Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 87

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การเปรียบเทียบการออกแบบฐานราก คสล.วางบนเสาเข็ม
ด้วยวิธหี น่วยแรงใช้งานและวิธกี ำลัง

รายงานโครงการหมายเลข CE2022-7

รายงานโครงการหมายเลข CE2022-7

การเปรียบเทียบการออกแบบฐานราก คสล.วางบนเสาเข็มด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งาน
และวิธีกำลัง

นายนิติ อุ่มสัมฤทธิ์ รหัสนักศึกษา 623040268-2


นายปวริศร์ วงศ์คำจันทร์ รหัสนักศึกษา 623040278-9
นายจตุพร ศรีทัศน์ รหัสนักศึกษา 623040544-4

รายงานนี้เป็นรายงานนี้เป็นรายงานการเตรียมโครงการของนักศึกษาชั้นปีที่ 4
ซึ่งเสนอเป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2565

Project Report No. CE2022-7


Comparison of RC Footing on Piles Designed from Working Stress Design


and Strength Design

Mr. Niti Aumsamrit ID 623040268-2


Mr. Pawaris Vongkamjan ID 623040278-9
Mr. Jatuporn Srithad ID 623040544-4

This is the report of fourth year project assignment submitted in partial


fulfillment of the requirement for the Degree of Bachelor of Engineer

Department of Civil Engineering


Faculty of Engineering, Khon Kaen University
2022

ใบประเมินผลงานโครงการ

ชื่อเรื่องภาษาไทย การเปรียบเทียบการออกแบบฐานราก คสล.วางบนเสาเข็มด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งาน


และวิธีกำลัง
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ Comparison of RC Footing on Piles Designed from Working Stress
Design and Strength Design
ชื่อนักศึกษาผู้ทําโครงการ
นายนิติ อุ่มสัมฤทธิ์ รหัสนักศึกษา 623040268-2
นายปวริศร์ วงศ์คำจันทร์ รหัสนักศึกษา 623040278-9
นายจตุพร ศรีทัศน์ รหัสนักศึกษา 623040544-4

อาจารย์ที่ปรึกษา

(รองศาสตราจารย์ จารึก ถีระวงษ์)


อาจารย์ผู้ร่วมประเมินผล

(ศาสตราจารย์ วันชัย สะตะ)

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำพล วงศ์ษา)


ประเมิน ณ วันที่ 23 มีนาคม 2566

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปริมาณเหล็กที่ใช้ในการออกแบบฐานราก โดยวิธีหน่วย
แรงใช้งาน และวิธีกำลังโดยใช้ค่าต่าง ๆ ที่ออกแบบได้จากวิธีหน่วยแรงใช้งาน โดยผู้ศึกษามีแบ่งวิธีการศึกษาเป็น
ดังนี้ ได้แก่ การถ่ายน้ำหนักทั้งหมดของอาคารลงเสาตอม่อ การออกแบบฐานรากด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งาน และการ
ออกแบบฐานรากด้วยวิธีกำลังที่ใช้ค่าที่ได้จากการออกแบบด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งาน และคำนวณหาปริมาณเหล็ก
จากผลการวิเคราะห์ที่ได้จากการศึกษา ที่เกิดขึ้นสามารถอธิบายได้ดังต่อไปนี้ การคำนวณโดยวิธีกำลังที่ใช้ค่าจาก
การออกแบบด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งานจะได้ปริมาณเหล็กน้อยกว่าที่คำนวณด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งาน 30 – 40%

Abstract
This study aimed to compare the amount of steel used in foundation design by Working
Stress Design and Strength Design Method using various values designed from the Working Stress
Design. The researchers divided the study methods as follows: transferring the total weight of
the building onto the piers. Foundation design by Working Stress Design and the design of the
foundation using the Strength Design Method using the values obtained from the design using
the Working Stress Design. and calculate the amount of steel from the results of the analysis
obtained from the study That happened can be described as follows. Calculation by the
Strength Design Method using the value from the design using the Working Stress Design will
yield less steel than that calculated by the Working Stress Design by 30 - 40%.

กิตติกรรมประกาศ
โครงการวิจัยฉบับนี้สำเร็จลงได้ด้วยดี เนื่องจากได้รับความกรุณาจากท่านรองศาสตราจารย์จารึก ถีระวงษ์
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัยที่กรุณาให้คำแนะนำปรึกษา ตลอดจนปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอา
ใจใส่อย่างดียิ่ง คณะผู้จัดทำได้ตระหนักถึงความตั้งใจจริง ความทุ่มเทและเวลาอันมีค่าของท่านอาจารย์ ทางคณะ
ผู้จัดทำขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้
คณะผู้จัดทำหวังว่าโครงการวิจัยฉบับนี้จะมีประโยชน์ จึงขอมอบส่วนที่ดีทั้งหมดเหล่านี้ให้แก่เหล่า
คณาจารย์ที่ได้ประสิทธิประสาทวิชาจนทำให้ผลงานโครงการวิจัยเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องและขอมอบความ
กตัญญูกตเวทิตาคุณ แก่บิดา มารดาและผูม้ ีพระคุณทุกม่าน สำหรับข้อบกพร่องต่างๆ ที่ได้เกิดขึ้น ทางคณะผู้จัดทำ
ขอน้อมรับผิดเพียงผู้เดียว และยินดีที่พร้อมจะรับฟังคำแนะนำจากทุกท่านที่ได้เข้ามาศึกษา เพื่อเป็นประโยชน์ใน
การพัฒนาโครงการวิจัยสืบต่อไป
คณะผู้จัดทำ

สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ จ
กิตติกรรมประกาศ ฉ
สารบัญ ช-ซ
สารบัญรูปภาพ ฌ
สารบัญตาราง ญ-ฏ
บทที่ 1 บทนำ
ที่มาและความสำคัญ 1
วัตถุประสงค์ 1
ขอบเขตการศึกษา 1
สมมติฐานการคำนวณออกแบบ 2
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 3
บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
คอนกรีต 5
เหล็กเสริม 5
ฐานราก 7
หน่วยแรงใต้ฐานรากสำหรับฐานรากแบบวางบนเสาเข็ม 7
พฤติกรรมและการวิบัติของฐานราก 8
การวิบัติที่เกิดจากแรงเฉือน 9
หน้าตัดวิกฤตสำหรับแรงเฉือน 10
สารบัญ (ต่อ)

หน้า
ขั้นตอนการคำนวณออกแบบฐานรากเดี่ยววางบนเสาเข็ม (วิธีหน่วยแรง) 11
ขั้นตอนการคำนวณออกแบบฐานรากเดี่ยววางบนเสาเข็ม (วิธีกำลัง) 11
ความต้านทานแรงเฉือนของคอนกรีตในฐานราก 14
บทที่ 3 แผนการดำเนินการ 15
บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปราย
การถ่ายน้ำหนักที่กระทำลงบนเสา 16
การออกแบบฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งาน 17
การออกแบบฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยวิธีหน่วยกำลัง 23
เปรียบเทียบการใช้ปริมาณเหล็กเสริมโดยวิธีหน่วยแรง 29
และวิธีกำลังของอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้น
เปรียบเทียบการใช้ปริมาณเหล็กเสริมโดยวิธีหน่วยแรง 30
และวิธีกำลังของอาคารที่พักอาศัย 9 ชั้น
บทที่ 5 ข้อสรุปและเสนอแนะ
สรุป 32
ข้อเสนอแนะ 32
บรรณานุกรม 33
ภาคผนวก 34

สารบัญรูปภาพ
หน้า
รูปที่ 1.1 แปลนอาคารที่พักอาศัย 3
รูปที่ 1.2 แปลนอาคารพักอาศัย 6 ชั้นและ 9 ชั้น 3
รูปที่ 1.3 หน้าตัดเสาของอาคารพักอาศัย 6 ชั้นและ 9 ชั้น 4
รูปที่ 1.4 หน้าตัดคานของอาคารพักอาศัย 6 ชั้นและ 9 ชั้น 4
รูปที่ 2.1 น้ำหนักที่เสาเข็มแต่ละต้นต้องรับ 8
รูปที่ 2.2 การวิบัติของฐานรากเดี่ยว 9
รูปที่ 2.3 พื้นที่หาแรงเฉือน 9
รูปที่ 2.4 แรงปฏิกิริยาของเสาเข็ม 10
รูปที่ 3.1 แผนผังการดำเนินงาน 15
รูปที่ 4.1 กราฟเปรียบเทียบการใช้ปริมาณเหล็กเสริมโดยวิธีหน่วยแรง 30
และวิธีกำลังของอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้น
รูปที่ 4.2 กราฟเปรียบเทียบการใช้ปริมาณเหล็กเสริมโดยวิธหี น่วยแรง 31
และวิธีกำลังของอาคารที่พักอาศัย 9 ชั้น

สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 2.1 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนสำหรับมวลต่อเมตรของเหล็กเสริม 6
ตารางที่ 2.2 กลสมบัติของเหล็กเสริมตามมาตรฐานอุตสาหกรรม 6
ตารางที่ 4.1 แสดงน้ำหนักบรรทุกที่ถ่ายลงเสาแต่ละต้น 16
ตารางที่ 4.2 แสดงน้ำหนักบรรทุกทั้งหมดที่ถ่ายลงเสา 16
ตารางที่ 4.3 แสดงน้ำหนักบรรทุกที่ใช้ในการออกแบบฐานรากสำหรับอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้น 17
ตารางที่ 4.4 การเลือกใช้ขนาดเสาเข็ม I และน้ำหนักบรรทุกปลอดภัย 17
ตารางที่ 4.5 ค่าแรงเฉือนและโมเมนต์สูงสุด 18
ตารางที่ 4.6 ค่าความลึกประสิทธิผลและขนาดความหนาของฐานรากที่เลือกใช้ 18
ตารางที่ 4.7 ค่าแรงเฉือนทางเดียว (beam shear) และค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้ 18
ตารางที่ 4.8 ค่าแรงเฉือนสองทาง (punching shear) และค่าแรงเฉือนสองทางที่ยอมให้ 19
ตารางที่ 4.9 ปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ในฐานราก 19
ตารางที่ 4.10 แสดงน้ำหนักบรรทุกที่ใช้ในการออกแบบฐานรากสำหรับอาคารที่พักอาศัย 9 ชั้น 20
ตารางที่ 4.11 การเลือกใช้ขนาดเสาเข็ม I และน้ำหนักบรรทุกปลอดภัย 20
ตารางที่ 4.12 ค่าแรงเฉือนและโมเมนต์สูงสุด 20
ตารางที่ 4.13 ค่าความลึกประสิทธิผลและขนาดความหนาของฐานรากที่เลือกใช้ 21
ตารางที่ 4.14 ค่าแรงเฉือนทางเดียว (beam shear) และค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้ 21
ตารางที่ 4.15 ค่าแรงเฉือนสองทาง (punching shear) และค่าแรงเฉือนสองทางที่ยอมให้ 22
ตารางที่ 4.16 ปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ในฐานราก 22
ตารางที่ 4.17 แสดงน้ำหนักบรรทุกที่ใช้ในการออกแบบฐานรากสำหรับอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้น 23
ตารางที่ 4.18 การเลือกใช้ขนาดเสาเข็ม I และน้ำหนักบรรทุกปลอดภัย 23
สารบัญตาราง (ต่อ)

หน้า
ตารางที่ 4.19 น้ำหนักบรรทุกปลอดภัย น้ำหนักประลัย และ F.S. 24
ตารางที่ 4.20 ค่าแรงเฉือนประลัยและโมเมนต์ดัดประลัย 24
ตารางที่ 4.21 ค่าความลึกประสิทธิผลและขนาดความหนาของฐานรากที่เลือกใช้ 25
ตารางที่ 4.22 ค่าแรงเฉือนทางเดียว (beam shear) และค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้ 25
ตารางที่ 4.23 ค่าแรงเฉือนสองทาง (punching shear) และค่าแรงเฉือนสองทางที่ยอมให้ 25
ตารางที่ 4.24 ปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ในฐานราก 26
ตารางที่ 4.25 แสดงน้ำหนักบรรทุกที่ใช้ในการออกแบบฐานรากสำหรับอาคารที่พักอาศัย 9 ชั้น 26
ตารางที่ 4.26 การเลือกใช้ขนาดเสาเข็ม I และน้ำหนักบรรทุกปลอดภัย 26
ตารางที่ 4.27 น้ำหนักบรรทุกปลอดภัย น้ำหนักประลัย และ F.S. 27
ตารางที่ 4.28 ค่าแรงเฉือนประลัยและโมเมนต์ดัดประลัย 27
ตารางที่ 4.29 ค่าความลึกประสิทธิผลและขนาดความหนาของฐานรากที่เลือกใช้ 27
ตารางที่ 4.30 ค่าแรงเฉือนทางเดียว (beam shear) และค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้ 28
ตารางที่ 4.31 ค่าแรงเฉือนสองทาง (punching shear) และค่าแรงเฉือนสองทางที่ยอมให้ 28
ตารางที่ 4.32 ปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ในฐานราก 29
ตารางที่ 4.33 ฐานราก F1 (เสาตอม่อ C1 ต้นใน) ที่ความหนา 40 ซม. 29
และขนาดเสาเข็ม I30x30 จำนวน 4 ต้น
ตารางที่ 4.34 ฐานราก F2 (เสาตอม่อ C1 ต้นนอก) ที่ความหนา 40 ซม. 29
และขนาดเสาเข็ม I26x26 จำนวน 4 ต้น
ตารางที่ 4.35 ฐานราก F3 (เสาตอม่อ C2) ที่ความหนา 50 ซม. 29
และขนาดเสาเข็ม I26x26 จำนวน 4 ต้น

สารบัญตาราง (ต่อ)

หน้า
ตารางที่ 4.36 ฐานราก F4 (เสาตอม่อ C3) ที่ความหนา 40 ซม. 29
และขนาดเสาเข็ม I22x22 จำนวน 4 ต้น
ตารางที่ 4.37 ฐานราก F1 (เสาตอม่อ C1 ต้นใน) ที่ความหนา 75 ซม. 30
และขนาดเสาเข็ม I30x30 จำนวน 6 ต้น
ตารางที่ 4.38 ฐานราก F2 (เสาตอม่อ C1 ต้นนอก) ที่ความหนา 75 ซม. 30
และขนาดเสาเข็ม I26x26 จำนวน 6 ต้น
ตารางที่ 4.39 ฐานราก F3 (เสาตอม่อ C2) ที่ความหนา 85 ซม. 30
และขนาดเสาเข็ม I26x26 จำนวน 6 ต้น
ตารางที่ 4.40 ฐานราก F4 (เสาตอม่อ C3) ที่ความหนา 75 ซม. 31
และขนาดเสาเข็ม I22x22 จำนวน 6 ต้น
1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ที่มาและความสำคัญ
วิธีการออกแบบฐานราก คลส. มี 2 วิธีในประเทศไทยคือ วิธีหน่วยแรงใช้งาน (Working Stress design :
WSD) และวิธีกำลัง (Strength Design Method : SDM) ทั้งสองวิธีนั้นมีพื้นฐานในการออกแบบที่ต่างกัน
กล่าวคือ WSD นั้นพิจารณาทีห่ น่วยแรงในสภาวะใช้งานส่วน SDM จะพิจารณาหน่วยการยืดหดตัวที่สภาวะวิบัติ
ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจทีจ่ ะศึกษาเปรียบเทียบปริมาณเหล็กเสริมทีไ่ ด้จากการออกแบบฐานราก คสล. จากทั้ง
สองวิธี

1.2 วัตถุประสงค์
1. เปรียบเทียบปริมาณเหล็กเสริมที่ได้จากการออกแบบฐานรากโดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน (Working Stress
design) และวิธีกำลัง (Strength Design Method) ในกรณีที่พิจารณาน้ำหนักบรรทุกใช้งาน (Working load)
2. ตรวจสอบฐานราก คสล. วางบนเสาเข็มซึ่งออกแบบโดยวิธี WSD ว่าจะสามารถรับน้ำหนักบรรทุก
ประลัยด้วยวิธี SDM ได้หรือไม่

