การรับรู้ความเสี่ยงในการทำงานของแรงงานข้ามชาติ กรณีศึกษากลุ่มแรงงานกัมพูชาในงานขนถ่ายสินค้าเข้าและคัดแยกสินค้าออกจากตู้คอนเทนเนอร์

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 93

การรับรูความเสี่ยงในการทํางานของแรงงานขามชาติ: กรณีศึกษากลุม

แรงงานกัมพูชา ในงานขนถายสินคาเขา และคัดแยกสินคา


ออกจากตูคอนเทนเนอร

โดย

นางกิตติมา ภูระยา

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
วิชาเอกการจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย
คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ปการศึกษา 2559
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
การรับรูความเสี่ยงในการทํางานของแรงงานขามชาติ : กรณีศึกษากลุม
แรงงานกัมพูชา ในงานขนถายสินคาเขา และคัดแยกสินคา
ออกจากตูคอนเทนเนอร

โดย

นางกิตติมา ภูระยา

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
วิชาเอกการจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย
คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ปการศึกษา 2559
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
RISK PERCEPTION AMONG MIGRANT WORKERS: A CASE STUDY OF
CAMBODIA WORKERS WORKING IN LOADING AND
UNLOADING CARGO

BY

MRS KITTIMA PHURAYA

A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS


FOR THE DEGREE OF MASTER OF PUBLIC HEALTH
MAJOR IN ENVIRONMENTAL HEALTH AND SAFETY MANAGEMENT
FACULTY OF PUBLIC HEALTH
THAMMASAT UNIVERSITY
ACADEMIC YEAR 2016
COPYRIGHT OF THAMMASAT UNIVERSITY
(1)

หัวขอวิทยานิพนธ การรับรูความเสี่ยงในการทํางานของแรงงานขามชาติ:
กรณีศึกษากลุม แรงงานกัมพูชาในงานขนถายสินคาเขา
และคัดแยกสินคาออกจากตูคอนเทนเนอร
ชื่อผูเขียน นางกิตติมา ภูระยา
ชื่อปริญญา สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย วิชาเอกการจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมและ
ความปลอดภัย
คณะสาธารณสุขศาสตร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ผูชวยศาสตราจารย ดร. ณิภัทรา หริตวร
ปการศึกษา 2559

บทคัดยอ

ปจจุบันแรงงานจากประเทศกัมพูชาอพยพเขามาทํางานในประเทศไทยเปนจํานวนมาก
แรงงานกลุ ม นี้ เผชิ ญ กั บ ความเสี่ ย งจากการทํ างาน เนื่ องจากแรงงานกัม พู ชาไมไดท ราบสิ ท ธิต าม
กฎหมายคุมครองแรงงาน ไมไดรับการอบรมสอนงาน มีลักษณะการทํางานที่เปนงานหนัก และรายได
ต่ําจึงตกอยูในสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย และมีสภาพแวดลอมที่สงผลกระทบตอสุขภาพอนามัย
กอใหเกิดโรคในการทํางาน หรือนําไปสูการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุในการทํางาน พื้นที่วิจัยมีลักษณะ
เปนงานที่ตองใชแรงงานคนในการแบกหามกลางแจงหาแรงงานยาก สถานประกอบการจึงตองเลือก
วาจางแรงงานกัมพูชามาทดแทน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาหาปจจัยที่มีผลตอการรับรูความ
เสี่ ย งในการของแรงงานกั ม พู ช าที่ ทํ างานขนถ ายสิ น ค าเข า และออกจากตู ค อนเทนเนอร ดํ าเนิ น
การศึกษาตั้งแตพฤศจิกายน 2557 ถึง มิถุนายน 2558 โดยการสัมภาษณเชิงลึก จํานวน 23 คน เปน
ผูบริหาร 2 คน หัวหนางาน 1 คน และแรงงานกัมพู ชา 20 คน วิเคราะห ขอมูลโดยการวิเคราะห
แกนสาระ (Thematic Analysis)
ผลการศึกษาพบวาปจจัยที่มีผลตอการรับรูค วามเสี่ยงในการทํางาน คือ ปจจัยดาน
นโยบาย นายจางจะตองมีการอบรมใหความรูแกแรงงาน แจกคูมือการปฏิบัติงาน และจัดอุปกรณ
คุมครองความปลอดภัยที่เหมาะสมกับงานใหแกแรงงาน ปจจัยทางดานเศรษฐกิจ พบวาแรงงานเกิด
ภาวะจํายอม จึงไมหยุดงานแมตนเองจะเจ็บปวย หรือบาดเจ็บจากการทํางาน ปจจัยทางดานภาษา
พบวา แรงงานกัมพูชาสามารถสื่อสารไดดีในกลุมที่เปนหัวหนางาน แตแรงงานรายอื่นที่เปนลูกนองจะ
ไม ก ล า ที่ จ ะพู ด คุ ย กั บ หั ว หน า คนไทยด ว ยตนเอง จะให หั ว หน า งานเป น คนกลางในการสื่ อ สาร
(2)

ประสบการณจากการเกิดอุบัติเหตุในอดีตจากตนเอง ญาติพี่นอง และเพื่อนรวมงานมีผลตอการรับรู


ความเสี่ยงของแรงงานกัมพูชา โดยทุกคนมีการรับรูความเสี่ยงในเรื่องอันตรายจากสภาพแวดลอมทาง
กายภาพ คื อ อั น ตรายจากรถโฟร ค ลิ ฟ ท รถยกตู รถบรรทุ ก และมี 3 คน รั บ รู อั น ตรายจาก
สภาพแวดลอมทางการยศาสตร คือ ทาทางการทํางานซ้ําซาก และความเรงรีบในการทํางาน ซึ่งปจจัย
ดังกลาวสงผลตอพฤติกรรมและมุมมองความเสี่ยงในการทํางานที่แตกตางกัน
จากการศึกษานี้สามารถเสนอแนะแนวทางเพื่อการพัฒนาการใหความรูทางดานความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงและอุบัติเหตุจากการ
ทํ า งานของแรงงานกั ม พู ช า ประกอบด ว ย ข อ เสนอแนะเชิ ง นโยบายเรื่ อ งการจ า งงานโดยการ
ประชาสัมพันธใหลูกจางทุกคนทราบสิทธิตามกฎหมาย การบริการหรือใหความชวยเหลือในการเปน
สื่อกลางโดยมีเจาหนาที่ที่มีความสามารถเปนลามภาษาเขมร ใหการอบรมสอนงานตอเนื่องเปนระยะ
ในสวนของแรงงานกัมพูชาก็จะตองปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เกี่ยวของ และแจงขอบกพรองใหนายจาง
ทราบ เพื่อชวยแกไขสภาพการทํ างานใหดีขึ้น และการตรวจสอบการดําเนินงานจากหนวยงานที่
เกี่ยวของ

คําสําคัญ: แรงงานกัมพูชา, แรงงานขามชาติ, การรับรูความเสี่ยง, ความปลอดภัย , งานขนถายสินคา


(3)

Thesis Title RISK PERCEPTION AMONG MIGRANT WORKERS:


A CASE STUDY OF CAMBODIA WORKERS
WORKING IN LOADING AND
UNLOADING CARGO
Author Mrs Kittima Phuraya
Degree Master of Public Health
Major in Environmental Health and Safety
Management
Department/Faculty/University Faculty of Public Health
Thammasat University
Thesis Advisor Assistant Professor Niphattra Haritavorn, Ph.D.
Academic Years 2016

ABSTRACT

Presently, Migrant workers emigrate from Cambodia to work in Thailand.


Cambodia workers face workplace dangers due to ignorant of their rights under Thai
labor and welfare laws. Other cause are lack of training, poor work environment, and
low-income. All leading to unsafe working conditions harm to health, diseases, and
accident injuries. Meanwhile, research setting need worker who can work in outdoor
that difficult to find workers. As a result, Cambodia workers is the large number to
work in the site. This thesis aim to study risk perception factors from Cambodia
Migrant workers in loading and un-loading cargo. Risk perception in Cambodia migrant
workers was studied from November 2014 to June 2015. In-depth interviews were
done in person with 23 volunteers. Samples consisted of 2 representative of Thai
management, 1 Thai company leader, and 20 from Cambodia Migrant workers at
Bangkok. Qualitative data was analyzed Thematic Analysis.
The results exposed the policy factors affecting perceived risk in
Cambodia Migrant workers. Employer must arrange training to educate workers. To
provide working instruction manual, and appropriate personal protective equipment.
Secondly, Economics factors made workers unwilling to take days off when ill or
(4)

injured. Language barriers were a further influence on perceived risk by training, and
education. Past experiences of family and friends, as well as the Cambodia Migrant
worker themselves. All samples recognized physical hazard in operating machinery
such as forklifts, container handling equipment, and truck. Only three samples
identified ergonomic as a factor in risk perception.
Finding suggest that employers should better train and educate Cambodia
migrant workers. Work instruction manuals and appropriate Personal Protective
Equipment would be useful. Employers should also obey and diffuse worker right
and welfare information. Cambodian language translators and interpreters should be
available during training sessions. For their part, Cambodia migrant workers should
follow regulations and report any unsafe action and condition to employers. Third
party audits by relevant government organizations might also be helpful.

Keywords: Cambodia workers, Migrant workers, Risk perception, Safety,


Loading-Unloading cargo
(5)

กิตติกรรมประกาศ

วิ ท ยานิ พ นธ ฉ บั บ นี้ สํ า เร็ จ ได ด ว ยความกรุ ณ า ความดู แ ลเอาใจใส ความช ว ยเหลื อ
คําแนะนํา สนับสนุนหนังสือวิชาการ ตลอดจนความรูตางๆ อันเปนประโยชนอยางมากตอผูวิจัยในการ
ทําวิทยานิพนธฉบับนี้อยางดียิ่งจากผูชวยศาสตราจารย ดร.ณิภัทรา หริตวร อาจารยที่ปรึกษาและ
กรรมการสอบวิทยานิพนธ และขอบพระคุณประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธอาจารย ดร. ชัยยุทธ
ชวลิตนิ ธิกุล และกรรมการสอบวิท ยานิพ นธ ผูชวยศาสตราจารย ดร.นิ ยดา เกียรติยิ่งอังศุลี ที่ ได
เสียสละเวลา และกรุณาใหคําแนะนําที่ดีในการปรับปรุงแกไขวิทยานิพนธใหถูกตองและสมบูรณมาก
ยิ่งขึ้น รวมถึงคณาจารยผูทรงคุณวุฒิ และเจาหนาที่ทุกทานในหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ขอขอบคุณผูเขารวมวิจัยทุกทานที่สละเวลาในการสัมภาษณ และใหความรวมมือเปน
อยางดี จนทํ าให ได ข อมู ล และทํ าให วิท ยานิ พ นธฉ บั บ นี้ ส มบู รณ ตลอดจนผู บ ริห ารที่ อนุ ญ าตและ
สนับสนุนใหทําการวิจัยในสถานประกอบการ รวมถึงผูที่เกี่ยวของที่ประสานงานในการติดตอผูเขารวม
วิจัย ขอบคุณมารดา สามี บุตร พี่ นอง เพื่อนทุกคนที่คอยชวยเหลือ และใหกําลังใจเสมอมา
ทายสุดนี้ดวยความดี และสนับสนุนจากทุกทานที่มีสวนชวยในการทําวิทยานิพนธฉบับนี้
ตลอดจนบุคคลอื่นๆ ที่ยังมิไดเอยนามไว ณ ที่นี้ ทีใ่ หความชวยเหลือและเปนกําลังใจใหวทิ ยานิพนธ
ฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี ขอใหทุกทานมีแตความสุขความเจริญตลอดไป

นางกิตติมา ภูระยา
(6)

สารบัญ

หนา
บทคัดยอภาษาไทย (1)

บทคัดยอภาษาอังกฤษ (3)

กิตติกรรมประกาศ (5)

สารบัญภาพ (10)

บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1
1.2 คําถามการวิจัย 5
1.3 วัตถุประสงคของการศึกษา 6
1.4 ขอบเขตของการศึกษา 6
1.5 นิยามศัพทเฉพาะที่ใชในการศึกษา 6
1.6 ขอจํากัดทีใ่ ชในการศึกษาครั้งนี้ 7
1.7 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 7
1.8 กรอบแนวคิดของการวิจัย 8

บทที่ 2 วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 9

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับความเสี่ยง และการรับรูความเสี่ยง 9


2.1.1 ความหมายของความเสี่ยงในมุมมองอาชีวอนามัย ความปลอดภัย 9
และสภาพแวดลอมในการทํางาน
2.1.2 ความหมายของความเสี่ยงในมุมมองสังคมวิทยา 10
2.2 ปจจัยทางดานสังคมและวัฒนธรรมที่สงผลตอความเสีย่ ง 10
2.3 ปจจัยในดานวิถีชีวิตที่มีผลตอความเสี่ยง 12
2.4 ปจจัยดานนโยบายการจางงาน 13
(7)

2.5 ปจจัยดานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน 15


2.6 หลักการปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางานใหปลอดภัย 17

บทที่ 3 วิธีการวิจัย 22

3.1 พื้นทีศ่ ึกษา 22


3.1.1 ขอมูลพืน้ ที่ศึกษา 22
3.1.1.1 สถานประกอบการ 22
(1) ฝายปฏิบัติการ 23
(2) ฝายอื่นๆ 23
3.1.1.2 บริษัทผูรับเหมางานขนถายสินคาและคัดแยกสินคา 23
(1) พนักงานประจํา 23
(2) แรงงานรายวัน 23
(3) แรงงานรับเหมา 23
3.1.1.3 ขั้นตอนการทํางาน 25
3.1.2 เหตุผลการเลือกพื้นที่ศึกษา 26
3.2 ผูเขารวมการวิจัยและวิธีการเลือกผูเขารวมการวิจัย 27
3.3 จริยธรรมในการวิจัย 28
3.3.1 การใหความเคารพตอบุคคลที่เขาสัมภาษณ 28
3.3.2 การพิทกั ษประโยชนของผูเขารวมการวิจัย 29
3.3.3 การใหความยุติธรรมตอผูเขารวมการวิจัย 29
3.4 การไดมาและการเขาถึงขอมูล 29
3.5 เครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล 30
3.5.1 การสัมภาษณเชิงลึก 30
3.5.2 เครื่องมือที่ชวยในการวิจัย 30
3.6 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล 31
3.7 การตรวจสอบความนาเชื่อถือของชอมูล 32
3.8 การวิเคราะหขอมูล 34

บทที่ 4 นโยบายการจางงาน สิทธิ และสวัสดิการ 36


(8)

4.1 การจางงาน 36
4.2 สิทธิของแรงงานขามชาติเปรียบเทียบกับแรงงานไทย 36
4.2.1 วันและเวลาทํางาน 36
4.2.2 คาใชจายในการตรวจพิสูจนสัญชาติของแรงงานขามชาติ 37
4.3 การสรรหาวาจางและเกณฑการเลือกแรงงาน 38
4.3.1 การสรรหาวาจาง 38
4.3.2 เกณฑการคัดเลือก 39
4.4 สาเหตุของการจางแรงงานขามชาติ 40
4.4.1 คนไทยเลือกงาน 40
4.4.2 แรงจูงใจในการทํางานของแรงงานกัมพูชา 41
4.5 สวัสดิการ และการอบรมสอนงานแกแรงงานขามชาติ 43
4.5.1 สวัสดิการที่แรงงานขามชาติไดรับ 43
4.5.2 การอบรมสอนงาน 45

บทที่ 5 การรับรูความเสี่ยง และประสบการณอุบัติเหตุของแรงงานขามชาติกัมพูชา 46

5.1 การรับรูความเสี่ยง 46
5.1.1 ดานสุขภาพรางกาย 46
5.1.2 ดานสภาพแวดลอมในการทํางาน 48
5.1.2.1 อันตรายจากสภาพแวดลอมทางกายภาพ 48
5.1.2.2 อันตรายจากสภาพแวดลอมทางการยศาสตร 52
5.1.3 ดานการใชเครื่องมือเครื่องจักร 53
5.2 การรับรูเรือ่ งการสวมใสอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคล 53
5.3 อุบัติเหตุทเี่ คยเกิดขึ้นกับแรงงาน 54
5.4 ประสบการณเรียนรูอุบัติเหตุจากอดีต 55

บทที่ 6 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 58

6.1 สรุปผลการวิจัย 58
6.2 อภิปรายผล 58
(9)

6.3 ขอเสนอแนะ 63

รายการอางอิง 65

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก แบบสอบถามทั่วไป 72
ภาคผนวก ข แนวคําถามการสัมภาษณเชิงลึก สําหรับผูบริหาร ผูจัดการ 74
บริษัทผูรับเหมา และหัวหนาแรงงาน
ภาคผนวก ค แนวคําถามการสัมภาษณเชิงลึก สําหรับแรงงานขามชาติ 75
และผูใหขอมูลทีส่ ําคัญ
ภาคผนวก ง ขอมูลประชากร 76

ประวัติผูเขียน 78
(10)

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา
3.1 โครงสรางของสถานประกอบการ 24
3.2 ขั้นตอนการขนถายสินคาเขา 25
3.3 การคัดแยกสินคาออกจากตูคอนเทนเนอร 26
5.1 รถโฟรคลิฟท หรือรถยกสินคา 49
5.2 รถเครื่องมือยกตูคอนเทนเนอร 50
5.3 แรงงานเกี่ยวแปง 52
1

บทที่ 1
บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

“แรงงานข า มชาติ ” เป น ปรากฏการณ ที่ เกิ ด ขึ้ น แทบทุ ก ภู มิ ภ าคของโลก เกิ ด การ
เคลื่ อ นย า ยจากประเทศหนึ่ งสู อี ก ประเทศหนึ่ ง โดยมี ลั ก ษณะที่ ป ฏิ สั ม พั น ธ กั บ อี ก สั งคมและอี ก
วัฒ นธรรมหนึ่ งผานการวาจ างงาน มีแ รงขับ เคลื่อนหลักอัน เกิดจากภาวะ “ทุ น นิยมโลกาภิวัตน ”
(Wickramasekera, 2002) การเคลื่อนยายของกลุม คนมีสาเหตุมาจากปจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ
การเมือง พฤติกรรมความเปนอยูของประชาชน (กุลภา วจนสาระ และกฤตยา อาชวนิจกุล, 2555)
และการประสบภาวะขาดแคลนแรงงานในประเทศที่มีการปรับเปลี่ยนโครงสรางทางเศรษฐกิจ จาก
การเปลี่ยนแปลงของสังคมเกษตรกรรมเขาสูสังคมอุตสาหกรรม ตามแนวคิดเสรีนิยมใหม เปนแนวคิด
ที่เนนความสําคัญในการกระจายทรัพยากรทางเศรษฐกิจ รวมถึงการสงเสริมการเคลื่อนยายอยางเสรี
ของสินคาและเงินทุน (ตฤณ ไอยะรา, 2556) แรงงานจึงเปรียบเสมือนกลไกการผลักดันทางเศรษฐกิจ
ทําใหแรงงานขามชาติหลั่งไหลไปทํางานในประเทศที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Nayyar, 2000)
จากขอมูลสถิติการยายถิ่นขามชาติของแรงงานในระดับสากล (International Labour
Organization, 2010, p.15) พบวาจํานวนประชากรยายถิ่นมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นจากป 2000 มีการ
ยายถิ่นขามชาติจํานวน 150 ลานคน เปน 214 ลานคน และในป 2010 ประมาณครึ่งหนึ่งเปนผูยาย
ถิ่นเพื่อไปหางานทําในประเทศที่มีการเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจ ในอาเซียนประเทศไทยเปนอีก
ประเทศหนึ่ งที่ มี แรงงานขามชาติ เขามาหางานทํ าเป น จํานวนมากสวนใหญ ม าจากประเทศ พม า
กัมพูชา และลาว จากรายงานสถานการณแรงงานขามชาติในประเทศไทย ของสํานักบริหารแรงงาน
ต า งด า ว ตั้ ง แต ป 2551- 2555 ข อ มู ล ณ เดื อ นธั น วาคมในแต ล ะป ต ามลํ า ดั บ ดั ง นี้ 790,664,
1,544,902, 1,335,155, 1,950,650, 1,133,851 คน โดยในป 2555 จํานวนแรงงานขามชาติลดลง
จากป 2554 จํานวน 816,799 คน คิดเปนรอยละ 41.9 และมีแรงงานขามชาติเขาเมืองผิดกฎหมาย
ใน ป 2555 ลดลงจากป 2554 จํานวน 1,079,095 คน เมื่อนําขอมูลเปรียบเทียบกับแรงงานขามชาติ
เข าเมื อ งถู ก กฎหมาย จากขอ มู ล ดั งกลาว แสดงให เห็ น วาจํ านวนแรงงานข ามชาติ ไม อยู ในระบบ
ฐานขอมูลของสํานักบริหารแรงงานตางดาวในระหวางป 2554 - 2555 เนื่องจากแรงงานยังไมมาขอ
ขึ้นทะเบียน 1

1 จากการเสวนาเรื่อง “ประสบการณ/บทเรียนการจดทะเบียนแรงงานตางดาว” เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ 2556 โดย


กรมการจัดหางาน รวมกับองคการแรงงานระหวางประเทศ (International Labour Organization: ILO)
2

ปจจัยการยายถิ่นของแรงงานขามชาติในระดับภูมิภาคอาเซียนมาจากปจจัยทางสังคม
เศรษฐกิจ และการเมือง เชน ประชากรจากประเทศพมา กัมพูชา และลาว ยายไปทํางานในประเทศ
ที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เชน ประเทศไทย มาเลเซีย และสิงคโปร เพราะอาชีพเกษตรกรรมทําให
มีรายไดต่ําและไมแนนอน จบการศึกษาเพียงชั้นประถมศึกษา จึงเขาไปทํางานในเมืองใหญ แตไมมี
งานที่ดีใหทํา และมีการแยงงานกัน กอใหเกิดปญหาการวางงาน แรงงานจึงอพยพยายถิ่นจากประเทศ
บ านเกิ ด ไปยั งประเทศที่ มี ก ารเจริญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ในประเทศอื่ น เพื่ อ หางานทํ า โดยได รับ
ค า ตอบแทนที่ ดี ก ว า จึ ง เกิ ด แรงจู ง ใจให แ รงงานหลั่ ง ไหลเข า ไปทํ า งานในประเทศเพื่ อ นบ า น
นอกเหนือจากปจจัยทางดานเศรษฐกิจ กนิษฐา บุญธรรมเจริญ และคณะ (2555) ยังไดพบวาปจจัย
ทางด า นการเมื อ งส ง ผลให แ รงงาน พม า กั ม พู ช า และลาว ย า ยเข า มาทํ า งานในประเทศไทย
อั น เนื่ อ งมาจากป จ จั ย ผลั ก ดั น จากภายในประเทศของตนเอง เช น เกิ ด จากระบบการเมื อ ง การ
ปกครองภายใน ปญหาการสูรบบริเวณชายแดน และภัยสงคราม
จากการที่มีแรงงานขามชาติหลั่งไหลเขามาทํางานในประเทศไทย รัฐบาลจึงไดมีการทํา
บั น ทึ ก ความเข าใจความรวมมื อ ในการจ างงาน (Memorandum Of Understanding: MOU) กั บ
ประเทศเพื่อนบานทั้งสามสัญชาติ พมา กัมพูชา และลาว ระหวางป 2545-2546 จนกระทั่งปจจุบัน
(พฤกษ เถาถวิล และสุธีร สาตราคม, 2554, น.3) แตพบวายังมีอุปสรรคในการปฏิบัติตามบันทึกความ
เขาใจความรวมมือในการจางงาน เชน การยื่นเรื่องเพื่อขอพิสูจนสัญชาติมีความลาชา และไมคืบหนา
เพราะมีขั้นตอนการพิสูจนสัญชาติมากเกินไป ขอมูลจึงไมถูกสงตอไปยังรัฐบาลของประเทศตนทาง
และความพรอมของนายจางที่มักจะใชบริการนายหนาในการยื่นขอพิสูจนสัญชาติใหแรงงานขามชาติ
ทําใหตนทุนสูงทั้งคาใชจาย เวลา (Vasuprasat, 2008) ความพรอมของเจาหนาที่รัฐ และความพรอม
ของ เทคโนโลยี 2 ทําใหแรงงานขามชาติไมเห็นถึงประโยชนมากกวาการทํางานผิดกฎหมาย จึงเกิด
ปญหาลักลอบเขามาทํางาน ประกอบกับประเทศไทยถือวายังขาดความชัดเจนในเรื่องของนโยบาย
การแกไขปญหาระยะยาว (สมพงษ สระแกว, 2544) เนื่องมาจากรัฐบาลมีนโยบายกระจายความเจริญ
และอุตสาหกรรมไปสูภูมิภาค แรงงานขามชาติทั้งสามสัญชาติจึงอพยพเขามาทํางานที่คนไทยไมทํา
เพราะเปนงานหนักและมีรายไดต่ํา คนทั่วไปมองวาต่ําตอย เชน กรรมกรกอสราง แมบาน คนทําความ
สะอาด คนสวน และงานประมง (สุรียพร พันพึ่ง และ คณะ, 2548)
สํานักแรงงานระหวางประเทศ (2551) กําหนดมาตรฐานแรงงานระหวางประเทศวาดวย
สิทธิแรงงานขามชาติใหแรงงานขามชาติไดรับการคุมครองจากอุบัติเหตุ การบาดเจ็บและการเจ็บปวย
จากการทํางาน และกระทรวงสาธารณสุขไดออกประกาศ เรื่อง การตรวจสุขภาพและประกันสุขภาพ

2รายงานการทบทวนนโยบาย ยุทธศาสตร การบริหารจัดการและแรงกดดันในการนําเขาแรงงานขามชาติของ


ประเทศไทย, 2552, น.153
3

ของคนตางดาว ลงวันที่ 22 มีนาคม 2556 เพื่อดูแลทางการแพทย และสาธารณสุขแกแรงงานขาม


ชาติทั้งหมดที่ไมมีบัตรตางดาว และมีบัตรถูกตอง โดยแรงงานขามชาติจะตองชําระคาตรวจสุขภาพ
คนละ 600 บาท และจายคาประกันสุขภาพ 550 บาท สําหรับแรงงานที่รอเขาระบบประกันสังคม
(มีอายุคุมครอง 3 เดือน) และ 2,200 บาท สําหรับแรงงานขามชาติทั่วไป ซึ่งแรงงานขามชาติจะไดรับ
สิทธิประโยชนครอบคลุมบริการทางการแพทยรวมถึงกรณีการเกิดอุบัติเหตุ ตามสถานพยาบาลที่ได
เลือกไว โดยเสี ยค าใช จายครั้งละ 30 บาท แตยังพบวามี ป จจัยที่ เกี่ยวของอีกหลายป จจัยที่ ทํ าให
แรงงานขามชาติเขาไมถึงบริการสุขภาพดังกลาว เชน แรงงานขามชาติไมมีใบอนุญ าต ทําใหขาด
ความรู และขอมูลเกี่ยวกับสิทธิที่พึงไดรับ ปจจัยดานนายจาง ที่ไมไปขึ้นทะเบียนประกันสังคม ทําให
แรงงานขามชาติเสียสิทธิ์ตามหลักประกันสังคม อีเลน เพียรสัน และคณะ (2549) พบวาแรงงานขาม
ชาติที่เขามาทํางานในประเทศไทยอยางถูกตอง ยังพบปญหานายจางยึดบัตรประจําตัวไว ทําใหไมได
รับ สิ ท ธิ์ เมื่ อ ไม มี บั ต ร ไม มี เงิ น และไม มี ล าม แรงงานข า มชาติ ทั้ งที่ เข า เมื อ งถู ก กฎหมายและผิ ด
กฎหมายจึงพบปญหาการเขาไมถึงบริการสุขภาพ ปญหาดานระบบบริการสาธารณสุขที่ไมสามารถ
ดูแลผูปวยไดอยางทั่วถึง เนื่องจากขาดบุคลากร และครุภัณฑทางการแพทย ปจจัยดานชุมชน สังคม
และวัฒนธรรม ที่ถูกกีดกัน สอดคลองกับงานวิจัยของ Gao, Yang, & Li (2012) กลาววา สาเหตุที่ทํา
ให แ รงงานข ามชาติไมส ามารถเขาถึงสวัส ดิการสุข ภาพ เนื่องมาจากการประกันการจางงาน การ
เดินทาง เอกสารการทํางาน และภาษาในการสื่อสาร ทําใหแรงงานขามชาติไมไดรับสิทธิขั้นพื้นฐาน
และการเขาถึงบริการสุขภาพได เมื่อเผชิญกับสถานการณที่เปนอันตรายตอสุขภาพ เพราะแรงงาน
ขามชาติไมทราบขอมูลเกี่ยวกับบัตรประกันสุขภาพ และนายจางไมขึ้นทะเบียนสิทธิประกันสังคม ทํา
ใหขาดโอกาสที่จะไดรับการดูแลรักษาตามนโนบายและมาตรการที่รัฐไดวางไว
ลักษณะการทํางานของแรงงานขามชาติ เปนงานประเภท 3D 3 เกิดจากการเลือกทํางาน
ของแรงงานไทย เพราะแรงงานขามชาติไมเลือกงานทํา จึงตองอยูในสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย
และมีสภาพแวดลอมในการทํางานที่สงผลกระทบตอสุขภาพอนามัยกอใหเกิดโรคจากการทํางาน
งานวิจัยของ Pransky et al., (2002) ศึกษาแรงงานขามชาติเชื้อสายลาติน ซึ่งทํางานและอาศัยอยูใน
รัฐเวอรจิเนีย ทางตอนใตของกรุงวอชิงตัน ดีซี พบวาอันตรายในการทํางานทางดานกายภาพ ไดแก
พื้นลื่ น ความเสี่ ยงในการทํ างานที่ สูง ของมีคม การทํางานในอุณ หภู มิที่ สูง การยกของหนัก และ
อันตรายทางดานเคมี ไดแก การสัมผัสยาฆาแมลง คลอรีน ฟอรมัลดีไฮล และแอสเบสตอส เปนตน
สอดคลองกับงานวิจัยของ ศราวุฒิ เหลาสาย และอภิศักดิ์ ธีระวิสิษฐ (2555) พบวาแรงงานขามชาติ
พมาซึ่งทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดขอนแกน มีสภาพแวดลอมในการทํางานที่เกี่ยวของกับ
อันตรายทางสารเคมี เชน งานที่มีฝุนละออง และสารเคมีปนเปอ น ทางดานการยศาสตรสอดคลองกับ

3 งานประเภท 3D คือ 1.งานสกปรก (Dirty) 2.งานยาก (Difficult) และ 3.งานอันตราย (Dangerous)


