Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

แบบฟอร์มตรวจประเมินโครงการ วัด ประชา รัฐ สร้างสุข พ.ศ.

2566 - 2570
ชื่อวัดที่ตรวจประเมิน.................................................................... ตาบล.....................................................................................
อาเภอ.......................................................................................... จังหวัด....................................................................................
วันที่ตรวจประเมิน...................................................... ประเภทการตรวจ : ประเมินตนเอง คณะกรรมการ
ชื่อผู้ตรวจประเมิน........................................................................ ตาแหน่ง..................................................................................

คาชีแ้ จง : ให้คณะกรรมการประเมิน โดยทาเครื่องหมาย  ลงในช่องที่กาหนด โดยให้ความหมายดังนี้


5 หมายถึง มีแนวปฏิบัติที่ดีมาก โดยมีหลักฐาน สถานที่ เอกสาร และภาพกิจกรรมที่ชัดเจน
4 หมายถึง มีแนวปฏิบัติที่ดี โดยมีหลักฐาน สถานที่ เอกสาร และภาพกิจกรรมที่เหมาะสม
3 หมายถึง มีแนวปฏิบัติที่พอใช้ โดยมีหลักฐาน สถานที่ เอกสาร และภาพกิจกรรมพอใช้
2 หมายถึง มีแนวปฏิบัติที่น้อย โดยมีหลักฐาน สถานที่ เอกสาร และภาพกิจกรรมบางส่วน
1 หมายถึง มีแนวปฏิบัติที่น้อยมาก โดยมีหลักฐาน สถานที่ เอกสาร และภาพกิจกรรมน้อยมาก

หมวดที่ 1 ประสิทธิภาพการดาเนินโครงการวัด ประชา รับ สร้างสุข

ชือ่ กิจกรรมการดาเนินงาน 1 2 3 4 5
1.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการ (มีการตั้งคณะกรรมการ 5ส )
1.2 มีการประกาศนโยบายเข้าร่วมโครงการวัด ประชา รับ สร้างสุข
1.3 การอบรมให้ความรู้ตามหลัก 5ส เพื่อสร้างวัดสวยด้วยความสุข
1.4 การสารวจพื้นที่ จัดทาแผนผังวัด ชุมชน โรงเรียน และ วิเคราะห์
พื้นที่เพื่อการพัฒนา
1.5 การจัดทาแผนปรับปรุงภายในวัดและชุมชน
1.6 การจับคู่เพื่อพัฒนาพื้นที่และการลงมือปฏิบัติ (Big Cleaning Day)
(อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี)
1.7 การสรุปผลการดาเนินงาน (เอกสารรายเป็นรูปเล่ม)
หมวดที่ 2 การพัฒนาพื้นที่ ๙ แห่ง ภายในวัด

ชือ่ กิจกรรมการดาเนินงาน 1 2 3 4 5
2.1 ป้ายชื่อวัด บริเวณหน้าวัด และแผนผังวัดโดยสังเขป
2.2 การจัดการจราจร ป้ายจราจร และที่จอดรถ
2.3 การจัดระบบคลังวัสดุสงฆ์ และการควบคุมการ เบิก-จ่าย สิ่งของ
2.4 ห้องน้า (แยกชาย-หญิง-สะอาด-สะดวก-ปลอดภัย)
2.5 การจัดการขยะ (การคัดแยกขยะ-การใช้หลัก ๓R)
2.6 สภาพแวดล้อมพื้นที่เปิดโล่งภายในวัด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ความปลอดภัย
2.7 ระบบไฟฟ้าและการป้องกันอัคคีภยั (แสงสว่างและระบบป้องกัน)
2.8 โรงครัว (การจัดวางเป็นระเบียบ สะอาด ปลอดภัย)
2.9 การสุขาภิบาลอาคารเสนาสนะต่างๆ ภายในวัด

หมวดที่ 3 การส่งเสริมสุขภาพและสิง่ แวดล้อมภายในวัด

ชือ่ กิจกรรมการดาเนินงาน 1 2 3 4 5
3.1 การพัฒนาฐานข้อมูลสุขภาพของพระสงฆ์ สามเณร และชุมชน
3.2 การพัฒนาสถานที่วัดให้เป็นพื้นที่ส่งเสริมสุขภาพ เช่น มีตู้ยาสามัญ
ประจาวัด ห้องพยาบาล
3.3 การส่งเสริมกิจกรรมสุขภาพ เช่น ให้วัดปลอดอบายมุข สุรา บุหรี่ กัญชา
3.4 การพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในวัด และชุมชน
3.5 การพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพ

หมวดที่ 4 การจัดการพุทธศิลปกรรมและทรัพยากรวัฒนธรรมภายในวัด

ชือ่ กิจกรรมการดาเนินงาน 1 2 3 4 5
4.1 การพัฒนาฐานข้อมูลพุทธศิลปกรรมและมรดกวัฒนธรรม เช่น
ปูชนียวัตถุ สถาน ภายในวัด
4.2 การอนุรักษ์ บูรณปฏิสังขรณ์พุทธศิลปกรรมภายในวัดที่เหมาะสม
4.3 การส่งเสริมกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา
4.4 การส่งเสริมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และพุทธศิลปกรรมภายในวัด
4.5 การพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ด้านพุทธศิลปกรรม
ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญา
หมวดที่ 5 การส่งเสริมการเรียนรู้ดา้ นจิตใจและปัญญา

ชือ่ กิจกรรมการดาเนินงาน 1 2 3 4 5
5.1 การจัดให้พื้นที่ของวัด เช่น อุโบสถ วิหาร เป็นสถานที่ส่งเสริมการ
เรียนรู้วิถีพุทธ
5.2 การพัฒนาวัดให้เป็นศูนย์กลางของชุมชนเพื่อส่งเสริมการดาเนิน
ชีวิตวิถีพุทธ
5.3 การพัฒนากิจกรรมและการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านคุณธรรม
จริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
5.4 การจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น การไหว้พระ สวดมนต์
อย่างต่อเนื่อง
5.5 ส่งเสริมการเจริญวิปัสสนากรรมฐานให้กับประชาชน

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมินทั้งหมด ๔๑ ข้อ เกณฑ์คะแนนสูงสุด ๑๕๕ คะแนนเต็ม (๕ คะแนน/ข้อ)


ระดับดีเยี่ยม ๑๒๐ - ๑๕๕ คะแนน
ระดับดีเด่น ๑๐๐ - ๑๑๘ คะแนน
ระดับดี ๗๕ - ๙๘ คะแนน
ระดับมาตรฐาน ๕๐ - ๗๕ คะแนน
...............
...............

................

You might also like