1.3 ขอบเขตการศึกษา
1. โครงสร้างตัวอย่างที่จะใช้ในการคำนวณน้ำหนักทั้งหมดที่ถ่ายลงสู่ฐานรากได้แสดงไว้ในรูปที่ 1.1 และ
รูปที่ 1.2
2. การออกแบบฐานรากจะอ้างอิงมาตรฐานวสท.(1007-34) สำหรับวิธีหน่วยแรงใช้งานและมาตรฐาน
วสท.(1008-38) สำหรับวิธีกำลัง
3. น้ำหนักบรรทุกจรใช้ตามข้อบัญญัติ กทม.พศ.2522 ส่วนน้ำหนักบรรทุกคงที่ใช้จากขนาดตามที่แบบ
กำหนด เพราะฉะนั้น ฐานรากจะรับเพียงแรงในแนวแกนซึ่งถ่ายจากเสาเท่านั้น ผนังก่ออิฐมอญครึ่งแผ่นสูงเท่ากับ
ความสูงของอาคารแต่ละชั้นลบความลึกคาน
4. กำลังอัดประลัยของคอนกรีตที่พิจารณาคือ 240 ksc และเหล็กเสริมจะพิจารณามาตรฐาน SD40
2

5. ค่าอัตราส่วนความปลอดภัยของเสาเข็มมีค่าเท่ากับ 2.5 น้ำหนักบรรทุกปลอดภัยจะเลือกใช้เมื่อคำนวณ


น้ำหนักที่ถ่ายจากเสาได้แล้ว
6. ฐานรากที่ออกแบบจะวางบนเสาเข็ม 4 ต้นและ 6 ต้น

1.4 สมมติฐานการคำนวณออกแบบ
1.4.1 วิธีหน่วยแรงใช้งาน (Working Stress Design : WSD)
1) สมมติให้การกระจายของหน่วยการยืด-หดตัวบนหน้าตัดเป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะที่ห่างจากแนวแกนสะเทิน
2) วัสดุคอนกรีตและเหล็กเป็นไปตามกฎของฮุค กล่าวคือความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยแรงกับหน่วยยืด-หดตัวเป็น
สัดส่วนโดยตรง
3) การยึดเหนีย่ วระหว่างคอนกรีตกับเหล็กเสริมเป็นไปอย่างสมบูรณ์ กล่าวคือหน่วยการยืดหดตัวของเหล็กเสริม
คอนกรีตที่ตำแหน่งเดียวกันมีค่าเท่ากัน
1.4.2 วิธีกำลัง (Strength Design Method : SDM)
1) สมมติให้การกระจายของหน่วยการยืด-หดตัวบนหน้าตัดเป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะที่ห่างจากแนวแกนสะเทิน
2) การยึดเหนีย่ วระหว่างคอนกรีตเสริมเหล็กเป็นไปอย่างสมบูรณ์ กล่าวคือหน่วยการยืดหดตัวของเหล็กเสริมกับ
คอนกรีตที่ตำแหน่งเดียวกันมีค่าเท่ากัน
3) หน่วยการยืดหดตัวสูงสุดของคอนกรีตที่สภาวะวิบัติ (εcu )= 0.003 สำหรับคอนกรีตกำลังปกติ
4) ให้ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยแรงกับหน่วยการยืด-หดตัวของเหล็กเสริมเป็นแบบ
อีลาสติก-พลาสติกโดยสมบูรณ์
1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
จากผลการศึกษาคาดว่าจะทราบถึงความแตกต่างระหว่างปริมาณเหล็กเสริมเมื่อเทียบระหว่างการ
ออกแบบโดยวิธี WSD และ SDM
3

รูปที่ 1.1 แปลนอาคารที่พักอาศัย

(ก) (ข)
รูปที่ 1.2 แปลนอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้นและ 9 ชั้น
4

รูปที่ 1.3 หน้าตัดเสาของอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้นและ 9 ชั้น

รูปที่ 1.4 หน้าตัดคานของอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้นและ 9 ชั้น


5

บทที่ 2
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

2.1 คอนกรีต
คอนกรีต (concrete) คือ วัสดุก่อสร้างชนิดหนึ่งที่สามารถสร้างหรือทำให้มีรูปร่างและขนาดต่างๆ ได้ตาม
ต้องการขึ้นอยู่กับแบบหล่อทีส่ ร้างขึ้น มีส่วนผสม 2 ส่วนหลักคือ วัสดุประสาน (cementing materials) ได้แก่
ปูนซีเมนต์และน้ำ ผสมกับวัสดุผสมหรือมวลรวม (aggregates) ซึ่งได้แก่ ทราย หินหรือกรวด นอกจากนั้นอาจมี
วัสดุผสมเพิ่มอืน่ ๆ ได้ เช่น สารเคมีหรือแร่ธาตุผสมเพิ่ม เมื่อนำส่วนต่างๆ มาผสมกันแล้วคอนกรีตจะคงสภาพเหลว
อยู่ช่วงหนึ่ง พอมีเวลาที่เทลงแบบได้ หลังจากนั้นจะแข็งตัว ให้ความแข็งแรงและสามารถรับแรงได้ คอนกรีตเป็น
วัสดุก่อสร้างที่มีข้อเด่นคือ สามารถหล่อขึ้นเป็นโครงสร้างรูปร่างต่างๆ ได้ ขึ้นอยู่กับแบบหล่อ รับแรงอัดได้ดี มี
ความทนทาน ทนความร้อนได้ดี สามารถผลิตเป็นชิ้นส่วนสำเร็จรูปหรือหล่อในสถานทีก่ ่อสร้างได้ ราคาไม่สูงและ
สามารถตกแต่งผิวได้ ส่วนที่เป็นข้อด้อยได้แก่ รับแรงดึงได้น้อย มีการยืดตัวต่ำ และอัตราส่วนกำลังต่อน้ำหนักต่ำ
เป็นต้น เนื่องจากคอนกรีตล้วน (plain concrete) มีความสามารถในการรับแรงดึงได้ไม่สูง ดังนั้นการใช้คอนกรีต
โครงสร้างจึงนิยมใช้งานร่วมกับเหล็กเส้น เพื่อให้เหล็กเส้นรับแรงดึง เช่น งานก่อสร้างอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
(reinforced concrete)
2.2 เหล็กเสริม
เหล็กเสริมที่นยิ มใช้ในงานคอนกรีตเสริมเหล็กเป็นเหล็กกล้าละมุน (Mild steel) เป็นโลหะผสมเหล็กกับ
คาร์บอน และมีส่วนผสมของธาตุอื่นบ้างพอประมาณ เช่น กำมะถัน แมงกานีส และฟอสฟอรัส แต่มีประมาณ
คาร์บอนต่ำประมาณร้อยละ 0.3 โดยน้ำหนัก จึงเป็นเหล็กกล้าคาร์บอนต่ำที่มีความอ่อนแต่มีความเหนียวและแกร่ง
มาก เหล็กผลิตขึ้นรูปแบบรีดร้อน (Hot-rolled process) โดยการหลอมแท่งเหล็กแล้วรีดด้วยลูกกลิ้งขึ้นรูปตาม
ความต้องการ เหล็กเสริมคอนกรีตที่ใช้ในงานโครงสร้างมีทั้งลักษณะเส้นกลมผิวเรียบ (Round bars: RB) และ
เหล็กข้ออ้อย (Deformed bars: DB) โดยมีหลายขนาดให้เลือกใช้ตามความเหมาะสม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
และเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนสำหรับมวลต่อเมตรของเหล็กเสริมทั้งสองที่ใช้ในงานคอนกรีตเสริมเหล็ก
6

ตารางที่ 2.1 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนสำหรับมวลต่อเมตรของเหล็กเสริม


ชื่อขนาด มวลต่อเมตร เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนสำหรับมวล
(เส้นผ่านศูนย์กลาง; มม.) (กิโลกรัม) ต่อเมตร
เหล็กเส้นกลม เหล็กข้ออ้อย เฉลี่ยร้อยละ แต่ละเส้นร้อยละ
RB 6 - 0.222 ±5.0 ±10.0
RB 9 - 0.499
RB 12 DB 12 0.888
RB 15 - 1.387
- DB 16 1.578
RB 19 - 2.226 ±6.0
±3.5
- DB 20 2.466
RB 22 DB 22 2.984
RB 25 DB 25 3.853
RB 28 DB 28 4.834

คุณสมบัติทสี่ ำคัญของเหล็กเสริมได้แก่ กำลังคราก (Yield strength: fy) กำลังประลัย (Ultimate


strength; fu) ระยะยืด (Elongation) และโมดูลัสยืดหยุ่นของเหล็กเสริม (Young’s modulus; Es) ซึง่ เหล็กเส้น
กลมผิวเรียบทีผ่ ลิตตามมาตราฐานอุตสาหกรรม (มอก. 20-2543) ชั้นคุณภาพ SR24 และเหล็กข้ออ้อยตาม
มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก. 24-2548) ชัน้ คุณภาพ SD30, SD40 และ SD50 จะต้องมีกลสมบัติเป็นไปตามที่
ระบุไว้ในตารางที่ 2.2
ตารางที่ 2.2 กลสมบัติของเหล็กเสริมตามมาตรฐานอุตสาหกรรม
กลสมบัติ ชนิดของเหล็กเสริม
เหล็กเสริมกลม เหล็กข้ออ้อย
ชั้นคุณภาพ SR 24 SD 30 SD 40 SD 50
ความต้านทานแรงดึงที่จุดคราก (fy) ไม่น้อยกว่า; กก./ซม2. 2,400 3,000 4,000 5,000
ความต้านทานแรงดึงสูงสุด (fu) ไม่น้อยกว่า; กก./ซม2. 3,900 4,900 5,700 6,300
ความยืดในช่วง 5d ไม่น้อยกว่า; ร้อยละ 21 17 15 13
ค่าโมดูลัสยืดหยุ่น (Es); กก./ซม2. 2,040,000
7

2.3 ฐานราก
ฐานราก จัดเป็นส่วนโครงสร้างรับแรงดัดที่อยู่ใต้ดิน ทำหน้าที่รับและถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุกจาก
โครงสร้างส่วนที่อยู่เหนือดิน ลงสู่พื้นหินหรือชั้นดินที่อยู่ลึกลงไปโดยไม่เกิดการทรุดตัวมากหรือมีความแตกต่างของ
การทรุดตัวมากนัก
การถ่ายน้ำหนักให้กับพื้นดินหรือชั้นดินทีอ่ ยู่ลึกลงไป โดยใช้ฐานรากแบบวางบนเสาเข็ม ในลักษณะนี้
เสาเข็มจะทำหน้าที่ถ่ายน้ำหนักที่ฐานรากต้อง รองรับต่อไปสู่พื้นหินหรือชั้นดินที่อยู่ลึกลงไปอีกที่หนึ่ง ก็ใช้เข็มสั้นซึ่ง
กำลังรับน้ำหนักของเสาเข็มได้จากความฝืด หากน้ำหนักบรรทุกที่กระทำมีค่าไม่มากนัก ระหว่างผิวสัมผัสของ
เสาเข็มกับ ชั้นดินต่าง ๆ ที่อยู่โดยรอบ แต่เมื่อน้ำหนักบรรทุกที่กระทำมีค่ามากจะใช้เสาเข็มยาวโดยการตอกหรือ
เจาะลึกลงไปจนปลายของเสาเข็มหยั่งอยู่บนชั้นดินที่แน่นมาก ซึ่งทำให้เสาเข็มมีกำลังรับน้ำหนักได้มากขึ้น
2.4 หน่วยแรงใต้ฐานรากสำหรับฐานรากแบบวางบนเสาเข็ม
เมื่อฐานรากแบบวางบนเสาเข็มรับน้ำหนักบรรทุกจากเสา ตอม่อ รวมถึงน้ำหนักบรรทุกของฐานรากและ
ดินถม ที่กระทำรวมศูนย์กับฐานราก จะสมมติว่าเสาเข็มทุกต้นรับน้ำหนักบรรทุกเฉลี่ยเท่ากันทุกต้น ดังรูปที่ 2.1
เขียนเป็นสมการได้ที่ (2.1.1)
P
R=
n ≤ Ra (2.1.1)
โดย R = น้ำหนักที่เสาเข็มแต่ละต้นต้องรับ
P = น้ำหนักบรรทุกทั้งหมด
n = จำนวนของเสาเข็ม
Ra = กำลังรับน้ำหนักของเสาเข็มที่ยอมให้
8

รูปที่ 2.1 น้ำหนักที่เสาเข็มแต่ละต้นต้องรับ


จำนวนของเสาเข็มที่ต้องการ พิจารณาจาก Rmax ≤ Ra
ระยะระหว่างศูนย์ถึงศูนย์กลางเสาเข็ม ในแต่ละทิศทาง ≥ 3dp
ระยะขอบ = (1-1.5)dp เมื่อ dp = ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเสาเข็ม

2.5 พฤติกรรมและการวิบัติของฐานราก
จากการกระทำของน้ำหนักบรรทุกและหน่วยแรงที่เกิดขึ้นใต้ฐานรากแบบเสาเข็มอาจจะทำให้การวิบัติ
เนื่องจากโมเมนต์ดัด แรงเฉือน ตลอดจนแรงยึดเหนี่ยวแรงภายในต่างๆ
การวิบัติที่จะเกิดจากโมเมนต์ดัด
ถ้าสมมติให้ส่วนของฐานรากต่อยึดกับเสาตอม่อเป็นแบบโครงข้อแข็ง ดังนั้น ส่วนของฐานรากที่ยื่นออกมา
จากขอบเสาตอม่อจะเปรียบเสมือนคานยื่นที่ต้องรับแรงกระทำจากดิน ทำให้ด้านล่างของฐานรากต้องรับแรงดึง
เนื่องจากโมเมนต์ดัด ซึ่งโมเมนต์ดัดจะมีค่าสูงสุดที่บริเวณระนาบที่ตดั ผ่านฐานรากใกล้กับขอบเสาตอม่อ เรียก
ตำแหน่งนี้ว่าหน้าตัดวิกฤตสำหรับโมเมนต์ดดั เพราะเป็นตำแหน่งที่จะเกิดรอยร้าวเนื่องจากโมเมนต์ดัด
เพราะฉะนั้น จึงจำเป็นต้องเสริมเหล็กบริเวณฐานรากที่ใกล้กับผิวดิน อนึ่ง เนื่องจากแรงเฉือนบริเวณหน้าตัดนี้มี
ค่าสูงสุด ดังนั้นจึงเป็นหน้าตัดสำหรับพิจารณาการยึดเหนี่ยว หรือระยะฝังยึดของเหล็กเสริมด้วย
9

หน้าตัดวิกฤตของแรงเฉือนแบบคานกว้าง
หน่วยแรงดันสุทธิของดิน : qn = P/BL หน้าตัดวิกฤตของแรงเฉือนทะลุ
หน้าตัดวิกฤตของโมเมนต์และระยะฝังยึดเหล็กเสริม

รูปที่ 2.2 การวิบัติของฐานรากเดี่ยว

2.6 การวิบัตทิ ี่จะเกิดจากแรงเฉือน


การวิบัติที่จะเกิดจากแรงเฉือนมีอยู่ 2 ลักษณะ
1. การเฉือนทางเดียว (Beam shear) เมื่อคิดว่าฐานรากเสมือนคานกว้าง ซึ่งจะพบว่าการวิบัติแบบนี้จะ
เกิดจากแรงดึงทะยงตรงระนาบที่อยู่ห่างจากขอบเสาตอม่อ เป็นระยะประสิทธิผล (d) ดังรูป 2.3 ดังนั้น การ
คำนวณหาแรงเฉือนที่กระทำจะพิจารณาในแต่ล่ะทิศทางของฐานราก
2. การเฉือนทะลุ (Punching shear) เกิดจากแรงกระทำของแรงเฉือน 2 ทิศทางพร้อม ๆ กัน (Two-way
action) หน้าตัดวิกฤตของการเฉือนทะลุให้พิจารณาตามแนวของเส้นขอบที่อยู่ห่างจากขอบเสาตอม่อเป็นระยะ
ครึ่งหนึ่งของความลึกประสิทธิผล