4

งานวิจัยของ Ahonen et al., (2009) พบวาการทํางานที่ยาวนาน สงผลใหเกิดปญหาดานสุขภาพ


เกิดความเมื่อยลา และสงผลตอความเครียดเนื่องจากพักผอนไมเพียงพอ จากสภาพแวดลอมในการ
ทํางานดังกลาวเปนสาเหตุทําใหแรงงานขามชาติ มีความเสี่ยงในการทํางานที่จะเกิดอุบัติเหตุแลว
ยังสงผลกระทบไปถึงชีวิตและสภาพจิตใจทั้งตัวแรงงานและครอบครัว โดยที่นายจางไมใหความสําคัญ
กับสุขภาพและความปลอดภัยของแรงงาน เพราะไมมีการอบรมเรื่องการทํางาน และการปองกันการ
สั ม ผั ส ป จ จั ย เสี่ ย งดั ง กล า ว (Stallones, Acosta, Sample, Bigelow, & Rosales, 2009) ส ง ผล
กระทบให แรงงานขามชาติมี ความเสี่ยงในการทํางาน ที่จะเกิดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บจากการ
ทํางานไดสูงกวาแรงงานไทย ไดแก การบาดเจ็บทุพพลภาพ สูญเสียอวัยวะ และสูญเสียชีวิต
การเกิดอุบัติเหตุจากการทํางานโดยทั่วไปแลว Heinrich (1931) กลาววาเกิดจากการ
กระทํ าที่ ไม ปลอดภั ย (Unsafe Act) และสภาพแวดลอมที่ไมปลอดภัย (Unsafe Condition) เป น
สาเหตุที่กอใหเกิดอันตรายและอุบัติเหตุในการทํางาน งานวิจัยของ ศิรสา จรัสวุฒิยากร (2547) พบวา
การปฏิ บั ติ ง านงานไม ถู ก วิ ธี การมี ทั ศ นคติ ที่ ไม ถู ก ต อ ง ความไม เอาใจใส ในงาน ความประมาท
พลั้งเผลอ การมีนิสัยชอบเสี่ยง ทําใหเพิกเฉยตอความเสี่ยงในการทํางาน จะทําใหเกิดอันตรายหรือมี
โอกาสบาดเจ็บในการทํางาน ซึ่งสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุนั้นเกิดจากความผิดพลาดเนื่องจากคน และ
งานวิจัยของ Lenore S. Azaroff & Wegman (2004) พบวาการทํ างานโดยไม มีอุ ป กรณ ป อ งกั น
อันตรายสวนบุคคล ทํางานภายใตสภาพแวดลอมที่เปนอันตราย ทําใหแรงงานขามชาติตองทํางานอยู
ในสภาพการทํางานที่ นําไปสูการเกิดอุบัติเหตุไดงาย ทําใหเกิดการบาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิต และ
สูญเสียทรัพยสินของสถานประกอบกิจการได มีผูศึกษาปญหาการเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน ปญหา
สุขภาพ เจ็บปวย และทุพพลภาพ และการเสียชีวิตเกิดจากพฤติกรรมดานหนึ่งเรียกวา พฤติกรรมที่
ปลอดภัย และอีกดานหนึ่งเปนพฤติกรรมเสี่ยง (สุพจน เดนดวง, 2541) เนื่องจากการลักลอบเขามา
ทํางาน ทํ าให ไม ได รับ ข าวสารเกี่ ยวกับ ความเสี่ยงในการทํ างาน เพราะแรงงานขามชาติกลุม นี้ จ ะ
ไมเขาใจภาษาที่ใชในการสื่อสาร จึงทําใหไมเขาใจเรื่องความเสี่ยงในการทํางาน (ณัฐกานต เล็กเจริญ
อนามัย เทศกะทึก และกุหลาบ รัตนสัจธรรม, 2554)
จากรายงานการเกิดอุบัติเหตุภายในสถานประกอบกิจการที่ผูวิจัยสนใจศึกษา พบวา
ใน ป 2551-2555 มีแรงงานขามชาติเกิดอุบัติเหตุถึงขั้นบาดเจ็บ 5 ราย เมื่อเทียบกับแรงงานไทย
มีการบาดเจ็บเพียง 1 ราย และแรงงานขามชาติที่เขาเมืองผิดกฎหมายจะไมมีการรายงานการบาดเจ็บ
มายังสถานประกอบกิจการซึ่งเปนนายจาง เพราะบริษัทผูรับเหมาและแรงงานขามชาติกลัวความผิด
และกลัวถูกจับเมื่อตองเขารักษาที่โรงพยาบาล เนื่องจากไมมีบัตรอนุญาตทํางาน สาเหตุของการเกิด
อุบัติเหตุของแรงงานขามชาติ ในป 2553 มี 4 ราย ดังนี้ รายแรก สาเหตุเกิดจากสินคาหลนลงมาจาก
รถกระแทกขาและหนาทอง ทําใหไดรับบาดเจ็บเกิดอาการเคล็ดขัดยอก รายที่สอง กระสอบขาวสาร
ไหลมากระแทกและลมทับตัว ขณะยกกระสอบขาวสารจากรถบรรทุกสินคาสงตอใหเพื่อนรวมงาน
5

เขาไปบรรจุในตูคอนเทนเนอร ทําใหเสียหลักตกลงจากรถหัวกระแทกพื้น รายที่สาม สาเหตุเกิดจาก


รถบรรทุกสินคาเฉี่ยวประตูตูคอนเทนเนอรและทําใหประตูพับไปเกี่ยวขาขณะแรงงานขามชาตินั่งหอย
ขาเพื่อจะลงจากรถอีกคัน ทําใหเกิดแผลฉีกที่ขา และรายที่สี่ ชวยพนักงานขับรถสินคาเปดฝาทายรถ
สินคา แตแรงงานขามชาติรับน้ําหนักไมไหว ทําใหฝากระบะทายลงมากระแทกนิ้วมือแตก และในป
2555 มีอุบัติเหตุเกิดขึ้น 1 ราย สาเหตุคือแรงงานปนขึ้นรถบรรทุกสินคา แตกาวพลาดทําใหตกจากรถ
ขาและแขนดานขวากระแทกทําใหเกิดการบาดเจ็บ โดยผูรับเหมาซึ่งเปนนายจางของแรงงานขามชาติ
ไดจาย เงินคารักษาพยาบาลใหกอน แลวจึงมาหักจากคาแรงของแรงงานขามชาติที่ไดรับการบาดเจ็บ
จากอุบัติเหตุที่มีการรายงานดังกลาว เกิดจากการทํางานของสถานประกอบกิจการที่สนใจศึกษาเปน
การวาจางผูรับเหมาเขามาทํางาน ซึ่งบริษัทผูรับเหมาไมมีการจัดอบรมใหความรูแกแรงงานขามชาติ
ไมมีประกันสุขภาพครอบคลุม จึงไมรายงานการเกิดอุบัติเหตุทั้งหมดมายังสถานประกอบกิจการ
สงผลใหแรงงานขามชาติขาดการรับรูเรื่องของความเสี่ยงในการทํางานมากกวาแรงงานไทย
ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาเพื่อหาปจจัยที่มีผลตอการรับรูความเสี่ยงในการ
ทํางานของแรงงานขามชาติในงานขนถายสินคาเขา และคัดแยกสินคาออกจากตูคอนเทนเนอร ซึ่ง
งานวิจัยในประเทศไทยที่ผานมายังไมมีการศึกษาเรื่องการรับรูความเสี่ยงในการทํางานของแรงงาน
กัมพูชาโดยใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ผูวิจัยจึงเลือกใชเทคนิควิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative
Research) เนื่องจากสามารถตอบคําถามไดตามวัตถุประสงคที่สนใจศึกษาไดอยางครบถวน เพราะ
สะทอนความรูสึกนึกคิด ประสบการณทางดานสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิต ของแรงงานขามชาติ เพื่อ
นําไปสูการเสนอแนะแนวทาง วิเคราะหปญหาและอุปสรรค ในการทํางานใหปลอดภัย และมาตรการ
ที่เหมาะสมในการจัดการความเสี่ยงในการทํางานสําหรับแรงงานขามชาติ โดยใชการสัมภาษณเชิงลึก
(In-depth Interview) เปนวิธีการหลักในการเก็บรวบรวมขอมูล และเนนการวิเคราะหขอมูลโดยการ
ดึงประเด็นที่สําคัญ (Thematic Analysis) เพื่อนําขอมูลจากผลการศึกษาวิจัยมาวิเคราะหปญหาและ
อุปสรรคในการจัดการสภาพแวดลอมในการทํางาน เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุในการทํางานของแรงงาน
ขามชาติ

1.2 คําถามการวิจัย

แรงงานขามชาติมีการรับรูความเสี่ยงในการทํางานเปนอยางไรและมีปจจัยใดบางที่มีผล
ตอการรับรูความเสี่ยงในการทํางานของแรงงานขามชาติ และรูปแบบการทํางานสําหรับแรงงานขาม
ชาติควรเปนอยางไร
6

1.3 วัตถุประสงค

1.3.1 เพื่อเขาใจมุมมองในเรื่องการรับรูความเสี่ยงในการทํางาน ในกลุมแรงงานกัมพูชา


1.3.2 เพื่อศึกษาหาปจจัยที่มีผลตอการรับรูความเสี่ยงในการทํางานสําหรับแรงงาน
กัมพูชา
1.3.3 เพื่อวิเคราะหปญหาและอุปสรรคใหแรงงานกัมพูชามีความรูในการปฏิบัติงานที่
ปลอดภัย และมาตรการที่เหมาะสมในการจัดการความเสี่ยงในการทํางาน สําหรับแรงงานกัมพูชา

1.4 ขอบเขตของการศึกษา

การศึกษาในครั้งนี้เปนการศึกษาโดยใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)


เนื่องจากทําใหผูวิจัยสามารถจํากัดขอบเขตของการวิจัยอยูที่กรณีเฉพาะที่สนใจ ภายใตบริบทการรับรู
ความเสี่ยงในการทํางานของแรงงานกัมพูชาเฉพาะงานขนถายสินคาเขา และคัดแยกสินคาออกจากตู
คอนเทนเนอร ในกิจการประเภทบรรจุสินคา และแยกสินคากลอง อันมิใชกิจการคลังสินคา ในพื้นที่
จังหวัดกรุงเทพมหานคร

1.5 นิยามศัพทเฉพาะที่ใชในการศึกษา

ในการศึกษาครั้งนี้ไดใหความหมายของศัพทที่เกี่ยวของกับการศึกษา เรื่อง การรับรู


ความเสี่ยงในการทํางาน ในกลุมแรงงานขามชาติกัมพูชา กรณีศึกษางานขนถายสินคาเขา และคัดแยก
สินคาออกจากตูคอนเทนเนอร ในพื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร

1.5.1 แรงงานขามชาติ หมายถึง “บุคคลธรรมดาซึ่งไมมีสัญชาติไทย” เปนผูซึ่งยายถิ่น


จากประเทศหนึ่งไปอีกประเทศหนึ่ง เพื่อไปหางานทําทั้งที่เขาเมืองถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย
1.5.2 นายจาง หมายถึง ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจาง
1.5.3 ลูกจาง หมายถึง ผูซึ่งตกลงทํางานใหนายจางโดยไดรับคาจาง
1.5.4 ผูรับเหมา หมายถึง ผูซึ่งตกลงรับดําเนินงานบรรจุและขนถายสินคาของนายจาง
1.5.5 หัวหนางาน หมายถึง ลูกจางที่ทําหนาที่ควบคุม กํากับ มอบหมาย หรือบังคับให
ลูกจางทํางานตามหนาที่ของหนวยงาน
7

1.5.6 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน หมายถึง การ


กระทําหรือสภาพการทํางานซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทําใหเกิดการประสบอันตรายตอชีวิต รางกาย
จิตใจ หรือสุขภาพอนามัยอันเนื่องจากการทํางานหรือเกี่ยวกับการทํางาน
1.5.7 ความเสี่ยงในการทํางาน หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดที่เกี่ยวของใน
ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานความ เปนเหตุใหเกิดการบาดเจ็บ
เปนอันตรายตอชีวิต และทรัพยสิน
1.5.8 ตูคอนเทนเนอร (Container) หมายถึง ตูโลหะขนาดใหญที่ปดมิดชิด และนําไป
ใชใหมได เพื่อการขนสงสินคาทางทะเลและทางรถไฟ
1.5.9 งานขนถายสินคา หมายถึง การนําสินคาบรรจุเรียงใสตูคอนเทนเนอรจากยาน
พาหนะทีล่ ูกคานํามาสง
1.5.10 งานคัดแยกสินคา หมายถึง การนําสินคาคัดแยกออกจากตูคอนเทนเนอรไปยัง
ยานพาหนะที่ลูกคาจัดมารับสินคา หรือนําสินคาไปเก็บในโกดังสินคา
1.5.11 วิ ถีชี วิต (Lifestyle) หมายถึง การกระทํ าตามวิธีการ และแนวทางอยางใด
อยางหนึ่ง อยางตอเนื่องจนติดเปนนิสัย จนกลายเปนสวนหนึ่งในการดําเนินชีวิต
1.5.12 ลัชชิ่ง (Lashing) หมายถึง การนําอุปกรณ เชน เชือก ไม สลิง มารัด ผูก ตรึง
สินคาภายในตูคอนเทนเนอรใหมีความมั่นคง

1.6 ขอจํากัดในการศึกษาครั้งนี้

การศึกษาในครั้งนี้เปนการศึกษาการรับรูความเสี่ยงในการทํางานของแรงงานกัมพูชาที่
เกี่ ย วข อ งกั บ งานขนถ ายสิ น ค าเข า และคั ด แยกสิ น ค าออกจากตู ค อนเทนเนอร ซึ่ งไม ส ามารถนํ า
ผลการวิจัยไปใชในลักษณะงานประเภทอื่น เนื่องจากความเสี่ยง และลักษณะอันตรายในสถานที่
ทํางานแตกตางกัน และไมสามารถนําขอสรุปไปใชอางอิงประชากรเปาหมายของกรณีอื่นๆ ไดอยาง
กวางขวาง เพราะกรณีศึกษาใชจํานวนประชากรอยางเฉพาะเจาะจง เนื่องจากมีความแตกตางกัน
ทางดานพฤติกรรม สังคม และวัฒนธรรม นอกจากนั้นแรงงานขามชาติจากประเทศอื่นที่ทํางานใน
ประเภทเดียวกันก็จะตองศึกษาเพิ่มเติม ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความสามารถของผูอานงานวิจัยจะมองเห็น
ชองทางนําไปประยุกตใชดวยตนเอง

1.7 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1.7.1 ใหความรูทางดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน


8

แกแรงงานขามชาติกัมพูชา เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงในการทํางาน
1.7.2 ใชเปนแนวทางในการพัฒนาในเรื่องการจัดการสภาพแวดลอมในการทํางานใหมี
ความปลอดภั ย หามาตรการที่ เหมาะสมในการจั ด การความเสี่ ย งในการทํ างาน เพื่ อ ลดการเกิ ด
อุบัติเหตุในการทํางานของแรงงานขามชาติ

1.8 กรอบแนวคิดของการวิจัย

นโยบาย
- การจางงาน
ความเสี่ยงในการ
- สิทธิ
ทํางานของแรงงาน
- การฝกอบรม
กัมพูชา ไดแก
การรับรูความเสี่ยงใน - อุปกรณปองกัน
- รถชน
การทํางานของแรงงาน สวนบุคคล
- ตกจากที่สงู
กัมพูชา ประกอบดวย
- เสียงดัง
3 ปจจัย คือ นโยบาย
- ฝุนฝาย ปจจัยทางสังคมวัฒนธรรม
ปจจัยทางสังคม
- ควันทอไอเสีย - เศรษฐกิจ
วัฒนธรรม และปจจัย
- ทาทางในการ - ภาษา
สวนบุคคล
ทํางาน
- เรงรีบในการ ปจจัยสวนบุคคล
ทํางาน - ทัศนคติ
- อุบัติเหตุ
- ประสบการณ
9

บทที่ 2
วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การพั ฒ นาทางด า นเศรษฐกิ จ สั ง คม และเทคโนโลยี อ ย า งรวดเร็ ว ส ง ผลให


สภาพแวดลอมและรูปแบบการทํางานของกลุมประชากรแรงงานเปลี่ยนแปลงไป จากแรงงานไทยเปน
แรงงาน ขามชาติ และสภาพแวดลอมการทํางานมีความเสี่ยง หรือสภาพแวดลอมในการทํางานไม
ปลอดภัยเพิ่มขึ้น เชน สัมผัสความรอน ทํางานในสภาพที่มืด มีเสียงดัง มีฝุนละออง การยกของหนัก
เปนตน ความเสี่ยงดังกลาวสงผลตอคุณภาพชีวิตของแรงงาน เชน ความเครียด ความกดดันในการ
ทํางาน ความปลอดภัยในการทํางาน ความเสี่ยงตอสุขภาพอนามัย และความเสี่ยงตออุบัติเหตุที่เกิด
จากการทํ า งาน ดั ง นั้ น การเข า ใจการรั บ รู ค วามเสี่ ย งของแรงงานข า มชาติ นํ า ไปสู ก ารจั ด การ
สภาพแวดลอมในการทํางานใหมีความปลอดภัยตามบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของแรงงานขาม
ชาติ

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับความเสี่ยง และการรับรูความเสี่ยง

ความหมายของความเสี่ยงมีผูใหความหมายในหลายทฤษฎี แบงไดเปน 2 กลุม

2.1.1 ในมุมมองอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน


สํ า นั ก งานมาตรฐานอุ ต สาหกรรม (2554, น.3) ให ค วามหมายความเสี่ ย ง
หมายถึง ผลลัพธของความนาจะเกิดอันตรายและผลจากอันตรายนั้น และ วิริยา รัตนสุวรรณ (2547,
น.1) ใหความหมายความเสี่ยง หมายถึง โอกาสเกิดเหตุการณที่ไมพึงประสงค ภายในระยะเวลาหรือ
ภายในสภาวะแวดลอมที่ระบุขึ้น อาจพิจารณาไดในลักษณะของความถี่ (Frequency) ของเหตุการณ
ที่ไมพึง ประสงคที่เกิดขึ้นในชวงเวลาหนึ่งหรือความนาจะเปน (Probability) ที่จะเกิดเหตุการณไมพึง
ประสงคอีกครั้งจากที่เคยเกิดมาแลว ในขณะที่ สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม
(2554, น.44) ให ความหมายความเสี่ยงวา เปนสิ่งที่แสดงความเปนไปไดที่สิ่งคุกคามจะกอใหเกิด
อั น ตรายต อ สุ ข ภาพ หรื อ เกิ ด การบาดเจ็ บ ต อ ผู ป ฏิ บั ติ ง าน หรื อ เกิ ด ความสู ญ เสี ย ต อ ทรั พ ย สิ น
เชนเดียวกับ ชลอ นอยเผา (2544, น.9) ใหความหมายเกี่ยวกับความเสี่ยงในการทํางาน หมายถึง สิ่ง
ที่ มี ผ ลหรื อ โอกาสที่ บุ ค คลได รั บ จากการทํ า งาน ได แ ก อั น ตรายหรื อ ได รั บ บาดเจ็ บ สู ญ เสี ย ชี วิ ต
ทรัพ ย สิน และชื่อ เสี ย งของบุ ค ลากรหรือ องค กร ดังนั้ น จากงานวิจั ยข างต น ความเสี่ ยง หมายถึ ง
เหตุการณหรือการกระทําใดที่อาจเกิดขึ้นภายใตเหตุการณที่ไมพึงประสงค ซึ่งจะสงผลกระทบตอการ
เกิดอันตราย อุบัติเหตุ ความไมปลอดภัย ตอผูปฏิบัติงาน และชื่อเสียงขององคกรได
10

2.1.2 ในมุมมองสังคมวิทยา
Luhmann (1993) กลาววา ความเสี่ยงมี ความหมายในบริบ ททางสังคมและ
ประวัติศาสตร โดยคนในแตละกลุมสังคมและในแตละยุคสมัยอาจใหความหมายตางกัน ในขณะที่
Athearn (1981) ใหความหมายความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความเสียหายหรือเคราะหราย
หรือ ความไม แ น น อนที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ได ในสิ่ งที่ ไม พึ งปรารถนา ซึ่ งสอดคล อ งกั บ ความหมายของ
Krimsky & Golding (1992) ใหความหมายความเสี่ยงวา เหตุการณที่อาจเกิดขึ้นทําใหเกิดผลลัพธที่
ไมพึงปรารถนา เหตุการณที่นาจะเปนไปไดและเหตุการณที่เกิดขึ้นจริงภายใตความไมแนนอน และ
Beck (1992) กลาววาสังคมกําลังเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจเขาสูระบบอุตสาหกรรมทําใหรูปแบบชีวิต
เปลี่ยน เพราะอันตรายและภัยคุกคามเกิดจากอุตสาหกรรม ความเปนเมือง และโลกาภิวัตน Lupton
(1999) ใหความหมายของความเสี่ยงในเชิงสังคมวิทยาวา ความเสี่ยงเปนความจริงที่เปนอันตราย เปน
การคุกคามที่มีอยูและสามารถวัดไดจากสังคม และวัฒนธรรม โดยขึ้นอยูกับการตีความของแตละ
สังคม และวัฒนธรรม

2.2 ปจจัยทางดานสังคมและวัฒนธรรมที่สง ผลตอความเสีย่ ง

การรับรูความเสี่ยงจากสังคมในยุคสมัยใหมเปนปรากฏการณที่สนใจโครงสรางของสังคม
ซึ่งมีความรุนแรงที่ไมปรากฏใหเห็นเปนรูปธรรม (ขจรจิต บุญนาค, 2554, น.142) มีความซับซอนและ
หลากหลาย ไดแก การกดขี่ การเอารัดเอาเปรียบโดยผูมีอํานาจในสังคม (วราภรณ มนตไตรเวศย,
2556) ซึ่ง Paul Farmer (2004, p.318) ชี้ใหเห็นวาความรุนแรงเชิงโครงสรางที่เกิดกับคนชายขอบ
แตกตางกันไปในแตละสังคมวัฒนธรรม สงผลกระทบตอการทํางาน และทุกขทรมานทางดานจิตใจ
กอใหเกิดความเครียด อันนํามาซึ่งอุบัติเหตุในการทํางาน โดยความเสี่ยงนั้นขึ้นอยูกับรูปแบบของกลุม
ในสังคมซึ่งเปนเครื่องมือสําคัญที่ชวยใหบุคคลเกิดการรับรูความเสี่ยง นอกจากนั้นสถานะทางพลเมือง
มีผลตอการรับรูความเสี่ยง เพราะความไมเขาใจในกฎหมาย ทําใหถูกโกงคาแรง และมีระยะเวลา
ทํางานมากกวาที่กฎหมายกําหนด (เสาวธาร โพธิ์กลัด และอุไรรัตน แยมชุติ, 2555)
Lupton (1999, 2006) กล า วว า ความแตกต า งทางสั ง คมและวั ฒ นธรรม ส ง ผลให
มุมมองการรับรูความเสี่ยงของบุคคลแตกตางกัน ซึ่งเกี่ยวของกับ 3 มุมมอง ไดแก มุมมองทางสังคม
มุมมองวัฒ นธรรม และมุมมองการปกครอง โดยบุคคลตัดสินวาอะไรคือความเสี่ยง ประกอบดวย
ประเพณี ภูมิความรู ความเชื่อในศาสนา นิสัยสวนบุคคล และประสบการณการสัมผัสความเสี่ยง โดย
ขึ้นอยูกับการประเมินความเสี่ยงในมุมมองของแตละคน ในการพิจารณาการรับรูความเสี่ยงในบริบท
ของแรงงานขามชาติ จึงพิจารณาปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมควบคูดวย เนื่องจากแรงงานขามชาติ
ถูกกีดกันทางสังคม ทําใหไมทราบขาวสารขอมูลในการทํางานที่ปลอดภัย นักสังคมวิทยา Douglas
11

(1994) มองวาความเสี่ยงคือสวนหนึ่งในการเขาใจวัฒ นธรรมและพฤติกรรมทางสังคม โดยกรอบ


แนวคิดเชิงสัญลักษณถูกกําหนดโดยสมาชิกในชุมชน หรือกลุมคน สรางอันตรายและภัยคุกคามจาก
การรับรูภายนอก โดยสังคมสมัยใหม นอกจากนั้น Slovic (2000) ไดกลาวสนับสนุนที่สําคัญทางดาน
การศึกษาทางสังคมวิทยา และมานุษยวิทยาวาการรับรูและการยอมรับความเสี่ยงมีปจจัยและอิทธิพล
ทางสังคมซึ่งเผยแพรมาจากเพื่อน ครอบครัว เพื่อนรวมงาน และการเกรงกลัวตอเจาหนาที่บานเมือง
ซึ่งสอดคลองกับ Beck (1992) กลาววามุมมองดานสังคมและวัฒนธรรมเอื้อตอความคิดและรับมือกับ
ประสบการณ เสี่ยงของบุคคล จากมุมมองของนักสังคมวิทยาจะเห็นวา ปจจัยทางสังคมถือวาเปน
โครงสรางที่สําคัญที่สุดที่เปนตัวชี้วัดบริบททางสังคมของแรงงานขามชาติ โดยมีผลตอการรับรูความ
เสี่ยง ประกอบดวย เพื่อน ครอบครัว ชุมชน และกลุมคนในสังคม ชาติพันธุ ประเพณี และความเชื่อ
มุมมองของนักสังคมวิทยาในประเทศไทย กุลภา วจนสาระ และกฤตยา อาชวนิจกุล
(2555) ไดกลาวเพิ่มเติมวาเหตุผลที่แรงงานขามชาติถูกกีดกัน และเหยียดเชื้อชาติ เนื่องจากถูกสราง
ภาวะชายขอบ โดยรวมเอาผูที่มีอัตลักษณเหมือนกันไว และกีดกันคนที่มีอัตลักษณแปลกตางจากคน
สวนใหญใหไปอยูชายขอบของสังคม สอดคลองกับ สุริชัย หวันแกว (2550, น.17) กลาววาแรงงาน
ขามชาติถูกมองเปน “คนอื่น” เปนผูที่ถูกทําใหไมมีความสําคัญและมีชีวิตอยูริมขอบของพื้นที่ในสังคม
จากการที่แรงงานขามชาติมีสังคม และวัฒนธรรมที่แตกตางจากแรงงานไทย สงผลใหถูกกีดกันออก
จากสังคม ทําใหขาดความรู ความเขาใจ สงผลตอการตระหนักในความเสี่ยงของการทํางาน ทําให
แรงงานขามชาติไมสามารถรับรูวาสภาพการทํางานนั้นๆ มีความเสี่ยง ประกอบกับความเชื่อสวน
บุคคลอันจะนําไปสูการตัดสินใจวาเหตุการณนั้นๆ คือความเสี่ยง จากเหตุผลดังกลาวแสดงใหเห็นวา
ปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมมีศักยภาพและอิทธิพลอยางมากตอสุขภาพของแรงงานขามชาติ
มุ ม มองด า นวั ฒ นธรรม จากงานวิ จั ย ในต า งประเทศของ Weishaar (2008) พบว า
แรงงานชาวโปแลนดที่เขาไปทํางานในประเทศสกอรตแลนด มีปญหาดานภาษาในการเขาถึงขอมูลที่
เกี่ยวของกับการบริการทางสุขภาพ ความเห็นดังกลาวสอดคลองกับงานวิจัยของ Ahonen et al.,
(2009) เชื่ อ ว า หากขาดทั ก ษะทางด า นภาษา ส ง ผลให แ รงงานข า มชาติ ใ นประเทศสเปนไม มี
ความสามารถในการถายทอดดานการศึกษาและการอบรมดวย กอใหเกิดโรคและการบาดเจ็บจากการ
ทํางาน งานวิจัยในประเทศไทยของ ปยะธิดา นาคะเกษียร และฤดี ปุงบางกะดี่ (2556) พบวาแรงงาน
กลุมชาติพันธุมอญในจังหวัดสมุทรสาคร มีปญหาดานการสื่อสารเชนเดียวกัน ทําใหแรงงานขามชาติ
ชาวมอญไมสามารถบอกอาการและความเจ็บปวยที่แทจริงได แมจะมีลามชาวมอญชวย ก็แปลไม
ถูกตองเพราะไมรูศัพทเทคนิคหรือศัพททางการแพทย ทําใหไดรับการรักษาลาชา ไมทันการณ จึงมี
แรงงานขามชาติชาวมอญบางรายตองเสียชีวิต เชน รายที่ไดรับอุบัติเหตุในชวงเวลากลางคืน
การรับรูความเสี่ยง เปนสิ่งที่เกิดขึ้นกอนพฤติกรรม และการรับรูเปนสิ่งที่ทําใหบุคคล
แสดงพฤติกรรม ซึ่งการรับรูความเสี่ยงในแตละบุคคลลักษณะแตกตางกัน ไมควรคาดหวังวาบุคคลจะ
12

มีการรับรูความเสี่ยงไปในทิศทางเดียวกัน (Glendon, Clarke, & McKenna, 2006) เนื่องจากการที่


บุคคลมีประสบการณไดรับภัยอันตรายที่แตกตางกัน บางคนจะยอมรับวาภัยอันตรายนั้นมีความเสี่ยง
และแสดงพฤติ ก รรมเสี่ ย ง ในขณะที่ บ างคนจะทราบถึ งความเสี่ ย งที่ เกิ ด ขึ้ น และเผชิ ญ หน า ด ว ย
พฤติ ก รรมที่ ป ลอดภั ย สอดคล อ งกั บ Krimsky & Golding (1992) กล า วว า สาเหตุ เกิ ด จากการ
ตัดสินใจที่จะแสดงพฤติกรรมนั้นอยูบนพื้นฐานของการเลือกรับรูขอมูลจากการคาดการณและการ
ประเมินความเสี่ยงของบุคคล ดังนั้นกระบวนการรับรูความเสี่ยงที่จะนําไปสูพฤติกรรมความปลอดภัย
การรับรูความเสี่ยงของแรงงานขามชาติจะเกิดกระบวนการรับรูที่ดีขึ้น หากแรงงานขามชาติ ไดรับการ
สื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) ที่ดีเพื่อทําใหเกิดความเขาใจ องคการอนามัยโลก (1998)
ได ก ล าววา การสื่ อ สารความเสี่ ย ง (Risk Communication) จะต อ งวิ เคราะห แ ละทํ าความเข าใจ
เกี่ยวกับแรงจูงใจและความคิดเห็น เพราะเปนสิ่งจําเปนที่จะทําใหเขาใจความกังวล และความรูสึกของ
บุคคล Slovic (2000) ไดกลาวสนับสนุนเพิ่มเติมวาสิ่งสนับสนุนที่สําคัญที่ทําใหเขาใจการรับรูความ
เสี่ยงและการยอมรับความเสี่ยงมีปจจัยหยั่งลึกทางสังคมและวัฒนธรรม ดังนั้นการสื่อสารความเสี่ยง
เปนการแลกเปลี่ยนขอมูลและความคิดเห็นที่เกี่ยวกับสิ่งคุกคามและความเสี่ยง โดยวัตถุประสงค และ
กระบวนการอยางเปนขั้นตอนเพื่อทําหนาที่เชื่อมประสานชองวางความไมเขาใจในเรื่องความเสี่ยง
ระหวางผูประเมินความเสี่ยง ผูจัดการความเสี่ยง และผูที่เกี่ยวของอื่นๆ (นันทิกา สุนทรไชยกุล, เพ็ญ
ศรี วัจฉละญาณ และสิริมา มงคลสัมฤทธิ์, 2552)

