ธันวาคม
ครอง 3 2565
พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
อาคิรา ธันยธร 38
ธนศร นวลวิลัย 39

4 นำข้อมูลที่ศึกษามาเขียน กัญญาณัฐ สังข์นาค 29 ธันวาคม


โครงการและนำไปปรึก 3 2565
อาจารย์ผู้สอน พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
ท วิธีดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา
ี่ ดำเนินงาน
อาคิรา ธันยธร 38
ธนศร นวลวิลัย 39

5 นำข้อมูลเป็นอินโฟกราฟิก กัญญาณัฐ สังข์นาค 4 มกราคม


3 2566
พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
อาคิรา ธันยธร 38
ธนศร นวลวิลัย 39

6 นำไปปรึกษาอาจารย์ผู้ กัญญาณัฐ สังข์นาค 11 มกราคม


สอนเกี่ยวกับการเขียนอิน 3 2566
โฟกราฟิก พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
ท วิธีดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา
ี่ ดำเนินงาน
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
อาคิรา ธันยธร 38
ธนศร นวลวิลัย 39

7 ปรับปรุงและแก้ไขอินโฟ กัญญาณัฐ สังข์นาค 15 มกราคม


กราฟิกความรู้ในส่วนที่ผิด 3 2566
พลาด พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
อาคิรา ธันยธร 38
ธนศร นวลวิลัย 39
ท วิธีดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา
ี่ ดำเนินงาน
ท วิธีดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา
ี่ ดำเนินงาน

8 ภายแพร่อินโฟกราฟิก กัญญาณัฐ สังข์นาค 19 มกราคม


ความรู้ 3 2566
พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
อาคิรา ธันยธร 38
ธนศร นวลวิลัย 39

8. งบประมาณ
ที่ รายการ ราคา (บาท)
1 ค่าอินเตอร์เน็ต 500
2 ค่าไฟฟ้า 300
3
4
5
รวม 800
9. ผู้รับผิดชอบโครงการ
1. คุณครู สุพาพร แซ่ฮึง ครูที่ปรึกษาโครงการ
2. กัญญาณัฐ สังข์นาค 3
3.พรนิชา ขอชัย 6
4.ภัทราดา กอเข็ม 7
5.วราพร บุญวิลัย 10
6.กมลลักษณ์ อินต๊ะ 18
7.พีรดา ทองปาน 36
8.อชิรญา รัตนะ 37
9.อาคิรา ธันยธร 38
10.ธนศร นวลวิลัย 39
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 5 ปีการศึกษา 2564

10. การติดตามและประเมินผล
ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
ประเมิน
1 การตรวจอินโฟกราฟิกความรู้ ครูผู้เชีย
่ วชาญ แบบประเมิน
เรื่อง Way to study to future. ตรวจสอบอินโฟ โดย คุณครู สุ
กราฟิกความรู้ พาพร แซ่ฮึง
2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 การสอบถาม แบบสอบถาม
โรงเรียนสายน้ำผึ้งในพระ
อุปถัมภ์ได้รับความรู้เกี่ยวกับ
การเรียนและการใช้ชีวิต ให้มี
ความสมดุลในการศึกษาต่อ
แนะนำหนทางที่หลากหลาย
และน่าสนใจ

11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
11.1 สมาชิกในกลุ่มที่ได้อ่านอินโฟกราฟิกความรู้จะสามารถนำไปใช้ใน
การหาหนทางศึกษาต่อในระดับต่างๆได้และสามารถใช่ในชีวิตหรือใน
อนาคตได้
11.2 นักเรียนที่ได้อ่านอินโฟกราฟิกจะได้รับความรู้เกี่ยวกับการหา
หนทางศึกษาต่อในระดับต่างๆที่มีหลากหลายวิธแ ี ละสามารถใช้ได้จริง
ทุกวิธี
11.3 บุคคลทั่วไปที่ได้อ่านอินโฟกราฟิกสามารถนำไปใช้ในชีวิตได้เกี่ยว
กับการศึกษาต่อหรือสามารถไปบอกกับคนที่รู้จักเกี่ยวกับวิธีการศึกษาต่อ
ได้

You might also like