รูปที่ 2.3 พื้นที่หาแรงเฉือน


10

2.7 หน้าตัดวิกฤตสำหรับแรงเฉือน
หน้าตัดวิกฤตสำหรับแรงเฉือนคือ หน้าตัดที่ตั้งฉากกับระนาบของฐานรากซึ่ง พิจารณาออกเป็น 2 กรณี
เมื่อพิจารณาให้ฐานรากเปรียบเสมือนคานกว้าง (beam shear)
ตำแหน่งหน้าตัดวิกฤตสำหรับฐานรากที่รองรับเสาตอม่อ หรือกำแพงให้พิจารณาที่ระยะซึ่งห่างจากขอบ
เสาตอม่อ หรือกำแพงเป็นระยะเท่ากับความลึกประสิทธิผล d แต่ฐานรากที่รองรับเสาตอม่อหรือกำแพงโดยมีแผ่น
เหล็กรองรับ ให้พิจารณาจากกึ่งกลางระหว่างขอบของเสาหรือตอม่อกับขอบของแผ่นเหล็กรองใต้เสาออกไปเป็น
ระยะเท่ากับความลึกประสิทธิผล d
เมื่อพิจารณาว่าเป็นการเฉือนทะลุ (punching shear)
ตำแหน่งหน้าตัดวิกฤตจะอยู่ห่างจากขอบโดยรอบของน้ำหนักที่กระทำเป็นจุด หรือห่างจากขอบโดยรอบ
ของพื้นที่รองรับ แต่ให้พิจารณาที่ระยะห่างออกไปเท่ากับ 0.5 เท่าของความลึกประสิทธิผล d
อนึ่ง การพิจารณาหาแรงเฉือนในฐานรากทีค่ ิดจากแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มสำหรับทั้งสองกรณีข้างต้น
ต้องคำนึงถึงตำแหน่งของเสาเข็มกับหน้าตัดวิกฤตด้วย กล่าวคือ ถ้าศูนย์กลางเสาเข็ม อยู่ห่างจากหน้าตัดวิกฤต
ออกไปเป็นระยะเท่ากับหรือมากกว่า 15 ซม. ให้คิดแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มเท่ากับที่เสาเข็มนั้นต้องรับ แต่ถ้า
ศูนย์กลางเสาเข็มเข้ามาอยู่ภายในหน้าตัดวิกฤตเข้ามาเป็นระยะเท่ากับหรือ มากกว่า 15 ซม. ให้คิดแรงปฏิกิริยา
ของเสาเข็มเป็นศูนย์ และในช่วงดังกล่าวให้คิดว่าแรงปฏิกิริยาของ เสาเข็มมีค่าลดลงเป็นสัดส่วนโดยตรง นั่นคือถ้า
ให้ P เป็นแรงปฏิกิริยาของเสาเข็ม จะสามารถหา แรงปฏิกิริยาของเสาเข็ม P' ที่อยู่ระหว่างช่วงนั้นได้จากสมการนี้
1
P’= (x+15)P
30

รูปที่ 2.4 แรงปฏิกิริยาของเสาเข็ม


11

เมื่อ x = ระยะระหว่างศูนย์กลางเสาเข็มกับหน้าตัดวิกฤไต โดยจะมีค่าเป็นบวกเมื่ออกห่างจากหน้าตัด


วิกฤต และจะมีค่าเป็นลบเมื่ออยู่ใหน้าตัดวิกฤตเข้ามา ดังรูปที่ 2.4
อย่างไรก็ดี การวิบัติของฐานรากอาจเกิดจากการเฉือนทะลุรอบหัวเสาเข็มก็ได้ ดังนั้นให้พิจารณาจากหน้า
ตัดวิกฤตดังที่กล่าวมาข้างต้น แต่ถ้ากรณีที่ตอกเสาเข็มชัดกันจนเกินไปซึ่งจะทำให้หน้าตัดวิกฤตซ้อนทับกัน ให้
พิจารณาหาเส้นรอบรูปสำหรับการเฉือนทะลุ
2.8 ขั้นตอนการคำนวณออกแบบฐานรากเดี่ยววางบนเสาเข็ม (วิธหี น่วยแรงใช้งาน)
1. หาขนาดของฐานรากหรือจำนวนของเสาเข็มโดยพิจารณาจากหน่วยแรงกดอัดของดินหรือกำลังรับ
น้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มเมื่อมีน้ำหนักบรรทุกใช้งานกระทำจากเสาตอม่อรวมทั้งน้ำหนักสมทบอื่น (ถ้ามี)
2. คำนวณหาโมเมนต์ดัดและแรงเฉือนที่หน้าตัดวิกฤตแต่ละทิศทาง โดยพิจารณาจากแรงปฏิกิริยาของ
เสาเข็ม
3. เลือกความหนาของฐานรากโดยพิจารณาความลึก d ทีต่ ้องการเนื่องจากโมเมนต์ดัด
4. ตรวจสอบความหนาฐานราก โดยพิจารณาจากความต้านทานแรงเฉือนของคอนกรีตที่หน้าตัดวิกฤตทั้ง
แบบเฉือนทางเดียว (beam shear) และแบบเฉือนสองทาง (punching shear)
5. คำนวณหาปริมาณเหล็กที่ต้องใช้และตรวจสอบปริมาณเหล็กต่ำสุด
6. เลือกขนาดเหล็กเสริม
7. ตรวจสอบแรงยึดเหนี่ยว
2.8.1 ความต้านทานโมเมนต์ดัดและแรงเฉือนของคอนกรีตในฐานราก
ฐานรากต้องมีขนาดหน้าตัด และความหนาที่พอเพียงเพื่อให้ส่วนของคอนกรีตสามารถต้านทานโมเมนต์ดัด
และแรงเฉือนได้อย่างปลอดภัย
ความต้านทานโมเมนต์ดัดของคอนกรีตในฐานราก :
1
ความต้านทานโมเมนต์ดัดของคอนกรีต M = Rbd2 กก./ซม2. โดยที่ R = fckj กก./ซม2.
2

ดังนั้น เพื่อให้คอนกรีตในฐานรากมีกำลังต้านทานโมเมนต์ดัดได้อย่างปลอดภัยเท่ากับ M

ความลึกของฐานราก d ≤ √M/Rb ซม.


ส่วนปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้คำนวณได้จากสูตร As = M/fsjd ซม2.
12

ซึ่งเปอร์เซ็นต์เหล็กเสริม ρ ต้องมีค่าไม่น้อยกว่า 14/fy ยกเว้นแต่จะมีปริมาณเหล็กเสริมไม่น้อย กว่า 1.34


เท่าของค่าที่คำนวณได้
อย่างไรก็ดี คอนกรีตกับเหล็กเสริมต้องมีการยึดเหนี่ยวกันเพื่อให้เหล็กเสริมมีกำลังรับแรงได้ ซึ่งสามารถ
ตรวจสอบได้จากสูตร ∑ 0 ที่ต้องการ = V/u jd ซม.
ความต้านทานแรงเฉือนของคอนกรีตในฐานราก :
ความต้านทานแรงเฉือนปลอดภัยโดยคอนกรีต Vc คำนวณได้จาก
1. สำหรับการเฉือนทางเดียว (one-way action หรือ beam shear) :
Vc = 0.29√fc ' bwd กก.
2. สำหรับการเฉือนสองทาง (two-way action) หรือแบบเฉือนทะลุ (punching shear)

Vc = 0.53√fc ' b0d กก.


เมื่อ bw = ความกว้างของฐานราก
b0 = เส้นรอบรูปของหน้าตัดวิกฤต
d = ความลึกประสิทธิผล
fc’= กำลังอัดของคอนกรีตรูปทรงกระบอกมาตรฐานที่อายุ 28 วัน

2.9 ขั้นตอนการคำนวณออกแบบฐานรากเดี่ยววางบนเสาเข็ม (วิธีกำลัง)


สำหรับอาคารที่ไม่ได้คิดรับแรงลมหรือแรงจากแผ่นดินไหว
น้ำหนักบรรทุกที่เพิ่มค่าแล้ว (Factor load) มีค่าเท่ากับ
U = 1.4D + 1.7L
โดย U = น้ำหนักบรรทุกเพิ่มค่า
D = น้ำหนักบรรทุกคงที่
L = น้ำหนักบรรทุกจร
13

ตัวคูณลดกำลัง (Strength Reduction Factors : ∅)


มาตรฐาน ACI หรือ มาตรฐาน ว.ส.ท. ได้กำหนดค่าของตัวคูณลดกำลัง ดังต่อไปนี้
∅ = 0.90 สำหรับแรงดัด
= 0.85 สำหรับแรงเฉือนและแรงบิด
1. หาขนาดของฐานรากหรือจำนวนของเสาเข็มโดยพิจารณาจากหน่วยแรงกดอัดของดินหรือกำลังรับ
น้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มเมื่อมีน้ำหนักบรรทุกใช้งานกระทำจากเสาตอม่อรวมทั้งน้ำหนักสมทบอื่น (ถ้ามี)
2. หาแรงปฏิกิริยาสุทธิของเสาเข็ม อันเนื่องจากน้ำหนักบรรทุกใช้งานแล้วคูณด้วยตัวคูณน้ำหนัก
3. เลือกความหนาของฐานรากโดยพิจารณาความลึก d ทีต่ ้องการเนื่องจากแรงเฉือนประลัย (Vu) ที่หน้า
ตัดวิกฤตทั้งแบบเฉือนทางเดียว (beam shear) และแบบเฉือนสองทาง (punching shear)
4. ตรวจสอบความหนาฐานราก โดยพิจารณาจากความต้านทานแรงเฉือนของคอนกรีตที่หน้าตัดวิกฤตทั้ง
แบบเฉือนทางเดียว (beam shear) และแบบเฉือนสองทาง (punching shear)
5. หาโมเมนต์ดัดประลัย (Mu) ที่หน้าตัดวิกฤตของแต่ละทิศทาง และหาปริมาณเหล็กเสริม
0.85fc' 2Ru
อัตราส่วน ρ ที่ต้องการ = (1 - √1 - ) < ρmax = 0.75ρb
fy 0.85fc'
Mu
โดยที่ Ru =
∅bd2
เลือกเหล็กเสริมจาก As =ρbd
6. เลือกขนาดเหล็กเสริม และตรวจสอบปริมาณเหล็กต่ำสุด
โดย As,min = 0.0025bt สำหรับ SR24
= 0.0020bt สำหรับ SR30
= 0.0018bt สำหรับ SR40
7. ตรวจสอบแรงยึดเหนี่ยว
14

2.9 ความต้านทานแรงเฉือนของคอนกรีตในฐานราก
ความต้านทานแรงเฉือนปลอดภัยโดยคอนกรีต Vc คำนวณได้จาก
1. สำหรับการเฉือนทางเดียว (one-way action หรือ beam shear) :
'
f
∅Vc = ∅0.53√ c bwd กก.

2. สำหรับการเฉือนสองทาง (two-way action) หรือแบบเฉือนทะลุ (punching shear)

∅Vc = ∅1.06√fc ' b0d กก.

∅Vc = ∅0.27(4+
4 )√f 'b d กก.
β c 0
c

∅Vc = ∅0.27(4+
αsd )√f ' b d กก.
β0 c 0
เมื่อ bw = ความกว้างของฐานราก
b0 = เส้นรอบรูปของหน้าตัดวิกฤต
d = ความลึกประสิทธิผล
fc’= กำลังอัดของคอนกรีตรูปทรงกระบอกมาตรฐานที่อายุ 28 วัน
βc = อัตราส่วนระหว่างด้านยาวต่อด้านสั้นของเสาตอม่อ
b0 = เส้นรอบรูปของหน้าตัดวิกฤตแบบแรงเฉือนทะลุในฐานราก
αs = 40, 30 และ 20 สำหรับเสาภายใน เสาริม และเสามุม ตามลำดับ
15

บทที่ 3
แผนการดำเนินการ
ในจากการศึกษาอัตราส่วนความปลอดภัยของฐานรากเมื่อเทียบระหว่างการออกแบบโดยวิธี WSD และ
SDM ซึ่งรายละเอียดการดําเนินงานเป็นดังรูป
การดำเนินการ

ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

ออกแบบฐานรากด้วยวิธี WSD

ออกแบบฐานรากด้วยวิธี SDM โดยใช้น้ำหนักบรรทุกจากวิธี WSD

เปรียบเทียบปริมาณเหล็กเสริมที่ได้จากวิธี WSD และ SDM

สรุปผล
รูปที่ 3.1 แผนผังการดำเนินงาน
16

บทที่ 4
ผลการศึกษาและอภิปราย

ในการศึกษานีผ้ ู้ศึกษาได้มีการดำเนินการตามขั้นตอนและวิธีการดังที่กล่าวไว้ในบทที่ 3 รายละเอียดผล


การดำเนินการจะเป็นไปดังหัวข้อต่างๆ ดังนี้
4.1 การถ่ายน้ำหนักที่กระทำลงบนเสา
การคำนวณหาน้ำหนักที่กระทำลงบนเสาประกอบไปด้วยน้ำหนักจากพื้นหนา 15 ซม. Superimpose
50 กก./ซม2 ใช้การก่ออิฐครึ่งแผ่น 180 กก./ซม2 น้ำหนักบรรทุกจรพื้น 200 กก./ซม2 น้ำหนักบรรทุกจรพื้น
ทางเดิน 300 กก./ซม2
ตารางที่ 4.1 แสดงน้ำหนักบรรทุกที่ถ่ายลงเสาแต่ละต้น
เสา น้ำหนัก น้ำหนัก น้ำหนัก น้ำหนัก น้ำหนัก น้ำหนัก น้ำหนัก น้ำหนัก น้ำหนัก
จากคาน จากคาน กระเบื้อง พื้น กำแพงบน กำแพงบน จากเสา บรรทุก บรรทุกจร
B1 B2 (กก.) (กก.) คาน B1 คาน B2 (กก.) จร ทางเดิน
(กก.) (กก.) (กก.) (กก.) (กก.) (กก.)
C1 ใน 2268 960 900 6480 2142 2592 3960 2800 1200
C1 นอก 2916 480 450 3240 2754 1296 3960 1400 600
C2 2268 960 700 5040 2142 2592 1872 2880 0
C3 2268 960 350 2520 2142 1296 1440 1400 0

ตารางที่ 4.2 แสดงน้ำหนักบรรทุกทั้งหมดที่ถ่ายลงเสา


เสา น้ำหนักบรรทุกทั้งหมดที่ถ่ายลงเสา (กก.)
C1 ใน 23302
C1 นอก 17096
C2 18454
C3 11896
17

4.2 การออกแบบฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งาน (Working Stress Design : WSD)


การออกแบบฐานรากตัวอย่างผู้ศึกษาได้จัดทำโปรแกรมสเปรตชีตโดยการใช้ Microsoft Excel เพื่อความ
สะดวกในการคำนวณการออกแบบฐานรากหลายๆ รูปแบบให้สะดวกต่อการใช้งานและมีความแม่นยำ ซึ่งได้จัดทำ
โปรแกรมให้เป็นการออกแบบฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งาน (Working Stress Design) โดย
มีขั้นตอนในการออกแบบฐานรากสำหรับอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้นและ 9 ชั้นดังนี้
สำหรับการออกแบบฐานรากสำหรับอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้น
1) คำนวณน้ำหนักบรรทุกทัง้ หมดที่ถ่ายลงเสาตอม่อได้ดังแสดงในตารางที่ 4.3
ตารางที่ 4.3 แสดงน้ำหนักบรรทุกที่ใช้ในการออกแบบฐานรากสำหรับอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้น
เสา น้ำหนักบรรทุกทั้งหมดที่ จำนวนชั้น น้ำหนักบรรทุกทั้งหมดที่
ถ่ายลงเสาต่อชั้น (กก.) ถ่ายลงเสาตอม่อ (กก.)
C1 ใน 23400 6 140400
C1 นอก 17100 6 102600
C2 18500 6 111000
C3 11900 6 71400