2.3 ปจจัยในดานวิถีชีวิตที่มีผลตอความเสี่ยง

วิถีชีวิตเกิดจากการกระทําตามวิธีการและแนวทางอยางใดอยางหนึ่ง แลวจึงกลายเปน
สวนหนึ่งของชีวิต ซึ่งประกอบดวยวิถีการประกอบอาชีพ ทําใหมีการเปลี่ยนงาน เปลี่ยนนายจาง
เนื่องจากปญหา เชน การถูกกดขี่คาแรง นายจางไมใหหยุดงาน ตองทํางานวันละ 12 ชั่วโมง โดยไมมี
วันหยุด (ธนพรรณ จรรยาศิริ และศิวพร อึ้งวัฒ นา, 2551) นอกเหนือจากปจจัยดานรูปแบบการ
ประกอบอาชีพ ปยะธิดา นาคะเกษียร และฤดี ปุงบางกะดี่ (2556) พบวาแนวทางการดูแลสุขอนามัย
ทัศนคติ และคานิยม มีผลตอความเสี่ยงเมื่อแรงงานขามชาติเผชิญกับอันตราย แรงงานขามชาติที่อายุ
นอยกวา 40 มีความเสี่ยงในการทํางานมากกวาแรงงานที่อายุเยอะ สาเหตุจากความคึกคะนอง และ
กล า เสี่ ย ง เป น ลั ก ษณะเฉพาะของแรงงานข า มชาติ แ ต ล ะบุ ค คล (Barnett & Breakwell, 2001)
แรงงานชายและแรงงานหญิงมีการรับรูความเสี่ยงไมแตกตางกัน แตแรงงานชายชอบความทาทาย
และกลาเสี่ยงทําใหเพิกเฉยตอความเสี่ยง (นภาพร มัทยพงษถาวร, 2543) นอกจากนั้นแรงงานชายที่
อยูในชวงวัยรุนเมื่อเลิกงานจะมีการรวมกลุมพูดคุยสังสรรคซึ่งนําไปสูการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล
และยาชูกําลัง เกิดจากทัศนคติ และคานิยม บุคคลกลุมนี้จะเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเอง และมองวา
13

ภัยคุกคามหรือความเสี่ยงที่เกิดขึ้นสามารถควบคุมไดดวยตัวพวกเขาเอง ไมจําเปนตองปฏิบัติตาม
ขั้นตอนการปองกันความเสี่ยงในการทํางาน สอดคลองกับ Thompson, Ellis, & Wildavsky (1990)
กลาวเพิ่มเติมวา ทัศนคติทั่วไปอยางธรรมชาติของบุคคล ตามทฤษฎีทางวัฒนธรรมที่ เกี่ยวกับการผสม
35

กลมกลืนระหวางบุคคลในสังคม ที่มี การผสมผสานกันดวย โลกทัศน และวิถีชีวิต ที่ใช ทัศนคติของ


35 35 35 35 35 35

บุคคล ที่มี มุมมองแตกตางกัน อันมีผลกระทบตอการรับรู ความเสี่ยงและการเขาใจของบุคคล ซึ่ง


35 35 35 35

Lupton (1999) ไดอธิบายวาการรับรูความเสี่ยงมีความแตกตางกันขึ้นอยูกับชนิด บริบทของความ


เสี่ยง และการรับรูของบุคคล
ในดานสุขอนามัย ปยะธิดา นาคะเกษียร และฤดี ปุงบางกะดี่ (2556) พบวาแรงงานขาม
ชาติที่เพิ่งเขามาอยูประเทศไทยจะเชาหองอยูรวมกัน เกิดการแพรกระจายของโรคไดงาย อันเปน
สาเหตุหนึ่งที่เกี่ยวของกับการแพรกระจายของโรคในชุมชน โดยเฉพาะโรควัณโรค (สราวุธ สุธรรมาสา
(บรรณาธิการบริหาร), 2554) สะทอนวาชีวิตและความเปนอยู รูปแบบการทํางานแรงงานขามชาติใช
แรงคอนขางมาก ทําใหมีอาการปวดหลัง หรือเกร็งกลามเนื้อบริเวณทายทอย หลัง หรือไหล เปน
ประจํา และบางครั้งมีอาการนอนไมหลับเพราะคิดมากหรือกังวลใจ (นนทพัทธ นุริตมนต, 2549) และ
มีความเชื่อวาการทํางานของตนนั้นก็เหมือนกับการออกกําลังกาย จึงไมมีการออกกําลังกาย ทําใหขาด
การรับรูความเสี่ยงทางดานการยศาสตร และหากแรงงานไดประสบกับภาวะเสี่ยงจากการทํางานจะ
สงผลใหเกิดการรับรูความเสี่ยงมากขึ้น นอกจากนั้นงานวิจัยของ ณัฐกานต เล็กเจริญ, อนามัย เทศ
กะทึก, และ กุหลาบ รัตนสัจธรรม (2554) พบวาสุขอนามัย และประสบการณสัมผัสความเสี่ยงมีผล
ตอการรับ รูความเสี่ ยง เป น ป จจั ยนํ าที่ มีผ ลตอ พฤติกรรมเสี่ยงตอการประสบอัน ตรายไดม ากกวา
แรงงานไทย

2.4 ปจจัยดานนโยบายการจางงาน

ประเทศไทยมีจุดออนในเรื่องรูปแบบการจางงานซึ่งไมไดมีบทบัญญัติวาจะตองจัดทํา
เปนรูปแบบของสัญญาที่เปนลายลักษณอักษร นายจางสามารถจางแรงงานไดทั้งวิธีจัดทําเปนสัญญาที่
เปนลายลักษณอักษรและไมมีสัญญาที่เปนลายลักษณอักษร ซึ่งแตกตางจากสหรัฐอเมริกา แคนาดา
อังกฤษ ฝรั่งเศส และสหพันธสาธารณรัฐเยอรมณี กฎหมายคุมครองแรงงานกําหนดไวชัดเจน วาการ
จางงานจะตองจัดทําสัญญาเปนลายลักษณอักษรและตองระบุเงื่อนไขการจางไวในสัญญาอยางชัดเจน
(ศูนยวิจัยนโยบายและการบริหาร, 2554, น.2) ซึ่งแสดงใหเห็นถึงแนวโนมในการดูแลสิทธิประโยชน
ตางๆ ทั้งในดานการจัดสภาพแวดลอมในการทํางานใหมีความปลอดภัย และการคุมครองกรณีไดรับ
บาดเจ็บ หรือการเจ็บปวย ของแรงงานขามชาติ มากกวาประเทศไทย
14

ในขณะที่ พระราชบัญ ญั ติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการ


ทํางาน พ.ศ.2554 กําหนดไววา นายจางใหหมายความรวมถึง ผูประกอบกิจการซึ่งยอมใหบุคคลหนึ่ง
บุคคลใดมาทํางานหรือทําผลประโยชนใหแกสถานประกอบกิจการ มาตรา 6 ใหนายจางมีหนาที่จัด
และดูแลใหลูกจางมีสภาพการทํางานและสภาพแวดลอมในการทํางานที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ
รวมทั้งสงเสริมสนับสนุนการปฏิบัติงานของลูกจางมิใหลูกจางไดรับอันตราย มาตรา 16 ใหนายจางจัด
ให ผูบริห าร หั วหน างาน และลูก จางทุกคนไดรับ การฝกอบรมความปลอดภั ย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดลอมในการทํางาน ในกรณีที่นายจางรับลูกจางเขาทํางาน เปลี่ยนงาน เปลี่ยนสถานที่ทํางาน
หรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรหรืออุปกรณ ซึ่งอาจทําใหลูกจางไดรับอันตรายตอชีวิต รางกาย จิตใจ
หรือสุขภาพอนามัย ใหนายจางจัดใหมีการฝกอบรมลูกจางทุกคนกอนการเริ่มทํางาน และนายจาง
จะต อ งปฏิ บั ติ ให ส อดคล อ งตามมาตรา 32 โดยจั ด ให มี ก ารประเมิ น อั น ตรายในที่ ทํ า งาน ศึ ก ษา
ผลกระทบของสภาพแวดลอมในการทํางาน จัดทําแผนการดําเนินงานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทํางาน และจัดทําแผนการควบคุมดูแลลูกจางและสถานประกอบกิจการ
เพื่ อ ประโยชน ในการควบคุ ม กํ ากั บ ดู แ ลการดํ าเนิ น การด านความปลอดภั ย อาชี วอนามั ย และ
สภาพแวดล อ มในการทํ างานของลู ก จ าง ซึ่ งตามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ ลู ก จ างคื อ แรงงานที่ ไม มี ก าร
แบงแยกสัญชาติ หรือเชื้อชาติ ทุกคนที่ทํางานใหนายจาง คือลูกจางที่จะตองไดรับการอบรม และการ
ปฏิบัติเชนเดียวกัน
ตั้งแต พ.ศ.2555 กระทรวงแรงงานไดกําหนดอัตราคาแรงขั้นต่ํา คือ 300 บาท ทําให
แรงงานขามชาติในปจจุบันไดรับสิทธิเชนเดียวกับแรงงานไทย แตพบปญหาวาแรงงานขามชาติ ที่เขา
มาทํางานถูกกฎหมายถูกยึดหนังสือเดินทาง และหักคาแรงจนกวาจะครบสัญญาจาง สวนแรงงานที่
เขามาทํางานผิดกฎหมายไมมีอํานาจตอรอง (จารุวัฒน เกยูรวรรณ และวิทยากร บุญเรือง, 2555)
เปนปจจัยที่ทําใหแรงงานขามชาติมองขามความเสี่ยง เนื่องจากแรงงานขามชาติสวนใหญไดรับรายได
มากกวาการทํางานในประเทศตน ทําใหแรงงานเหลานี้พรอมอพยพเขามาทํางาน ถึงแมวาจะลักลอบ
เขาเมืองมาโดยผิดกฎหมาย ถูกเอารัดเอาเปรียบ และทํางานในสภาพที่มีความเสี่ยง แรงงานขามชาติก็
ตองทําเพราะไมสามารถเลือกงานไดเมื่อเทียบกับแรงงานไทย (น้ําผึ้ง ทัศนัยพิทักษกุล, 2557)
การให บ ริ ก ารสาธารณสุ ข สํ า หรั บ แรงงานข า มชาติ เป น ไปด ว ยความยากลํ า บาก
โดยเฉพาะปญหาอุปกรณและเวชภัณฑที่ใหบริการรักษาพยาบาลแกแรงงานขามชาติ ทําใหเกิดปญหา
อุป กรณ แ ละเวชภั ณ ฑ ท างการแพทย ที่ ไม เพี ย งพอ เป น ภาระหนั กของเจ าหน าที่ ด านสาธารณสุ ข
(ศราวุฒิ เหลาสาย และอภิศักดิ์ ธีระวิสิษฐ, 2555) ปญหาหลักเกิดจากแรงงานขามชาติที่เขาเมืองผิด
กฎหมาย จึงตองอยูอยางหลบซอนเพราะกลัวถูกจับ ถึงแมวากระทรวงสาธารณสุขจะมีการรณรงคให
แรงงานขามชาติซื้อบัตรประกันสุขภาพไดก็ตาม และรูปแบบการจางงานของแรงงานขามชาติยังขาด
ความชัดเจน ที่ผานมาพบวาการจางแรงงานขามชาติเปนไปตามบันทึกความเขาใจความรวมมือวาดาน
15

การจางงาน (Memorandum of Understanding: MOU) มีอุปสรรคในขั้นตอนการดําเนินงานมาก


เกินไป ทําใหตนทุนสูงทั้งคาใชจาย และเวลา ทําใหไมสามารถจูงใจใหแรงงานขามชาติเห็นวาการมา
ทํางานตามบันทึกความเขาใจความรวมมือวาดานการจางงาน (Memorandum of Understanding:
MOU) ใหประโยชนมากกวามาทํางานโดยผิดกฎหมาย (พฤกษ เถาถวิล และสุธีร สาตราคม, 2554)
และสงผลใหการจางงานเปนการจางแบบชั่วคราว หรือรายวัน เนื่องจากนายจางคํานึงถึงปจจัยทาง
เศรษฐกิจ เพื่อชวยลดคาใชจายของกิจการ มากกวาจะคํานึงถึงสิทธิในการคุมครองแรงงานขามชาติ
(กัญ ญา โพธิ์พันธ, พัชนา สุวรรณแสน, กนกภรณ อวมพราหมณ และดุสิต โพธิ์พันธุ, 2556) และ
ความแตกต างที่ ไม เป น ธรรมในสถานะสุ ขภาพ (Solar & Irwin, 2007) ดั งนั้ น สถานะสุ ข ภาพของ
แรงงานไมควรขึ้นอยูกับสถานภาพทางกฎหมาย เพราะเปนเรื่องที่ไมเปนธรรมที่จะปลอยใหสุขภาพผัน
แปรไปตามสถานภาพทางกฎหมาย เพราะมิฉะนั้นแลวแรงงานขามชาติตองตกอยูในสภาพที่มีแนวโนม
สุขภาพที่ต่ําหรือไมดีไปดวย
เมื่ อ แรงงานข า มชาติ มี ป ญ หาเรื่ อ งความเจ็ บ ป ว ย สํ า หรั บ งานวิ จั ย ในต า งประเทศ
Pransky et al., (2002) ศึกษาการรับรูความเสี่ยงในการทํางานและการบาดเจ็บของแรงงาน พบวา
แรงงาน 20% ของแรงงานที่ ศึ ก ษาที่ มี ป ระกั น สุ ข ภาพ ถ าป วยนายจางก็ จะไม จายค าจ าง เพราะ
นายจางจะหักไวสําหรับคารักษาพยาบาล พบวามีรูปแบบของการจัดการปญหาสุขภาพ ดังนี้ การดูแล
ด ว ยตั ว เอง และสมาชิ ก ในครอบครั ว ถ า เป น การเจ็ บ ป ว ยเล็ ก น อ ย ไม รุ น แรง นิ ย มจะซื้ อ ยามา
รับประทานเอง ซึ่งเปนยาแผนปจจุบันทั่วไป เชน ยาลดไข ยาแกปวด อีกทั้งมีการดูแลรักษาตาม
คานิยมและความเชื่อ โดยเฉพาะอุบัติเหตุที่ทําใหเกิดความพิการ แรงงานขามชาติและญาติจะอธิบาย
โรความีสาเหตุจากอํานาจนอกเหนือจากธรรมชาติ โชคชะตา บุญกรรม ดังนั้นที่พึ่งสุขภาพคือจะไปหา
หมอรางทรง (ปยะธิดา นาคะเกษียร และฤดี ปุงบางกะดี่, 2556) ซึ่งในปจจุบันแรงงานขามชาติสวน
หนึ่งเริ่ม ที่จะเขารับบริการตามสิท ธิในระบบประกันสุขภาพมากขึ้น เนื่องมาจากเจ็บปวยดวยโรค
รุนแรง อุบัติเหตุถึงขั้นบาดเจ็บรายแรง คลอดบุตร หรือมีญ าติ และเพื่อนสนิทไปโรงพยาบาลเปน
เพื่อน หรือไดรับคําแนะนําจากเพื่อนรวมงานที่เปนแรงงานขามชาติดวยกันที่เคยไดรับบริการสุขภาพ
ซึ่งจะแนะนําเกี่ยวกับสิทธิครอบคลุมความเจ็บปวยได สวนใหญแรงงานขามชาติยังคงเลือกที่จะดูแล
จัดการตนเอง เพราะยังขาดความเขาใจเรื่องสิทธิ ปญหาเรื่องการสื่อสาร ความมีอคติทางชาติพันธุของ
เจาหนาที่ผูใหบริการ กลัววาคาใชจายจะไมครอบคลุมตามสิทธิจะตองจายเงินคารักษาพยาบาลเอง

2.5 ปจจัยดานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน

ปจจัยการรับรูความเสี่ยงเปนองคความรูรวมที่ทําใหเขาใจวาปจจัยที่กอใหเกิดความเสี่ยง
นั้นจะตองพิจารณาในหลายองคประกอบ รวมถึงแหลงกําเนิดของอันตรายที่ทําใหความเสี่ยง และ
16

บางครั้งความคุนเคยอาจจะทําใหแรงงานขามชาติกลับมองวาเปนเหตุการณและสภาพการทํางานที่
ปกติปราศจากความเสี่ยง และประมาณ 90 เปอรเซ็นต ของอุบัติเหตุเกิดจากความผิดพลาดของ
บุคคล ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งทําใหบุคคลตัดสินใจวาสิ่งนั้นคือความเสี่ยง (Oltedal, Moen, Klempe, &
Rundmo, 2004, p.11) ซึ่งการรับ รูค วามเสี่ ยงประกอบด วย 3 ด าน ไดแ ก การรับ รูด านสุ ข ภาพ
รางกาย คือ การรับรูถึงระดับความรุนแรงที่จะเกิดอุบัติเหตุขึ้นเมื่อบุคคลนั้นมีปญหาสุขภาพรางกาย
การรับรูดานสภาพการทํางาน คือ การรับรูลักษณะงาน สภาพแวดลอมที่ไมปลอดภัยที่อยูรอบตัวที่
สงผลใหเกิดอุบัติเหตุ และการรับรูดานการใชเครื่องมือเครื่องจักรในการทํางาน คือ การรับรูวิธีการใช
ที่ถูกตองเหมาะสม รวมถึงสัญลักษณ และคําเตือนในการใชเครื่องมือเครื่องจักร ปญหาดานภาษาจึง
สงผลใหแรงงานขามชาติขาดการรับรูทั้งดานสภาพการทํางาน และดานการใชเครื่องมือเครื่องจักร
เนื่องจากขาดการอบรมในเรื่องความปลอดภัย และขาดการปองกันที่ดีในการทํางาน สงผลใหเพิ่ม
ความเสี่ยงจากการบาดเจ็บในการทํางาน มีโอกาสที่จะบาดเจ็บ สื่อสารไมเขาใจ เนื่องจากไมมีสื่อ หรือ
เอกสารดานสุข ภาพที่จั ดทํ าเป น ภาษาพื้ นเมืองของแรงงานขามชาติ Wachinger et al., (2010) 35

พบวาปจจัยพื้นฐานและความสําคัญที่เกี่ยวของกับการรับรูความเสี่ยง การรับรูความเสี่ยงเปนสวนหนึ่ง
35

ที่ มุงเนน แนวความคิดที่วาความเสี่ยงเกี่ยวของกับการควบคุมตัวเองใหปฏิบัติตามขั้นตอนการทํางานที่


35 35

ปลอดภัย (Lupton, 2006) และการเขาใจการรับรูความเสี่ยงของแรงงานขามชาติ ก็จะนําไปสูการ


ปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางานใหปลอดภัย
มีงานวิจัยในประเทศไทยศึกษาการรับรูความเสี่ยงในการทํางานที่มีปจจัยดานอาชีว
อนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน งานวิจัยของ อดิศร พูลสุวรรณ (2552)
ศึกษาความสัมพันธระหวางสภาพแวดลอมในการทํางาน และการรับรูความเสี่ยงกับความเครียดใน
การทํางานของพนักงานฝายผลิต พบวาการรับรูความเสี่ยงของพนักงานประกอบดวยปจจัย 3 ดาน
คือ ดานรางกายและจิ ตใจที่ กอให เกิดความเสี่ยงในการทํางาน เกิดจากการพั กผอนที่ ไมเพี ยงพอ
เนื่องจากทํางานเปนกะ เกิดการเจ็บปวยในขณะมาทํางาน ทะเลาะเบาะแวงกับครอบครัว ทําใหขาด
ความระมัดระวัง และไมมีสมาธิในการทํางาน จนกอใหเกิดอุบัติเหตุ ดานลักษณะงานตองทํางานเกิน
8 ชั่วโมงตอวันทําใหการพักผอนไมเพียงพอ และสัมผัสกับอันตรายทางดานกายภาพ ไดแก ฝุนละออง
และอันตรายทางดานเคมี ไดแก ฝุนละออง และสารเคมีที่ใชปองกันความชื้น ดานเครื่องมือและ
อุปกรณ เนื่องจากไมมีคูมือการใชงานและการฝกอบรมใหพนักงานไดเขาใจขั้นตอนในการใชเครื่องมือ
นภาพร มัทยพงษถาวร (2543) ศึกษาการรับรูความเสี่ยง และพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน
ของคนงานกอสราง พบวาคนงานมีการรับรูความเสี่ยงในการทํางาน ดานสุขภาพรางกาย ดานสภาพ
การทํางาน และดานการใชเครื่องมือเครื่องจักร แตละดานอยูในระดับนอย เนื่องจากระดับการศึกษา
สวนใหญต่ํากวาระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษา แตคนงานที่มีอายุมากมีการรับรูความเสี่ยงดีกวา
17

คนงานอายุนอย ดังนั้นการรับรูความเสี่ยงมีความสัมพันธทางบวก กับพฤติกรรมความปลอดภัยในการ


ทํางาน
เชนเดียวกับงานวิจัยของ Dunn & Dyck (2000) พบวาผลกระทบจากการศึกษา สภาพ
การทํางาน สิ่งแวดลอมทางกายภาพ สงผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน Schenker
(2010) ได ก ล าวสรุป ไวว าความแตกต างทางด านภาษาเป น ป จ จั ย ทางวั ฒ นธรรมที่ ส งผลกระทบ
ทางออมทําใหขาดโอกาสในการรับรูขอมูล และขาวสารที่ถูกตอง เปนปจจัยที่ทําใหเกิดความสามารถ
ในการรับรูความเสี่ยง

2.6 หลักการปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางานใหปลอดภัย

ความปลอดภัยในการทํางานเปนบทบาทหนาที่ที่ทุกคนในองคกรจะตองยึดถือปฏิบัติ
ตามระเบียบและมาตรการดานความปลอดภัยอยางเครงครัดและรับผิดชอบในการปองกัน ระมัดระวัง
อันตรายไมใหเกิดขึ้นกับบุคคลและทรัพยสินขององคกร (เสาวนีย ถาวรปราถนา, 2549) นําไปสูสภาพ
แวดลอมในการทํางานที่ปลอดภัย ซึ่งเปนองคประกอบสําคัญที่ทําใหแรงงานมีความรูสึกที่ดีตองาน
ทุม เทกําลังใจ กําลังกาย และรวมกันทํางาน ชวยกันแกไขปญ หา เพื่ อใหเกิดประสิท ธิภาพในการ
ทํางาน ดังนั้นสภาพแวดลอมในการทํางานจึงเปนสิ่งที่เกี่ยวของกับทุกคนภายในองคกร ที่จะทําใหเกิด
ความปลอดภัยในการทํางานที่จะชวยปองกันและลดการบาดเจ็บจากการทํางาน

2.6.1 ความหมายของความปลอดภัยในการทํางาน
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน
พ.ศ.2554 ให ค วามหมายของความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล อ มในการทํ า งาน
หมายความวา การกระทําหรือสภาพการทํางานซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทําใหเกิดการประสบอันตราย
ตอชี วิต รางกาย และจิ ต ใจ หรือ สุ ข ภาพอนามั ยอัน เนื่ อ งจากการทํ างานหรือเกี่ยวกับ การทํ างาน
ในขณะที่ ชวลิต อาคมธน (2537) กลาววาความปลอดภัย หมายถึงการกระทําที่ปราศจากอุบัติเหตุ
ปราศจากการเจ็บปวยเนื่องจากการทํางาน หรือเหตุการณที่ไมกอใหเกิดความสูญเสียใดๆ ทั้งสิ้น เปน
สิ่งที่ทุกคนตองการใหเกิดกับตัวเอง สถานที่ทํางานและสภาพแวดลอม เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ (2533)
ไดใหความหมายความปลอดภัย หมายถึงสภาวการณปราศจากภัยหรือพนภัย รวมไปถึงการปราศจาก
อันตราย การบาดเจ็บ การเสี่ยงภัย หรือการสูญเสีย สอดคลองกับ วิฑูรย สิมะโชคดี (2536) ความ
ปลอดภัย หมายถึง การทํางานที่ไมมีอันตรายอันเกิดจากสภาพแวดลอมที่ไมปลอดภัยหรือการกระทํา
ที่ ไม ป ลอดภั ย ของพนั ก งาน สรุ ป ได ว า ความปลอดภั ย ในการทํ า งาน หมายถึ ง การกระทํ า และ
18

สภาพแวดลอมในการทํางาน ที่ปราศจากอันตรายตอชีวิต รางกาย และจิตใจ อันจะนําไปสูอุบัติเหตุที่


ทําใหเกิดการบาดเจ็บ หรือความเจ็บปวยจากการทํางาน
2.6.2 อันตรายจากสภาพแวดลอมในการทํางาน ประกอบดวย 4 ดาน
อั น ตรายจากสภาพแวดล อ มในการทํ า งาน หมายถึ ง สิ่ ง ต า งๆ ที่ อ ยู ร อบตั ว
ผูปฏิบัติงานในขณะทํางาน เปนที่มาของสาเหตุความเจ็บปวย และโรคที่เกิดขึ้นจากการทํางาน และ
บั่นทอนสุขภาพของผูปฏิบัติงาน ซึ่งสภาพแวดลอมที่ไมดี ไมถูกสุขศาสตรอุตสาหกรรมทางโรงงาน
สามารถแกไขและควบคุมได ตามหลักสุขศาสตรอุตสาหกรรม ของ พรพิมล (2545) ประกอบดวย
2.6.2.1 อันตรายจากสภาพแวดลอมทางกายภาพ
อันตรายจากสภาพแวดลอมทางกายภาพ ประกอบดวย
(1) เสียงดัง ที่เกิดจากเครื่องมือยกตูคอนเทนเนอร รถบรรทุก และรถโฟร
คลิฟท มีความแตกตางกัน หากผูปฏิบัติงานทํางานในเสียงดังเกิน 90 เดซิเบล (เอ) วันละ 8 ชั่วโมง
ตามที่กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทํางานเกี่ยวกับความรอน แสงสวาง เสียง พ.ศ. 2549 เปนเวลานานจะมี
อันตรายตอหู หากทํางานคลุกคลีอยูเปนเวลาหลายปเกิดอาการหูตึงหรือหูหนวกได
(2) ความรอน มีผลทําใหอุณหภูมิรางกายของผูปฏิบัติงานสูงขึ้น และสูญเสีย
เหงื่อกวาปกติ จนอาจเกิดอันตราย เชน เปนลมชัก ตะคริว และการเหนื่อยลาจากความรอน
(3) แสงสว า ง ในสถานที่ ทํ า งาน ถ า หากแสงสว า งเหมาะสมจะช ว ยให
ผูปฏิบัติงานทํางานดวยความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ และหากแสงสวางนั้นนอยเกินไป จะทําให
ผูปฏิบัติงานใชสายตาเพง จนทําใหปวดศีรษะ และดวงตาเหมื่อยลา ในทางตรงขามถาแสงสวางมาก
เกินไป จะทําใหแสงพราตา ทําใหเกิดอันตรายตอเรตินาในตาได
2.6.2.2 อันตรายจากสภาพแวดลอมทางชีวภาพ
อันตรายจากสภาพแวดลอมทางชีวภาพเกิดขึ้นไดจากการติดเชื้อโรคตางๆ
เชน ไวรัส แบคทีเรีย และเชื้อรา การระคายเคือง การเปนพิษ หรือเกิดจากภูมิแพจากการทํางานของ
ฝุนและเสนใย ทั้งจากสปอรของพืข และ ฝุนฝาย ชานออย เปนตน ในลักษณะการทํางานของแรงงาน
ที่ขนถายสินคาเกษตร เชน เสื้อผาสงออก ยางพารากอน ฝาย เปนตน ทําใหแรงงานมีโอกาสสัมผัส
ปจจัยที่เปนอันตรายดังกลาวได
2.6.2.3 อันตรายจากสภาพแวดลอมทางเคมี
คุณสมบัติของสารเคมี เชน อนุภาคของแข็ง ของเหลว และกาซ สามารถ
เขาสูรางกายไดหลายทาง ผลกระทบตอรางกายจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับปริมาณและระยาเวลาที่
สัมผัส
19