2) เลือกรูปร่างและขนาดของเสาเข็มได้ดังแสดงในตารางที่ 4.4
ตารางที่ 4.4 การเลือกใช้ขนาดเสาเข็ม I และน้ำหนักบรรทุกปลอดภัย
ฐานราก ขนาดเสาเข็ม I น้ำหนักบรรทุกปลอดภัย
(ตัน/ต้น)
F1 30x30 45
F2 26x26 35
F3 26x26 35
F4 22x22 20
*หมายเหตุ ทุกฐานรากใช้เสาเข็มจำนวน 4 ต้น
18

3) คำนวณหาค่าแรงเฉือนและโมเมนต์สูงสุดได้ดังแสดงในตารางที่ 4.5
ตารางที่ 4.5 ค่าแรงเฉือนและโมเมนต์สูงสุด
ฐานราก ค่าแรงเฉือนสูงสุด (ตัน) ค่าโมเมนต์สูงสุด (ตัน-เมตร)
F1 70.2 5.26
F2 51.3 8.98
F3 55.5 16.65
F4 35.7 10.71

4) คำนวณค่าความหนาของฐานรากและเลือกขนาดของฐานรากดังแสดงในตารางที่ 4.6
ตารางที่ 4.6 ค่าความลึกประสิทธิผลและขนาดความหนาของฐานรากที่เลือกใช้
ฐานราก ความหนาของฐานรากที่คำนวณได้ ความหนาของฐานรากที่เลือกใช้
(ซม.) (ซม.)
F1 15.08 40
F2 19.69 40
F3 26.82 50
F4 21.51 40
*หมายเหตุ ระยะหุ้มเหล็กของฐานรากทุกฐานรากมีค่าเท่ากับ 5 ซม.
5) ตรวจสอบแรงเฉือนทางเดียว (beam shear) และแรงเฉือนสองทาง (punching shear) ได้ดังแสดงใน
ตารางที่ 4.7 และตารางที่ 4.8
ตารางที่ 4.7 ค่าแรงเฉือนทางเดียว (beam shear) และค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้
เสา ค่าแรงเฉือนทางเดียว ค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้
(ตัน) (ตัน)
C1 ใน ด้านที่ 1 0 23.59
ด้านที่ 2 0 23.59
C1 นอก ด้านที่ 1 0 23.59
ด้านที่ 2 0 23.59
C2 ด้านที่ 1 0 30.32
ด้านที่ 2 0 30.32
C3 ด้านที่ 1 11.9 23.59
ด้านที่ 2 0 23.59
19

ตารางที่ 4.8 ค่าแรงเฉือนสองทาง (punching shear) และค่าแรงเฉือนสองทางที่ยอมให้


เสา ค่าแรงเฉือนสองทาง ค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้ ค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้
(ตัน) ที่เสาตอม่อ ที่เสาเข็ม
(ตัน) (ตัน)
C1 ใน ด้านที่ 1 23.4 126.44 74.72
ด้านที่ 2 70.2 103.46 74.72
C1 นอก ด้านที่ 1 51.3 103.46 70.12
ด้านที่ 2 17.1 126.44 70.12
C2 ด้านที่ 1 83.25 110.84 104.93
ด้านที่ 2 18.5 162.57 104.93
C3 ด้านที่ 1 65.45 74.72 65.52
ด้านที่ 2 41.65 97.71 65.52

6) คำนวณหาปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ในฐานรากได้ดังแสดงในตารางที่ 4.9
ตารางที่ 4.9 ปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ในฐานราก
ฐานราก ปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ (ซม2) ปริมาณเหล็กเสริมน้อยสุดทีย่ อมให้
(ซม2)
F1 8.42 18.38
F2 14.36 18.38
F3 20.71 23.62
F4 17.13 18.38
20

สำหรับการออกแบบฐานรากสำหรับอาคารที่พักอาศัย 9 ชั้น
1) คำนวณน้ำหนักบรรทุกทัง้ หมดที่ถ่ายลงเสาตอม่อได้ดังแสดงในตารางที่ 4.10
ตารางที่ 4.10 แสดงน้ำหนักบรรทุกที่ใช้ในการออกแบบฐานรากสำหรับอาคารที่พักอาศัย 9 ชั้น
เสา น้ำหนักบรรทุกทั้งหมดที่ จำนวนชั้น น้ำหนักบรรทุกทั้งหมดที่
ถ่ายลงเสาต่อชั้น (กก.) ถ่ายลงเสาตอม่อ (กก.)
C1 ใน 23400 9 210600
C1 นอก 17100 9 153900
C2 18500 9 166500
C3 11900 9 107100

2) เลือกรูปร่างและขนาดของเสาเข็มได้ดังแสดงในตารางที่ 4.11
ตารางที่ 4.11 การเลือกใช้ขนาดเสาเข็ม I และน้ำหนักบรรทุกปลอดภัย
ฐานราก ขนาดเสาเข็ม I น้ำหนักบรรทุกปลอดภัย
(ตัน/ต้น)
F1 30x30 45
F2 26x26 35
F3 26x26 35
F4 22x22 20
*หมายเหตุ ทุกฐานรากใช้เสาเข็มจำนวน 6 ต้น
3) คำนวณหาค่าแรงเฉือนและโมเมนต์สูงสุดได้ดังแสดงในตารางที่ 4.12
ตารางที่ 4.12 ค่าแรงเฉือนและโมเมนต์สูงสุด
ฐานราก ค่าแรงเฉือนสูงสุด (ตัน) ค่าโมเมนต์สูงสุด (ตัน-เมตร)
F1 70.2 36.86
F2 51.3 30.06
F3 55.5 41.62
F4 35.7 26.78
21

4) คำนวณค่าความหนาของฐานรากและเลือกขนาดของฐานรากดังแสดงในตารางที่ 4.13
ตารางที่ 4.13 ค่าความลึกประสิทธิผลและขนาดความหนาของฐานรากที่เลือกใช้
ฐานราก ความหนาของฐานรากที่คำนวณได้ ความหนาของฐานรากที่เลือกใช้
(ซม.) (ซม.)
F1 31.55 40
F2 29.42 40
F3 33.53 50
F4 26.89 40
*หมายเหตุ ระยะหุ้มเหล็กของฐานรากทุกฐานรากมีค่าเท่ากับ 5 ซม.
5) ตรวจสอบแรงเฉือนทางเดียว (beam shear) และแรงเฉือนสองทาง (punching shear) ได้ดังแสดงใน
ตารางที่ 4.14 และตารางที่ 4.15
ตารางที่ 4.14 ค่าแรงเฉือนทางเดียว (beam shear) และค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้
เสา ค่าแรงเฉือนทางเดียว ค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้
(ตัน) (ตัน)
C1 ใน ด้านที่ 1 0 75.48
ด้านที่ 2 17.55 75.48
C1 นอก ด้านที่ 1 12.82 75.48
ด้านที่ 2 0 75.48
C2 ด้านที่ 1 18.5 86.26
ด้านที่ 2 0 86.26
C3 ด้านที่ 1 23.8 75.48
ด้านที่ 2 11.9 75.48
22

ตารางที่ 4.15 ค่าแรงเฉือนสองทาง (punching shear) และค่าแรงเฉือนสองทางที่ยอมให้


เสา ค่าแรงเฉือนสองทาง ค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้ ค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้
(ตัน) ที่เสาตอม่อ ที่เสาเข็ม
(ตัน) (ตัน)
C1 ใน ด้านที่ 1 210.6 333.36 229.9
ด้านที่ 2 210.6 287.38 222.9
C1 นอก ด้านที่ 1 153.9 287.38 220.7
ด้านที่ 2 153.9 333.36 220.7
C2 ด้านที่ 1 166.5 289.02 278.51
ด้านที่ 2 166.5 380.98 278.51
C3 ด้านที่ 1 107.1 229.9 211.51
ด้านที่ 2 107.1 275.88 211.51

6) คำนวณหาปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ในฐานรากได้ดังแสดงในตารางที่ 4.16
ตารางที่ 4.16 ปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ในฐานราก
ฐานราก ปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ (ซม2) ปริมาณเหล็กเสริมน้อยสุดทีย่ อมให้
(ซม2)
F1 29.47 58.8
F2 25.64 58.8
F3 29.12 67.2
F4 21.41 58.8
23

4.3 การออกแบบฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยวิธีหน่วยกำลัง (Strength Design Method : SDM)


เช่นเดียวกับการออกแบบฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งาน ผู้ศึกษาได้จัดทำโปรแกรม
สเปรตชีตโดยการใช้ Microsoft Excel เพื่อความสะดวกในการคำนวณการออกแบบฐานรากหลายๆ รูปแบบให้
สะดวกต่อการใช้งานและมีความแม่นยำ โดยมีขั้นตอนในการออกแบบฐานรากสำหรับอาคารที่พกั อาศัย 6 ชั้นและ
9 ชั้นดังนี้
สำหรับการออกแบบฐานรากสำหรับอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้น
1) คำนวณน้ำหนักบรรทุกทัง้ หมดที่ถ่ายลงเสาตอม่อได้ดังแสดงในตารางที่ 4.17
ตารางที่ 4.17 แสดงน้ำหนักบรรทุกที่ใช้ในการออกแบบฐานรากสำหรับอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้น
เสา น้ำหนักบรรทุกทั้งหมดที่ จำนวนชั้น น้ำหนักบรรทุกทั้งหมดที่
ถ่ายลงเสาต่อชั้น (กก.) ถ่ายลงเสาตอม่อ (กก.)
C1 ใน 23400 6 140.4
C1 นอก 17100 6 102.6
C2 18500 6 111
C3 11900 6 71.4

2) เลือกรูปร่างและขนาดของเสาเข็มได้ดังแสดงในตารางที่ 4.18
ตารางที่ 4.18 การเลือกใช้ขนาดเสาเข็ม I และน้ำหนักบรรทุกปลอดภัย
ฐานราก ขนาดเสาเข็ม I น้ำหนักบรรทุกปลอดภัย
(ตัน/ต้น)
F1 30x30 45
F2 26x26 35
F3 26x26 35
F4 22x22 20
*หมายเหตุ ทุกฐานรากใช้เสาเข็มจำนวน 4 ต้น
24

3) คำนวณน้ำหนักประลัยที่เสาเข็มแต่ล่ะต้นต้องรับ เพื่อตรวจสอบว่าสาเข็มแต่ล่ะต้นรับน้ำหนักเกิน ค่า F.S


หรือไม่ ( F.S.=2.5 ) ได้ดังแสดงในตารางที่ 4.19
ตารางที่ 4.19 น้ำหนักบรรทุกปลอดภัย น้ำหนักประลัย และ F.S.
ฐานราก น้ำหนักบรรทุกปลอดภัย น้ำหนักประลัย F.S.
(ตัน/ต้น) (ตัน/ต้น)
F1 45 50.94 1.132
F2 35 36.81 1.052
F3 35 40.15 1.147
F4 20 25.62 1.281

4) คำนวณหาค่าแรงเฉือนประลัยและโมเมนต์ดัดประลัยได้ดังแสดงในตารางที่ 4.20
ตารางที่ 4.20 ค่าแรงเฉือนประลัยและโมเมนต์ดัดประลัย
ฐานราก ค่าแรงเฉือนประลัย (ตัน) ค่าโมเมนต์โมเมนต์ดัดประลัย
(ตัน-เมตร)
F1 101.88 7.641
F2 73.62 12.88
F3 80.31 20.09
F4 51.24 15.37

5) คำนวณค่าความหนาของฐานรากและเลือกขนาดของฐานรากดังแสดงในตารางที่ 4.21
ตารางที่ 4.21 ค่าความลึกประสิทธิผลและขนาดความหนาของฐานรากที่เลือกใช้
ฐานราก ความหนาของฐานรากที่คำนวณได้ ความหนาของฐานรากที่เลือกใช้
(ซม.) (ซม.)
F1 31.55 40
F2 29.42 40
F3 33.53 50
F4 26.89 40
*หมายเหตุ ระยะหุ้มเหล็กของฐานรากทุกฐานรากมีค่าเท่ากับ 5 ซม.
25

6) ตรวจสอบแรงเฉือนทางเดียว (beam shear) และแรงเฉือนสองทาง (punching shear) ได้ดังแสดงใน


ตารางที่ 4.22 และตารางที่ 4.23
ตารางที่ 4.22 ค่าแรงเฉือนทางเดียว (beam shear) และค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้
เสา ค่าแรงเฉือนทางเดียว ค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้
(ตัน) (ตัน)
C1 ใน ด้านที่ 1 0 36.64
ด้านที่ 2 0 36.64
C1 นอก ด้านที่ 1 0 36.64
ด้านที่ 2 0 36.64
C2 ด้านที่ 1 0 36.64
ด้านที่ 2 0 36.64
C3 ด้านที่ 1 13.97 36.64
ด้านที่ 2 0 36.64

ตารางที่ 4.23 ค่าแรงเฉือนสองทาง (punching shear) และค่าแรงเฉือนสองทางที่ยอมให้


เสา ค่าแรงเฉือนสองทาง ค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้ที่เสาตอม่อ
(ตัน) (ตัน)
C1 ใน ด้านที่ 1 33.96 195.42
ด้านที่ 2 101.88 195.42
C1 นอก ด้านที่ 1 73.62 146
ด้านที่ 2 16.98 146
C2 ด้านที่ 1 126.64 109.29
ด้านที่ 2 18.53 109.29
C3 ด้านที่ 1 109.46 89.6
ด้านที่ 2 62.89 89.6
26

7) คำนวณหาปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ในฐานรากได้ดังแสดงในตารางที่ 4.24
ตารางที่ 4.24 ปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ในฐานราก
ฐานราก ปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ (ซม2) ปริมาณเหล็กเสริมน้อยสุดทีย่ อมให้
(ซม2)
F1 6.13 18.38
F2 10.43 18.38
F3 15.21 23.62
F4 12.49 18.38

สำหรับการออกแบบฐานรากสำหรับอาคารที่พักอาศัย 9 ชั้น
1) คำนวณน้ำหนักบรรทุกทัง้ หมดที่ถ่ายลงเสาตอม่อได้ดังแสดงในตารางที่ 4.25
ตารางที่ 4.25 แสดงน้ำหนักบรรทุกที่ใช้ในการออกแบบฐานรากสำหรับอาคารที่พักอาศัย 9 ชั้น
เสา น้ำหนักบรรทุกทั้งหมดที่ จำนวนชั้น น้ำหนักบรรทุกทั้งหมดที่
ถ่ายลงเสาต่อชั้น (กก.) ถ่ายลงเสาตอม่อ (กก.)
C1 ใน 23400 9 210.6
C1 นอก 17100 9 153.9
C2 18500 9 166.5
C3 11900 9 107.1

2) เลือกรูปร่างและขนาดของเสาเข็มได้ดังแสดงในตารางที่ 4.25
ตารางที่ 4.26 การเลือกใช้ขนาดเสาเข็ม I และน้ำหนักบรรทุกปลอดภัย
ฐานราก ขนาดเสาเข็ม I น้ำหนักบรรทุกปลอดภัย
(ตัน/ต้น)
F1 30x30 45
F2 26x26 35
F3 26x26 35
F4 22x22 20
*หมายเหตุ ทุกฐานรากใช้เสาเข็มจำนวน 6 ต้น
27

3) คำนวณน้ำหนักประลัยที่เสาเข็มแต่ล่ะต้นต้องรับ เพื่อตรวจสอบว่าสาเข็มแต่ล่ะต้นรับน้ำหนักเกิน ค่า F.S


หรือไม่ ( F.S.=2.5 ) ได้ดังแสดงในตารางที่ 4.27
ตารางที่ 4.27 น้ำหนักบรรทุกปลอดภัย น้ำหนักประลัย และ F.S.
ฐานราก น้ำหนักบรรทุกปลอดภัย น้ำหนักประลัย F.S.
(ตัน/ต้น) (ตัน/ต้น)
F1 45 50.94 1.132
F2 35 36.81 1.052
F3 35 40.15 1.147
F4 20 25.62 1.281

4) คำนวณหาค่าแรงเฉือนประลัยและโมเมนต์ดัดประลัยได้ดังแสดงในตารางที่ 4.28
ตารางที่ 4.28 ค่าแรงเฉือนประลัยและโมเมนต์ดัดประลัย
ฐานราก ค่าแรงเฉือนประลัย (ตัน) ค่าโมเมนต์โมเมนต์ดัดประลัย
(ตัน-เมตร)
F1 101.88 53.49
F2 73.62 46
F3 80.31 66.23
F4 51.24 38.43

5) คำนวณค่าความหนาของฐานรากและเลือกขนาดของฐานรากดังแสดงในตารางที่ 4.29
ตารางที่ 4.29 ค่าความลึกประสิทธิผลและขนาดความหนาของฐานรากที่เลือกใช้
ฐานราก ความหนาของฐานรากที่คำนวณได้ ความหนาของฐานรากที่เลือกใช้
(ซม.) (ซม.)
F1 31.55 40
F2 29.42 40
F3 33.53 50
F4 26.89 40
*หมายเหตุ ระยะหุ้มเหล็กของฐานรากทุกฐานรากมีค่าเท่ากับ 5 ซม.
28

6) ตรวจสอบแรงเฉือนทางเดียว (beam shear) และแรงเฉือนสองทาง (punching shear) ได้ดังแสดงใน


ตารางที่ 4.30 และตารางที่ 4.31
ตารางที่ 4.30 ค่าแรงเฉือนทางเดียว (beam shear) และค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้
เสา ค่าแรงเฉือนทางเดียว ค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้
(ตัน) (ตัน)
C1 ใน ด้านที่ 1 0 117.25
ด้านที่ 2 0 117.25
C1 นอก ด้านที่ 1 15.57 117.25
ด้านที่ 2 0 117.25
C2 ด้านที่ 1 24.71 134
ด้านที่ 2 0 134
C3 ด้านที่ 1 37.27 117.25
ด้านที่ 2 0 117.25

ตารางที่ 4.31 ค่าแรงเฉือนสองทาง (punching shear) และค่าแรงเฉือนสองทางที่ยอมให้


เสา ค่าแรงเฉือนสองทาง ค่าแรงเฉือนทางเดียวที่ยอมให้ที่เสา
(ตัน) ตอม่อ
(ตัน)
C1 ใน ด้านที่ 1 220.74 527.62
ด้านที่ 2 0 527.62
C1 นอก ด้านที่ 1 229.35 394.22
ด้านที่ 2 0 394.22
C2 ด้านที่ 1 296.53 267.8
ด้านที่ 2 0 267.8
C3 ด้านที่ 1 237.57 262.81
ด้านที่ 2 0 262.81
29

7) คำนวณหาปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ในฐานรากได้ดังแสดงในตารางที่ 4.32
ตารางที่ 4.32 ปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ในฐานราก
ฐานราก ปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องใช้ (ซม2) ปริมาณเหล็กเสริมน้อยสุดทีย่ อมให้
(ซม2)
F1 21.66 36.75
F2 18.58 36.75
F3 21.29 42
F4 15.47 36.75

4.4 เปรียบเทียบการใช้ปริมาณเหล็กเสริมโดยวิธีหน่วยแรงและวิธีกำลังของอาคารทีพ่ ักอาศัย 6 ชัน้


ตารางที่ 4.33 ฐานราก F1 (เสาตอม่อ C1 ต้นใน) ที่ความหนา 40 ซม. และขนาดเสาเข็ม I30x30 จำนวน 4 ต้น
F1 Working Stress Design Strength Design Method
ปริมาณเหล็กเสริม (ซม2.) 8.42 6.13

ตารางที่ 4.34 ฐานราก F2 (เสาตอม่อ C1 ต้นนอก) ที่ความหนา 40 ซม. และขนาดเสาเข็ม I26x26 จำนวน 4 ต้น
F2 Working Stress Design Strength Design Method
ปริมาณเหล็กเสริม (ซม2.) 14.36 10.43

ตารางที่ 4.35 ฐานราก F3 (เสาตอม่อ C2) ที่ความหนา 50 ซม. และขนาดเสาเข็ม I26x26 จำนวน 4 ต้น
F3 Working Stress Design Strength Design Method
ปริมาณเหล็กเสริม (ซม2.) 20.71 15.21

ตารางที่ 4.36 ฐานราก F4 (เสาตอม่อ C3) ที่ความหนา 40 ซม. และขนาดเสาเข็ม I22x22 จำนวน 4 ต้น
F4 Working Stress Design Strength Design Method
ปริมาณเหล็กเสริม (ซม2.) 17.13 12.49
30

กราฟเปรียบเทียบการใช้ปริมาณเหล็กเสริมอาคาร 6 ชัน้
25

20
ปริมาณเหล็กเสิรม (ซม.^2)
15

10

0
F1 F2 F3 F4

Working Stress Design Strength Design Method

รูปที่ 4.1 กราฟเปรียบเทียบการใช้ปริมาณเหล็กเสริมโดยวิธีหน่วยแรงและวิธีกำลังของอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้น

4.5 เปรียบเทียบการใช้ปริมาณเหล็กเสริมโดยวิธีหน่วยแรงและวิธีกำลังของอาคารทีพ่ ักอาศัย 9 ชัน้


ตารางที่ 4.37 ฐานราก F1 (เสาตอม่อ C1 ต้นใน) ที่ความหนา 75 ซม. และขนาดเสาเข็ม I30x30 จำนวน 6 ต้น
F1 Working Stress Design Strength Design Method
ปริมาณเหล็กเสริม (ซม2.) 29.47 21.66

ตารางที่ 4.38 ฐานราก F2 (เสาตอม่อ C1 ต้นนอก) ที่ความหนา 75 ซม. และขนาดเสาเข็ม I26x26 จำนวน 6 ต้น
F2 Working Stress Design Strength Design Method
ปริมาณเหล็กเสริม (ซม2.) 25.64 18.58

ตารางที่ 4.39 ฐานราก F3 (เสาตอม่อ C2) ที่ความหนา 85 ซม. และขนาดเสาเข็ม I26x26 จำนวน 6 ต้น
F3 Working Stress Design Strength Design Method
ปริมาณเหล็กเสริม (ซม2.) 29.12 21.29
31

ตารางที่ 4.40 ฐานราก F4 (เสาตอม่อ C3) ที่ความหนา 75 ซม. และขนาดเสาเข็ม I22x22 จำนวน 6 ต้น
F4 Working Stress Design Strength Design Method
ปริมาณเหล็กเสริม (ซม2.) 21.41 15.47

กราฟเปรียบเทียบการใช้ปริมาณเหล็กเสริมอาคาร 9 ชัน้
35

30
ปริมาณเหล็กเสิรม (ซม.^2)

25

20

15

10

0
F1 F2 F3 F4

Working Stress Design Strength Design Method

รูปที่ 4.2 กราฟเปรียบเทียบการใช้ปริมาณเหล็กเสริมโดยวิธีหน่วยแรงและวิธีกำลังของอาคารที่พักอาศัย 9 ชั้น


จากกราฟเปรียบเทียบการใช้ปริมาณเหล็กเสริมโดยวิธีหน่วยแรงและวิธีกำลังของอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้น
และ 9 ชั้น จะเห็นได้ว่าวิธีการออกแบบโดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน (Working Stress Design) โดยไม่คำนวณค่า
ปริมาณเหล็กเสริมน้อยสุดทีย่ อมให้จะมีปริมาณในการใช้เหล็กเสริมที่มากกว่าการออกแบบโดยวิธีกำลัง (Strength
Design Method) เนื่องจากมีวิธีการคำนวณปริมาณเหล็กเสริมที่แตกต่างกันดังในข้างต้น
32

บทที่ 5
สรุปและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุป
จากการศึกษาพฤติกรรมของฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กที่ออกแบบด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งาน (Working
Stress Design) และออกแบบด้วยวิธีกำลัง (Strength Design Method) โดยใช้น้ำหนักบรรทุกจากการออกแบบ
วิธีหน่วยแรงใช้งาน ผู้ศึกษาได้ทำการออกแบบฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กสำหรับอาคารที่พักอาศัยทั้ง 6 ชั้นและ
9 ชั้นโดยสิง่ ที่พิจารณาคือปริมาณเหล็กเสริมที่ได้จากการออกแบบทั้ง 2 วิธีนี้
ในการศึกษา ผูศ้ ึกษาได้ทำการพิจารณาใช้กำลังอัดประลัยของคอนกรีต (fc’) เท่ากับ 240 ksc และค่า
หน่วยแรงสูงสุดของเหล็กเสริม (fy) เท่ากับ 4000 ksc (ชั้นคุณภาพ SD40) และใช้ค่า F.S. ของเสาเข็มเท่ากับ 2.5
พิจารณาผลรวมของน้ำหนักจากคาน น้ำหนักกระเบื้อง น้ำหนักจากพื้น น้ำหนักจากกำแพง น้ำหนักจากเสา และ
น้ำหนักบรรทุกจรและนำฐานรากที่ออกแบบได้มาวิเคราะห์ปริมาณเหล็กเสริมพบว่าปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องการจะ
มีค่ามากขึ้นตามผลรวมของน้ำหนักบรรทุก หากค่าน้ำหนักบรรทุกมากขึ้น
จากการเปรียบเทียบระหว่างตัวอย่างการออกแบบฐานรากโดยวิธีหน่วยแรงใช้งานและวิธีกำลังพบว่าใน
ฐานรากทุกตัวที่ผู้ศึกษาได้ทำการออกแบบพบว่าหากไม่นำโดยไม่คำนวณค่าปริมาณเหล็กเสริมน้อยสุดที่ยอมให้มา
ใช้ในการควบคุมค่าปริมาณเหล็ก การออกแบบตัวอาคารที่พักอาศัย 6 ชั้นและ 9 ชั้นโดยวิธีหน่วยแรงใช้งานจะมี
การใช้ปริมาณเหล็กที่มากกว่าการออกแบบโดยวิธีกำลังเสมอ แต่เมื่อมีการนำค่าปริมาณเหล็กเสริมน้อยสุดที่ยอมให้
มาใช้ในการควบคุม ค่าปริมาณเหล็กเสริมทีไ่ ด้จากทั้ง 2 วิธีนี้จะมีความใกล้เคียงกันมากขึ้นเนื่องจากค่าทั้งหมดที่ได้
จากการคำนวณมีค่าต่ำกว่าค่าปริมาณเหล็กเสริมน้อยสุดทีย่ อมให้ทั้งหมด
จากการวิเคราะห์ปริมาณเหล็กเสริมที่ต้องการพบว่าค่าปริมาณเหล็กเสริมที่คำนวณได้จากวิธีหน่วยแรงใช้
งาน (Working Stress Design) โดยไม่คำนวณค่าปริมาณเหล็กเสริมน้อยสุดที่ยอมให้จะมีค่ามากกว่าการออกแบบ
ด้วยวิธีกำลัง (Strength Design Method)
5.2 ข้อเสนอแนะ
เนื่องจากการออกแบบฐานรากตัวอย่างที่ได้ทำการศึกษาได้ค่าปริมาณเหล็กเสริมต่ำกว่าค่าปริมาณเหล็ก
เสริมน้อยสุดทีย่ อมให้ทุกค่าจึงทำให้ไม่สามารถสรุปได้ว่าการออกแบบโดยวิธีหน่วยแรงใช้งานใช้ปริมาณเหล็กเสริม
มากกว่าการออกแบบโดยวิธีกำลังทุกกรณีเสมอไป
33

บรรณานุกรม

วินิต ช่อวิเชียร. (2559). การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน


(พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: [ม.ป.ท.].
วินิต ช่อวิเชียร. (2560). การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีกำลัง (พิมพ์ครั้งที่ 6).
กรุงเทพฯ: [ม.ป.ท.].
คณะกรรมการวิชาการวิศวกรรมโยธา. (2558). มาตรฐานสำหรับการออกแบบอาคารคอนกรีตเสริม
เหล็กโดยวิธีกาํ ลัง มาตรฐาน ว.ส.ท. 1008-38 (พิมพ์ครัง้ ที่ 9). กรุงเทพฯ: [ม.ป.ท.].
คณะกรรมการวิชาการวิศวกรรมโยธา. (2557). มาตรฐานสำหรับการออกแบบอาคารคอนกรีตเสริม
เหล็กโดยวิธหี น่วยแรงใช้งาน มาตรฐาน ว.ส.ท. 1007-34 (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: [ม.ป.ท.].
ปริญญา จินดาประเสริฐ และชัย จาตุรพิทักษ์กุล. (2553). ปูนซีเมนต์ ปอซโซลานและคอนกรีต (พิมพ์
ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สมาคมคอนกรีตไทย.
สาโรจน์ ดํารงศีล. (2559). การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน (พิมพ์
ครั้งที่ 1). นครปฐม: [ม.ป.ท.].
34

ภาคผนวก
รายการคํ านวณฐานราก
load ทีต ้องรับชันละ 23400 kg
จํานวนชัน= 6 load = 140400 kg = 140.4 ton
เสาเข็ม I 30 safe load = 45 ton/pile
fy = 4000 ksc Es = 2040000
fc' = 240 ksc Ec = 234238.0328
fc = 108 ksc B= 1.5 m
fs = 2000 ksc H= 1.5 m
n= 8.709 นน.คอนกรีต= 2400 kg/m3
k= 0.320 column size b= 0.75 m
j= 0.893 h= 0.55 m
R= 15.431
1. Select footing size : Assume footing weight = 10% column load
total load = 154.440 ton
Required number of piles = total load/pile capacity = 3.432
use 4 piles
Net pile load, P = column load/no. of piles = 35.100 ton/pile
2. Thickness
จํานวนเสาทีลากผ่าน = 2 ต ้น
Pm = 70.2 ton
Vmax=Pm= 70.2 ton
ระยะ x = 0.075 m
M= 5.265 ton-m
Req'd d = M/Rb = 15.08 cm
use d = 35 cm d' = 5 cm
Footinf thickness = 40 cm
Actual total load = 142.56 ton
Actual load on pile = 35.640 ton/pile OK
3.Check punching shear
γ = col. Size + d = 110 cm w' = 60 cm
around pile = 65 cm
ά= 55 cm
ω= 45 cm
P' = (x+15)P/30 = 5.85 ton
ด ้านนอน x = β = ω-ά = -10 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton 0
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 126.445 ton OK
At pile : Vp,a = 74.717595 OK
x = β = ω-ά = -10 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 5.850 ton
At column : Vp = 23.4 ton
Vp,a = 126.445 ton OK
At pile : Vp,a = 74.718 OK
x = β = ω-ά = -10 cm see next
P' = P = 35.100 ton
At column : Vp = 140.400 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 126.445 ton NOK
At pile : Vp,a = 74.718 OK
γ = col. Size + d = 90 cm w' = 60 cm
around pile = 65 cm
ά= 45 cm
ω= 45 cm
P' = (x+15)P/30 = 17.55 ton
ด ้านตัง x = β = ω-ά = 0 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 103.455 ton OK
At pile : Vp,a = 74.717595 OK
x = β = ω-ά = 0 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 17.550 ton
At column : Vp = 70.2 ton
Vp,a = 103.455 ton OK
At pile : Vp,a = 74.718 ton OK
x = β = ω-ά = 0 cm see next
P' = P = 35.100 ton
At column : Vp = 140.400 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 103.455 ton NOK
At pile : Vp,a = 74.717595 OK