(1) ฝุ น เป น อนุ ภ าคของแข็ งที่ ฟุ งกระจายในอากาศ โดยเกิ ด จากการบด
กระแทก ทุบ ขัด และระเบิด มีรูปรางและขนาดแตกตางกัน ขนาดของฝุนที่เขาไปสะสมในปอดจะมี
ขนาดไมเกิน 10 ไมครอน
(2) ควัน มีขนาดเล็กกวา 1 ไมครอน มีสวนประกอบที่ซับซอน เปนผลที่เกิด
จากการเผาไหมที่ไมสมบูรณของวัตถุที่มีธาตุคารบอนเปนสวนประกอบ เชน คารบอนมอนอกไซด
ซัลเฟอรไดออกไซด จากเครื่องยนตของเครื่องจักร และรถบรรทุกสินคา
2.6.2.4 อันตรายจากสภาพแวดลอมทางการยศาสตรและจิตสังคม
สิ่งแวดลอมที่กอใหเกิดความเครียดจากการทํางาน ไดแก หนักเกินไป
สัมพันธภาพระหวางบุคคล ความรับผิดชอบในงาน ความเรงรีบในการทํางานเปนตน (แอนน จิระพงษ
สุวรรณ, 2556) และการออกแบบทาทางในการทํางาน การยกของที่ถูกวิธีจะลดอาการปวดหลัง
2.6.3 แนวคิดในการปองกันการบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุจากการทํางาน
โดยใชหลักการ 3E ของ วีระพงษ เฉลิมจิระรัตน และวิฑูรย สิมะโชคดี (2548)
เพื่อเสริมสรางความปลอดภัยในการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ ไดนําเสนอแนวทางดังนี้
2.6.3.1 ด า นวิ ศ วกรรมศาสตร (Engineering) คื อ การปรั บ ปรุ ง แก ไข โดยใช
ความรูทางวิชาการดานวิศวกรรมศาสตรในการคํานวณและออกแบบเครื่องจักร เครื่องมือใหมีสภาพ
การใชงานที่ปลอดภัยที่สุด การติดตั้งเครื่องปองกันอันตรายใหแกสวนที่เคลื่อนไหวหรืออันตรายของ
เครื่องจักร การวางผังโรงงาน ระบบไฟฟา แสงสวาง เสียง และการระบายอากาศใหมีมาตรฐานความ
ปลอดภั ย ซึ่ ง มาตรการด า นวิ ศ วกรรมศาสตร นี้ เป น วิ ธี ก ารป อ งกั น อุ บั ติ เหตุ จ ากการทํ า งานที่ มี
ประสิทธิภาพสามารถปองกันอันตรายจากแหลงกําเนิด (Source) และทางผาน (Pass) แตมาตรการ
ดานวิศวกรรมศาสตรนั้นมีขอจํากัดคือ ใชงบประมาณสูงและตองใชระยะเวลานานในการปรับปรุง
แกไข (พิมพพรรณ ศิลปสุวรรณ, 2544)
2.6.3.2 ดานการศึกษา (Education) คือ การใหการศึกษา หรือการฝกอบรมและ
แนะนําเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ ตระหนักถึงปญหา และมีจิตสานึกที่ดีเกี่ยวกับการปองกันการ
บาดเจ็บที่เกี่ยวเนื่องจากการทํางาน และทําใหเกิดพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน การที่
คนงานไดรับการฝกอบรมใหมีความรูความเขาใจในการทํางานจะกอใหเกิดความตระหนัก และมีการ
ปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรม เพื่ อ ให เกิ ด พฤติ ก รรมความปลอดภั ย ในการทํ างานและมี ก ารปฏิ บั ติ ต าม
กฎระเบียบขอบังคับตาง ๆ ตามมาตรฐานความปลอดภัยที่กําหนดไว
2.6.3.3 ดานการออกกฎขอบังคับ (Enforcement) คือ การกําหนดมาตรฐานการ
ทํางาน และวิธีการทํางานใหปลอดภัย รวมถึงมาตรการควบคุมใหคนงานปฏิบัติตาม เปนระเบียบ
ปฏิบัติที่ตองประกาศใหทราบทั่วกัน หากผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามจะถูกลงโทษ เพื่อใหเกิดความ
สํานึกและหลีกเลี่ยงการทํางานที่ไมถูกตองหรือเปนอันตราย และเปนมาตรการลําดับสุดทาย เพราะมี
20

เรื่องของการลงโทษ อาจจะสงผลคนทํางานตองทําเพราะถูกบังคับไมไดเกิดจากความตระหนักถึงเรื่อง
ของความปลอดภัย
งานวิจัยของ ดิเรก หมานมานะ (2549) พบวาการรับรูความเสี่ยงมีความสัมพันธใน
ทางบวกกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน เนื่องจากพนักงานระดับปฏิบัติการของโรงงานมี
การรับรูความเสี่ยงในระดับสูง เกิดจากบริษัทไดชี้ใหพนักงานเห็นถึงความเสี่ยงที่มีในขั้นตอนการ
ทํางาน และชี้ใหเห็นถึงภาวะที่มีความเปนไปไดที่อาจจะกอใหเกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุในการทํางาน
และใหพนักงานมีสวนรวมในกิจกรรมรณรงคดานความปลอดภัย และจัดฝกอบรมเกี่ยวกับความเสี่ยง
ในการทํางาน และหากพนักงานไดรับการสงเสริมใหมีระดับการรับรูความเสี่ยงที่สูงขึ้น ยอมจะสงผล
ใหพนักงานมีพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานที่สูงขึ้นเชนเดียวกัน ผลการศึกษาของ เสาวนีย
ถาวรปราถนา (2549) พบวาพนักงานมีการรับรูความเสี่ยงดานการรับรูโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุ
ดานการรับรูความรุนแรงจากการเกิดอุบัติเหตุ และการรับรูเกี่ยวกับประโยชนหรืออุปสรรคของการ
ปฏิบัติเพื่อปองกันการเกิดอุบัติเหตุในระดับสูง เนื่องมาจาก บริษัทไดมีกิจกรรมและโครงการรณรงค
ดานความปลอดภัย ที่ชี้ใหเห็นถึงอันตราย และความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในการทํางาน เพื่อนําไปสูการลด
ความสูญเสียที่อาจจะเกิดจากความเสี่ยง และนําไปสูการเกิดอุบัติเหตุตามมา ดังนั้นเพื่อลดความเสี่ยง
ในการทํางาน จะตองมีการปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางานใหปลอดภัย
โดยสรุปแลวมาตรการปองกันการบาดเจ็บที่เกี่ยวเนื่องจากการทํางานตามแนวคิดในการ
ปองกันอุบัติเหตุจากการทํางานโดยใชหลักการ 3E ไดแก ดานวิศวกรรมศาสตร ดานการศึกษาและ
ดานการออกกฎขอบังคับ เปนหลักการสําคัญที่จะชวยปองกันและลดการบาดเจ็บที่เกี่ยวเนื่องจากการ
ทํางาน โดยเฉพาะมาตรการดานการศึกษาซึ่งเปนมาตรการที่สําคัญ อีกทั้งเปนมาตรการที่เชื่อมโยงกับ
มาตรการดานการออกกฎขอบังคับเนื่องจากมาตรการการออกกฎหมายขอบังคับจะเกิดผลลัพธก็
ตอเมื่อคนทํางานนําไปปฏิบัติ ซึ่งการใชมาตรการดานการศึกษาแกคนงานนั้นทําใหคนทํางานเกิด
พฤติกรรมความปลอดภัยชวยลดการบาดเจ็บที่เกี่ยวเนื่องจากการทํางาน
จากการทบทวนทฤษฎี แ ละงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ ง ผู วิ จั ย ใช วิ ธี วิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ
(Qualitative Research) เพื่อเขาใจมุมมองในเรื่องของการรับรูความเสี่ยงในกลุมแรงงานขามชาติ
โดยใชทฤษฎีของ Deborah Lupton เปนกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีในการศึกษา กลาววาการรับรูความ
เสี่ยงของบุคคล เกิดจากหลายปจจัยเกี่ยวของกัน ไดแก ปจจัยทางดานสังคมและวัฒนธรรม ปจจัย
ดานวิถีชีวิต และปจจัยดานนโยบาย ซึ่งผูวิจัยรวมถึงปจจัยดานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และ
สภาพแวดลอมในการทํางาน เพราะความเสี่ยงคือสวนหนึ่งของชีวิตและมีความปฏิสัมพันธกับสังคม
และวัฒนธรรม ผูวิจัยนํามาเพื่ออธิบายการรับรูความเสี่ยงในการทํางานของแรงงานขามชาติ เพราะ
ต อ งการอธิ บ ายปรากฏการณ ท างสั ง คมที่ มี ค วามสลั บ ซั บ ซ อ น สนใจความรู สึ ก นึ ก คิ ด การให
ความหมาย มากกว า ข อ มู ล เชิ ง ตั ว เลข ประกอบกั บ แรงงานข า มชาติ เป น กลุ ม คนชายขอบ
21

(Marginalized group) ยากในการเขาถึงกลุมประชากร เพราะถูกกีดกันดวยสังคม และวัฒนธรรมที่


แตกตาง จึงใชทฤษฎีนี้มาเพื่อเปนกรอบแนวคิดในการอธิบายผลการศึกษา
22

บทที่ 3
วิธีการวิจัย

วิธีการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ เปนการศึกษาการรับรูความเสี่ยงในการทํางานของแรงงาน
ขามชาติกัมพูชา เพื่อเขาใจมุมมองในเรื่องการรับรูความเสี่ยงในการทํางาน โดยใชวิธีศึกษาวิจัยเชิง
คุณภาพ (Qualitative Research) ศึกษาเกี่ยวกับปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีผลตอการรับรู
ความเสี่ยงในการทํางานของแรงงาน การใชวิธีการเก็บขอมูลเชิงคุณภาพจะชวยในการเขาใจบริบท
ทางสังคมและวัฒนธรรม เพราะแรงงานขามชาติเปนกลุมคนชายขอบ

3.1 พื้นที่ศึกษา

3.1.1 ขอมูลพืน้ ที่ศึกษา


พื้ น ที่ ศึ ก ษาเป น สถานประกอบการเอกชน อาคารสํ า นั ก งานตั้ ง อยู ใ นเขต
ลาดกระบัง จังหวัดกรุงเทพมหานคร ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการบริการขนสงตูคอนเทนเนอรระหวาง
ทาเรือแหลมฉบังและสถานีบรรจุสินคา โดยทางรถไฟ และทางรถยนต รวมถึงการบรรจุและคัดแยก
สินคาเขาและออกจากตูคอนเทนเนอร ประกอบดวยฝายปฏิบัติการ ฝายบุคคล ฝายวิศวกรรม ฝาย
เทคโนโลยีสารสนเทศ ฝายบัญชี ฝายการตลาด ฝายกิจการองคกร และฝายความปลอดภัย อาชีวอนา
มัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน มีพนักงานประจําบริษัท 140 คน และพนักงานของผูรับเหมา
ขนถายสินเขา และคัดแยกสินคาออกจากตูคอนเทนเนอร จํานวน 119 ขอมูล ณ เดือนมิถุนายน พ.ศ.
2558 โดยบริษั ท ผู รับเหมามี สัญ ญากับสถานประกอบการเปนรายป เมื่อครบสัญ ญาจะตองมีการ
ประกวดราคา บุคลากรของบริษัทผูรับเหมาประกอบดวย ผูจัดการบริษัท พนักงานทํางานเอกสาร
พนักงานตรวจเช็คเอกสารการบรรจุ และแยกสินคา หัวหนาฝายแรงงาน และแรงงานมีหนาที่แบก
หามสินคาเพื่อการขนถายสินเขา และคัดแยกสินคาออกจากตูคอนเทนเนอร ผูที่เกี่ยวของของสถาน
ประกอบการและบริษัทผูรับเหมามีหนาที่ และวันเวลาในการทํางาน ดังนี้
3.1.1.1 สถานประกอบการ
ประกอบดวยแรงงานสัญชาติไทย วาจางพนักงานประจําเปนลายลักษณ
อักษร มีสวัสดิการประกันสังคม กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ชุดยูนิฟอรม วันหยุดประจําป วันลาปวย ลา
กิจ ลาทําหมัน ลาคลอด ลาเพื่อเขารับราชการทหาร มีการจัดอุปกรณคุมครองความปลอดภัย เชน
หมวกนิ รภั ย รองเท านิ รภั ย เสื้ อสะท อนแสง ถุงมือ ผาป ดจมูก เป นตน ที่ เหมาะสมกับ งานแตล ะ
ตําแหนง
23

(1) ฝายปฏิบัติการ มีพนักงานประจํา 100 คน ทํางานจันทร-วันเสาร กะ


กลางวันเวลา 8.00 – 17.00 น. และกะกลางคืนเวลา 20.00-05.00 น. เปนฝายที่ดําเนินการควบคุม
การปฏิบัติงานในการใหบริการลูกคาภายในสถานประกอบกิจการใหบรรลุตามกระบวนการทํางาน
ผูจัดการฝายปฏิบัติการคือผูที่มีอํานาจในการวางนโยบายและกํากับดูแลเรื่องอาชีวอนามัย ความ
ปลอดภัย และสภาพแวดลอมในการ แกบริษัทผูรับเหมางานขนถายสินคาเขาและคัดแยกสินคาออก
จากตูคอนเทนเนอร รวมกับฝายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน
(2) ฝายอื่นๆ มีพนักงานประจํา 40 คน ทํางานจันทร-วันศุกร เวลา 8.00 –
17.00 น. ประกอบดวย ฝายบุคคล ฝายวิศวกรรม ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝายบัญชี ฝายการตลาด
ฝายกิจการองคกร และฝายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน
3.1.1.2 บริษทั ผูรับเหมางานขนถายสินคาเขาและคัดแยกสินคาออกจากตู
คอนเทนเนอร
ประกอบดวยแรงงานสัญ ชาติไทย แรงงานขามชาติพมา ลาว และกัมพูชา
วาจางพนักงานประจําที่มีสัญ ชาติไทยเปนลายลักษณ อักษร สําหรับแรงงานขามชาติ และแรงงาน
รายวันไมมีสัญญาเปนลายลักษณอักษร มีสวัสดิการประกันสังคม กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ชุดยูนิฟอรม
วันหยุดประจําป วันลาปวย ลากิจ ลาทําหมัน ลาคลอด ลาเพื่อเขารับราชการทหาร มีการจัดอุปกรณ
คุ ม ครองความปลอดภั ย เช น หมวกนิ ร ภั ย รองเท าหั วนิ ร ภั ย เสื้ อ สะท อ นแสง ถุ งมื อ ผ าป ด จมู ก
เฉพาะงานที่ทําบนโกดังสินคาเทานั้น
(1) พนักงานประจํา มีจํานวน 40 คน เปนพนักงานสัญชาติไทย ทํางานวัน
จันทร-วันเสาร เวลา 8.00-17.00 น. ทํางานเอกสารทั้งในสํานักงาน และพื้นที่ลานบรรจุและคัดแยก
สินคา ประกอบดวย ผูจัดการ รองผูจัดการ หัวหนาฝายเอกสาร หัวหนาฝายแรงงาน เจาหนาที่ฝาย
บุคคล ฝายธุรการ ฝายวางแผน ฝายเอกสาร เจาหนาที่จดบันทึกและทําเอกสารบริเวณพื้นที่ทํางาน
พนักงานขับรถยก และพนักงานลางตูคอนเทนเนอร ผูจัดการบริษัทผูรับเหมา เปนผูกํากับดูแลแรงงาน
ทั้งหมดทั้งแรงงานไทย และแรงงานขามชาติที่มีหนาที่เกี่ยวของกับงานขนถายสินคาเขา และคัดแยก
สินคาออกจากตูคอนเทนเนอร ใหปฏิบัติสอดคลองตามนโยบาย และขั้นตอนการปฏิบัติงานของสถาน
ประกอบกิจการ เพื่อใหแรงงานมีสภาพแวดลอมในการทํางานที่ปลอดภัย
(2) แรงงานรายวัน มีจํานวน 18 คน เปนแรงงานสัญ ชาติไทย พมา ลาว
และกัมพูชา เวลาทํางานจันทร – เสาร เวลา 8.00-17.00 น. ทําหนาที่เฉพาะงานคัดแยกสินคานําเขา
ออกจากตูคอนเทนเนอร งานบนโกดังสินคา และงานอื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย
(3) แรงงานรับเหมา เปนแรงงานสัญชาติกัมพูชา มีจํานวน 61 คน แบงเปน
8 สาย มี 1 สายที่มีแรงงาน 20 คน และอีก 7 สาย มีแรงงานสายละ 4-6 คน เวลาทํางานจันทร –
เสาร เวลา 8.00-17.00 น. และจนกวางานบรรจุหรือคัดแยกสินคาจะเสร็จสิ้น สามารถทําหนาที่บรรจุ
24

และคั ด แยกสิ น ค าได วัน ละไม เกิ น 300 ตู หากมี ป ริม าณงานที่ เกิน 300 ตู จะเรียกใชบ ริก ารจาก
แรงงานเสริม (สายนอก) ซึ่งเปนแรงงานสัญชาติกัมพูชาที่สังกัดสถานประกอบการอื่นในพื้นที่ขางเคียง

ภาพที่ 3.1 โครงสรางของสถานประกอบการ

สถานประกอบการ

ฝายปฏิบัติการ (100 คน) ฝายอื่นๆ (40 คน)

บริษัทผูรับเหมางานขนถายสินคาเขา และคัดแยก
สินคาออกจากตูคอนเทนเนอร (119 คน)

ฝายเอกสาร ฝายแรงงาน

พนักงานประจํา
(ไทย 40 คน) แรงงานรายวัน แรงงานรับเหมา แรงงานเสริม
(ไทย/พมา/ลาว/ ประจํา (สายนอก)
กัมพูชา 18 คน) (กัมพูชา 61 คน) (กัมพูชา)
25

3.1.1.3 ขั้นตอนการทํางานขนถายสินคาเขา และคัดแยกสินคาออกจากตู


คอนเทนเนอร
ภาพที่ 3.2 ขั้นตอนการขนถายสินคาเขา

ลูกคาสงขอมูลรายละเอียดการจองตู
คอนเทนเนอรเพื่อบรรจุสินคา

ฝายเอกสารเตรียมเอกสาร ขอมูลตู
คอนเทนเนอร ใหตรงกับการจอง
และวันที่ขนถายสินคา

แจงหมายเลขคิวใหลูกคาทราบ

รถบรรทุกนําสินคาเขาไปบรรจุ

โดยแรงงาน โดยรถโฟรคลิฟท
แรงงานชวยพนักงานขับรถบรรทุก
เปดผาใบ

แรงงานบนรถ 2 คน ดึงกระสอบ
สินคายกใหแรงงานที่แบกสินคาอีก
2 คน ที่อยูดานลาง ขนถาย
สินคาเขาตูคอนเทนเนอร
26

ภาพที่ 3.3 การคัดแยกสินคาออกจากตูคอนเทนเนอร

ลูกคาแจงขอเปดตูคอนเทนเนอร
พรอมแนบเอกสารศุลกากรทีไ่ ดรับ
อนุมัติแลว

ฝายเอกสารตรวจสอบขอมูล และ
แนบเอกสารการตรวจปลอย

คัดแยกสินคาออกจากตูคอนเทนเนอร
ตามคํารองขอของลูกคา

ขนถายสินคาขึน้ รถบรรทุก ขนถายสินคาเขาโกดัง


- โดยรถโฟรคลิฟท - โดยรถโฟรคลิฟท
- โดยแรงงาน - โดยแรงงาน

3.1.2 การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เลือกพื้นที่ศึกษา และผูเขารวมวิจัยแบบเฉพาะเจาะจง


(Purposive Selection) คือ พื้นที่เขตลาดกระบัง จังหวัดกรุงเทพมหานคร เหตุผลที่เลือกพื้นที่ศึกษา
(Setting) นี้มีหลายประการ ดังนี้
3.1.2.1 กรุงเทพมหานครเปนเมืองหลวงของประเทศ
มีอัตราการขยายตัวทางดานเศรษฐกิจเปนอันดับตนของประเทศ จึงเกิด
การหลั่งไหลของแรงงานขามชาติเขามาทํางานในภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น พบวามีแรงงานขามชาติ
คงเหลือทั้งสิ้น ณ เดือนธันวาคม พ.ศ.2555 จํานวน 125,514 คน มีจํานวนแรงงานขามชาติลดลง
จากป 2554 มากที่ สุ ดเมื่อเปรียบเทียบตามรายพื้นที่ ลดลงมากกวาครึ่งหนึ่งของป 2554 จํานวน
343,133 คน คิดเปนรอยละ 73.22 ของจํานวนแรงงานขามชาติป 2554 จากขอมูลขางตนจะเห็นได
วาสอดคลองกับความเปนไปไดวายังคงมีแรงงานขามชาติยังคงทํางานแอบแฝงอยูในกรุงเทพมหานคร
27

3.1.2.2 ลักษณะงานในพื้นที่ของแรงงาน
ลัก ษณะงานและขั้ น ตอนการทํ างานของแรงงานข ามชาติ โดยสถาน
ประกอบการประกอบธุรกิจที่ตองอาศัยแรงงานในการขนถายสินคาเขาและออกจากตูคอนเทนเนอร มี
การวาจางบริษัทผูรับเหมาคนไทยเปนผูรับผิดชอบงานสวนนี้ทั้งหมด และผูรับเหมาไดมีการวาจาง
แรงงานขามชาติมาทํางานรายวัน เนื่องจากแรงงานไทยไมนิยมทํา เพราะเปนงานที่อันตราย สกปรก
และหนัก โดยใหคาจางเหมาเปนราคาตอตูคอนเทนเนอร
3.1.2.3 แรงงานขามชาติทํางานในสภาพแวดลอมที่เสี่ยง
พื้นที่ที่ศึกษามีแรงงานขามชาติทํางานสภาพแวดลอมที่เสี่ยง และสิทธิ
การรักษาพยาบาลเมื่อประสบอุบัติเหตุไมครอบคลุมทั่วถึง ประกอบดวย สัญ ชาติ พมา ลาว และ
กัมพูชา ทั้งสิ้น 80 คน โดยเก็บขอมูลเพื่อใชในการวิจัยเฉพาะแรงงานสัญชาติกัมพูชา เพราะแรงงาน
สวนใหญเปนแรงงานกัมพูชา และเพิ่มความชัดเจนในประเด็นที่ศึกษา

3.2 ผูเขารวมการวิจัยและวิธีการเลือกผูเ ขารวมการวิจยั

การเลือกตัวอยางใชวิธีการสุมแบบเฉพาะเจาะจง เนื่องจากเปนการศึกษาและตีความผล
การศึกษาของผูเขารวมวิจัยเฉพาะกลุม (Tongco, 2007) มีขนาดผูเขารวมวิจัยที่นอยมากไมเพียงพอ
ในการใชวิธีการสุมตัวอยาง (Tran & Perry, 2003) และยากในการเขาถึง จึงเลือกใชวิธีการเลือก
ผูเขารวมวิจัยโดยวิธีการนี้ เพื่อใหไดตัวแทนประชากรที่สนใจตรงตามวัตถุประสงคของการศึกษา
(Teddlie & Yu, 2007) และเพื่อเขาใจปญหาระบบการจัดการและมุมมองความเสี่ยงของแรงงาน
แบงออกเปน 4 กลุม จํานวน 23 คน

3.2.1 กลุมผูบริหาร
โดยมาจากตัวแทนผูจัดการฝายปฏิบัติของสถานประกอบการ 1 คน และผูจัดการ
บริษัทรับเหมาที่แรงงานกัมพูชาสังกัด 1 คน ทั้งสองคนเปนผูที่มีสวนในการวางนโยบายภายในสถาน
ประกอบกิจการ เพื่อใหแรงงานขามชาติมีสภาพแวดลอมในการทํางานที่ปลอดภัย
3.2.2 หัวหนาฝายแรงงาน
หัวหนาแรงงานจํานวน 1 คน เปนผูดูแล รับผิดชอบ แรงงานขามชาติใหมีสภาพ
แวดลอมในการทํางานที่ปลอดภัย
28

3.2.3 แรงงานขามชาติกัมพูชา
แรงงานกัมพูชาจํานวน 18 คน มีอายุระหวาง 18-45 ป ทั้งเพศชายและเพศหญิง
และมีประสบการณ ในการทํางานในประเทศไทยอยางนอย 1 ป ทั้งที่มีใบอนุญ าตทํางานและไมมี
ใบอนุญาตทํางาน
3.2.4 ผูใหขอมูลที่สาํ คัญ
ผูใหขอมูลที่สําคัญจํานวน 2 คน ซึ่งเปนแรงงานกัมพูชาที่เคยประสบอุบัติเหตุใน
การทํางาน หรือผูที่ทํางานในประเทศไทยเปนระยะเวลายาวนานที่สุดในผูกลุมผูเขารวมการวิจัย โดย
สามารถสื่อสารภาษาไทยได เพื่อเพิ่มความเขาใจในการสื่อสารระหวางกลุมประชากรที่ศึกษามาก
ยิ่งขึ้น เนื่องจากมีความเขาใจในลักษณะงานที่ทํา และมีความคุนเคยกับผูวิจัย

3.3 จริยธรรมในการวิจัย

ผูวิจัยไดใหความสําคัญกับจริยธรรมในการวิจัยในครั้งนี้ตั้งแตกอนเริ่มการวิจัย เนื่องดวย
เปนการศึกษาวิจัยทางสุขภาพของแรงงานขามชาติ เพื่อใหมั่นใจวาผูเขารวมวิจัยมีความปลอดภัย และ
ไดรับการปกปองสิทธิแหงความเปนมนุษย (Pranee Liamputtong & Douglas Ezzy, 2005) ดังนั้น
ก อ น ทํ าการวิ จั ย ผู วิ จั ย ได ข ออนุ ญ าตคณ ะกรรมการพิ จารณ าจริ ย ธรรมการวิ จั ย ใน คน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ชุดที่ 2 ไดรับการอนุมัติ ณ วันที่ 3 ตุลาคม 2557 หนังสือรับรองเลขที่
121/2557 แลวจึงดําเนินการวิจัย จากนั้นผูวิจัยไดขอหนังสือจากคณะสาธารณสุขศาสตร เพื่อชี้แจง
วัตถุประสงคในการวิจัยใหแกสถานประกอบกิจกอนลงพื้นที่ภาคสนาม เพื่อใหผูบริหาร ผูจัดการ
บริษัทผูรับเหมา และผูที่เกี่ยวของ ทราบและเขาใจในขั้นตอนการวิจัยวาขอมูลที่ไดรับจะมีการปกปด
ชื่อสถานประกอบกิจการ เพื่อปกปองชื่อเสียง เพราะแรงงานกัมพูชาบางคนที่เขาเมืองผิดกฎหมาย
อาจจะสงผลกระทบตอสถานประกอบกิจการหากขอมูลที่เผยแพรออกไปไมเปนความลับ ทําใหเกิด
ความไมมั่นใจขึ้นได ซึ่งผูวิจัยไดปฏิบัติตามขอแนะนําตามหลักการจริยธรรมอันประกอบดวย

3.3.1 การใหความเคารพตอบุคคลทีเ่ ขาสัมภาษณ


ผูวิจัยแนะนํ าตัว ทํ าหนังสือชี้แ จง วัตถุป ระสงคการศึกษา รูปแบบการศึกษา
ขอมูลการติดตอผูวิจัย ตอผูเขารวมการวิจัย เพื่อเปดโอกาสใหผูเขารวมวิจัยซักถามเกี่ยวกับประเด็นขอ
สงสัย หรือใหขอมูลเพิ่มเติม เพื่อใหผูเขารวมวิจัยเขาใจขอมูลอยางครบถวน และตัดสินใจเขารวมอยาง
อิสระ ตามแบบแสดงความจํานงการเขารวมการศึกษา โดยใหรหัสขอมูลของบุคคล เพื่อปกปดชื่อ
และนามสกุลที่แทจริงของผูเขารวม หากผูเขารวมการวิจัยไมตองการใหบันทึกเสียงก็จดใสสมุดแทน
29

เก็บรวบรวมเอกสารในตูที่สามารถล็อกกุญแจได และขอมูลที่เปนไฟลถูกเก็บไวในคอมพิวเตอรสวนตัว
พรอมตั้ งรหั ส ผ านเพื่ อ ป องกั น การเขาถึ งขอมู ล จากบุ คคลอื่น โดยเอกสารจะเก็บ ไวเป น เวลา 5 ป
หลังจากตีพิมพ และจะทําลายเอกสารทันที
3.3.2 การพิทกั ษประโยชนของผูเ ขารวมการวิจัย
ผูวิจัยไดจัดหาของขวัญเล็กนอยเพื่อแทนคําขอบคุณ และมีการนัดหมายวันและ
เวลาเพื่อใหผูเขารวมวิจัยสะดวกที่สุด ไมใหกระทบกับการทํางาน หากลงพื้นที่ในชวงพักกลางวัน จะมี
ขาวกลอง และน้ําดื่ม เพื่อใหแรงงานไดรับประทานระหวางชวงพัก โดยมีการพิจารณาถึงลักษณะ
ของขวัญเพื่อใหแนใจวาจะถูกมอบใหไดอยางตอเนื่อง และไมสามารถเปลี่ยนเปนเงินได
3.3.3 การใหความยุติธรรมตอผูเขารวมวิจัย
สิทธิในการบอกเลิกการเขารวมการวิจัย ทั้งกอน และระหวางการสัมภาษณ เมื่อ
ผูเขารวมการสัมภาษณรูสึกอึดอัด สามารถที่จะหยุดการสัมภาษณไดทันที หรือสามารถถอนตัวออก
จากการวิจั ย ได ต ลอดเวลา โดยไม ต อ งแจ งให ผู วิจั ย ทราบล วงหน า และการถอนตั วดั งกล าวไม มี
ผลกระทบแตอยางใด

3.4 การไดมาและการเขาถึงขอมูล

ขั้นตอนที่ 1 หลังจากไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนจาก
สํ า นั ก งานบริ ห ารการวิ จั ย มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร ผู วิ จั ย ดํ า เนิ น การรวบรวมรายชื่ อ และ
รายละเอียดเบื้องตนของแรงงานขามชาติจากภายในสถานประกอบกิจการ เพื่อรวบรวมผูเขารวมวิจัย
ที่มีประสบการณ การทํ างานในประเทศไทยมากกวา 1 ป และพิจารณาเลือกผูเขารวมการวิจัยให
ครอบคลุมเกณฑ โดยผูวิจัยเปนผูรวบรวมขอมูลเอง และสัมภาษณเพิ่มเติมเมื่อพบวาขอมูลไมครบถวน
ขั้ น ตอนที่ 2 ผู วิ จั ย ติ ด ต อ ประสานงานผู ที่ เ กี่ ย วข อ งในคณะสาธารณสุ ข ศาสตร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เพื่อทําหนังสือขอความอนุเคราะหใหดําเนินการวิจัยในพื้นที่ท่ีศึกษา และ
ชี้แจงขออนุญาตไปยังสถานประกอบกิจการ โดยแนะนําตัวกับประธานบริษัท ฝายบริหาร ผูจัดการ
บริษัทผูรับเหมา และผูที่เกี่ยวของ เพื่ออธิบายรายละเอียดในการวิจัย ประกอบดวย วัตถุประสงคของ
การวิจัย การเก็บรวมรวมขอมูล การพิทักษสิทธิผูใหขอมูล และระยะเวลาในการศึกษา
ขั้ น ตอนที่ 3 ผู วิ จั ย ลงพื้ น ที่ เ พื่ อ พบแรงงานข า มชาติ อธิ บ ายแนวทางการวิ จั ย
วัตถุประสงคในการวิจัย ขอมูลในการเขารวมเพื่อใหผูเขารวมวิจัยมีความเขาใจถึงวัตถุประสงคของ
การศึกษา และขอความยินยอมเพื่อแสดงความจํานงในการเขารวมการศึกษา นัดหมายวัน เวลา ใน
การใหสัมภาษณเชิงลึกในครั้งตอไป
30

ขั้นตอนที่ 4 เก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมผูใหขอมูลสําคัญ เกี่ยวกับประสบการณ การ


สัม ผัส ความเสี่ยง และการเกิ ดอุ บั ติ เหตุ ในกลุ ม แรงงานข ามชาติ เพื่ อ ให มี ค วามครอบคลุ ม ในการ
สัมภาษณเชิงลึก ทั้งนี้ผูวิจัยไดอบรมผูใหขอมูลสําคัญเพิ่มเติมเพื่อใหเขาใจวัตถุประสงคของการศึกษา
ครั้งนี้
ขั้นตอนที่ 5 นัดหมายวัน เวลา เพื่อสัมภาษณผูบริหาร และผูจัดการบริษัทผูรับเหมา
โดยการสัมภาษณเชิงลึกตามแบบสอบถาม

3.5 เครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล

เป น การเก็ บ ข อ มู ล เชิ งคุ ณ ภาพ ที่ เน น วิ ธีก ารที่ ช วยให เข าถึ งข อ มู ล ในระดั บ ลึ ก และ
ถูกตอง โดยใชวิธีการสัมภาษณเชิงลึก โดยคํานึงถึงบริบททางสังคมของแรงงานกัมพูชา เพื่อใหผูวิจัย
ไดใกลชิดและสรางความสัมพันธที่ดีกับผูเขารวมวิจัย เพื่อใหเอื้อตอการเขาถึงขอมูลที่ลึกและสมบูรณ
มากยิ่งขึ้น

3.5.1 การสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview)


แนวทางการสัมภาษณในการวิจัยครั้งนี้เปนแบบเจาะลึก ผูวิจัยไดสรางเครื่องมือ
ในการเก็ บ รวบรวมข อ มู ล การวิ จั ย เชิ งคุ ณ ภาพครั้ ง นี้ โดยอาศั ย ประเด็ น ต า งๆ จากการทบทวน
วรรณกรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวของ พรอมนําเสนออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ เพื่อตรวจสอบความ
ถูกตอง ครบถวนของประเด็นตางๆ ตามกรอบแนวคิดและวัตถุประสงคในการวิจัย โดยมีแนวคําถาม
ไดแก ชีวิตการทํางานในประเทศไทย การเกิดอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บ ลักษณะความเสี่ยงในการ
ทํางาน สิทธิและสวัสดิการ และการรับบริการสุขภาพ เปนตน ผูวิจัยมีการตอบรับทุกครั้งเมื่อมีการ
ตอบคําถาม สังเกตพฤติกรรมระหวางการสัมภาษณ หลีกเลี่ยงการใชคําถามแบบทดสอบ หรือลักษณะ
ของคําถามชี้นํา ใหความสนใจในแงมุมตางๆ ของผูเขารวมวิจัย มีปฏิสัมพันธที่ดี เพื่อใหผูเขารวมวิจัย
ให ข อ มู ล ในการสั ม ภาษณ อ ย างครบถ ว น เมื่ อ สั ม ภาษณ ใกล เสร็ จ สิ้ น ในตอนท า ยผู วิ จั ย ได บั น ทึ ก
ขอคิดเห็นของตนเองแยกตางหากเมื่อจบการสัมภาษณในแตละครั้ง ทั้งนี้เพื่อแสดงความเขาใจระดับ
ลึกของผูวิจัยเพื่อใหผูวิจัยแยกขอมูลที่ไดจากการพูดคุย และจากการสื่อสารที่ไมไดเกิดจากคําพูด
รวมทั้งสภาพแวดลอมในขณะที่ทําการสัมภาษณ
3.5.2 เครื่องมือที่ชวยในการวิจัย
3.5.2.1 ตัวผูวิจัย
ผูวิจัยไดศึกษาและเขารวมอบรมหลักสูตรระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพมา
โดยละเอียด และขอคําปรึกษาจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ซึ่งเปนผูมีประสบการณ และมีความ
31

เชี่ยวชาญในงานวิจัยเชิงคุณภาพโดยตรง เพื่อตรวจสอบความถูกตองและความสมบูรณของระเบียบวิธี
วิจัย ผูวิจัยจึงมีการออกแบบการวิจัยเพื่ อเก็บขอมูลตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณ ภาพ กอนลงพื้นที่
ภาคสนาม พรอมทั้งตรวจสอบความนาเชื่อถือของงานวิจัย แลวจึงนําขอมูลที่ไดไปวิเคราะหและแปล
ผลตามหัวขอการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ
3.5.2.2 สมุดสําหรับจดบันทึก
สมุ ด สํ าหรั บ จดบั น ทึ ก มี 2 เล ม เล ม หนึ่ งไว ใช ก รณี ที่ ผู ให สั ม ภาษณ ไม
อนุญาตใหบันทึกเสียง และอีกเลมไวจดบันทึกประเด็นสําคัญๆ ขอคิดเห็น และความเขาใจในระดับลึก
ของผูวิจัย และแบงคอลัมนทางดานขวา เพื่อบันทึกกระบวนการวิจัย งานที่ไดเสร็จสิ้นลงไป วิธีการที่
ใชทํางานภาคสนาม รวมทั้งประสบการณสวนตัว และขอสังเกตของผูวิจัย
3.5.2.3 เครื่องบันทึกเสียง
สําหรับบันทึกเสียงระหวางการสนทนา และการสัมภาษณเพื่อใหไดคําพูด
ที่มาจากการสัมภาษณอยางครบถวน
3.5.2.4 แบบบันทึกสวนบุคคล
ใชบันทึกขอมูลสวนบุคคล ชื่อ นามสกุล การใหรหัสเฉพาะบุคคล วันที่
สัมภาษณ สถานที่อยูอาศัย และที่สะดวกในการนัดหมายหากไมสามารถสัมภาษณไดครบถวน รวมถึง
ความรูสึกที่ผูใหสัมภาษณแสดงออกขณะนั่งสัมภาษณ
3.5.2.5 แนวคําถามการสัมภาษณเชิงลึก
แนวคําถามที่ใชในการสัมภาษณเชิงลึก ตามแบบสัมภาษณที่ออกแบบไว
มี 3 ชุด ตามภาคผนวก ก ข และ ค มีความสอดคลองกับวัตถุประสงคการศึกษาเพื่อใหไดขอเท็จจริง
มากที่สุด ครอบคลุมเนื้อหาการวิจัย นําไปสูการวิเคราะหเพื่อหาแนวทางและมาตรการที่เหมาะสมใน
การจัดการความเสี่ยงในการทํางานของแรงงานขามชาติ

3.6 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

การศึกษาครั้งนี้จึงเลือกใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณเชิงลึก และการ
รวบรวมขอมูลรายชื่อ รายงานบันทึกการสอบสวนอุบัติเหตุ เพื่อใหไดรายละเอียดที่ครบถวนจาก
สภาพความเปนจริง และตรวจสอบความถูกตองของขอมูลที่ไดม า และเพิ่มความเขาใจในการให
ความหมาย โดยใชเวลาในการเก็บรวบรวมขอมูลและการจัดทําเอกสารทั้งสิ้น 11 เดือน ดังนี้
ระยะที่ 1 ใช เวลา 1 เดื อ น เพื่ อ การรวบรวมรายชื่ อ แรงงานข ามชาติ และคั ด เลื อ ก
ผูเขารวมวิจัย กอนจะเริ่มการสัมภาษณเชิงลึก ทําความคุนเคยกับกลุมผูเขารวมการวิจัย ไมใหรูสึก
เกร็ง หรือกลัว เมื่อตองสัมภาษณแบบเชิงลึก
32

ระยะที่ 2 หลังจากนั้นใชเวลาอีก 8 เดือน ดําเนินการสัมภาษณเชิงลึก โดยการสนทนาใน


ระดั บ บุ ค คล มี ก ารแนะนํ า ตั ว แจ งให ท ราบวั ต ถุ ป ระสงค ข องการทํ าวิ จั ย ตามกระบวนการของ
จริยธรรมการวิจัยในคน จดรายละเอียดเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลของผูที่ถูกสัมภาษณ เพื่อใหสามารถ
ติดตอได เมื่อตองกลับไปสัมภาษณเพิ่มเติม เปนการสัมภาษณแบบซึ่งๆ หนา มีเครื่องบันทึกเสียงอัดไว
หากผูใหสัมภาษณไมอนุญาตใหบันทึกเสียงก็ใชวิธีจดลงสมุดแทน และจดประเด็นสําคัญไวเปนระยะ
โดยใช คํ าถามลั ก ษณะปลายเป ด เพื่ อ ให มี ค วามยืด หยุน ในการสอบถามขอ เท็ จจริงหรือสื บ ค น ใน
ประเด็นที่คาดไมถึงที่มักจะมีและไมมีการบันทึกไวเปนทางการ ถามตามแนวทางที่กําหนดไวกอนตาม
คําถามที่ไดออกแบบไว เพื่อรักษาความสอดคลองกันของขอมูล โดยใชเวลาคนละประมาณ 30-40
นาที และกลับไปสอบถามเพิ่มเติมเมื่อขอมูลไมครบถวน หรือหยุดการสัมภาษณ กะทันหัน เพราะ
แรงงานตองรีบไปทํางาน ในชวงนี้ไดรวบรวมเอกสาร และถอดเทปจากการสัมภาษณไปพรอมกัน
ระยะที่ 3 ใชเวลา 2 เดือน ในการจัดทําและรวบรวมเอกสารที่ไดจากการลงพื้นที่ เพื่อให
ขอ มู ล ที่ ได ม ามี ค วามชั ด เจน และเก็ บ ข อ มู ล การสั ม ภาษณ ไวแ ยกแต ล ะบุ ค คลที่ มี ก ารให ร หั ส ของ
ผู เข าร วมวิ จั ย ซึ่ งข อ มู ล ด านเอกสารส วนนี้ ไม ได เก็ บ ในคอมพิ ว เตอร เพื่ อ ให ก ารเก็ บ เอกสารเป น
ความลับ และอานขอความ รวมทั้งถอดขอความคําพูดจากเทป ตัดตอนขอความที่สําคัญ รวบรวม
กลุมคําและจัดหมวดหมูในการสรางประเด็นที่ศึกษาออกมา และนําขอมูลทั้งหมดมาวิเคราะหเพื่อสรุป
และแปลผลการศึกษา

3.7 การตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล

เมื่อรวบรวมขอมูลและจัดเก็บแฟมขอมูลแลว ผูวิจัยไดตรวจสอบขอมูลเพื่อใหทราบวา
ขอมูลที่ไดมาเพียงพอแลว โดยขอมูลจะตองอธิบายวัตถุประสงคของการวิจัยไดอยางชัดเจน (สุภางค
จันทวานิช, 2550) ไดแนะนําขั้นตอนในการตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล ดังนี้

3.7.1 ตรวจสอบความถูกตอง (Validity) และความนาเชื่อถือ (Reliability) ของ


ขอมูล
เพื่อใหไดขอมูลที่ไดจากการรวบรวมมีความนาเชื่อถือมากขึ้น ผูวิจัยใชวิธีการ
ตรวจสอบแบบสามเสาดานวิธีการรวบรวมขอมูล (Methodological triangulation) คือ การใชวิธี
เก็บรวบรวมขอมูลหลายวิธี ไดแก การสัมภาษณเชิงลึก ในกลุมฝายบริหาร หัวหนาแรงงาน แรงงาน
ขามชาติ และกลุมผูใหขอมูลสําคัญ เอกสารรายงานการเกิดอุบัติเหตุของแรงงานขามชาติที่ผานมา
เพื่อรวบรวมขอมูลในเรื่องเดียวกัน แลวนําขอมูลที่ไดมาตรวจสอบยืนยันกัน
33

3.7.2 การสะทอนกลับ (Reflectivity)


เปนการระวังตัวของผูวิจัยในการถาม และการสังเกต ตั้งแตกระบวนการเริ่มตน
วิจัย การลงพื้นที่ภาคสนาม การรวบรวมขอมูล การเขียนรายงาน และการฟงการตอบคําถามของ
ผูเขารวมการวิจัย ซึ่งตัวผูวิจัยตรวจสอบวิธีคิด พูด และการกระทํา เพราะผูวิจัยเปนสวนหนึ่งในการ
วิจัย ซึ่งมีอิทธิพลตอคุณภาพของขอมูล ผูวิจัยจึงตองปรับเปลี่ยนอัตลักษณของตัวเอง การสะทอนกลับ
จึงเปนการทําใหผูวิจัยระมัดระวัง
3.7.3 การสรางความไวเนื้อเชื่อใจ (Trust Building)
ทําใหผูเขารวมวิจัยเปดเผยขอมูลที่แทจริงกับผูวิจัย โดยการเสนอความเปนเพื่อน
ความเปนนักศึกษา และนักวิจัย เพื่อลดทอนอํานาจอันเกิดจากการเปนเจาหนาที่ความปลอดภัย
เพราะผูที่ใหขอมูลพูดกับคนที่ตนเองไววางใจ เสนออัตลักษณเชนเดียวกับผูเขารวมวิจัยแลกเปลี่ยน
แบงปนขอมูลเรื่องสภาพแวดลอมในการทํางาน คําแนะนําดานความปลอดภัย และการเขาถึงบริการ
สุขภาพเมื่อประสบอุบัติเหตุ
3.7.4 ความนาเชื่อถือ (Credibility)
เปนการตรวจสอบประเด็นความถูกตองภายใน (Internal Validity) ของขอมูล
โดยที่ผูวิจัยนําเสนอผลการวิจัยจากสิ่งที่เห็น และคําพูดของผูเขารวมการวิจัยโดยไมมีการดัดแปลงหรือ
ปรับเปลี่ยนคําพูด โดยความนาเชื่อถือของขอมูลนั้นขึ้นอยูกับปฏิบัติตามวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล
อยางเข ม งวด และใช ก ารตรวจสอบแบบสามเสา ซึ่ งผูวิจัยไดผ านการอบรมและศึก ษางานวิจัย ที่
เกี่ยวของมาโดยละเอียดในเรื่องที่สนใจศึกษา นอกจากนั้นผูวิจัยสรางสัมพันธภาพ ทําใหผูเขารวมวิจัย
เกิดความคุนเคย และใหความไวใจ เพื่อทําใหตัวผูวิจัยมีความนาเชื่อถือดวยเมื่อลงทําการศึกษาวิจัยใน
พื้นที่ศึกษา
3.7.5 การถายโอนผลการวิจัย (Transferability)
การศึกษาในครั้งนี้เปนกลุมผูเขารวมวิจัยที่เฉพาะเจาะจงในการศึกษาเฉพาะกรณี
ไม ส ามารถที่ จ ะถ ายโอนผลการศึ ก ษาไปอธิ บ ายกั บ ประชากรกลุ ม อื่ น ได หากจะนํ าไปอธิ บ ายใน
ประชากรอื่น ประชากรที่ศึกษานั้นจะตองอยูภายใตบริบทและพื้นที่ที่ศึกษาที่มีความใกลเคียงกันมาก
นอกจากนั้นก็สามารถที่จะนํากระบวนการทางระเบียบวิธีวิจัยไปพัฒนาหรือประยุกตใชกับบริบทและ
พื้นที่ศึกษาอื่นไดเชนเดียวกัน
3.7.6 การพึ่งพากับเกณฑอื่น (Dependability)
ผูวิจัยใชกรอบทฤษฎีเพื่อใหแนใจวาผลการวิจัยมีความสอดคลองกับแนวคิดที่วาง
ไว และศึกษาผลการวิจัยอื่นที่คลายกันเพื่อเปรียบเทียบผลลัพธจากการศึกษาเปนไปในทิศทางเดียวกัน
สนับสนุน หรือขัดแยงกัน
34

3.7.7 การยืนยันผล (Conformability)


เปนการยืนยันวาผูวิจัยไดขอมูลที่คนพบจากงานวิจัยในครั้งนี้ จากการเก็บขอมูล
อยางเปนระบบ และสะทอนความคิดมาจากผูเขารวมวิจัย เพื่อใหการมองปญหาของผูวิจัยมีความ
ชัดเจน มากกวาความมีอคติ และจุดมุงหมายตางๆ ที่อาจจะมีผลตอการตีความ การวิเคราะห และ
การสรุปในการศึกษา

3.8 การวิเคราะหขอมูล

วิธีการหลักที่ผูวิจัยใชในการวิเคราะหขอมูลของการวิจัยเชิงคุณภาพในการศึกษาครั้งนี้
คือการวิเคราะหแกนสาระ โดยวิเคราะหขอมูลไปพรอมกับการเก็บรวบรวมขอมูล จับประเด็นสําคัญ
ตั้งเปนดัชนี ใหเห็นประเด็นยอยแลวใหรหัส เมื่อพบประเด็นสําคัญ จึงยกเปนประเด็นหลัก จากนั้นนํา
ประเด็ น หลั ก ที่ ได ไปตรวจสอบความถู ก ต อ ง เพื่ อ เชื่ อ มโยงแนวความคิ ด ให เห็ น ภาพรวมของ
ปรากฏการณที่ศึกษาตามกรอบแนวคิดทฤษฎี เพื่ออธิบาย และสรุปสาระสําคัญในการเสนอแนะแนว
ทางการแกปญหาอยางเหมาะสม (เบญจา ยอดดําเนิน-แอ็ตติกร และกาญจนา ตั้งชลทิพย, 2552)
ชาย โพธิสิตา (2554) ไดแนะนําขั้นตอนในการวิเคราะหแกนสาระดังตอไปนี้

3.8.1 จัดระเบียบขอมูลโดยการถอดเทปการใหคําสัมภาษณ และบันทึก โดยวางแนว


ทางการวิเคราะหโดยใชกรอบแนวคิดทฤษฎีที่ใชในการวิจัย ไปพรอมๆ กับการเก็บรวบรวมขอมูล
ตั้งแตระยะที่ 1, ระยะที่ 2, และระยะที่ 3 บันทึกและจัดเก็บขอมูลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร เพื่อ
นํามาใชในการจัดระบบขอมูล โดยบันทึกทุกคําพูด ลักษณะการพูด ลักษณะทาทางของผูเขารวมวิจัย
ทั้งหมด รวมถึงสิ่งแวดลอมของสถานที่สัมภาษณ อยางละเอียด เพื่อนํามาเปนสวนประกอบในการ
วิเคราะห ตีความ โดยทําการบันทึกทุกวันหลังจากสัมภาษณเสร็จสิ้น
3.8.2 แยกประเภทและจัดระบบขอมูลใหเปนหมวดหมู เพื่อจับประเด็นสําคัญใหเห็น
ประเด็นยอย นําประเด็นยอยที่ได มาใหรหัส สําหรับการคนหาขอมูล โดยจัดประเภทของขอมูลใหเปน
ดัชนีเดียวกัน ใสชื่อรหัส และระบุนิยามของรหัสที่กําหนด เมื่อพบประเด็นซ้ํากันบอยๆ จึงยกเปน
ประเด็นสําคัญ
3.8.3 นําขอมูลที่ไดไปตีความและแปลผล โดยการดึงขอความออกมาจากขอมูลที่มีอยู
หาความเชื่อมโยงของขอมูล ดูความสําคัญที่ปรากฏออกมาเพื่อสรางความสัมพันธของประเด็นสําคัญ
3.8.4 สรางขอสรุป จากกระบวนการตีความ โดยการนําขอมูลที่จัดระบบเปนชุดเดียวกัน
มาเปรียบเทียบกันสอดคลองกับขอเท็จจริง เพื่อสรุปแนวความคิด ที่มีหลักฐานจากขอมูลที่ยืนยันได
35

3.8.5 การตรวจสอบความนาเชื่อถือของผลการวิเคราะห โดยนําขอมูลที่ไดตรวจสอบ


ภายในวาผลการวิเคราะหที่ไดมีอคติจากผูวิจัย หรือผูใหขอมูล และวิเคราะหขอคนพบวามีหลักฐาน
สนับสนุนที่หนักแนน และชวนใหคลอยตาม โปรงใสและสามารถตรวจสอบได จากนั้นนําขอมูลที่ได
ตรวจสอบภายนอก โดยนําขอสรุปใหผูเขารวมการวิจัยฟง และใหเขาวิพากษวิจารณ เพื่อดูวาขอสรุป
และการตีความของผูวิจัยถูกตองหรือใชไดในทัศนะของผูเขารวมการวิจัยมากนอยเพียงใด
36

บทที่ 4
ผลการวิจัย: นโยบายการจางงาน สิทธิ และสวัสดิการ

การศึกษาการรับรูความเสี่ยงในการทํางานของแรงงานขามชาติ กรณีศึกษากลุมแรงงาน
กัมพูชาในงานขนถายสินคาเขา และคัดแยกสินคาออกจากตูคอนเทนเนอร ในเรื่องนโยบายการจาง
งานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานเปนการเก็บขอมูลจากการ
สัมภาษณเชิงลึกผูเขารวมวิจัยกลุมผูบริหารคนไทย จํานวน 2 คน ซึ่งมาจากสถานประกอบการ และ
จากบริษัทผูรับเหมา ฝายละ 1 คน และหัวหนาฝายแรงงานคนไทยจากบริษัทผูรับเหมา 1 คน

4.1 การจางงาน

สถานประกอบการวาจางบริษัทผูรับเหมาใหดําเนินงานขนถายสินคาเขาและคัดแยก
สินคาออกจากตูคอนเทนเนอรผานการเปรียบเทียบราคาบริษัทที่ชนะการประกวดราคาจะเขามา
ดําเนิน งานตามสัญญาประจํารายป มีขอบเขตงานและหนาที่จัดหาบุคลากรรับผิดชอบงานบริหาร
งานเอกสาร และแรงงาน โดยให การอบรมพนั กงาน สอนงาน เพื่ อให บุ ค ลากรภายใต การดู แ ลมี
คุณสมบัติครบถวน และปฏิบัติงานใหสอดคลองตามกฎหมายแรงงานไทย และพระราชบัญญัติความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน พ.ศ.2554 และหากมีการวาจางแรงงาน
ขามชาติ จะตองขึ้นทะเบียน และมีใบอนุญาตทํางานอยางถูกตอง โดยบริษัทผูรับเหมามีการจางงาน
เปน 3 ลักษณะคือ พนักงานประจํา แรงงานชั่วคราวรายวัน และแรงงานรับเหมา ซึ่งแรงงานประจํา
เปนแรงงานไทยและแรงงานขามชาติกัมพูชา แรงงานรายวันและแรงงานรับเหมาเปนแรงงานขามชาติ
ลาว พมา และกัมพูชา

4.2 สิทธิของแรงงานขามชาติเปรียบเทียบกับแรงงานไทย

4.2.1 วันและเวลาทํางาน
การจางงานมีการทํางาน 6 วันตอสัปดาห ในหนึ่งวันมีเวลาพัก 1 ชั่วโมง วันหยุด
ประเพณี หยุดพักผอน วันลา และคาจางของแรงงานไทยเปนไปตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน
พ.ศ.2541 ในขณะที่แรงงานขามชาติไมมีวันหยุดพักผอน หากมีการลางาน จะไมไดรับคาจางเนื่องจาก
เปนแรงงานรายวันและแรงงานเหมา ในเรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดลอมในการ
ทํางาน ทั้งแรงงานไทยและแรงงานขามชาติไมมีคูมือความปลอดภัยในการทํางาน ไมไดจัดและดูแลให
แรงงานขามชาติสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ไดแก รองเทานิรภัย (หัวเหล็ก)
37

หมวกนิรภัย และเสื้อสะทอนแสง ครบทุกพื้นที่ทํางาน ขาดการอบรมสอนงานในเรื่องความปลอดภัย


ซึ่งไมเปนไปตามพระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน พ.ศ.
2554
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“การจายคาจางแรงงานทั้ง 3 กลุมไมแตกตางกัน เพราะเปนการ
จ างงานภายใต ก ฎหมายไทย ตามที่ ก ฎหมายแรงงานได กํ า หนด แรงงานไทยมี
สวั ส ดิ ก ารตามกระทรวงแรงงาน ประกอบด ว ย ประกั น สั ง คม โบนั ส การขึ้ น
เงินเดือน วันลา และสิทธิตามกฎหมายไทย ในสวนของตางดาว ไมมีเรื่องของโบนัส
ไมมีขึ้นเงินเดือน และไมมีประกันสังคม เพราะเราจาย 300 ก็ไมไดตัดเงินในสวนนี้
คาพิสูจนสัญชาติและขึ้นทะเบียนแรงงานขามชาติคนนึง 3-4 พันบาท ทางภาครัฐก็
เก็บไวเปนเรื่องการรับรองสิทธิใหกับเคาในการรักษาพยาบาล”
(ผูจัดการบริษัทผูรับเหมา, อายุ 56 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
4.2.2 คาใชจา ยในการตรวจพิสูจนสญ ั ชาติของแรงงานขามชาติ
ทางบริษัทผูรับเหมาออกคาใชจายใหแรงงานครึ่งหนึ่ง และแรงงานจายคาใชจาย
เองสวนที่เหลือ แตสําหรับแรงงานที่ไมมีเงินสํารองจาย ทางบริษัทผูรับเหมาจะจายใหกอน และหักเงิน
ยอนหลังแบงเปนงวดๆ งวดละ 400-500 บาท โดยคาใชจายในการตรวจสัญชาติและขอรับใบอนุญาต
ทํางานของแรงงาน มีดังนี้ พมาจํานวน 3,100 บาท สัญชาติลาวจํานวน 3,000 บาท สัญชาติกัมพูชา
จํานวน 2,900 บาท แบงเปนคาใชจายฝายไทยจํานวน 1,500 บาท ไดแก คาตรวจลงตรา (Visa) 500
บาท คําขอรับใบอนุญาตทํางาน 100 บาท และคาใบอนุญาตทํางานปละ 900 บาท สําหรับคาใชจาย
ในการจัดทําหนังสือเดินทางของพมา 1,600 บาท ลาว 1,500 บาท และกัมพูชา 1,400 บาท
แรงงานที่ ถู ก ขึ้ น ทะเบี ย นสั งกั ด กั บ บริษั ท ผู รับ เหมาแล ว นั้ น บริษั ท จะกํ าหนด
ขอบเขตในการทํางาน ไมอนุญาตใหทํางานกับบริษัทรับเหมาหรือสถานประกอบการรายอื่น เพราะถือ
วาเปนพนักงานที่อยูในการควบคุมดูแล หากแรงงานในสังกัดกออาชญากรรม ทําผิดกฎหมาย หรือทํา
ความเสื่ อมเสียก็ จะสงผลตอภาพลักษณ ของบริษัท ดังนั้นแรงงานจะไมสามารถไปทํ างานที่อื่นได
จนกวาจะไดรับ อนุญ าต ถาแรงงานต องการยายสังกัดก็จะตองแจงใหบ ริษั ท ผูรับเหมาทราบกอน
ลวงหนา เพื่อดําเนินการยายไปยังบริษัทใหมใหถูกตอง แรงงานจะยังคงไดรับสิทธิและสวัสดิการที่ควร
ไดรับ ในขณะเดียวกันถาตรวจพบวามีแรงงานหายไปโดยไมแจง ก็จะตรวจสอบและถอนชื่อออกจาก
ระบบ แรงงานก็จะกลายเปนคนผิดกฎหมาย
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ปจจุบัน เราตองกําหนดเคา เพราะเสียตังคทําบัตรให และขึ้น
ทะเบี ยนเป น แรงงานของบริษัท เราเป น นายจางเราควบคุ มได ถาตองการจะไป
ทํ า งานบริ ษั ท อื่ น ก็ ไปได โดยต อ งคุ ย กั น ก อ น แต ในความเป น จริง ไม มี ก ารแจ ง
ลวงหนา บางทีเคาจะไปก็ไปเลย แตบางคนก็ถามกอนวาเคาไปไดมั๊ย ก็จะสงเรื่อง
38

ไปยั งบริ ษั ท ใหม เมื่ อ บริษั ท ใหม รับ เค าเข า ระบบ เราก็ จ ะตั ด ชื่ อออก ก็ แ จงไปที่
แรงงานพื้นที่ เปลี่ยนใหเรียบรอย แตถาพบวามีคนหายไป ก็จะสอบถาม และเอาชื่อ
ออกจากระบบ เคาจะกลายเปนคนผิดกฎหมาย ก็จะไมคุมกับเคา เพราะถาอยูกับ
เราก็จะมีการรับรอง”
(ผูจัดการบริษัทผูรับเหมา, อายุ 56 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
สําหรับแรงงานเสริมจากสายนอก จะเขามาทํางานเมื่อมีปริมาณงานที่เยอะกวา
300 ตูคอนเทนเนอรตอวัน หัวหนาฝายแรงงานจะพิจารณาวาแรงงานรับเหมาประจําไมสามารถทําได
ทั น เวลา จะเรีย กใชบ ริก ารจากแรงงานรับ เหมาเสริม จากสถานประกอบการอื่ น ข างเคีย ง บริษั ท
ผูรับเหมาไมไดตรวจสอบวาแรงงานรับเหมาเสริมแตละคนไดขึ้นทะเบียนการทํางานถูกตองหรือไม
หากมีแรงงานที่ไมไดพิสูจนสัญชาติปะปนเขามา เกิดประสบเหตุในการทํางาน จะทําใหไมไดรับความ
สะดวกในการเขารับบริการทางการแพทย แตบริษัทผูรับเหมาไวใจวาสถานประกอบการขางเคียงนั้นมี
การตรวจสอบ และปฏิ บั ติตามกฎหมายเชน เดียวกัน เพราะเชื่อ วาการตื่น ตัวเรื่องขึ้น ทะเบี ยนใน
ปจจุบัน ทําใหแรงงานผิดกฎหมายลดลง ทําใหแนใจไดวาแรงงานเสริมเหลานั้นไดรับสิทธิและถูก
กําหนดใหสอดคลองภายใตกฎหมายการทํางานของแรงงานขามชาติเชนเดียวกับบริษัทของผูรับเหมา
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ถาเปนแรงงานสายนอก ก็จะไมไดรับการตรวจสอบ อยางเชน มี
ปริมาณงาน 300 ตู ก็จะตองเอาสายนอกเขามา เราไมรูเลยนะ วาใครมีบัตร ไมมี
บัตร แตผมเชื่อวาการตื่นตัวในการขึ้นทะเบียน ทําใหแรงงานและนายจางอยูไมได
เมื่อตองการแรงงานเสริมก็จะประสานงานผานนายจางสถานประกอบการขางเคียง
เช น จะถามไปที่ พี่ แ ดงมี ค นเท า ไร เราก็ จ ะวางใจว า เค า ทํ า เหมื อ นกั น แน ใจใน
ระดับนึงวาคนเหลานี้อยูภายใตกฎหมายในเบื้องตน หากมีแรงงานที่ไมมีบัตรหลง
เขามา ผมก็แยเลยเรื่องสงตัวไปโรงพยาบาล แตก็ตองรับผิดชอบคาใชจาย หากเคา
เกิดเหตุจริงๆ”
(ผูจัดการบริษัทผูรับเหมา, อายุ 56 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)

4.3 การสรรหาวาจางและเกณฑการเลือกแรงงาน

4.3.1 การสรรหาวาจาง
แรงงานไทยมี ขั้ น ตอนการสรรหาว า จ า ง โดยการประกาศรั บ สมั ค ร สํ า หรั บ
แรงงานขามชาติจะมีการสรรหาวาจางที่แตกตางกัน ไมมีการประกาศรับสมัครอยางเปนทางการ
เปนการบอกตอผานแรงงานที่ทํางานดวยกันกับบริษัทมานานจนนาเชื่อถือและไวใจได เมื่อแรงงาน
กลับ ไปเจอกันที่ บ านเกิ ด จะมีการเลาประสบการณ พู ดคุยกัน วาบริษั ท ที่ ตนเองทํ างานอยูนั้ น ดี
39