4.Check beam shear


ด ้านนอน ระยะ x = -27.5 cm use P'=0
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 23.586 ton OK
use P' =
P' = 0 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 23.586 ton OK
see next
P' = 35.100 ton/pile
Vb = 70.2 ton
Vc = 23.586 ton NOK
ด ้านตัง ระยะ x = -17.5 cm use P'=0
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 23.586 ton OK
use P' =
P' = 0 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 23.586 ton OK
see next
P' = 35.100 ton/pile
Vb = 70.2 ton
Vc = 23.586 ton NOK
5.Reinforcement
2
As = M/fsjd = 8.42 cm
2
As,min = 14/fybd = 18.375 cm
2
Req'd As = 18.38 cm
use 3.23 fc ′/ds
2
DB16 As = 2.011 cm
จํานวนเส ้น 14 เส ้นผ่านศก. 1.60 cm
2
So As = 28.14867 cm
6.check bond stress
ƩO = 70.372 cm
U = Vmax/Ojd = 31.903 ksc
Ua = 3.23 fc ′/ds 31.274 ksc NOK เปลียนเหล็ก
รายการคํ านวณฐานราก
load ทีต ้องรับชันละ 17100 kg
จํานวนชัน= 9 load = 153900 kg = 153.9 ton
เสาเข็ม I 26 safe load = 35 ton/pile
fy = 4000 ksc Es = 2040000
fc' = 240 ksc Ec = 234238.0328
fc = 108 ksc B= 2.4 m
fs = 2000 ksc H= 1.5 m
n= 8.709 นน.คอนกรีต= 2400 kg/m3
k= 0.320 column size b= 0.55 m
j= 0.893 h= 0.75 m
R= 15.431
1. Select footing size : Assume footing weight = 10% column load
total load = 169.290 ton
Required number of piles = total load/pile capacity = 4.837
use 6 piles
Net pile load, P = column load/no. of piles = 25.650 ton/pile
2. Thickness
จํานวนเสาทีลากผ่าน = 2 ต ้น
Pm = 51.3 ton
Vmax=Pm= 51.3 ton
ระยะ x = 0.175 m
M= 8.9775 ton-m
Req'd d = M/Rb = 15.57 cm
use d = 35 cm d' = 5 cm
Footinf thickness = 40 cm
Actual total load = 157.356 ton
Actual load on pile = 26.226 ton/pile OK
3.Check punching shear
γ = col. Size + d = 90 cm w' = 60 cm
around pile = 61 cm
ά= 45 cm
ω= 45 cm
P' = (x+15)P/30 = 12.825 ton
ด ้านนอน x = β = ω-ά = 0 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton 0
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 103.455 ton OK
At pile : Vp,a = 70.119589 OK
x = β = ω-ά = 0 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 12.825 ton
At column : Vp = 76.95 ton
Vp,a = 103.455 ton OK
At pile : Vp,a = 70.120 NOK
x = β = ω-ά = 0 cm see next
P' = P = 25.650 ton
At column : Vp = 153.900 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 103.455 ton NOK
At pile : Vp,a = 70.120 OK
γ = col. Size + d = 110 cm w' = 60 cm
around pile = 61 cm
ά= 55 cm
ω= 45 cm
P' = (x+15)P/30 = 4.275 ton
ด ้านตัง x = β = ω-ά = -10 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 126.445 ton OK
At pile : Vp,a = 70.119589 OK
x = β = ω-ά = -10 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 4.275 ton
At column : Vp = 25.65 ton
Vp,a = 126.445 ton OK
At pile : Vp,a = 70.120 ton OK
x = β = ω-ά = -10 cm see next
P' = P = 25.650 ton
At column : Vp = 153.900 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 126.445 ton NOK
At pile : Vp,a = 70.119589 OK

4.Check beam shear


ด ้านนอน ระยะ x = -17.5 cm use P'=0
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 37.738 ton OK
use P' =
P' = 0 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 37.738 ton OK
see next
P' = 25.650 ton/pile
Vb = 51.3 ton
Vc = 37.738 ton NOK
ด ้านตัง ระยะ x = -27.5 cm use P'=0
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 37.738 ton OK
use P' =
P' = 0 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 37.738 ton OK
see next
P' = 25.650 ton/pile
Vb = 51.3 ton
Vc = 37.738 ton NOK
5.Reinforcement
2
As = M/fsjd = 14.36 cm
2
As,min = 14/fybd = 29.4 cm
2
Req'd As = 29.40 cm
use 3.23 fc ′/ds
2
DB16 As = 2.011 cm
จํานวนเส ้น 14 เส ้นผ่านศก. 1.60 cm
2
So As = 28.14867 cm
6.check bond stress
ƩO = 70.372 cm
U = Vmax/Ojd = 23.314 ksc
Ua = 3.23 fc ′/ds 31.274 ksc OK
รายการคํ านวณฐานราก
load ทีต ้องรับชันละ 18500 kg
จํานวนชัน= 6 load = 111000 kg = 111 ton
เสาเข็ม I 26 safe load = 35 ton/pile
fy = 4000 ksc Es = 2040000
fc' = 240 ksc Ec = 234238.0328
fc = 108 ksc B= 1.5 m
fs = 2000 ksc H= 1.5 m
n= 8.709 นน.คอนกรีต= 2400 kg/m3
k= 0.320 column size b= 0.3 m
j= 0.893 h= 0.65 m
R= 15.431
1. Select footing size : Assume footing weight = 10% column load
total load = 122.100 ton
Required number of piles = total load/pile capacity = 3.489
use 4 piles
Net pile load, P = column load/no. of piles = 27.750 ton/pile
2. Thickness
จํานวนเสาทีลากผ่าน = 2 ต ้น
Pm = 55.5 ton
Vmax=Pm= 55.5 ton
ระยะ x = 0.3 m
M= 16.65 ton-m
Req'd d = M/Rb = 26.82 cm
use d = 45 cm d' = 5 cm
Footinf thickness = 50 cm
Actual total load = 113.7 ton
Actual load on pile = 28.425 ton/pile OK
3.Check punching shear
γ = col. Size + d = 75 cm w' = 60 cm
around pile = 71 cm
ά= 37.5 cm
ω= 45 cm
P' = (x+15)P/30 = 20.8125 ton
ด ้านนอน x = β = ω-ά = 7.5 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton 0
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 110.845 ton OK
At pile : Vp,a = 104.93306 OK
x = β = ω-ά = 7.5 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 20.813 ton
At column : Vp = 83.25 ton
Vp,a = 110.845 ton OK
At pile : Vp,a = 104.933 OK
x = β = ω-ά = 7.5 cm see next
P' = P = 27.750 ton
At column : Vp = 111.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 110.845 ton NOK
At pile : Vp,a = 104.933 OK
γ = col. Size + d = 110 cm w' = 60 cm
around pile = 71 cm
ά= 55 cm
ω= 45 cm
P' = (x+15)P/30 = 4.625 ton
ด ้านตัง x = β = ω-ά = -10 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 162.572 ton OK
At pile : Vp,a = 104.93306 OK
x = β = ω-ά = -10 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 4.625 ton
At column : Vp = 18.5 ton
Vp,a = 162.572 ton OK
At pile : Vp,a = 104.933 ton OK
x = β = ω-ά = -10 cm see next
P' = P = 27.750 ton
At column : Vp = 111.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 162.572 ton OK
At pile : Vp,a = 104.93306 OK

4.Check beam shear


ด ้านนอน ระยะ x = -15 cm see next
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 30.325 ton OK
use P' =
P' = 0 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 30.325 ton OK
see next
P' = 27.750 ton/pile
Vb = 55.5 ton
Vc = 30.325 ton NOK
ด ้านตัง ระยะ x = -32.5 cm use P'=0
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 30.325 ton OK
use P' =
P' = 0 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 30.325 ton OK
see next
P' = 27.750 ton/pile
Vb = 55.5 ton
Vc = 30.325 ton NOK
5.Reinforcement
2
As = M/fsjd = 20.71 cm
2
As,min = 14/fybd = 23.625 cm
2
Req'd As = 23.63 cm
use 3.23 fc ′/ds
2
DB16 As = 2.011 cm
จํานวนเส ้น 14 เส ้นผ่านศก. 1.60 cm
2
So As = 28.14867 cm
6.check bond stress
ƩO = 70.372 cm
U = Vmax/Ojd = 19.618 ksc
Ua = 3.23 fc ′/ds 31.274 ksc OK
รายการคํ านวณฐานราก
load ทีต ้องรับชันละ 11900 kg
จํานวนชัน= 6 load = 71400 kg = 71.4 ton
เสาเข็ม I 22 safe load = 20 ton/pile
fy = 4000 ksc Es = 2040000
fc' = 240 ksc Ec = 234238.0328
fc = 108 ksc B= 1.5 m
fs = 2000 ksc H= 1.5 m
n= 8.709 นน.คอนกรีต= 2400 kg/m3
k= 0.320 column size b= 0.3 m
j= 0.893 h= 0.5 m
R= 15.431
1. Select footing size : Assume footing weight = 10% column load
total load = 78.540 ton
Required number of piles = total load/pile capacity = 3.927
use 4 piles
Net pile load, P = column load/no. of piles = 17.850 ton/pile
2. Thickness
จํานวนเสาทีลากผ่าน = 2 ต ้น
Pm = 35.7 ton
Vmax=Pm= 35.7 ton
ระยะ x = 0.3 m
M= 10.71 ton-m
Req'd d = M/Rb = 21.51 cm
use d = 35 cm d' = 5 cm
Footinf thickness = 40 cm
Actual total load = 73.56 ton
Actual load on pile = 18.390 ton/pile OK
3.Check punching shear
γ = col. Size + d = 65 cm w' = 60 cm
around pile = 57 cm
ά= 32.5 cm
ω= 45 cm
P' = (x+15)P/30 = 16.3625 ton
ด ้านนอน x = β = ω-ά = 12.5 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton 0
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 74.718 ton OK
At pile : Vp,a = 65.521583 OK
x = β = ω-ά = 12.5 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 16.363 ton
At column : Vp = 65.45 ton
Vp,a = 74.718 ton OK
At pile : Vp,a = 65.522 OK
x = β = ω-ά = 12.5 cm see next
P' = P = 17.850 ton
At column : Vp = 71.400 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 74.718 ton OK
At pile : Vp,a = 65.522 OK
γ = col. Size + d = 85 cm w' = 60 cm
around pile = 57 cm
ά= 42.5 cm
ω= 45 cm
P' = (x+15)P/30 = 10.4125 ton
ด ้านตัง x = β = ω-ά = 2.5 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 97.708 ton OK
At pile : Vp,a = 65.521583 OK
x = β = ω-ά = 2.5 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 10.413 ton
At column : Vp = 41.65 ton
Vp,a = 97.708 ton OK
At pile : Vp,a = 65.522 ton OK
x = β = ω-ά = 2.5 cm see next
P' = P = 17.850 ton
At column : Vp = 71.400 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 97.708 ton OK
At pile : Vp,a = 65.521583 OK

4.Check beam shear


ด ้านนอน ระยะ x = -5 cm see next
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 23.586 ton OK
use P'=
P' = 5.95 ton/pile
Vb = 11.9 ton
Vc = 23.586 ton OK
see next
P' = 17.850 ton/pile
Vb = 35.7 ton
Vc = 23.586 ton NOK
ด ้านตัง ระยะ x = -15 cm see next
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 23.586 ton OK
use P' =
P' = 0 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 23.586 ton OK
see next
P' = 17.850 ton/pile
Vb = 35.7 ton
Vc = 23.586 ton NOK
5.Reinforcement
2
As = M/fsjd = 17.13 cm
2
As,min = 14/fybd = 18.375 cm
2
Req'd As = 18.38 cm
use 3.23 fc ′/ds
2
DB16 As = 2.011 cm
จํานวนเส ้น 14 เส ้นผ่านศก. 1.60 cm
2
So As = 28.14867 cm
6.check bond stress
ƩO = 70.372 cm
U = Vmax/Ojd = 16.224 ksc
Ua = 3.23 fc ′/ds 31.274 ksc OK
รายการคํ านวณฐานราก
load ทีต ้องรับชันละ 23400 kg
จํานวนชัน= 9 load = 210600 kg = 210.6 ton
เสาเข็ม I 30 safe load = 45 ton/pile
fy = 4000 ksc Es = 2040000
fc' = 240 ksc Ec = 234238.0328
fc = 108 ksc B= 2.4 m
fs = 2000 ksc H= 1.5 m
n= 8.709 นน.คอนกรีต= 2400 kg/m3
k= 0.320 column size b= 0.75 m
j= 0.893 h= 0.55 m
R= 15.431
1. Select footing size : Assume footing weight = 10% column load
total load = 231.660 ton
Required number of piles = total load/pile capacity = 5.148
use 6 piles
Net pile load, P = column load/no. of piles = 35.100 ton/pile
2. Thickness
จํานวนเสาทีลากผ่าน = 2 ต ้น
Pm = 70.2 ton
Vmax=Pm= 70.2 ton
ระยะ x = 0.525 m
M= 36.855 ton-m
Req'd d = M/Rb = 31.55 cm
use d = 70 cm d' = 5 cm
Footinf thickness = 75 cm
Actual total load = 217.08 ton
Actual load on pile = 36.180 ton/pile OK
3.Check punching shear
γ = col. Size + d = 145 cm w' = 60 cm
around pile = 100 cm
ά= 72.5 cm
ω= 90 cm
P' = (x+15)P/30 = 38.025 ton
ด ้านนอน x = β = ω-ά = 17.5 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton 0
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 333.355 ton OK
At pile : Vp,a = 229.90029 OK
x = β = ω-ά = 17.5 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 38.025 ton
At column : Vp = 228.15 ton
Vp,a = 333.355 ton OK
At pile : Vp,a = 229.900 OK
x = β = ω-ά = 17.5 cm >15 use P'=P
P' = P = 35.100 ton
At column : Vp = 210.600 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 333.355 ton OK
At pile : Vp,a = 229.900 OK
γ = col. Size + d = 125 cm w' = 60 cm
around pile = 100 cm
ά= 62.5 cm
ω= 90 cm
P' = (x+15)P/30 = 49.725 ton
ด ้านตัง x = β = ω-ά = 27.5 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 287.375 ton OK
At pile : Vp,a = 229.90029 OK
x = β = ω-ά = 27.5 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 49.725 ton
At column : Vp = 298.35 ton
Vp,a = 287.375 ton NOK
At pile : Vp,a = 229.900 ton NOK
x = β = ω-ά = 27.5 cm >15 use P'=P
P' = P = 35.100 ton
At column : Vp = 210.600 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 287.375 ton OK
At pile : Vp,a = 229.90029 OK

4.Check beam shear


ด ้านนอน ระยะ x = -17.5 cm use P'=0
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 75.477 ton OK
use P' =
P' = 0 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 75.477 ton OK
see next
P' = 35.100 ton/pile
Vb = 70.2 ton
Vc = 75.477 ton OK
ด ้านตัง ระยะ x = -7.5 cm see next
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 75.477 ton OK
use P'=
P' = 0 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 75.477 ton OK
see next
P' = 35.100 ton/pile
Vb = 70.2 ton
Vc = 75.477 ton OK
5.Reinforcement
2
As = M/fsjd = 29.47 cm
2
As,min = 14/fybd = 58.8 cm
2
Req'd As = 58.80 cm
use 3.23 fc ′/ds
2
DB16 As = 2.011 cm
จํานวนเส ้น 14 เส ้นผ่านศก. 1.60 cm
2
So As = 28.14867 cm
6.check bond stress
ƩO = 70.372 cm
U = Vmax/Ojd = 15.952 ksc
Ua = 3.23 fc ′/ds 31.274 ksc OK
รายการคํ านวณฐานราก
load ทีต ้องรับชันละ 17100 kg
จํานวนชัน= 9 load = 153900 kg = 153.9 ton
เสาเข็ม I 26 safe load = 35 ton/pile
fy = 4000 ksc Es = 2040000
fc' = 240 ksc Ec = 234238.0328
fc = 108 ksc B= 2.4 m
fs = 2000 ksc H= 1.5 m
n= 8.709 นน.คอนกรีต= 2400 kg/m3
k= 0.320 column size b= 0.55 m
j= 0.893 h= 0.75 m
R= 15.431
1. Select footing size : Assume footing weight = 10% column load
total load = 169.290 ton
Required number of piles = total load/pile capacity = 4.837
use 6 piles
Net pile load, P = column load/no. of piles = 25.650 ton/pile
2. Thickness
จํานวนเสาทีลากผ่าน = 2 ต ้น
Pm = 51.3 ton
Vmax=Pm= 51.3 ton
ระยะ x = 0.625 m
M= 32.0625 ton-m
Req'd d = M/Rb = 29.42 cm
use d = 70 cm d' = 5 cm
Footinf thickness = 75 cm
Actual total load = 160.38 ton
Actual load on pile = 26.730 ton/pile OK
3.Check punching shear
γ = col. Size + d = 125 cm w' = 60 cm
around pile = 96 cm
ά= 62.5 cm
ω= 90 cm
P' = (x+15)P/30 = 36.3375 ton
ด ้านนอน x = β = ω-ά = 27.5 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton 0
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 287.375 ton OK
At pile : Vp,a = 220.70428 OK
x = β = ω-ά = 27.5 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 36.338 ton
At column : Vp = 218.025 ton
Vp,a = 287.375 ton OK
At pile : Vp,a = 220.704 OK
x = β = ω-ά = 27.5 cm >15 use P'=P
P' = P = 25.650 ton
At column : Vp = 153.900 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 287.375 ton OK
At pile : Vp,a = 220.704 OK
γ = col. Size + d = 145 cm w' = 60 cm
around pile = 96 cm
ά= 72.5 cm
ω= 90 cm
P' = (x+15)P/30 = 27.7875 ton
ด ้านตัง x = β = ω-ά = 17.5 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 333.355 ton OK
At pile : Vp,a = 220.70428 OK
x = β = ω-ά = 17.5 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 27.788 ton
At column : Vp = 166.725 ton
Vp,a = 333.355 ton OK
At pile : Vp,a = 220.704 ton OK
x = β = ω-ά = 17.5 cm >15 use P'=P
P' = P = 25.650 ton
At column : Vp = 153.900 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 333.355 ton OK
At pile : Vp,a = 220.70428 OK

4.Check beam shear


ด ้านนอน ระยะ x = -7.5 cm see next
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 75.477 ton OK
use P'=
P' = 6.4125 ton/pile
Vb = 12.825 ton
Vc = 75.477 ton OK
see next
P' = 25.650 ton/pile
Vb = 51.3 ton
Vc = 75.477 ton OK
ด ้านตัง ระยะ x = -17.5 cm use P'=0
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 75.477 ton OK
use P' =
P' = 0 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 75.477 ton OK
see next
P' = 25.650 ton/pile
Vb = 51.3 ton
Vc = 75.477 ton OK
5.Reinforcement
2
As = M/fsjd = 25.64 cm
2
As,min = 14/fybd = 58.8 cm
2
Req'd As = 58.80 cm
use 3.23 fc ′/ds
2
DB16 As = 2.011 cm
จํานวนเส ้น 14 เส ้นผ่านศก. 1.60 cm
2
So As = 28.14867 cm
6.check bond stress
ƩO = 70.372 cm
U = Vmax/Ojd = 11.657 ksc
Ua = 3.23 fc ′/ds 31.274 ksc OK
รายการคํ านวณฐานราก
load ทีต ้องรับชันละ 18500 kg
จํานวนชัน= 9 load = 166500 kg = 166.5 ton
เสาเข็ม I 26 safe load = 35 ton/pile
fy = 4000 ksc Es = 2040000
fc' = 240 ksc Ec = 234238.0328
fc = 108 ksc B= 2.4 m
fs = 2000 ksc H= 1.5 m
n= 8.709 นน.คอนกรีต= 2400 kg/m3
k= 0.320 column size b= 0.3 m
j= 0.893 h= 0.65 m
R= 15.431
1. Select footing size : Assume footing weight = 10% column load
total load = 183.150 ton
Required number of piles = total load/pile capacity = 5.233
use 6 piles
Net pile load, P = column load/no. of piles = 27.750 ton/pile
2. Thickness
จํานวนเสาทีลากผ่าน = 2 ต ้น
Pm = 55.5 ton
Vmax=Pm= 55.5 ton
ระยะ x = 0.75 m
M= 41.625 ton-m
Req'd d = M/Rb = 33.53 cm
use d = 80 cm d' = 5 cm
Footinf thickness = 85 cm
Actual total load = 173.844 ton
Actual load on pile = 28.974 ton/pile OK
3.Check punching shear
γ = col. Size + d = 110 cm w' = 60 cm
around pile = 106 cm
ά= 55 cm
ω= 90 cm
P' = (x+15)P/30 = 46.25 ton
ด ้านนอน x = β = ω-ά = 35 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton 0
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 289.018 ton OK
At pile : Vp,a = 278.50778 OK
x = β = ω-ά = 35 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 46.250 ton
At column : Vp = 277.5 ton
Vp,a = 289.018 ton OK
At pile : Vp,a = 278.508 OK
x = β = ω-ά = 35 cm >15 use P'=P
P' = P = 27.750 ton
At column : Vp = 166.500 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 289.018 ton OK
At pile : Vp,a = 278.508 OK
γ = col. Size + d = 145 cm w' = 60 cm
around pile = 106 cm
ά= 72.5 cm
ω= 90 cm
P' = (x+15)P/30 = 30.0625 ton
ด ้านตัง x = β = ω-ά = 17.5 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 380.978 ton OK
At pile : Vp,a = 278.50778 OK
x = β = ω-ά = 17.5 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 30.063 ton
At column : Vp = 180.375 ton
Vp,a = 380.978 ton OK
At pile : Vp,a = 278.508 ton OK
x = β = ω-ά = 17.5 cm >15 use P'=P
P' = P = 27.750 ton
At column : Vp = 166.500 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 380.978 ton OK
At pile : Vp,a = 278.50778 OK

4.Check beam shear


ด ้านนอน ระยะ x = -5 cm see next
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 86.259 ton OK
use P'=
P' = 9.25 ton/pile
Vb = 18.5 ton
Vc = 86.259 ton OK
see next
P' = 27.750 ton/pile
Vb = 55.5 ton
Vc = 86.259 ton OK
ด ้านตัง ระยะ x = -22.5 cm use P'=0
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 86.259 ton OK
use P' =
P' = 0 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 86.259 ton OK
see next
P' = 27.750 ton/pile
Vb = 55.5 ton
Vc = 86.259 ton OK
5.Reinforcement
2
As = M/fsjd = 29.12 cm
2
As,min = 14/fybd = 67.2 cm
2
Req'd As = 67.20 cm
use 3.23 fc ′/ds
2
DB16 As = 2.011 cm
จํานวนเส ้น 14 เส ้นผ่านศก. 1.60 cm
2
So As = 28.14867 cm
6.check bond stress
ƩO = 70.372 cm
U = Vmax/Ojd = 11.035 ksc
Ua = 3.23 fc ′/ds 31.274 ksc OK
รายการคํ านวณฐานราก
load ทีต ้องรับชันละ 11900 kg
จํานวนชัน= 9 load = 107100 kg = 107.1 ton
เสาเข็ม I 22 safe load = 20 ton/pile
fy = 4000 ksc Es = 2040000
fc' = 240 ksc Ec = 234238.0328
fc = 108 ksc B= 2.4 m
fs = 2000 ksc H= 1.5 m
n= 8.709 นน.คอนกรีต= 2400 kg/m3
k= 0.320 column size b= 0.3 m
j= 0.893 h= 0.5 m
R= 15.431
1. Select footing size : Assume footing weight = 10% column load
total load = 117.810 ton
Required number of piles = total load/pile capacity = 5.891
use 6 piles
Net pile load, P = column load/no. of piles = 17.850 ton/pile
2. Thickness
จํานวนเสาทีลากผ่าน = 2 ต ้น
Pm = 35.7 ton
Vmax=Pm= 35.7 ton
ระยะ x = 0.75 m
M= 26.775 ton-m
Req'd d = M/Rb = 26.89 cm
use d = 70 cm d' = 5 cm
Footinf thickness = 75 cm
Actual total load = 113.58 ton
Actual load on pile = 18.930 ton/pile OK
3.Check punching shear
γ = col. Size + d = 100 cm w' = 60 cm
around pile = 92 cm
ά= 50 cm
ω= 90 cm
P' = (x+15)P/30 = 32.725 ton
ด ้านนอน x = β = ω-ά = 40 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton 0
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 229.900 ton OK
At pile : Vp,a = 211.50827 OK
x = β = ω-ά = 40 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 32.725 ton
At column : Vp = 196.35 ton
Vp,a = 229.900 ton OK
At pile : Vp,a = 211.508 OK
x = β = ω-ά = 40 cm >15 use P'=P
P' = P = 17.850 ton
At column : Vp = 107.100 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 229.900 ton OK
At pile : Vp,a = 211.508 OK
γ = col. Size + d = 120 cm w' = 60 cm
around pile = 92 cm
ά= 60 cm
ω= 90 cm
P' = (x+15)P/30 = 26.775 ton
ด ้านตัง x = β = ω-ά = 30 cm see next
P' = 0 = 0.000 ton
At column : Vp = 0.000 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 275.880 ton OK
At pile : Vp,a = 211.50827 OK
x = β = ω-ά = 30 cm use P'=
P' = (x+15)P/30 = 26.775 ton
At column : Vp = 160.65 ton
Vp,a = 275.880 ton OK
At pile : Vp,a = 211.508 ton OK
x = β = ω-ά = 30 cm >15 use P'=P
P' = P = 17.850 ton
At column : Vp = 107.100 ton
Vp,a = 0.53fc'1/2bpd= 275.880 ton OK
At pile : Vp,a = 211.50827 OK

4.Check beam shear


ด ้านนอน ระยะ x = 5 cm see next
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 75.477 ton OK
use P'=
P' = 11.9 ton/pile
Vb = 23.8 ton
Vc = 75.477 ton OK
see next
P' = 17.850 ton/pile
Vb = 35.7 ton
Vc = 75.477 ton OK
ด ้านตัง ระยะ x = -5 cm see next
P' = 0.000 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 75.477 ton OK
use P'=
P' = 0 ton/pile
Vb = 0 ton
Vc = 75.477 ton OK
see next
P' = 17.850 ton/pile
Vb = 35.7 ton
Vc = 75.477 ton OK
5.Reinforcement
2
As = M/fsjd = 21.41 cm
2
As,min = 14/fybd = 58.8 cm
2
Req'd As = 58.80 cm
use 3.23 fc ′/ds
2
DB16 As = 2.011 cm
จํานวนเส ้น 14 เส ้นผ่านศก. 1.60 cm
2
So As = 28.14867 cm
6.check bond stress
ƩO = 70.372 cm
U = Vmax/Ojd = 8.112 ksc
Ua = 3.23 fc ′/ds 31.274 ksc OK
Square Footing 6 ชัน
dead load = 19.4 ton live load = 4 ton
dead load = 116.4 ton live load = 24 ton
Total load = 140.4 ton
fy = 4000 ksc
fc' = 240 ksc
เสาเข็ม I = 30 cm safe capacity = 45 ton/pile
1. Assume footing weight = 10 % of column load
total load = 154.44 ton
Require number of pile = 3.432 piles
use 4 piles
factored load = 1.4D+1.7L
= 203.76 ton
Pile load = 50.94 ton/pile เลือกเข็มใหม่ SF = 1.132
2. Footing thickness
Pm = 101.88 ton
0.75 Vmax = Pm = 101.88 ton
Mu = 7.641 ton-m
0.3
Mn = 8.49 ton-m
Assume P=Pmin=14/fy= 0.0035
0.55 0.9 fy
Find d from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ )
f′c
d= 20.46 cm
0.3
use thickness = 40 cm
d= 35 cm
0.075 d' = 5 cm
0.3 0.9 0.3

1.5

3. Beam shear
d/2 = 17.5
0.75
Dp = 30 cm
0.3
x1 = -27.5 cm ใช ้สูตร P'
1 𝑥
𝑃 = + 𝑃
2 𝑏
0.55 0.9
P' = 0 ton
Pv1 = 2P' = 0 ton
Vb1 = Pv = 0 ton
0.3
x2 = -17.5 cm ใช ้สูตร P'
P' = 0 ton
0.075 Pv2 = 2P' = 0 ton
0.3 0.9 0.3 Vb2 = Pv = 0 ton
øVc = 36.64036 ton OK
1.5
4. Punching shear
X1 = -10 cm ใช ้สูตร P'
P' = 8.49 ton
Vp1 = 33.96 ton 33960 kg
X2 = 0 cm ใช ้สูตร P'
P' = 25.47 ton
Vp2 = 101.88 ton 101880 kg
4
∅𝑉 = ∅(0.27 2 + 𝑓 𝑏 𝑑 ) ≤ ∅1.06 𝑓′ 𝑏 𝑑
𝛽
βc = h/b = 0.733333
b0 = 400
ø= 0.85
øVc = 271503.6 kg ≤ 195415.25 kg use ø1.06

øVc = 195415.2 kg > Vp1 OK


øVc = 195415.2 kg > Vp2 OK

f
Find "ρ" from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ y )
f′c

ρ = 0.001169 < ρmin

2
Required As = 6.134778 cm
use Number DB
14 16
2
As = 28.14867 cm OK

2
Required As = 18.375 cm (ใช ้ pmin)
Square Footing 6 ชัน
dead load = 15.1 ton live load = 2 ton
dead load = 90.6 ton live load = 12 ton
Total load = 102.6 ton
fy = 4000 ksc
fc' = 240 ksc
เสาเข็ม I = 26 cm safe capacity = 35 ton/pile
1. Assume footing weight = 10 % of column load
total load = 112.86 ton
Require number of pile = 3.224571 piles
use 4 piles
factored load = 1.4D+1.7L
= 147.24 ton
Pile load = 36.81 ton/pile เลือกเข็มใหม่ SF = 1.051714
2. Footing thickness
Pm = 73.62 ton
0.55 Vmax = Pm = 73.62 ton
Mu = 12.8835 ton-m
0.3
Mn = 14.315 ton-m
Assume P=Pmin=14/fy= 0.0035
0.75 0.9 fy
Find d from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ )
f′c
d= 26.57 cm
0.3
use thickness = 40 cm
d= 35 cm
0.175 d' = 5 cm
0.3 0.9 0.3

1.5

3. Beam shear
d/2 = 17.5
0.55
Dp = 26 cm
0.3
x1 = -17.5 cm ใช ้สูตร P'
1 𝑥
𝑃 = + 𝑃
2 𝑏
0.75 0.9
P' = 0 ton
Pv1 = 2P' = 0 ton
Vb1 = Pv = 0 ton
0.3
x2 = -27.5 cm ใช ้สูตร P'
P' = 0 ton
0.175 Pv2 = 2P' = 0 ton
0.3 0.9 0.3 Vb2 = Pv = 0 ton
øVc = 36.64036 ton OK
1.5
4. Punching shear
X1 = 0 cm ใช ้สูตร P'
P' = 18.405 ton
Vp1 = 73.62 ton 73620 kg
X2 = -10 cm ใช ้สูตร P'
P' = 4.247308 ton
Vp2 = 16.98923 ton 16989.23077 kg
4
∅𝑉 = ∅(0.27 2 + 𝑓 𝑏 𝑑 ) ≤ ∅1.06 𝑓′ 𝑏 𝑑
𝛽
βc = h/b = 1.363636
b0 = 400
ø= 0.85
øVc = 146008.8 kg ≤ 195415.25 kg use øVc