อยางไร นายจางตองการแรงงาน บริษัทใหเงินคาจางและความเปนอยูที่ดี ไมมีการเอารัดเอาเปรียบ


ทําใหแรงงานจากที่อื่นเปลี่ยนงานมาทําดวยกัน
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“เราเลี้ยงดูเคา เงินที่ใหตรงเวลา มีคนทําบัญชี ผมไมเคยโกงเขา
นะ รายไดที่ใหอยางเปน ธรรม สม่ําเสมอ เมื่อสงกรานตที่ผานมาเราจางตูละพั น
เพื่อใหเคาอยูทํางาน ขอใหชวยเฮียหนอย ซึ่งก็ไดรับความรวมมือ เมื่อกลับไปเจอกัน
สวนใหญเคาไปเจอกันที่วัดที่มีการทําบุญ เคาก็จะแลกเปลี่ยนขอมูลกัน เพราะอยู
ประเทศไทยต า งคนต า งทํ า คุ ย กั น เมื่ อ กลั บ ไปบ า น เช น แรงงานที่ ไปทํ า ที่ พ ระ
ประแดง ชลบุรี คลองเตย ลาดกระบัง เฮยนี่ ไดเทาไร ที่นั่นเปนไง”
(ผูจัดการบริษัทผูรับเหมา, อายุ 56 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
“เคาก็บอกตอๆ กันมา ดึงมาจากญาติสามั่ง แรงงานเขมรที่อยูกับ
ผมมานาน คนงานเกาๆ ก็จะมาๆ กัน อาศัยที่เราเคยทํางานเกากันมา เราไมเคยเสีย
เรื่องชื่อเสียง ยุคแรกๆ รวบรวมได 20 คน ก็ปากตอปาก คือเราทําดี ไมเอาเปรียบ
เขา มีอะไรชวยได ผมชวยหมดนะ ตอนนี้ถึงขั้นวาไปทํางานไหนก็ไป เพราะไมมีงาน
เราสงสารไมมีรายได ถามีงานเดี่ยวเฮียเรียก ตอนนี้จะเอาคนเทาไร ผมก็เอามาได”
(หัวหนาแรงงาน, อายุ 54 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
อีกทางหนึ่งคือ หลังจากแรงงานกลับบานไปชวงเทศกาล ก็มักจะมีญาติ พี่นอง
หรือคนบานใกลเรือนเคียงติดตามกลับมาที่ประเทศไทยเพื่อหางานทํา เพราะไดรับการบอกเลาเรื่อง
รายไดวาดีกวาประเทศบานเกิด จากขอมูลที่เลาสูกันฟง เมื่อมาถึงประเทศไทย ก็จะพาไปพบกับ
ผูจัดการของบริษัทหรือหัวหนาแรงงาน ถาบริษัทรับก็จะพาไปขึ้นทะเบียนใหถูกตอง
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“มีคนงานตามมาจากบาน เราก็พาไปขึ้นทะเบียน เคาไมมีเงิน ก็
ตองออกใหกอน คอยหักเงินในสวนของเคาเปนงวดๆ ถึงจะทํางานมานานพอถึง
เวลาไปตอทะเบียน เคาจะไมมีตังค เคาจะโอนกลับบานหมด เงินสวนใหญก็จะถูก
สงออกตางประเทศ นิสัยเคาจะเหมือนกันหมดในเรื่องนี้”
(หัวหนาแรงงาน, อายุ 54 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
4.3.2 เกณฑการคัดเลือก
แรงงานไทย มีการคัดเลือกผูเขาสมัครตามเกณฑคุณสมบัติที่กําหนดไวในแตละ
ตําแหน ง สอบข อเขี ยน และสอบสัม ภาษณ จากหน วยงานที่ เกี่ยวขอ ง 3 ฝาย เมื่ อผานเกณฑ การ
สัมภาษณ จะรับเขาทํางาน และทําสัญญาวาจาง อบรมใหความรูเกี่ยวกับองคกร หนาที่รับผิดชอบ
นโยบาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับบริษัท รวมถึงสิทธิและสวัสดิการที่ไดรับ แตกตางจากการ
คัดเลือกแรงงานขามชาติท่ีมีขั้นตอนการคัดเลือกที่ไมซับซอน เพราะบริษัทตองการผูที่มาใชแรงงาน
ไมไดตองการใหใชสมอง จึงไมไดมีการตรวจสอบเรื่องคุณสมบัติ หรือวุฒิการศึกษา แคแรงงานปฏิบัติ
ตามเกณฑที่กําหนดไดก็ถือวาผานเกณฑ คือ เมื่อมีแรงงานมาสมัครจะมีการขีดเสนตรง และใหทรงตัว
40

เดินบนเสนตรงที่กําหนด เพื่อทดสอบสมรรถภาพรางกาย วาไมทุพลภาพ และมีการพูดคุยเล็กนอยให


ญาติ เพื่อน หรือหัวหนาที่พามาสมัคร เปนลาม เพื่อประเมินทัศนคติในการทํางานวาสามารถจะทําได
หรือไม
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ขั้นตอนการคัดเลือกแรงงานไมซับซอน ขีดเสนตรงใหเคาเดินถือ
กระปองสองอัน ถาเดินผานเสนตรงไปไดก็ผาน เพราะฉะนั้นความยากงายก็ตางกัน
เราตองการใชแรงงาน ไมตองการใหเคาใชสมอง แคเคาปฏิบัติตามได”
(ผูจัดการบริษัทผูรับเหมา, อายุ 56 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
“สวนใหญเราจะถามไป นี่เฮียตองการคนหามาใหไดมั๊ย เมื่อเคา
พามาทํางานก็ลองใหทํางานดู ถาทีหลังมาเจอวาเมา ไมมาทํางาน ขี้เกียจ ก็ใหยาย
ออก แตแรงงานเขมรไมคอยมีนะ เคาจะขยันมาทํางานกอนเวลา จริงๆ อยากได
งานกอนคนอื่น จะไดรีบทํา”
(หัวหนาแรงงาน, อายุ 54 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)

4.4 สาเหตุของการจางแรงงานขามชาติ

4.4.1 คนไทยเลือกงาน
งานบรรจุ และคัดแยกสินคาออกจากตูคอนเทนเนอรเปนงานแบกหามใชแรงงาน
เปนงาน 3D คือ งานอันตราย (Dangerous) งานสกปรก (Dirty) งานที่ลําบาก (Difficult) เปนงานที่
ถูกลืม ทําใหมีแรงงานกัมพูชาเขามาทํางานในงานประเภทนี้ทั้งหมดในพื้นที่ ไอซีดี ลาดกระบัง เพราะ
แรงงานไทยเห็นวาการทํางานในลักษณะที่โลง รอน ฝุน มีอันตรายในลักษณะตางๆ เงินคาจางขั้นต่ํา
ไมคุมกับสุขภาพ จึงมีการเปรียบเทียบความคุมคากับเงินที่ไดรับ จากการศึกษาทุกคนใหความเห็น
ตรงกันวาเปนงานที่คนไทยไมทํา ถึงแมวาจะมีแรงงานไทยมาทําก็ไมดีเทากับแรงงานขามชาติ เพราะ
ถาจะจูงใจใหแรงงานไทยคาจางจะตองสูงกวานี้ ขณะที่แรงงานไทยสูงานนอยกวา แมแตบริษัทของ
สถานประกอบการเองจะหาพนักงานมาทํางานประเภทอื่นในดานปฏิบัติการ เชน เจาหนาที่ตรวจสอบ
สภาพตูคอนเทนเนอร ที่ไมใชเปนการใชแรงงานยังหายาก แตเปนการทํางานในดานปฏิบัติการยังหา
ยาก แมกระทั่งจะหาคนงานไทยในพื้นที่ทํางานสวนงานอื่นยังหายาก คนที่มาสมัครงานสวนใหญมา
จากตางจังหวัด
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“งานแบกหาม คนไทยไมทําเพราะมันลําบาก เปนตําแหนงที่ถูก
ลืม มันไมใชคาจางแรงงานที่สูง นอกจากกัมพูชา ลาว พมา ไมมีใครเคามาทําหรอก
ลาวก็ไมมีมากนัก ลาวนิสัยเหมือนคนไทย จะไปทํางานเปนลูกจางตามบาน ไปเปน
คนใช เค า ไม ทํ า งานแบกหาม ถ า เปรี ย บเที ย บกั บ สมั ย ก อ นมี แ ต ค นไทยทํ า ไม มี
41

ต า งด า ว ตอนนี้ ห มดยุ ค เหล า นั้ น สั ง คมยุ ค ใหม เข า มา คนไทยมี ค วามรู ม ากขึ้ น
แนวคิดจึงแตกตางกัน ความทุมเท ความเสียสละ ก็จะหมดไป งานลําบากไมทํา
สงผลใหงานอยางนี้ถูกทอดทิ้งในขณะที่เรายังตองการแรงงานประเภทนี้ รัฐบาลก็รู
ดี เราก็ตองหาตางดาวเขามาทํา”
(ผูจัดการบริษัทผูรับเหมา, อายุ 56 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
“ปจจุบันนี้คนไทยเลือกงานมากขึ้น งานแบกของมันเหนื่อย ไม
คุมกับเงินคาจางที่ไดรับ เรียกรองโนน เรียกรองนี่ แมแตบริษัทเราเองที่หาพนักงาน
มาทํา ซึง่ ไมใชเปนการใชแรงงาน แตเปนการทํางานในดานปฏิบัติการยังหายากเลย
ตองใชเวลาอยางนอยเปนเดือนกวาจะไดพนักงานมาทํางาน”
(ผูจัดการฝายปฏิบัติการ, อายุ 51 ป, วันที่สัมภาษณ 28 พ.ค. 58 )
“ตอนนี้แรงงานไทยไมทําหรอก งานอยางนี้ คนไทยเลือกงาน ผม
เคยลองแลวงานแบบนี้คนไทยมีความรับผิดชอบไมเหมือนเขา คนไทยพูดยาก ไมวา
ทาไหน ลานไหน เอาคนไทยมาก็เสียทุกที เรื่องราคาก็จะสูงขึ้นถาเปนแรงงานไทย
ทําใหเราบริหารไมไดเลยเรื่องคาแรง จริงๆ งานตรงนี้เปนการเสียดุลการคา เงิน
ออกตางชาติหมด สมัยกอนผมแบกเองนะ”
(หัวหนาแรงงาน, อายุ 54 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
4.4.2 แรงจูงใจในการทํางานของแรงงานกัมพูชา
แรงงานกัมพูชาจะไดรับคาจางในการทํางานในประเทศกัมพูชาวันละ 80-100
บาท ซึ่งแตกตางจากประเทศไทยมีคาจางขั้นต่ําวันละ 300 บาท ทําใหแรงงานขามชาติมีเพิ่มมากขึ้น
เกิดแรงจูงใจใหเขามาทํางานในประเทศไทย และนายจางก็ตองการแรงงานมาทดแทนแรงงานไทยที่
ขาดแคลน ทั้ งนี้ แรงงานกั มพู ชามี ค วามอดทน ความขยัน มาทํางานตรงเวลา ปฏิบัติตามคําสั่งได
คอนขางดี เชื่อฟงหัวหนา ไมตอตาน ไมเลือกงาน อาจจะเกิดจากกลัวถูกไลออก และกลัววาจะไมมี
งานทําในขณะเดียวกันก็พบวามีอุปสรรคในเรื่องการตรวจสอบประวัติ ภูมิหลัง การศึกษา แตเมื่อ
เปรียบเทียบแลวมีขอดีมากกวาขอเสีย เพราะฉะนั้นการเสริมทักษะใหแรงงานเปนหนาที่ของบริษัท
ผูรับเหมาที่จะตองจัดใหแรงงาน
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ปญหาเรื่องความเขาใจในงาน การสื่อสาร มันดูเหมือนวา เรา
พูดแลวเคาเขาใจ แตเมื่อลงมือทําเปนคนละทิศละทาง แตมีขอดี คือ การมาทํางาน
ตรงเวลา และเชื่อฟงหัวหนา หากไมเชื่อฟงก็จะถูกไลออก เลยอาจจะเปนเรื่องของ
การกลัววาจะไมมีงานทํา สวนในเรื่องตรงเวลาเพราะถามาสายก็จะไมไดงาน เงินก็
จะไดนอยลง เมื่อเปรียบเทียบแลวขอดีมีมากกวา แตคาดหวังคุณภาพไมได”
(ผูจัดการบริษัทผูรับเหมา, อายุ 56 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
42

“ค า ครองชี พ ที่ เมื อ งไทยสู ง ทํ า ให เค า ได ร ายได ที่ เมื อ งไทย
มากกวาประเทศเคา ทําใหเคาพึงพอใจ แลวอีกอยางนึง คิดวาเคาไมรูกฎหมายไทย
ทําใหเคาไมรูสิทธิตางๆ วาอะไรที่เคาได หรือควรเรียกรองอะไร”
(ผูจัดการฝายปฏิบัติการ, อายุ 51 ป, วันที่สัมภาษณ 28 พ.ค. 58 )
ผลการวิจั ย จากการสั ม ภาษณ เชิ งลึ ก พบว าแรงงานข ามชาติ ทั้ งสองกลุ ม คื อ
แรงงานรายวัน และแรงงานรับเหมา ไดรับคาจางที่แตกตางกัน แรงงานประจําไดรับคาจางเดือนละ
9,000 บาท และไดคาลวงเวลาชั่วโมงละ 40 บาท ในขณะที่แรงงานรับเหมา ไดรับคาจางเปนงาน
เหมา โดยตูขนาด 20 ฟุต ไดรับคาจางตูละ 400 บาท และตูขนาด 40 ฟุต ไดรับคาจางตูละ 600 บาท
แรงงานรับ เหมาจะรับ เงิน ทุ ก วัน พุ ธ ครั้งละ 2,500-3,000 บาท จึงทํ าให แ รงงานขามชาติกัม พู ช า
ทํางานรับเหมามากกวาแรงงานรายวัน
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ผมจายเปนตู ราคาไมเทากัน ถางานหนักหนอยก็จายเยอะกวา แต
โชคดีสําหรับแรงงานที่ลูกคาสวนใหญจะเปนตูสั้นมากกวา งานเสร็จเร็วกวา และได
เงินคุมคากวา ระหวาง 400 กับ 600 แรงงานรายวันจึงไมคอยมีใครอยากทํา แตเรา
ก็จํากัดจํานวนแรงงานรับ เหมา เพราะถาชวงที่ไมมีงาน แรงงานรับ เหมาก็ไดรับ
รายไดนอยลง”
(หัวหนาแรงงาน, อายุ 54 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
“เวลากลับบานก็ลาเขา ไดวันละ 300 บาท ถาเลย 17.00 น. มี
โอทีชั่วโมงละ 40 บาท มีซื้อขาวใหกิน เวลาทําดึกๆ ถาไปโรงบาลก็รักษาฟรีหมด
จาย 30 บาท ที่รูเพราะถามเพื่อน เพื่อนที่เขาโรงบาล”
(สมุทร, อายุ 42 ป, วันที่สัมภาษณ 20 พ.ย. 57)
ความแตกตางกันของแรงงานแตละสัญชาติ บริษัทผูรับเหมาพบวาแรงงานพมา
มักจะรวมตัวกันหยุดงาน ถาออกก็ออกกันหมด แตกตางกับแรงงานกัมพูชา ถาแรงงานสายไหนไมมา
แรงงานที่อยูจะพาญาติพี่นองเขามาทํางานทันที ไมตองกังวลเรื่องแรงงานขาด เพราะเขาชิงดีชิงเดน
มีการแขงขันการเรื่องฐานะ แตถาพมาจะเหนียวแนนเรื่องกลุมกอน แตเรื่องงานจะเอาเปรียบแรงงาน
กัม พู ชา ทํ าให แรงงานพม าสูงานเทียบกับแรงงานกัม พูชาไมได สวนแรงงานลาวจะไมคอยวาจาง
เพราะแรงงานลาวก็มีอุปนิสัยเหมือนคนไทย สวนใหญจะไปทํางานที่สบายเปนลูกจางตามบาน ไปเปน
คนรับใช
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ผมศึกษามาหมด คือพมาเปนกลุมเปนกอน ถาเคามีปญหาเคา
จะหยุดงานกันหมด ออกพรอมกัน แตถาเขมร ไอสายนี้ไมมา สายที่อยูดีใจเลย เอา
ญาติเขามา เราไมตองกลัวเรื่องแรงงานขาดเลย เพราะเขาชิงดีชิงเดนกัน ใครจะได
เงินดีกวากัน ใครจะมีรถใหญ กวากัน ไปแขงขันกันที่บาน พมาถึงจะเหนียวแนน
เรื่องกลุมกอน แตมักจะอูงาน สูเขมรไมได ขยันและบึกบึนกวา อาจจะเปนเพราะ
43

เคาจะอดอยากมากอน สวนลาวอุปนิสัยเหมือนคนไทย สวนใหญจะทํางานที่สบาย


เปนลูกจางตามบาน เปนคนรับใช ตองศึกษาใหดี สวนใหญผมเลยรับเขมรประมาณ
90% ของแรงงานทั้งหมด ถาเลือกไดก็อยากจะเลือกจางแรงงานไทย เพราะสื่อสาร
เขาใจงาย ใชภาษาเดียวกัน แตแรงงายไทยมีความดื้อรั้น”
(หัวหนาแรงงาน, อายุ 54 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
จากการสัมภาษณพบวา แรงงานกัมพูชาสามารถทํางานไดตามเปาหมาย และ
ตามระยะเวลาที่กําหนด เพราะแรงงานขามชาติไมไดเปนพนักงานประจํา จึงไมมีการบันทึกเวลามา
ทํางานมาทํางานแตก็พบวามาทํางานตรงตอเวลา เชน งานเริ่ม 8 โมง ก็จะมากอนเวลา เพื่อเตรียมตัว
ทํางาน ถาเปนแรงงานไทย หากไมมีการบันทึกเวลาเขางาน บริษัทผูรับเหมาไมสามารถกําหนดไดวา
จะมาทํางานหรือไม เพราะความรับผิดชอบแตกตางจากแรงงานกัมพูชา เนื่องจากแรงงานไทยควบคุม
ยากกวาแรงงานกัมพูชา
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ผมเคยลองแลว งานนี้คนไทยมีความรับผิดชอบไมเหมือนเคา
ในการที่เราจางคนตางชาติเราสูราคาได ถาเปนคาแรง 300 แตถาเปนแรงงานไทย
สูราคาไมได คนไทยพูดยาก ไมวาบริษัทไหน เอาคนไทยมาทํางานแบกหามก็เสียทา
ทุกที เคาไมคอยมากัน จะใหมาแบกแปง แบกขาวสารเคาไมมาหรอก”
(หัวหนาแรงงาน, อายุ 54 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)

4.5 สวัสดิการ และการอบรมสอนงานแกแรงงานขามชาติ

4.5.1 สวัสดิการที่แรงงานขามชาติไดรับ
การจ ายค าจ าง สิ ท ธิ สวัส ดิ ก ารระหว างแรงงานไทยและแรงงานข ามชาติ ไม
แตกตางกัน ปฏิบัติภายใตกฎหมายไทย ตามที่กระทรวงแรงงานกําหนดที่แตกตางกันในสวนที่แรงงาน
ขามชาติไมไดรับ ไดแก วันลา การขึ้นเงินเดือน โบนัส ประกันสังคม แตภายใตการพิสูจนสัญ ชาติ
แรงงานก็จะไดรับสิทธิการรักษาพยาบาล ก็เปรียบเสมือนกับประกันสังคม เพราะเขาใจวาทางภาครัฐ
เก็บเงินไวเปนเรื่องการรับรองสิทธิใหแรงงานขามชาติในการรักษาพยาบาล
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ตอนนี้แรงงานตางดาวถูกบังคับใหจดทะเบียนภายใตกฎหมาย
ไทยก็จะทําใหแรงงานกลุมนี้ไดรับสิทธิการรักษาพยาบาล คาทําบัตรคนนึงสามพัน
ถึงสี่พันบาท ทางภาครัฐก็เก็บไวเปนการรับรองสิทธิใหกับเคาในการรักษาพยาบาล
ดังนั้นจายคาแรง 300 ก็ไมไดตัดเงินในสวนนี้”
(ผูจัดการบริษัทผูรับเหมา, อายุ 56 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
44

การดูแลรักษาเมื่อเจ็บปวยหรือบาดเจ็บในงาน ทางดานหัวหนาแรงงานจะเปนคน
ดูแล พาไปสงโรงพยาบาลในพื้นที่รับผิดชอบ แตหลายครั้งหัวหนาแรงงานจะพาไปคลินิกเพราะไวและ
ใกลสถานที่ทํางาน โดยจายเงินสดใหและไมเรียกเก็บใดๆ จากแรงงาน
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“สมมติแรงงานรายวัน เคาตอกตะปูโดนนิ้วแตก หัวหนาจะพาไป
สงคลินิกกอนเพราะคาใชจายไมสูง และใกลที่ทํางาน ก็จะจายเงินใหกอนโดยไม
เรียกเก็บจากแรงงาน เราตองดูแลเคา เพราะไมมีสวัสดิการคุมครองเคาอยูแลว มี
แคสิทธิ์ตามประกันสุขภาพ”
(ผูจัดการบริษัทผูรับเหมา, อายุ 56 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
การรัก ษาพยาบาล แบ งเป น 3 ระดั บ คื อ กรณี ที่ เป น ไข ห วัด ธรรมดา และมี
อาการในระหวางเวลางานจะขอยาที่ออฟฟศมากิน เนื่องจากปวดหัวตัวรอน แตไมไดเปนบอยเพื่อที่จะ
ทํางานได แตถาเปนไขที่บานก็จะซื้อยาตามรานขายยา หรือรานขายของชําแถวที่พักมากิน ในขณะที่
สา กําลังทองก็ไดไปฝากครรภและเสียตังคครั้งละ 30 บาท พบวามีอุปสรรคในการไปโรงพยาบาล
เนื่องจากอานภาษาไทยไมออก ก็เอาใบนัดมาใหหัวหนางานชวยดูทุกครั้ง ครั้งลาสุดเลยวันนัด ก็เลยไป
หาหมอ และเลื่อนนัดไปวันอื่นแทน สาเขาใจสิ่งที่หมออธิบายเปนภาษาไทย แตอานไมออก จึงไม
เขาใจเอกสารที่ไดรับมาจากทางโรงพยาบาล และมีแรงงานคนเดียวที่มีบัตรประกันสังคม และยังสง
เงินอยางตอเนื่อง โดยทําประกันสังคมไวกับบริษัทเกา ซึ่งปจจุบันพี่สาวยังทํางานอยู ก็จะฝากเงินไป
จายกับพี่สาว ที่ยังสงประกันสังคมเพราะรูวาประกันสังคมจะรับผิดชอบคาใชจายใหถาเกิดเจ็บปวย
โดยไมตองเสียตังค เผื่อมีอะไรที่จําเปนตองไปโรงพยาบาลจะไดไมตองลําบาก จะไดสามารถเบิกไดทุก
โรค ไมใชวาแคอุบัติเหตุ หรือเปนไข เปนอะไรก็สามารถรักษาได แคไปรับยาอยางเดียว ถาหยุดงาน
ตองแจงหัวหนากอน ขึ้นทะเบียนประกันสังคมมาหลายป และสงไมเคยขาด แตก็เปนความสมัครใจ
ถาไมอยากทําก็ตองบอกเถาแก เขาไมบังคับใหตองทํา อยากทําหรือไมอยากทําก็แลวแตพนักงาน
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ทําประกันสังคมไวตั้งแตทําโรงงาน รูแควาถาเราเจ็บปวย เราไปไมตองเสีย
ตังค ผมก็เสียตังคใหเถาแกทุกเดือน ฝากพี่สาวไป ตอนนี้พี่สาวยังทําอยูโรงงาน ทํา
มาหลายปแลว สงไมเคยขาด เราอยากทําหรือไมอยากทําก็แลวแตเรา เถาแกเขาไม
บังคับ เผื่อบาดเจ็บอะไรเนี่ย ทุกอยางทุกโรค ไมใชวาอุบั ติเหตุ หรือเปน ไข เป น
อะไรก็ไปเลย ก็แคไปรับยาอยางเดียว”
(ดํา, อายุ 36 ป, วันที่สัมภาษณ 21 ก.พ. 58)
ในดานการปองกันการบาดเจ็บทางบริษัทไดจัดหาอุปกรณ ปองกันสวนบุคคล
ไดแก ชุดยูนิฟอรม รองเทานิรภัยหัวเหล็ก เสื้อสะทอนแสง จะจัดใหพนักงานทุกคนตามนโยบาย
บริษัทตนสังกัด และตามกฎหมายความปลอดภัยฯ แตสําหรับแรงงานรับเหมาที่ทํางานแบกของ ปน
ขึ้นลงรถ จะไมไดสวมใสรองเทานิรภัยหัวเหล็ก เชน เคาตองขึ้นรถ แรงงานทํางานกลางแจง เพราะ
45

รองเทาทําจากหนังสัตวเมื่อเหงื่อออกจะลื่นยิ่งทําใหแรงงานไดรับอุบัติเหตุมากขึ้นกวาเดิม จึงใหใส
รองเทาผาใบ เพราะเกาะพื้นผิวไดดีกวา ในขณะที่การสวมใสหมวกนิรภัยก็อาจจะบาดหูไดขณะที่แบก
ของ หรือปนขึ้นลงจากที่สูง
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“แรงงานที่ปนขึ้นลงรถเคาจะใสเซฟตี้ไมได บริษัทจึงไมไดจัดหา
ให เพราะรองเทาทําจากหนังสัตวเมื่อเหงื่อออกจะลื่นทําใหเทาพลิก จึงใหใสผาใบที่
เคาตองจัดหามาเอง ดังนั้นจึงไมไดจัดอุปกรณความปลอดภัยใหแรงงานกลุมนี้ แตมี
จัดเสื้อสีสดใหปละ 3 ตัว”
(ผูจัดการบริษัทผูรับเหมา, อายุ 56 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
“ถ า เป น แรงงานต า งด า ว เค า ต อ งได รั บ สิ ท ธิ เหมื อ นคนไทย
เพราะฉะนั้ น ถ า รู อ ย า งนี้ ต อ ไปเราก็ ต อ งเข า ไปตรวจสอบบริ ษั ท ผู รั บ เหมา ให
แจกจ า ยอุ ป กรณ คุ ม ครองความปลอดภั ย รองเท า หมวก และเสื้ อ เซฟตี้
เชนเดียวกับพนักงานไทย”
(ผูจัดการฝายปฏิบัติการ, อายุ 51 ป, วันที่สัมภาษณ 28 พ.ค. 58)
4.5.2 การอบรมสอนงาน
การอบรมสอนงาน ในปจจุบันเปดโอกาสใหแรงงานขามชาติมากขึ้น โดยการใช
ภาพเปนสื่ออธิบาย เพื่อใหเขาใจขั้นตอนการทํางาน เชน การตีลัชชิ่ง (Lashing) เพื่อปดประตูตู การปู
กระดาษปองกันไมใหพื้นตูคอนเทนเนอรสกปรก จะชี้ใหเห็นดวยภาพ จะมีการอบรมกอนเริ่มงาน การ
สาธิต ทั้งในหองอบรม และหนางานอยางนอยสัปดาหละหนึ่งครั้ง โดยผานหัวหนางานฝายปฏิบัติการ
หัวหนาสายก็มีหนาที่ถายทอดความรูใหแรงงานที่เปนลูกนองเขาใจ เพื่อเปนการตอกย้ํา และอบรมคน
ใหม ใหรูเสมอกัน แตไมมีคูมือใหเพราะบริษัทไมพรอมเรื่องการแปลภาษา จะมีระเบียบบริษัทแจกให
เฉพาะแรงงานไทย แตสําหรับคูมือความปลอดภัย ไมมีใหทั้งแรงงานไทยและแรงงานขามชาติ
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“เปดโอกาสใหแรงงานตางชาติมากขึ้น โดยการสื่อผานภาพ เรา
จะชี้ ให เค า เห็ น ด วยภาพ จะมี ก ารอบรมในห อ งอบรม และสอนงาน อย างน อ ย
สั ป ดาห ล ะครั้ ง สํ า หรั บ คู มื อ นั้ น ทํ า ไม ได เลย เพราะเรายั ง ไม พ ร อ มเรื่ อ งภาษา
ปจจุบันก็พยายามศึกษา และใชคําที่งายๆ ในสวนแรงงานก็จะมีคูมือระเบียบบริษัท
แตสําหรับคูมือความปลอดภัย เราก็ยังไมมีใหทั้งแรงงานไทยและแรงงานขามชาติ”
(ผูจัดการบริษัทผูรับเหมา, อายุ 56 ป, วันที่สัมภาษณ 29 มิ.ย. 58)
ดังนั้นอุปสรรคของภาษาสงผลกระทบในเรื่องการอบรมสอนงานใหแกแรงงาน
กัมพูชา เพราะแรงงานมีความเขาใจคําพูดภาษาไทยบางคน และสืบเนื่องจากการจางแรงงานเปนงาน
เหมาทําใหมีขอจํากัดในเรื่องเวลาที่จะใชในการอบรม เพราะแรงงานตองทํางานแขงขันกับเวลาเพื่อให
ไดรายไดมากขึ้น ถาขี้เกียจทํางานไดปริมาณตูนอย รายไดก็จะลดลงดวย
46

บทที่ 5
ผลการวิจัย: การรับรูความเสี่ยง และประสบการณอุบัติเหตุ
ของแรงงานขามชาติกัมพูชา

การศึกษาครั้งนี้เก็บขอมูลจากการสัมภาษณ เชิงลึก ตามแบบสอบถามที่กําหนดจาก


ผูเขารวมวิจัยซึ่งเปนแรงงานขามชาติกัมพูชา จํานวน 20 คน ประกอบดวยเพศชาย 12 คน และเพศ
หญิง 8 คน แบงตามหนาที่ ไดแก ทําหนาที่หัวหนาสาย 6 คน ลัชชิ่ง 2 คน และแบกสินคาเขา และ
ออกจากตูคอนเทนเนอร 12 คน

5.1 การรับรูความเสี่ยง (Risk Perception)

แรงงานขามชาติกัมพูชามีความคิดเห็นเกี่ยวกับความเสี่ยงแบงออกเปน 3 ดาน ไดแก


ดานสุขภาพรางกาย ดานสภาพแวดลอมในการทํางาน และดานการใชเครื่องมือเครื่องจักร แรงงาน
ขามชาติกัมพูชารับรูความเสี่ยงและอันตรายแตละดานขึ้นอยูกับลักษณะงานที่ทําวามีอะไรเปนปจจัยที่
ทําใหแรงงานกลัว และกังวล เชน แรงงานที่ทํางานบนรถบรรทุก ก็จะกลัวตกจากรถบรรทุก แรงงานที่
แบกสินคาขนถายเขาตูคอนเทนเนอรกลัวรถโฟรคลิฟท เปนตน

5.1.1 ดานสุขภาพรางกาย
การรับรูความเสี่ยงดานสุขภาพรางกายพบวาแรงงานรูวามีสภาพรางกายไมพรอม
ทํางาน เชน มีอาการปวดหัว ตัวรอน เปนหวัด แตยังคงทํางานเพื่อตองการรายได ถาเจ็บปวยใน
ระหวางทํางานจะขอยาจากออฟฟศมารับประทานและกลับไปทํางานตอ และบางคนเลาวาถามี
อาการปวดหัวตัวรอนขณะอยูที่หองพักจะซื้อยาตามรานขายยา หรือรานขายของชํามารับประทาน
บรรเทาอาการปวด เพื่อที่จะสามารถไปทํางานในวันรุงขึ้นได เนื่องจากไดรับคาจางเปนงานเหมา
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“เวลาลู ก น องไม ส บาย ก็ ซื้ อทิ ฟ ฟ หรือ ยาพาราที่ รานยายจํา ป
(รายขายของชําแถวที่พัก) ใหลูกนองกิน เขากินเสร็จนอนพักก็หายเลย แตผมไม
เคยกินเลย ก็ดูแลตัวเองดีๆ ทํางานมา 20 ป ไมเคยปวดหัวตัวรอนเลย”
(เทือน, อายุ 45 ป, วันที่สัมภาษณ 13 ธ.ค. 57)
“ผมไมเคยกินยาเลย ไมเคยเปนอะไร บัตรโรงบาลก็มีอยู แตไม
เคยไป เราตองตั้งใจทํางาน ผมกินเหลาแตหลังเลิกงาน ไมใชทําไปกินไป ตอนเชา
กินขาวอิ่มแลวมาทํางาน ไมกินเลยที่ทํางาน เพราะถาเมาก็ทํางานไมได เงินก็ไมได”
(ดํา, อายุ 36 ป, วันที่สัมภาษณ 21 ก.พ. 58)
47

มีแรงงานที่ไปทํางานที่อื่นในวันหยุด โดยใหเหตุผลวา อยากทํางานเยอะๆ โดย


ดูแลรางกายใหแข็งแรงเลิกบุหรี่ และเหลา มานานกวา 25 ป เพราะถาเปนโรคปอดทํางานก็จะทําให
เหนื่อยงาย ถาไมกินเหลา ไมสูบบุหรี่ รางกายจะสามารถทํางานไดเต็มที่ตลอด 24 ชั่วโมง
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ผมชอบทํ างานเยอะๆ งานน อยไม เอา ตั งคมัน ไม พ อคาใหลู ก
เรียนอะ แตอยูที่นี่ก็ปดตู ทํามา 2 ปแลว เวลาวันหยุด ก็ไปรับจางทํางานกอสราง
วันละ 400-500 บาท ก็ไมคอยไดพักผอน มาหาเงิน ก็ทํางานเยอะ ไมสูบบุหรี่ ไม
กินเหลา เลิกมานานแลว 25 ปกอนมาประเทศไทยก็ถาเรากินปบทําใหรางกายไม
แข็งแรง บุหรี่นี่สําคัญเปนโรคปอดแลวทําอะไรก็เหนื่อย กินขาวอยางเดียว”
(สมุทร, อายุ 42 ป, วันที่สัมภาษณ 20 พ.ย. 57)
จากการสัมภาษณพบวามีแรงงานหญิงที่ตั้งครรภ 1 คน ทํางานเปนหัวหนาคุม
แรงงานกั ม พู ชาขนถ ายสิ น ค าจากโกดั งไปยังรถบรรทุ กสิ นค า ในระหวางตั้งครรภ มี โรคประจําตั ว
คือ โรคหัวใจ มีความกังวล กลัวเปนลมและอาจจะเดินตกโกดัง ก็จะไดรับอันตรายทั้งตัวเอง และลูกใน
ทอง และเปนหวงเพื่อนรวมงานที่ไมสบายวาจะตองบอกใหหัวหนาทราบ เพื่อจะไดปองกัน เพราะ
ทํางานบนโกดังอันตรายถาทํางานในเวลาที่ไมสบาย กลัวแรงงานดินแลวเปนลมตกโกดัง
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“หนูมีโรคประจําตัว โรคหัวใจ เขาก็จะใหหนูผาตัด แตกําลังทอง
หนูจะรอคลอดลูกเสร็จกอน หมอเขาสั่งไมใหหนูเครียด อยาใหคิดมาก ถาเราเครียด
มันจะเปนเยอะ หนูก็กลัวเรื่องหนามืด เพราะบนโกดังมันสูง เวลาตองออกไปคุม
คนงานยกของ แตพอดีแฟนหนูทํางานดวยกัน ก็ใหเขาไปชวยดูคนงานแทน แตนี่
หัวหนาจะใหหนูหยุดงานตอนแปดเดือน เพราะเขากลัวหนูไดรับอันตราย”
(สา, อายุ 28 ป, วันที่สัมภาษณ 13 พ.ย. 57)
แรงงานกัมพูชาหญิงอีกคนพบวาปวยเปนวัณโรค ตองกินยาทุกวัน ไมเคยหาหมอ
ที่ประเทศไทย ตองกลับไปเอายาที่บาน โดยใหเหตุผลวากลัวตํารวจ ถึงแมจะมีใบอนุญาตทํางานอยาง
ถูกตอง
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ไมกลาไปหาหมอไทย กลัวตํารวจ ถามีคนพาไปก็ไมไป ไมอยาก
ไป มีอาการไอๆ (ถามหัวหนาจึงรูวาเปนวัณ โรค) ไปเบิกยามาแตละครั้งจะกินได
ประมาณ 6 เดือน เปนตั้งนานแลวแตไมรู เวลาไมสบายหนักไปหาหมอก็ตรวจแลว
จึงรูวาเปนวัณ โรค ไมทราบวาเปนไดยังไง ตองกินแยกคนเดียว เพราะสงสารลูก
สงสารผัว”
(ตรี, อายุ 40 ป, วันที่สัมภาษณ 21 ก.พ. 58)
48

5.1.2 ดานสภาพแวดลอมในการทํางาน
การรับรูความเสี่ยงดานสภาพแวดลอมในการทํางาน จากการสัมภาษณแรงงาน
กลาวถึงอันตรายทางกายภาพ เชน การทํางานที่สูง, การยกของหนัก, เครื่องมือเครื่องจักร ไดแก
รถตัก และรถใหญ, รถบรรทุกสินคา และตูคอนเทนเนอร อันตรายทางการยศาสตร เนื่องจากการ
ทํางานหนักเปนระยะเวลาที่ยาวนานนั้นสงผลกระทบทําใหมีอาการเจ็บปวยจนไมสามารถทํางานตอได
เมื่ออายุมากขึ้น
5.1.2.1 อันตรายจากสภาพแวดลอมทางกายภาพ
แรงงานมี มุ ม มองด า นอั น ตรายทางกายภาพ ได แ ก รถโฟร ค ลิ ฟ ท
รถเครื่องมือยกตูคอนเทนเนอร รถบรรทุก และสินคาหลนใส แรงงาน 15 คนกลาวถึงรถโฟรคลิฟท
หรือที่แรงงานเรียกวารถตัก เพราะเปนเครื่องจักรหลัก และมีจํานวนหลายคันในพื้นที่การทํางานขน
ถายสินคาเขา และคัดแยกสินคาออกจากตูคอนเทนเนอร แรงงานมีมุมมองวารถโฟรคลิฟทขับเร็ว
และคนขับจะมองไมเห็นในระหวางที่ขนถายสินคา ซึ่งบางคันคนขับไมไดดูซายดูขวาระหวางทํางาน
เลย เหยียบคันเรงอยางเดียว และรถโฟรคลิฟทเคลื่อนที่คอนขางเร็วเนื่องจากมีขนาดเล็ก เรงรีบใน
การทํางานเนื่องจากลูกคาตองการใหดําเนินการใหเสร็จสิ้นโดยเร็วในแตละวัน หากแรงงานเดินไมดู
ก็อาจจะถูกชนได โดยที่หัวหนาแรงงานจะตองคอยบอกแรงงานดวยกันอยาเขาไปใกลรถโฟรคลิฟท
อยางเด็ดขาดมันอันตราย แรงงาน 10 คนพูดถึงรถเครื่องมือยกตูหรือรถใหญ แตมีแรงงาน 1 คน ที่พูด
ถึงรถบรรทุก เพราะเขาเคยไดรับอุบัติเหตุจากรถบรรทุกสินคา ทําใหเขาระวังขณะทํางานเกี่ยวกับ
รถบรรทุกสินคา และแรงงาน 3 คน กลัวสินคาหลนมาใส
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“เราก็ ตอ งระวังตั วเองนั่ น หน ะ เวลารถตัก เขาขั บ เราต อ งระวั ง
ตัวเอง เขาขับไปทางไหนเราก็ตองแอบๆ กอนเราไมตองเดินและตองเดินชาๆ คอยดู
ดูรถตักดวย แคนั้นหนะ ตองระวังตัวเอง เพราะวารถมันวิ่งเร็ว เราตองดูซายดูขวา”
(สมุทร, อายุ 42 ป, วันที่สัมภาษณ 20 พ.ย. 57)
“หนู ก็ ไม รูเหมื อนกั น ที่ อัน ตราย ยั งไงเราก็ ตองระวังเรื่องรถตั ก
เรื่องพาเลท เวลาดูของ แลวก็ระวังตัวเราใหดี อยาใหเปนเหมือนอุบัติเหตุอะไรที่
เกิดขึ้น เพราะวาคนขับรถไมไดมองแรงงานที่ทํางานอยูเพราะเขากําลังทํางาน สวน
แรงงานเองก็มัวแตทํางานไมไดมองเชนเดียวกัน ก็เสี่ยงที่จะทําใหเกิดอุบัติเหตุได”
(สา, อายุ 28 ป, วันที่สัมภาษณ 13 พ.ย. 57)
“อันตรายที่สุดในการทํางาน คือ พวกรถตักนี่แหละ นี่ไอชางผม
เตือนมันทุกวัน เดินตัดหนาตัดหลัง เขามองไมเห็นนะชนนะนั่น เพราะเวลาเขาตัก
มา เขามองไมเห็นใชปะ เวลาเขาดันปบ เราตองหลบกอน ไมใชเดินสะเปะสะปะ
เดี๋ยวโดนนี่ โดยเฉพาะที่ขานี่แหละขาดเลย”
(ดํา, อายุ 36 ป, วันที่สัมภาษณ 21 ก.พ. 58)
49

ภาพที่ 5.1 รถโฟรคลิฟท (Forklift) หรือรถยกสินคา เปนเครื่องจักรที่ทําหนาที่


ยกสินคาทีม่ ีนา้ํ หนักเยอะแทนแรงงานคน

รถใหญ หรือรถเครื่องมือยกตูคอนเทนเนอร คนขับรถเครื่องมือจะเขามา


ทําหนาที่ยกตูเขามาเพื่อเตรียมใหแรงงานบรรจุสินคาเขา และคัดแยกสินคาออก เมื่อบรรจุหรือคัด
แยกสินคาเสร็จสิ้นก็จะเขามาเพื่อยกตูคอนเทนเนอรดังกลาวไปเก็บไวในกองลานตูคอนเทนเนอร จึง
เปนเครื่องจักรอีกประเภทหนึ่งที่เขามามีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ที่แรงงานขามชาติทํางาน โดยแรงงาน
10 คน กลัวเวลาพนักงานขับรถเครื่องมือยกตูเขามาใกล เพราะมีลักษณะใหญมาก และกลัวพนักงาน
ขับรถมองไมเห็น อาจจะเฉี่ยวชนได เพราะวาแรงงานไมรูวาพนักงานขับรถจะขับไปในทิศทางไหน คน
ที่เปนหัวหนาก็จะตองคอยบอกลูกนองวาอยาเขาไปใกลกับรถใหญ เพราะถายิ่งอยูใกลก็จะยิ่งอันตราย
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“เห็นรถมาเราก็ตองหลบใหรถเขาไปกอน ก็ตองระวังตัวเอง ตอง
ประหยัด เวลาเราเดินตองหันหนาหันหลังมองดวย เวลาเราเดินไปเขามองกระจก
หลังไมเห็น ไมตองเดินไปเดินมา ถาไมมีงานก็นั่งอยูเฉยๆ จะตองบอกลูกนองอยางนี้
เพื่อไมใหเกิดเหตุ”
(สมนาง, อายุ 35 ป, วันที่สัมภาษณ 9 ก.พ. 58)
50

ภาพที่ 5.2 รถเครื่องมือยกตูคอนเทนเนอร เปนเครื่องจักรที่ทําหนาที่ยกตูคอนเทนเนอร

“ก็กลัวรถอยางเดียว กลัววารถจะเหยียบกลัวเวลาเขายกตู เวลา


ทํางานไมไดดู เวลาเขายกมา อยาเขาไปใกล ไมไดเลยนะ หรือยืนที่ชองวางๆ ระวัง
นะ เขาวางมาไมรู อาจจะกระแทกทําใหบาดเจ็บได เรามาทํางาน ถาเปนอะไรไปก็
ไมมีเงิน ตองกลับบาน”
(ตรี, อายุ 40 ป, วันที่สัมภาษณ 21 ก.พ. 58)
แรงงานอี ก สองคนกลั ว ในระหว างที่ ร ถยกตู ค อนเทนเนอร เข า มาก็ คื อ
แรงงานกัมพูชาดวยกันจะเขาไปแยงตูกัน เพื่อที่จะไดตูกอนแรงงานคนอื่น จะไดรีบทํางานใหเสร็จ
เพราะถาเสร็จกอนก็จะไดกลับบานกอน โดยมองขามไปวาขณะที่รถเครื่องมือยกตูมานั้นมีอันตราย
แฝงอยู เพราะพนักงานขับรถไมไดมองเห็นในขณะที่แรงงานวิ่งเขามา เนื่องจากพนักงานขับรถจะตอง
มองตูที่ยกอยูตลอดเวลา และแรงงานก็ไมไดระวังเนื่องจากสนใจเฉพาะตูคอนเทนเนอร
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ก็เวลาเขาจับตูมา ก็ตูมันไมคอยมีใชปะ นานๆ จะมาสักที เราก็มี
กันหลายคน ใครแยงไดกอนก็ไดทํางานกอน เสร็จกอนก็กลับกอน ใครชาไมทันก็
ตองคอยไป บางคนอยากไดกอนอะ ไดกลับบานกอน ขี้เกียจรอดึก บางตูเขาจับยัง
ไมครบ มัน 10 ใบแบบนี้เขาจับมา 5 ใบตองไปแบงอีก 5 ใบมากอนทําใหตองมา
แยงตูกัน จริงๆ หัวหนานาจะแบงตูมาเลยวาใบไหนของใคร”
(นัท, อายุ 23 ป, วันที่สัมภาษณ 2 ก.พ. 58)
51

รถบรรทุกเปนอีกปจจัยหนึ่งที่มีความเสี่ยงในพื้นที่การทํางานของแรงงาน
เพราะแรงงานจะตองขนถายสินคาที่บรรจุมากับรถบรรทุก โดยเฉพาะแปง และขาว เพื่อขนถายสินคา
ดังกลาวเขาตูคอนเทนเนอร และจะตองคัดแยกสินคาออกจากตูคอนเทนเนอรไปยังรถบรรทุก ซึ่ง
แรงงานที่เคยประสบอุบัติเหตุเกี่ยวกับรถบรรทุก ก็จะกลัวเพราะไมมีคนเคยบอกถึงวิธีการทํางานที่
ถูกตองเกี่ยวกับรถบรรทุก เปนงานชวยเหลือพนักงานขับรถที่มาสงสินคา
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“กลัวที่สุด บางครั้งก็รถอะ เปดทายรถ ปดทาย เวลาปดทาย กลัว
มัน เวลายกไปอะ บางครั้งก็แรงไมพอก็อาจ มันนี่กลับมาไง แลวเหมือนเทรเลอรขึ้น
แป ง ขึ้น ไปขางบนอะ เวลาหยอนลงมาก็กลัวลื่น กลัวเวลาเขาหยอนลงมาก็เกิด
อันตรายได แลวเวลาเรายกของไปอะ ก็กลัวมันทับตีน”
(รักษา, อายุ 23 ป, วันที่สัมภาษณ 2 ก.พ. 58)
“โฟรคลิฟท ไมเปนอันตรายเพราะเราไมไดทํางานเกี่ยวกับโฟร
คลิฟท แตกลัวฝารถบรรทุกตองบอกคนเปดใหระวังดีๆ เพราะตอนที่มาทํางานตอน
แรกก็ไมรูวาตองทําอะไร ตอนยกก็เลยยกคนเดียว คนขับรถบรรทุกไมมาชวย แลวหู
ของฝากระบะขาด มันเลยหลนมาใสเทา”
(ทาน, อายุ 20 ป, วันที่สัมภาษณ 13 ธ.ค. 57)
แรงงาน 3 คน กลัวเรื่องความสูงของสินคา อยางเชนกรณี สินคาประเภท
แปงซึ่งทางโรงงานผูผลิตใสมาเต็มรถบรรทุกเพื่อใหคุมกับคาขนสง ถาสายรัดขาดและแปงพังลงมาก็จะ
เปนอันตรายทั้ งคนเกี่ยวแปงและแรงงานที่รอรับอยูดานลาง และถาเกี่ยวไมดีแปงขนาดใหญ ซึ่งมี
น้ําหนักประมาณ 50 กิโลกรัม กลัวรวงหลนมาทับขาได คนที่แบกแปงจะตองระวังคนที่เกี่ยวแปงบน
รถดวย เพราะมันลื่นก็ทําใหแปงไหลลงมาได ก็ตองใหคนที่อยูดานลางคอยๆ ทํางานอยางระวัง และ
อีกปจจัยคือถาคนที่อยูบนรถบรรทุกเกี่ยวมาไมพอดี ก็ทําใหแรงงานแบกที่อยูดานลางเสี่ยงกับการยก
ผิดทา และแปงอาจจะรวงลงทับไดเชนเดียวกัน
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“อันตรายก็มีเวลาทํางานรถแปงมันสูง เวลาทํางานเราก็ตองระวัง
ถาแปงหลนลงมาใสคนที่อยูขางลาง ก็ทําใหบาดเจ็บได เพราะวา น้ําหนักแปงเยอะ
ถุงละประมาณ 50 โล ก็ยิ่งอันตรายทั้งคนเกี่ยว และคนแบก ตองประหยัดๆ”
(สมนาง, อายุ 35 ป, วันที่สัมภาษณ 9 ก.พ. 58)
“คนขางบนหนะ ใหเขาทํางานใหระวังอยาใหแปงมันหลนมา นี่ถา
แปงหลนมาก็ตกทั้งคนทั้งแปง เดี๋ยวไมระวังเขาก็ตองตกมาได เขาก็เปนเหมือนเรา
ได แตคนขางลางมันก็โดนไดนะ เราก็ตองบอกเขาใหทํางานคอยๆ และระวังดวย
อยาใหแปงมันไหลลงมา อยาใหแปงมันอะไรอยางงี้”
(สิทธิ์, อายุ 23 ป, วันที่สัมภาษณ 19 พ.ย. 58)
52

5.1.2.2 อันตรายจากสภาพแวดลอมทางการยศาสตร
แรงงานขามชาติกลุม นี้มีลักษณะการทํางานที่ เกี่ยวของกับท าทางการ
ทํางานที่ไมเหมาะสม การทํางานซ้ําซาก เปนความเสี่ยงที่นําไปสูการเกิดอุบัติเหตุ หรือการเจ็บปวย
จากการทํางาน เชน การเกี่ยวแปง จะตองกมๆ เงยๆ และลากแปงมาใหแรงงานที่อยูดานลาง และ
การยกของหนักเปนระยะเวลานาน ก็จะทําใหปวดขา ปวดเขา สุดทายก็จะบาดเจ็บจนทํางานยกของ
ไมได
ภาพที่ 5.3 แรงงานกําลังเกี่ยวแปง ใหแรงงานแบกแปง

ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“พี่สาวเขาเพิ่งมาปวดตอนทํางานอยูที่นี่ เขาทํางานยกของหนัก
ตอนอยูประตู 4 เขาทํางานหนักมาก แลวเขาก็ปวดหลัง ปวดเขา ตอนนี้ก็ทํางาน
ไมได”
(สา, อายุ 28 ป, วันที่สัมภาษณ 13 พ.ย. 57)
“ที่ชัยพรงานเขาเยอะไง คนเขาก็เยอะ แลวงานก็ทําหลายที่ดวย
มีทั้งเครื่องจักร สายพาน และอุปกรณอะไรหลายอยาง สายพานอันตรายแตก็ชวย
ใหแรงงานไมตองยกของหนัก เวลาแบกอะไรตออะไรก็เจ็บหลัง อยางพอแมผมมา
ทํางานหลายป ตอนนี้ทํางานไมไดก็ตองกลับไปอยูบาน”
(รักษา, อายุ 23 ป, วันที่สัมภาษณ 2 ก.พ. 58)
53

5.1.3 ดานการใชเครื่องมือเครื่องจักร
ในพื้นที่ทํางานบางจุดมีปายเตือนอันตรายในการทํางาน เชน ปายอันตรายจาก
รถยกสินคา ปายระวังสินคาหลน แรงงานที่เกี่ยวแปงจะใชอุปกรณตะขอเกี่ยวสําหรับเกี่ยวกระสอบ
สินคา ซึ่งผูที่ใหความรูในการใชเครื่องมือคือหัวหนาสายแรงงานที่เปนแรงงานกัมพูชาดวยกัน กรณี
แรงงานปดประตูจะตองใชคอนปดประตู แรงงานใชทักษะความรูที่มีจากประสบการณ
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“สามีเปนคนสอนการใชตะเกาให ก็จะโดนตะเกาเกี่ยว เพราะรีบ
ทํางาน บางทีแปงก็อยูสูงทําใหเกี่ยวลําบาก แตลูกคาบางคนก็ไมใหใช ตองใชมือดึง
กวาจะเต็มตูก็เจ็บมือ แตหนูก็ชอบทํางานแปง เพราะเสร็จเร็ว ก็ไดเงินเยอะ สวน
ใหญก็เรียนรูเองจากการทํางาน แตกอนทํางานกอสราง พอเปลี่ยนมาทํางานที่นี่ก็
สอนตอๆ กันมา”
(จันทร, อายุ 22 ป, วันที่สัมภาษณ 13 ธ.ค. 57)
“เวลามันตีไมล็อกสินคาภายในตู ก็ตีโดนมือ เพราะลักษณะการ
ทํางานตองใชความรูประสบการณแตละประเภทสินคา ผมก็ตองเรียนรูเอง เพราะ
แตละตูใชอุปกรณในการปดตูไมเหมือนกัน”
(สิทธิ์, อายุ 23 ป, วันที่สัมภาษณ 19 พ.ย. 57)

5.2 การรับรูเรื่องการสวมใสอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคล (Personal Protective Equipment)

สําหรับแรงงานขามชาติกัมพูชา บริษัทผูรับเหมาจัดเสื้อสีสดใหคนละ 2 ตัวในวันแรกที่


เริ่มทํางาน และหลังจากนั้นไมมีการจัดอุปกรณความปลอดภัยให แรงงานกัมพูชาหลายคนรับรูวาการ
สวมใสอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลเปนวิธีปองกันการบาดเจ็บจากอันตรายโดยแรงงานกลุมนี้คือคน
ที่เคยทํางานในโรงงานที่มีกฎระเบียบเขมงวดเรื่องการสวมใสอุปกรณ และแรงงานขามชาติที่ทํางาน
สัมผัสโดยตรงกับอันตรายก็จะใหความสําคัญเชนเดียวกัน ในขณะที่แรงงานกัมพูชาที่ไมเคยสวมใสก็จะ
ไมมีการรับรูในเรื่องนี้ และปฏิเสธวาอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลทั้งรองเทาหัวเหล็ก และเสื้อสะทอน
แสงสามารถปองกันอุบัติเหตุได
ดังเชน แรงงานที่เปนหัวหนาที่คุมบนโกดังซึ่งทํางานตลอดเวลากับรถโฟรคลิฟท และขน
ถายสินคาจากโกดังไปยังรถบรรทุกใหความสําคัญ กับการสวมใสอุปกรณ คุม ครองความปลอดภัย
หัวหนาโกดังที่เปนแรงงานกัมพูชาจะตองบอกกับแรงงานวาตองใหเขาใชรองเทาอะไร ตองดูแลตัวเอง
ไมใหไดรับอันตราย เชนเดียวกับแรงงานที่ทําหนาที่ปดประตูตู ก็มีความคิดเห็นเชนเดียวกันวาถาไม
สวมใสรองเทา ถามีสิ่งของแหลมคมก็จะทิ่มตําเทาได ซึ่งในระหวางสัมภาษณสังเกตวาเขาใสรองเทา
หัวเหล็กมาทํางาน เพราะรับรูวางานที่ทํามีเหล็ก ตะปู จึงหาซื้อรองเทาจากตลาดซึ่งเปนรองเทามือ
สองมาสวมใสเพื่อปองกันเทาไดรับบาดเจ็บ
54

ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ใส รองเท านิ รภั ย หั วเหล็ ก ก็ ป ลอดภั ย แต ผ มไม เคยใส เพราะ
ทํางานไมสะดวก แตถาใสทุกวันก็ชินอะ เสื้อก็ใสไดหมดแหละ ถามี แตบริษัทตอง
จัดใหหนูใสนะ ก็แลวแตกฎโรงงาน เขาใหทํายังไงเราก็ทําตามนั้นใหใสก็ใสแหละ
โอยตอนผมอยูโรงงานมีทั้งชุดเลย แตโรงงานเขาจัดให”
(รักษา, อายุ 23 ป, วันที่สัมภาษณ 2 ก.พ. 58)
ในขณะที่หัวหนาสาย ที่ตองทํางานเรงกับเวลาเพื่อใหไดปริมาณงานที่เยอะ กลับเห็นวา
การสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล นั้นทําใหทํางานยาก
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ผมเคยทํางานที่เกาก็ใสรองเทาหัวเหล็ก แตทําใหแบกแปงยาก
เจ็บเทา มันเดินยาก เพราะวาแบกแปงหนัก เพราะถาใสรองเทาหัวเหล็กไมสามารถ
ทํ า งานหนั ก ได ถึ ง แม ว า จะทํ า ให ป ลอดภั ย ก็ จ ริง เพราะถ า ฝนตกเราก็ ต อ งถอด
รองเทาออก เขาปูกระดาษในตูก็ใสรองเทาไมได ทําใหสกปรกพื้นตู”
(ทาน, อายุ 20 ป, วันที่สัมภาษณ 13 ธ.ค. 57)
“ใหเขาใสอะไรก็ได เพราะอยู ประตู1 ก็ใสรองเทาหัวเหล็ก รูสึก
วาหนัก หากตองปนขึ้นไปเกี่ยวแปงที่สูงๆ หรือแบกแปงไปวางในชั้นสูงขึ้นไปขางบน
มันไมสะดวก ถาเปนรองเทาผาใบจะสะดวกในการทํางานมากกวา เพราะรองเทา
หัวเหล็กเหมาะสําหรับเดินทั่วๆ ไป ไมไดปนกองสินคาในระหวางขนถายสินคา”
(เทือน, อายุ 45 ป, วันที่สัมภาษณ 13 ธ.ค. 57)
“ไมชอบใสเพราะมันเจ็บ ใสรองเทาหัวเหล็ก ใสทํางานได แตใส
แบกแปงไมไดหรอก เพราะตอนแบกแปงมันลื่น เดินลําบาก และถึงแมจะเปนผาใบ
ก็ใสไมไดเชนเดียวกัน แตถาใหใสเสื้อไมเปนไร ถาใสรองเทาดวยไมไดหรอก”
(สมนาง, อายุ 35 ป, วันที่สัมภาษณ 9 ก.พ. 58)

5.3 อุบัติเหตุที่เคยเกิดขึ้นกับแรงงาน

จากการสั ม ภาษณ ผู เข า ร ว มวิ จั ย ทั้ ง หมด พบว า มี ผู ที่ เคยเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ ใ นสถาน
ประกอบการ 4 ราย เปนการบาดเจ็บเล็กนอยไมถึงขั้นหยุดงาน สาเหตุของอุบัติเหตุเกิดจากการ
กระทําที่ ไมปลอดภัย 2 ราย คือ ตีฆอนปดประตูคอนเทนเนอร ทําใหฆอนตีโดนนิ้ว และดึงสินคา
ทับเทา สวนอีก 1 ราย เกิดจากสภาพแวดลอมไมปลอดภัย คือ พื้นลื่นเพราะกอนหนาที่จะเขาไป
ทํางานนั้นมีฝนตก ทําใหลื่นแลวขาไปกระแทกประตูตูคอนเทนเนอร และอีก 1 ราย นองสาวเคยเกิด
อุบัติเหตุตกจากรถบรรทุกสินคา
55

ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“นิดเดียวครับ มันแบบมองไมเห็น แตก็ไมเปนไร ผมนี่แหละทํา
ตัวเอง ก็ผมปดไป ผมไมไดดู ไมระวังก็โดนมือ โดนเทา เลือดออกซึมๆ ก็ไมไดแจง
ใครครับ เปนความผิดของผมเอง ก็ตองประหยัดๆ”
(สิทธิ์, อายุ 23 ป, วันที่สัมภาษณ 19 พ.ย. 57)
“ผมทํางานมาหลายป แตเคยเกิดอุบัติเหตุครั้งเดียว ไมเคยหยุด
งาน ตอนนั้นผมจะเขาไปปดตูแลวกระดานมันลื่น เพราะวาฝนตกไง โดนนิดเดียว
มันไมระวังตัวเอง ขาไปกระแทกประตูตูคอนเทนเนอร เลือดออกนิดนึง ก็รีบเอายา
มาทา”
(สมุทร, อายุ 42 ป, วันที่สัมภาษณ 20 พ.ย. 57 )
“อุบัติเหตุ มีดึงพาเลท มีชนมีเจ็บบางแหละ แตไมเปนไรมาก ก็
เกิดไดเวลาทํางาน คือวาเราตองตั้งใจทํางานกอน พอเลิกไปแลวคอยกินเหลา ไมใช
ทําไปกินไป ผมไมกินเลยที่ทํางาน ตอนเชาก็กินขาวใหอิ่ม ตอนไหนทําเลยเที่ยง ก็
จะไดไมตองรีบทํา”
(ดํา, อายุ 36 ป, วันที่สัมภาษณ 21 ก.พ. 58)
“ไมเคยเกิดนะ แตนองแฟนเคยเกิดนะ นองหันหลังแลวก็ตกจาก
รถขาพลิก เปนเมื่อ 2-3 อาทิตยที่แลว (นองทํางานมา 5 ป) ตอนแรกหนูก็ไมรู แต
ตอนกลับบานแลวมันถึงบอกแตนองแฟนไมไดอยูสายหนูนะ อยูกับพี่แฟน เห็นมัน
เดินขากะเผลก หนูก็เลยถามวาขาเปนอะไร บอกตกจากรถ มันบอกไมเปนอะไร
มาก แคเจ็บขานิดหนอย ก็มันก็กินยาแกปวดมันก็หาย”
(จันทร, อายุ 22 ป, วันที่สัมภาษณ 13 ธ.ค. 57)