øVc = 146008.8 kg > Vp1 OK


øVc = 146008.8 kg > Vp2 OK

f
Find "ρ" from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ y )
f′c

ρ = 0.001986 < ρmin

2
Required As = 10.42871 cm
use Number DB
12 16
2
As = 24.12743 cm OK

2
Required As = 18.375 cm (ใช ้ pmin)
Square Footing 6 ชัน
dead load = 15.6 ton live load = 2.9 ton
dead load = 93.6 ton live load = 17.4 ton
Total load = 111 ton
fy = 4000 ksc
fc' = 240 ksc
เสาเข็ม I = 26 cm safe capacity = 35 ton/pile
1. Assume footing weight = 10 % of column load
total load = 122.1 ton
Require number of pile = 3.488571 piles
use 4 piles
factored load = 1.4D+1.7L
= 160.62 ton
Pile load = 40.155 ton/pile เลือกเข็มใหม่ SF = 1.147286
2. Footing thickness
Pm = 80.31 ton
0.3 Vmax = Pm = 80.31 ton
Mu = 24.093 ton-m
0.3
Mn = 26.77 ton-m
Assume P=Pmin=14/fy= 0.0035
0.65 0.9 fy
Find d from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ )
f′c
d= 36.33 cm
0.3
use thickness = 50 cm
d= 45 cm
0.3 d' = 5 cm
0.3 0.9 0.3

1.5

3. Beam shear
d/2 = 22.5
0.3
Dp = 26 cm
0.3
x1 = -15 cm ใช ้สูตร P'
1 𝑥
𝑃 = + 𝑃
2 𝑏
0.65 0.9
P' = 0 ton
Pv1 = 2P' = 0 ton
Vb1 = Pv = 0 ton
0.3
x2 = -32.5 cm ใช ้สูตร P'
P' = 0 ton
0.3 Pv2 = 2P' = 0 ton
0.3 0.9 0.3 Vb2 = Pv = 0 ton
øVc = 47.10903 ton OK
1.5
4. Punching shear
X1 = 7.5 cm ใช ้สูตร P'
P' = 31.66067 ton
Vp1 = 126.6427 ton 126642.6923 kg
X2 = -10 cm ใช ้สูตร P'
P' = 4.633269 ton
Vp2 = 18.53308 ton 18533.07692 kg
4
∅𝑉 = ∅(0.27 2 + 𝑓 𝑏 𝑑 ) ≤ ∅1.06 𝑓′ 𝑏 𝑑
𝛽
βc = h/b = 2.166667
b0 = 370
ø= 0.85
øVc = 109287.9 kg ≤ 232404.56 kg use øVc

øVc = 109287.9 kg > Vp1 NOK


øVc = 109287.9 kg > Vp2 OK

f
Find "ρ" from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ y )
f′c

ρ = 0.002253 < ρmin

2
Required As = 15.20921 cm
use Number DB
10 16
2
As = 20.10619 cm OK

2
Required As = 23.625 cm (ใช ้ pmin)
Square Footing 6 ชัน
dead load = 10.5 ton live load = 1.4 ton
dead load = 63 ton live load = 8.4 ton
Total load = 71.4 ton
fy = 4000 ksc
fc' = 240 ksc
เสาเข็ม I = 22 cm safe capacity = 20 ton/pile
1. Assume footing weight = 10 % of column load
total load = 78.54 ton
Require number of pile = 3.927 piles
use 4 piles
factored load = 1.4D+1.7L
= 102.48 ton
Pile load = 25.62 ton/pile เลือกเข็มใหม่ SF = 1.281
2. Footing thickness
Pm = 51.24 ton
0.3 Vmax = Pm = 51.24 ton
Mu = 15.372 ton-m
0.3
Mn = 17.08 ton-m
Assume P=Pmin=14/fy= 0.0035
0.5 0.9 fy
Find d from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ )
f′c
d= 29.02 cm
0.3
use thickness = 40 cm
d= 35 cm
0.3 d' = 5 cm
0.3 0.9 0.3

1.5

3. Beam shear
d/2 = 17.5
0.3
Dp = 22 cm
0.3
x1 = -5 cm ใช ้สูตร P'
1 𝑥
𝑃 = + 𝑃
2 𝑏
0.5 0.9
P' = 6.987273 ton
Pv1 = 2P' = 13.97455 ton
Vb1 = Pv = 13.97455 ton
0.3
x2 = -15 cm ใช ้สูตร P'
P' = 0 ton
0.3 Pv2 = 2P' = 0 ton
0.3 0.9 0.3 Vb2 = Pv = 0 ton
øVc = 36.64036 ton OK
1.5
4. Punching shear
X1 = 12.5 cm ใช ้สูตร P'
P' = 27.36682 ton
Vp1 = 109.4673 ton 109467.2727 kg
X2 = 2.5 cm ใช ้สูตร P'
P' = 15.72136 ton
Vp2 = 62.88545 ton 62885.45455 kg
4
∅𝑉 = ∅(0.27 2 + 𝑓 𝑏 𝑑 ) ≤ ∅1.06 𝑓′ 𝑏 𝑑
𝛽
βc = h/b = 1.666667
b0 = 300
ø= 0.85
øVc = 89596.51 kg ≤ 146561.44 kg use øVc

øVc = 89596.51 kg > Vp1 NOK


øVc = 89596.51 kg > Vp2 OK

f
Find "ρ" from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ y )
f′c

ρ = 0.002379 < ρmin

2
Required As = 12.4923 cm
use Number DB
10 16
2
As = 20.10619 cm OK

2
Required As = 18.375 cm (ใช ้ pmin)
Square Footing 9 ชัน
dead load = 19.4 ton live load = 4 ton
dead load = 174.6 ton live load = 36 ton
Total load = 210.6 ton
fy = 4000 ksc
fc' = 240 ksc
เสาเข็ม I = 30 cm safe capacity = 45 ton/pile
1. Assume footing weight = 10 % of column load
total load = 231.66 ton
Require number of pile = 5.148 piles
use 6 piles
factored load = 1.4D+1.7L
= 305.64 ton
Pile load = 50.94 ton/pile เลือกเข็มใหม่ SF = 1.132
2. Footing thickness
Pm = 101.88 ton
0.75 Vmax = Pm = 101.88 ton
Mu = 53.487 ton-m
0.3
Mn = 59.43 ton-m
Assume P=Pmin=14/fy= 0.0035
0.55 0.9 fy
Find d from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ )
f′c
d= 42.80 cm
0.3
use thickness = 75 cm
d= 70 cm
0.525 d' = 5 cm
0.3 1.8 0.3

2.4

3. Beam shear
d/2 = 35
0.75
Dp = 30 cm
0.3
x1 = -17.5 cm ใช ้สูตร P'
1 𝑥
𝑃 = + 𝑃
2 𝑏
0.55 0.9
P' = 0 ton
Pv1 = 2P' = 0 ton
Vb1 = Pv = 0 ton
0.3
x2 = -52.5 cm ใช ้สูตร P'
P' = 0 ton
0.525 Pv2 = 2P' = 0 ton
0.3 1.8 0.3 Vb2 = Pv = 0 ton
øVc = 117.2491 ton OK
2.4
4. Punching shear
X1 = 17.5 cm ใช ้สูตร P'
P' = 55.185 ton
Vp1 = 220.74 ton 220740 kg
X2 = -17.5 cm ใช ้สูตร P'
P' = 0 ton
Vp2 = 0 ton 0 kg
4
∅𝑉 = ∅(0.27 2 + 𝑓 𝑏 𝑑 ) ≤ ∅1.06 𝑓′ 𝑏 𝑑
𝛽
βc = h/b = 0.733333
b0 = 540
ø= 0.85
øVc = 733059 kg ≤ 527621.17 kg use ø1.06

øVc = 527621.2 kg > Vp1 OK


øVc = 527621.2 kg > Vp2 OK

f
Find "ρ" from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ y )
f′c

ρ = 0.002063 < ρmin

2
Required As = 21.66455 cm
use Number DB
14 16
2
As = 28.14867 cm OK

2
Required As = 36.75 cm (ใช ้ pmin)
Square Footing 9 ชัน
dead load = 15.1 ton live load = 2 ton
dead load = 135.9 ton live load = 18 ton
Total load = 153.9 ton
fy = 4000 ksc
fc' = 240 ksc
เสาเข็ม I = 26 cm safe capacity = 35 ton/pile
1. Assume footing weight = 10 % of column load
total load = 169.29 ton
Require number of pile = 4.836857 piles
use 6 piles
factored load = 1.4D+1.7L
= 220.86 ton
Pile load = 36.81 ton/pile เลือกเข็มใหม่ SF = 1.051714
2. Footing thickness
Pm = 73.62 ton
0.55 Vmax = Pm = 73.62 ton
Mu = 46.0125 ton-m
0.3
Mn = 51.125 ton-m
Assume P=Pmin=14/fy= 0.0035
0.75 0.9 fy
Find d from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ )
f′c
d= 39.70 cm
0.3
use thickness = 75 cm
d= 70 cm
0.625 d' = 5 cm
0.3 1.8 0.3

2.4

3. Beam shear
d/2 = 35
0.55
Dp = 26 cm
0.3
x1 = -7.5 cm ใช ้สูตร P'
1 𝑥
𝑃 = + 𝑃
2 𝑏
0.75 0.9
P' = 7.786731 ton
Pv1 = 2P' = 15.57346 ton
Vb1 = Pv = 15.57346 ton
0.3
x2 = -62.5 cm ใช ้สูตร P'
P' = 0 ton
0.625 Pv2 = 2P' = 0 ton
0.3 1.8 0.3 Vb2 = Pv = 0 ton
øVc = 117.2491 ton OK
2.4
4. Punching shear
X1 = 27.5 cm P'=P
P' = 36.81 ton
Vp1 = 147.24 ton 147240 kg
X2 = -27.5 cm ใช ้สูตร P'
P' = 0 ton
Vp2 = 0 ton 0 kg
4
∅𝑉 = ∅(0.27 2 + 𝑓 𝑏 𝑑 ) ≤ ∅1.06 𝑓′ 𝑏 𝑑
𝛽
βc = h/b = 1.363636
b0 = 540
ø= 0.85
øVc = 394223.1 kg ≤ 527621.17 kg use øVc

øVc = 394223.1 kg > Vp1 OK


øVc = 394223.1 kg > Vp2 OK

f
Find "ρ" from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ y )
f′c

ρ= 0.00177 < ρmin

2
Required As = 18.58231 cm
use Number DB
12 16
2
As = 24.12743 cm OK

2
Required As = 36.75 cm (ใช ้ pmin)
Square Footing 9 ชัน
dead load = 15.6 ton live load = 2.9 ton
dead load = 140.4 ton live load = 26.1 ton
Total load = 166.5 ton
fy = 4000 ksc
fc' = 240 ksc
เสาเข็ม I = 26 cm safe capacity = 35 ton/pile
1. Assume footing weight = 10 % of column load
total load = 183.15 ton
Require number of pile = 5.232857 piles
use 6 piles
factored load = 1.4D+1.7L
= 240.93 ton
Pile load = 40.155 ton/pile เลือกเข็มใหม่ SF = 1.147286
2. Footing thickness
Pm = 80.31 ton
0.3 Vmax = Pm = 80.31 ton
Mu = 60.2325 ton-m
0.3
Mn = 66.925 ton-m
Assume P=Pmin=14/fy= 0.0035
0.65 0.9 fy
Find d from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ )
f′c
d= 45.42 cm
0.3
use thickness = 85 cm
d= 80 cm
0.75 d' = 5 cm
0.3 1.8 0.3

2.4

3. Beam shear
d/2 = 40
0.3
Dp = 26 cm
0.3
x1 = -5 cm ใช ้สูตร P'
1 𝑥
𝑃 = + 𝑃
2 𝑏
0.65 0.9
P' = 12.35538 ton
Pv1 = 2P' = 24.71077 ton
Vb1 = Pv = 24.71077 ton
0.3
x2 = -67.5 cm ใช ้สูตร P'
P' = 0 ton
0.75 Pv2 = 2P' = 0 ton
0.3 1.8 0.3 Vb2 = Pv = 0 ton
øVc = 133.999 ton OK
2.4
4. Punching shear
X1 = 35 cm P'=P
P' = 40.155 ton
Vp1 = 160.62 ton 160620 kg
X2 = -27.5 cm ใช ้สูตร P'
P' = 0 ton
Vp2 = 0 ton 0 kg
4
∅𝑉 = ∅(0.27 2 + 𝑓 𝑏 𝑑 ) ≤ ∅1.06 𝑓′ 𝑏 𝑑
𝛽
βc = h/b = 2.166667
b0 = 510
ø= 0.85
øVc = 267804 kg ≤ 569495.86 kg use øVc

øVc = 267804 kg > Vp1 OK


øVc = 267804 kg > Vp2 OK
f
Find "ρ" from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ y )
f′c

ρ = 0.001774 < ρmin

2
Required As = 21.28532 cm
use Number DB
12 16
2
As = 24.12743 cm OK

2
Required As = 42 cm (ใช ้ pmin)
Square Footing 9 ชัน
dead load = 10.5 ton live load = 1.4 ton
dead load = 94.5 ton live load = 12.6 ton
Total load = 107.1 ton
fy = 4000 ksc
fc' = 240 ksc
เสาเข็ม I = 22 cm safe capacity = 20 ton/pile
1. Assume footing weight = 10 % of column load
total load = 117.81 ton
Require number of pile = 5.8905 piles
use 6 piles
factored load = 1.4D+1.7L
= 153.72 ton
Pile load = 25.62 ton/pile เลือกเข็มใหม่ SF = 1.281
2. Footing thickness
Pm = 51.24 ton
0.3 Vmax = Pm = 51.24 ton
Mu = 38.43 ton-m
0.3
Mn = 42.7 ton-m
Assume P=Pmin=14/fy= 0.0035
0.5 0.9 fy
Find d from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ )
f′c
d= 36.28 cm
0.3
use thickness = 75 cm
d= 70 cm
0.75 d' = 5 cm
0.3 1.8 0.3

2.4

3. Beam shear
d/2 = 35
0.3
Dp = 22 cm
0.3
x1 = 5 cm ใช ้สูตร P'
1 𝑥
𝑃 = + 𝑃
2 𝑏
0.5 0.9
P' = 18.63273 ton
Pv1 = 2P' = 37.26545 ton
Vb1 = Pv = 37.26545 ton
0.3
x2 = -50 cm ใช ้สูตร P'
P' = 0 ton
0.75 Pv2 = 2P' = 0 ton
0.3 1.8 0.3 Vb2 = Pv = 0 ton
øVc = 117.2491 ton OK
2.4
4. Punching shear
X1 = 40 cm P'=P
P' = 25.62 ton
Vp1 = 102.48 ton 102480 kg
X2 = -15 cm ใช ้สูตร P'
P' = 0 ton
Vp2 = 0 ton 0 kg
4
∅𝑉 = ∅(0.27 2 + 𝑓 𝑏 𝑑 ) ≤ ∅1.06 𝑓′ 𝑏 𝑑
𝛽
βc = h/b = 1.666667
b0 = 440
ø= 0.85
øVc = 262815.5 kg ≤ 429913.54 kg use øVc

øVc = 262815.5 kg > Vp1 OK


øVc = 262815.5 kg > Vp2 OK

f
Find "ρ" from ; Mn = ρbd2 fy (1−0.59ρ y )
f′c

ρ = 0.001474 < ρmin

2
Required As = 15.47425 cm
use Number DB
8 16
2
As = 16.08495 cm OK

2
Required As = 36.75 cm (ใช ้ pmin)

You might also like