5.4 ประสบการณเรียนรูอุบัติเหตุจากอดีต

แรงงานที่เคยเกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานจากสถานประกอบการเกา มี 2 ราย แรงงาน


ขามชาติไดเรียนรูจากอดีต ทําใหเมื่อมาทํางานในสถานประกอบการจะกลัว และระวังอันตรายจากภัย
คุกคามที่เคยประสบเหตุ ทั้งสองรายเกิดอุบัติเหตุจากสาเหตุสภาพแวดลอมที่ไมปลอดภัย คือ ไมไดรับ
การอบรมสอนงานการเปดฝากระบะทายรถ และสภาพพื้นที่การทํางานเกะกะ
แรงงานคนแรกเลาวาหัวหนางานไดพาไปโรงพยาบาลทันทีที่ประสบเหตุ และรับผิดชอบ
ค าใช จ ายให ในตอนนั้ น เขามี อ ายุ 18 ป และในระหวางที่ พั ก รัก ษาตั วเขาไม ได รั บ ค าจ าง แต เขา
จําเปนตองพักรักษาตัวที่ประเทศไทยนานหนึ่งเดือนเพราะขาหัก และไมสามารถชวยเหลือตัวเองได
และอยากจะกลับไปพักรักษาตัวที่ประเทศบานเกิดแตไมยังไมสามารถเดินเองได และพักอาศัยอยูกับ
นองสาว ดังนั้นจึงตองรอใหเดินได ดังนั้นทันทีที่เดินไดแตยังไมหายเพราะตองเขาเฝอกจึงกลับไปอยู
บาน เพราะกลับไปอยูบานไมคาใชจายเทากับพักอยูที่ประเทศไทย
56

ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ผมเคยอะ ตอนอยูที่เกา กระบะทายรถ มันรวงลงมาโดนขา เจ็บ
เจ็บ มาก ขาหัก เพราะวาไมเคยเปดรถแปงไง เปดแลวดึงออกมาเลย คนขับรถอยู
ทายรถตอนนั้น ดึงแตผมคนเดียว ทําใหฝาขางรถหลุดลงมาเลยทั้งสี่หู ก็ 200 โล
หลนลงมาใหเทาเดียว หัวหนาผมแหละที่พาไปหาหมอ ตอนนั้นยังไมมีบัตรเลย พึ่ง
ไดเนี่ย หัวหนาก็จายเงินคารักษาให ไมไดหักตังคยอนหลัง เขาเฝอกแลวก็หยุดพัก
เปนเดือนเลย จนตองกลับไปหาแมประมาณ 3-4 เดือน หลังกลับมาทํางานไดกลับ
เขาไปทํางานอีก 2 เดือน แลวก็ยายมาอยูที่นี่ เพราะวางานเยอะกวา และผมอยาก
ทําแปงอยางเดียว มันเหนื่อยแตเสร็จเร็ว”
(ทาน, อายุ 20 ป, วันที่สัมภาษณ 13 ธ.ค. 57)
ในขณะที่อัสมัน เคยโดนเหล็กเสียบในระหวางที่อยูรานรับซื้อของเกา เพราะรานของเกา
วางสิ่งของ และอุปกรณตางๆ เรียงรายเต็มพื้นที่ทําใหมีความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุ แตในกรณีนี้
เฒ าแก พ าไปหาหมอ และค อนข างรูจักกั บ เจาหน าที่ ทํ าให อัส มัน ไม กลัวโดนจับ ถึงแม จะไมมี บั ต ร
ประจําตัว เพราะเฒาแกชวยเหลือดูแล และรับผิดชอบคาใชจายรวมถึงจายคาแรงใหครึ่งนึงในระหวาง
ที่พักรักษาตัว แตหลังจากนั้นก็ลาออกมาอาศัยอยูกับลูกพี่ลูกนองที่นี่ เพราะทํางานที่นี่มีความเสี่ยง
นอยกวา และไดเงินเยอะกวา เพราะรับเหมาเปนตูคอนเทนเนอร และพี่ก็ตองการแรงงานมาชวย
ทํางาน
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“เคยตกรถลงมาโดนเหล็ก มันก็ปวด ขาไมหัก แตเหล็กเสียบเขา
ไปตรงขา บวมเลยพักงานไปเดือนนึง เขาแคพาไปหาหมอ พาไปคลินิกทีเดียวเลย ก็
ไปซื้อยาลางแผลมาลาง ประมาณอาทิตยนึงอะมันยังไมหายปวด ก็ไปลางแผลทํา
แผลใหมที่คลินิก ไปคนเดียวนั่งวินมอเตอรไซคไป”
(อัสมัน, อายุ 25 ป, วันที่สัมภาษณ 2 ก.พ. 58)
แรงงานที่ มี ญ าติ และเพื่ อ นเคยเกิ ด อุ บั ติ เหตุ เล าให ฟ งว า เคยมี เพื่ อ นที่ ทํ า งานเก า
เขาทํางานแลวโดนรถโฟรคลิฟทเหยียบตอนนั้นมาทํางานไดแคปนึง ขณะที่เพื่อนเขาโดนรถรถโฟร
คลิ ฟ ท เหยี ย บ คนขั บ ก็ ไ ม รู ว า เหยี ย บ เขาก็ บ อกว า เหยี ย บเท า เขา ขาแตก และไม มี ใ ครพาไป
โรงพยาบาล นายจางก็ไมไดพาไป แตคนกัมพูชาดวยกันเปนคนพาไป ไมมีใครดูแล ตองอาศัยแรงงาน
กัม พู ชาด วยดูแลกันเอง การปฐมพยาบาลเบื้องตนก็ฉีกเสื้อเอามาพัน อยาให เลือดไหล แลวก็ชวย
ประคองกันไปเรียกแท็กซี่ ซึ่งในขณะเกิดเหตุก็ไดบอกนายจางแลว เขาก็บอกแลววาใหระวังตัวเอง
นายจางไมเคยพูดถึงเรื่องนี้เลย และปลอยใหเหตุการณผานไป
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“เขารักษาอยู 3-4 เดือน เขานอนโรงพยาบาล 1 เดือน แลวก็มา
นอนอยูหองอีกประมาณ 2 เดือนกวา แลวเขาก็เลิกทํางานและกลับเขมรเลย เขาอยู
57

หอง จายคาโรงบาล คาอะไร หัวหนาประตู 4 เขาไมจายให แลวคาหองเราก็ตอง


เสียเอง เงินมันไมพอ มันไมคุม เปนหนู หนูก็ไมอยูนะ ก็ไมมีใครชวยอะไรสักอยาง
เลย แลวเขาก็โทษเราวาเรานะดูแลตัวเองไมดี แลวใครอยากเปนแบบนั้น ไมมีใคร
อยากเปนหรอก เขาวาเขาอยูก็ไมคุม บางทีเราก็เหมือนรูจักกัน เราก็ชวยเหลือกัน ก็
เหมือนมีกับขาวก็ใหเขากินบาง ก็ชวยกันบาง แลวพอถึงสิ้นเดือนจายคาหองคนนี้
เพื่อนเขาก็ไมชวย มันก็ออกไป แลวพอคนใหมมาก็ไมจายใหแบบนี้ ตอนนั้นเขาไป
รักษาที่โรงบาลลาดกระบัง ตอนนั้นเขาไมมีบัตร เขาตองเสียตังคเยอะหมดไปเกือบ
ประมาณ 2 หมื่น เขาเก็บเงินไวเยอะ”
(สา, อายุ 28 ป, วันที่สัมภาษณ 13 พ.ย. 57)
นอกจากนั้นมีแรงงานบางคน เลาใหฟงวามีเพื่อนเคยประสบอุบัติเหตุ และไมไดรับเงิน
คาจาง หลังจากที่เกิดเหตุเพื่อนคนดังกลาวก็หายไปจากบริษัท
ดังเห็นไดจากขอความตอไปนี้
“ที่เกามีเพื่อนคนนึงตาย ทายรถอะ เขาปดแลวเขาไมไดล็อกไง
พอยืนขางหลังแลวรถก็ขับไปเดินหนาไง ตกมาโดนเพื่อน เรื่องรับผิดชอบตอนนั้น
เทาไหร ไมรู ไมไดถาม คนที่เขาบาดเจ็บ เขาก็ไปหาหมอ เขาก็กลับบานไป ไปรักษา
ตัวไง เพราะเขาไมมีบัตร ก็โรงพยาบาลเหมือนที่นี่แหละ แตเขาเสียตังคหรือเปลาก็
ไมรูอะ และอีกคนโดนสายพานหนีบ เขาไปหาหมอแลวไปนอนบาน โดยที่แรงงาน
นั้นไมไดคาแรง ก็เลิกทํางานเลย และไมรูหายไปไหน”
(รักษา, อายุ 23 ป, วันที่สัมภาษณ 2 ก.พ. 58)
ประสบการณในอดีตจากญาติ พี่นอง ครอบครัว เพื่อนรวมงาน ที่เปนแรงงานกัมพูชา
เหมือนกันทําใหแรงงานรับรูความเสี่ยงจากอันตรายในสถานที่ทํางาน และบอกกลาวตอๆ กัน เพื่อให
ระมัดระวังขณะทํางาน
58

บทที่ 6
สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

6.1 สรุปผลการวิจัย

จากการสัมภาษณกลุมผูเขารวมวิจัย 23 คน เปนพนักงานระดับบริหาร หัวหนาแรงงาน


และแรงงานขามชาติกัมพูชา โดยการสัมภาษณเชิงลึก และรวบรวมขอมูลดานโครงสรางการจางงาน
รายงานการขึ้นทะเบียนแรงงาน รายงานสอบสวนอุบัติเหตุ พบวาปจจัยที่สงผลตอการรับรูความเสี่ยง
ของแรงงานกั ม พู ช า ประกอบด วย 3 ป จ จั ย คื อ 1) ป จ จั ย ด านนโยบาย พบวาในเรื่อ งของความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน นายจางยังปฏิบัติไมสอดคลองตามกฎหมาย
ในเรื่องการแจกคูมือปฏิบัติงาน การฝกอบรม การประเมินอันตรายในการทํางาน และการจัดอุปกรณ
คุ ม ครองความปลอดภั ย ให แ ก แ รงงานข า มชาติ กั ม พู ช าตามงานที่ เหมาะสม 2) ป จ จั ย ทางสั งคม
วั ฒ นธรรม ได แ ก เศรษฐกิ จ และภาษา 3) ป จ จั ย ส ว นบุ ค คล ได แ ก ทั ศ นคติ อุ บั ติ เหตุ และ
ประสบการณในอดีตที่เคยไดรับ
แรงงานข า มชาติ กั ม พู ช ามี ก ารรั บ รู เ รื่ อ งของความเสี่ ย งในเรื่ อ งอั น ตรายจาก
สภาพแวดล อ มทางกายภาพ ได แ ก อั น ตรายจากรถโฟร ค ลิ ฟ ท รถเครื่ อ งมื อ ยกตู ค อนเทนเนอร
รถบรรทุก และอันตรายจากสภาพแวดลอมทางการยศาสตร ไดแก ทาทางการทํางานซ้ําซากจากการ
แบกสินคา และความเรงรีบในการทํางาน โดยการรับรูอันตรายจากอุบัติเหตุ และประสบการณใน
อดีตจากตนเอง ญาติพี่นอง และเพื่อนรวมงาน แตปจจัยดานนโยบาย ปจจัยทางสังคมวัฒนธรรม
และปจจัยสวนบุคคล สงผลตอพฤติกรรมและความคิดเห็นที่แตกตางตอความเสี่ยงในการทํางาน

6.2 อภิปรายผล

จากผลการศึกษาพบวาปจจัยที่มีผลตอความคิดเห็นของแรงงานขามชาติกัมพูชาในเรื่อง
ของความเสี่ยงในการทํางาน ประกอบดวย 3 ปจจัย ไดแก ปจจัยดานนโยบายการจางงาน สิทธิ และ
สวัสดิการ ปจจัยทางสังคมวัฒนธรรม และปจจัยสวนบุคคลของแรงงาน ดังนี้

6.2.1 นโยบายการจางงาน สิทธิ และสวัสดิการ


ป จ จุ บั น รัฐ บาลส งเสริม ให แ รงงานข ามชาติ ทํ างานอย างถู ก กฎหมายโดยเพิ่ ม
ศูนยบริการตรวจลงตรา และพิจารณาอนุญาตทํางานแรงงานขามชาติ สัญชาติพมา ลาว และกัมพูชา
ผ า นบั น ทึ ก ความเข า ใจความร ว มมื อ ว า ด า นการจ า งงาน (Memorandum Of Understanding:
59

MOU) ทําใหแรงงานไดรับการพิ สูจนสัญ ชาติ และทํางานอยางถูกตองตามกฎหมาย แตกตางจาก


งานวิจัยของ พฤกษ เถาถวิล และสุธีร สาตราคม (2554) ที่พบปญ หาในการพิสูจนสัญ ชาติ เรื่อง
ความพรอมของ บริษัทจัดหาหางาน เจาหนาที่รัฐ และเทคโนโลยี ถึงแมจะมีการพิสูจนสัญชาติ แตยัง
พบวารูปแบบการจางงานไมมีสัญญาวาจางเปนลายลักษณอักษรชัดเจน สงผลใหแรงงานขามชาติไมได
สิทธิในการเขารับการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บปวย สอดคลองกับงานวิจัยของ ศูนยวิจัยนโยบายและการ
บริหาร (2554, น.2) ที่ศึกษาแรงงานสภาพปญหาดานคุมครองแรงงานตางดาวในประเทศไทย พบวา
มีจุดออนในเรื่องรูปแบบการจางที่ไมไดกําหนดชัดเจน
นายจางไม ขึ้นทะเบี ยนประกันสังคมใหแ กแรงงานกัม พู ชาเพราะเป นแรงงาน
ชั่วคราว และแรงงานรับ เหมา สอดคลองกับ งานวิจัยของ กัญ ญา โพธิ์พั นธ, พั ชนา สุวรรณแสน,
กนกภรณ อ วมพราหมณ และดุ สิ ต โพธิ์พั น ธุ (2556) ทํ าให แ รงงานข ามชาติ ก ลุ ม นี้ เสี ยสิ ท ธิต าม
หลักประกันสังคม เพราะนายจางมีมุมมองวาคาขึ้นทะเบียนแรงงานรัฐบาลไดเก็บเงินสวนของการ
รับรองสิทธิใหกับแรงงานกัมพูชาเรื่องรักษาพยาบาลครอบคลุมสําหรับการรักษาใหแกแรงงานกัมพูชา
เปนการเอาเปรียบแรงงาน โดยที่แรงงานทั้ง 19 คน ไมทราบสิทธิที่จะตองไดรับ เพราะแรงงานไมได
รับการชี้แจง ยกเวนแรงงาน 1 คนที่ทราบสิทธิเรื่องประกันสังคมจากสถานประกอบการกอนหนา
และยังคงจายเงินสมทบกับสถานประกอบการนั้น ซึ่งแตกตางจากแรงงานไทย สอดคลองกับการ
ล ะ เ มิ ด สิ ท ธิ แ ร ง ง า น International Organization for Migration and World Health
Organization (2009) หากแรงงานบาดเจ็บอันเนื่องจากประสบอุบัติเหตุจะไมไดความคุมครอง
ตามพระราชบัญ ญั ติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการ
ทํางาน พ.ศ.2554 กําหนดใหนายจางหรือผูวาจาง มีภาระหนาที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการ
ดําเนินการคุมครองความปลอดภัยใหแกแรงงาน โดยนายจางจะตองแจงใหลูกจางทราบถึงอันตรายที่
อาจจะเกิดขึ้นจากการทํางาน และแจกคูมือปฏิบัติงานใหลูกจางทุกคนกอนที่จะเขาทํางาน เปลี่ยนงาน
หรือเปลี่ยนสถานที่ทํางาน และใหลูกจางทุกคนไดรับการฝกอบรมดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทํางาน เพื่อทํางานไดอยางปลอดภัย และใหนายจางจัดและดูแลใหลูกจาง
สวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่ไดมาตรฐาน เชน เสื้อสะทอนแสง รองเทานิรภัย
หมวกนิรภัย ในขณะที่ลูกจางมีหนาที่สวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลและดูแลรักษา
อุปกรณ ใหสามารถใชงานไดตามสภาพและลักษณะของงานตลอดระยะเวลาทํางาน จากการวิจัย
พบวาบริษัทผูรับเหมาไมมีคูมือปฏิบัติงานแจกใหทั้งแรงงานไทยและแรงงานกัมพูชา และแรงงาน
กัมพูชาไมไดรับการฝกอบรมเฉพาะในเรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการ
ทํางาน จะไดรับการสอนงานเฉพาะในเรื่องขั้นตอนการปฏิบัติงาน สําหรับแรงงานกัมพูชารายวันจะ
ไดรับเสื้ อสะท อนแสง หมวกนิ รภั ย และรองเท านิรภัย ในขณะที่แ รงงานกัม พู ชารับ เหมาไมไดรับ
60

อุปกรณ คุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล เพราะบริษัทผูรับเหมามองวาไมสะดวกในการทํางาน


เพราะเปนงานแบกหาม เปนเพราะบริษัทผูรับเหมาไมไดประเมินอันตรายในการทํางาน
ในสัญญาการจางงานระหวางสถานประกอบการและบริษัทผูรับเหมาไดระบุให
ผูรับเหมาปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติเรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดลอมในการ
ทํางาน พ.ศ.2554 และกฎหมายที่เกี่ยวของ โดยไมไดระบุถึงสวัสดิการตางๆ ที่แรงงานจะไดรับตาม
สิท ธิ์ โดยที่ บ ริษั ท ไม ท ราบว าบริษั ท ผู รับ เหมามี การวาจ างแรงงานเหมาในลัก ษณะใด และสถาน
ประกอบการไมเคยติดตามกระบวนการจางงานของบริษัทผูรับเหมาทั้งแรงงานไทย และแรงงานขาม
ชาติ ทําใหแรงงานกัมพูชาไมท ราบถึงสิทธิ และสวัสดิการตางๆ ที่ควรไดรับ ปญ หาในเรื่องความ
ปลอดภัยในการทํางาน และการไดรับคาชดเชยเมื่อประสบอุบัติเหตุจากการทํางานเกิดขึ้นเนื่องจาก
ประเภทงานที่ทํามีความเสี่ยงและอันตรายตอสุขภาพ ทําใหพบวากรณี ท่ีแรงงานประสบอุบัติเหตุ
ตกรถขาหัก ตองหยุดงาน ไมสามารถเรียกรองคาชดเชยตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ.2537 ได
เนื่องจากบริษัทผูรับเหมาไมไดจายเงินสบทบเขากองทุน สอดคลองกับ นฤมล นิราทร (2555) ที่พบวา
นอกจากนั้นปญ หาการเรียกรับคาชดเชยกรณีที่ไดดวยตนเองไมไดก็เปนอุปสรรค เนื่องจากปญหา
สถานภาพทางกฎหมายของคูสมรสหรือทายาท เชน ไมไดจดทะเบียนสมรส หรือไมมีเอกสารการ
รับรองบุตร
6.2.2 ปจจัยทางสังคมวัฒนธรรม
6.2.2.1 ดานเศรษฐกิจ
ปจจัยทางดานเศรษฐกิจทําใหเกิดการขยายตัวอยางรวดเร็วในการพัฒนา
ประเทศ จึงสงผลใหขาดแรงงาน ในขณะที่ประเทศกัมพูชามีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจต่ํา ทําให
เกิดอัตราการวางงานสูง คาจางที่สูงกวาในประเทศไทยเปนปจจัยดึงใหแรงงานกัมพูชาเขามาทํางานใน
ประเทศไทย แรงงานกัมพูชามีการอาศัยอยูรวมกันกับญาติพี่นอง หรือเพื่อนบานที่มาจากอําเภอ
เดียวกันตั้งแตที่อพยพเขามาประเทศไทย แรงงานกัมพูชาที่ทํางานมานานกวา 10 ป มีการเปลี่ยนงาน
มาแลวจากหลายที่แตเปนงานรับเหมาแบกสินคาเชนเดียวกัน นอกจากนั้นก็จะเคยทํางานกอสราง
และได รับ การชัก ชวนให ม าทํ างานขนถายสินคา และคัดแยกสิน คาออกจากตูคอนเทนเนอร โดย
เฉพาะงานแบกแปง ซึ่งมีน้ําหนักถุงละ 50 กิโลกรัม เปนงานที่แรงงานเลือกทําทั้งเพศชาย และเพศ
หญิง เพราะใชเวลาในการทํางานเฉลี่ย 1 ชั่วโมงตอตูคอนเทนเนอร ทําใหไดปริมาณงานที่เยอะกวา
งานแบกสินคาประเภทอื่น ทําใหแรงงานหันมาทํางานในลักษณะนี้มากขึ้น บางครอบครัวที่มีลูกหลาย
คน ก็จะใหลูกทํางานตั้งแตอายุ 10 ขวบ เพราะประหยัดคาเลี้ยงดู และชวยกันหาเงิน เพื่อจะไดมีเงิน
กอนกลับไปใชชีวิตที่ประเทศบานเกิด
งานขนถายสินคาเขา และคัดแยกสินคาออกจากตูคอนเทนเนอรเปนงาน
รับเหมา แรงงานกัมพูชาไดรับคาจางเฉลี่ยสัปดาหละ 2,500 – 3,000 บาท ขึ้นอยูกับปริมาณงาน ยิ่ง
61

ปริมาณงานเยอะ ระยะเวลาทํางานก็นานขึ้น รายไดของแรงงานกัมพูชาก็จะไดรับมากขึ้น แตกตาง


จากคาแรงที่ไดรับจากการทํางานในประเทศกัมพูชาซึ่งไดรับวันละ 80-100 บาท ผลการศึกษาวิจัย
แตกตาง นฤมล นิราทร (2555) ที่พบวาแรงงานขามชาติในภาคเกษตรทํางานวันละ 9-12 ชั่วโมง
ไดรับคาจางเฉลี่ยเดือนละ 6,000 บาท ในขณะที่คาจางเฉลี่ยของแรงงานไทยอยูที่ 8,280 บาท ทําให
แรงงานกัมพูชาหันมาทํางานขนถายสินคาเขา และคัดแยกสินคาออกจากตูคอนเทนเนอรมากขึ้น
6.2.2.2 ดานภาษา
บริษัทผูรับเหมาพยายามสื่อสารขั้นตอนการทํางานผานรูปภาพ แตยังไม
สามารถอธิบายงานไดครอบคลุมในทุกขั้นตอน โดยผูที่จะสื่อสารภาษาไทยไดมีเพียงหัวหนาสาย และ
เพื่อนรวมงานที่อยูในประเทศไทยมานานจนสื่อสารอยางคลองแคลว ในบางครั้งแรงงานกัมพูชาก็จะ
อิจฉากันเองในกลุมแรงงาน ผูที่เขาใจภาษาไทยจะไมอธิบ ายใหเพื่อนฟ ง จะบอกตอเฉพาะคนใน
ครอบครั วเท านั้ น สอดคล อ งกั บ งานวิจั ย ของ Weishaar (2008) และ Ahonen et al. (2009) ที่
พบวาปญ หาทางดานภาษาเปนอุปสรรคในการเขาถึงขอมูลดานสุขภาพ และเปนอุปสรรคในดาน
การศึกษาและการฝกอบรม ซึ่งเปนปจจัยทางออมที่สงผลตอการรับรูความเสี่ยงในการทํางาน งานวิจัย
ของ Lupton (1999) และ Thompson, Ellis, & Wildavshy (1990) ไดอธิบ ายวาทั ศนคติ บริบ ท
ของความเสี่ยง และวัฒนธรรมกับความเชื่อ สงผลตอการรับรูของบุคคล ดังนั้นปจจัยที่ทําใหการรับรู
ความเสี่ยงของแรงงานแตละคนแตกตางกัน คนที่มีความเชื่อเรื่องเวรกรรมก็จะมีสติในการทํางาน และ
ระวังตัวเองไมใหเปนอันตราย
6.2.3 ปจจัยสวนบุคคล
ทั ศนคติ อุ บัติเหตุ และประสบการณ ในอดีตสงผลตอการรับ รูค วามเสี่ยงของ
แรงงานตออันตรายจากสภาพแวดลอมในการทํางาน
จากการศึ ก ษาพบวาแรงงานรับ รูวาสุขภาพรางกายไมพ รอมทํ างาน แตยังคง
ทํางานเพราะภาวะจํายอม เนื่องจากขาดสวัสดิการวันหยุด และวันลา ซึ่งแตกตางจากงานวิจัยของ
นภาพร มั ท ย พ งษ ถ าวร (2543) และ อดิ ศ ร พู ล สุ ว รรณ (2552) ที่ พ บว าเพราะแรงงานไทยเมื่ อ
เจ็บปวยจะทําใหขาดความระมัดระวังเพราะรางกายไมพรอมทํางาน ในขณะที่แรงงานขามชาติกัมพูชา
ระมัดระวังตนเองไมใหเกิดอันตราย เพราะงานหลักที่แรงงานทําคืองานแบกแปง เปนงานที่ตองทํางาน
บนที่สูง สกปรกจากฝุนแปง และแบกน้ําหนัก 50 กิโลกรัม จะเห็นวางานแบกแปงเปนลักษณะงาน 3D
แตเปนงานที่แรงงานเลือกที่จะทํา เพราะเมื่อทํางานเสร็จ 1 ตู จะไดคาจาง 400-500 บาทตอตูขึ้นอยู
กับขนาดของตูคอนเทนเนอร โดยใชเวลาเพียง 30-40 นาที ในขณะที่งานแบกกลองซึ่งเปนงานที่งาย
กวาแตใชเวลานานกวาเพราะเปนกลองขนาดเล็ก น้ําหนักนอย ไมสกปรก
แรงงานขามชาติทุกคนรับรูอันตรายที่เกิดขึ้นจากสภาพแวดลอมทางกายภาพ
ไดแก รถโฟรคลิฟท รถยกตูคอนเทนเนอร รถบรรทุก การทํางานที่สูง แตไมรับรูถึงอันตรายที่เกิดจาก
62

เสียงดังจากเครื่องมือยกตูในขณะวางตูคอนเทนเนอร แสงสวางจากการทํางานในเวลากลางคืนที่ไม
เพียงพอ และความรอนจากการทํางานกลางแจง และมีแรงงาน 3 คน ที่รับรูถึงอันตรายทางการย
ศาสตร จากการทํางานในทาเดิมซ้ําๆ และความเรงรีบในการทํางาน ซึ่งแรงงานกลุมนี้ยังขาดการรับรู
อันตรายจากสภาพแวดลอมทางชีวภาพจากการทํางานแบกสินคาซึ่งมีฝุนจากใยผา และชานออย และ
อันตรายจากสภาพแวดลอมทางเคมี ไดแก ฝุน และควันจากทอไอเสีย เห็นไดวาการรับรูของแรงงาน
ขามชาติกัมพูชายังไมสอดคลองตามหลักสุขศาสตรในสถานประกอบการ เพราะแรงงานขาดทักษะ
ความรู แตกตางจากการศึกษาการรับรูความเสี่ยงในแรงงานไทย ของ (อดิศร พูลสุวรรณ, 2552) ที่
พบวาแรงงานไทยมี ก ารรับ รูค วามเสี่ ย งครอบคลุ ม ทั้ งเรื่อ งอั น ตรายทางด านเคมี เช น ฝุ น ละออง
สารเคมีที่ใชในการทํางาน การออกแบบผังโรงงาน แรงงานกัมพูชาจึงมองอันตรายที่เกิดขึ้นทางตรง
ไมไดรับรูถึงอันตรายของโรคที่เกี่ยวเนื่องจากการทํางาน
จากการวิจัยพบวาแรงงานกัมพูชาที่มีอายุงานเกิน 10 ป มีจํานวน 8 คน ทุกคน
ทําหนาที่เปนหัวหนาสาย มีญาติพี่นองอยูในสายที่ตนเองควบคุม แรงงานกัมพูชากลุมนี้จะถายทอด
ประสบการณทํางาน รวมถึงขั้นตอนในการทํางานใหกับแรงงานกัมพูชาในทีม และคอยใหคําแนะนํา
หรือตักเตือนหากพบวาแรงงานกัมพูชาคนใดปฏิบัติไมถูกตอง แตยังมีอุปสรรคเพราะถึงแมจะเปน
หัวหนาแตก็ยังตองทํางานเชนเดียวกัน เมื่อมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นทั้งตอตัวเอง และแรงงานกัมพูชาที่อยูใน
ที ม ทุ ก คนจะกลั วกั บ อั น ตรายที่ เคยเกิด และจะระมัด ระวังไม ให เกิด ขึ้น อี กเมื่อ มาทํ างานที่ ส ถาน
ประกอบการ
ดังนั้นอุบัติเหตุและโรคที่เกี่ยวของกับงานยังคงเปนปญ หาที่สถานประกอบการ
ไมไดรับการรายงานจากบริษัทผูรับเหมา เนื่องจากบริษัทผูรับเหมาขาดความชัดเจนในระดับการ
รายงาน ซึ่งบริษัทผูรับเหมามีมุมมองวาการบาดเจ็บเล็กนอย ไมตองรายงานเกิดอุบัติเหตุ ทําใหสถาน
ประกอบการไมไดรับแจงอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในแรงงานกัมพูชา ซึ่งตามขั้นตอนการรายงานอุบัติเหตุนั้น
จะตองแจงและสอบสวนอุบัติเหตุ เพื่อกําหนดมาตรการแกไข ทําใหการรายงานอุบัติเหตุถูกรายงาน
เฉพาะเหตุการณที่จะตองนําแรงงานกัมพูชาสงโรงพยาบาลเทานั้น สถานประกอบการและบริษัท
ผูรับเหมาสนใจและตระหนักถึงปญ หาเหลานี้ไมมาก สอดคลองกับรายงานของสํานักงานแรงงาน
ระหวางประเทศประจําภูมิภาคเอเชียและแปซิฟค พบวาการดําเนินการตางๆ โดยเฉพาะในประเทศ
กําลังพัฒนาและประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงนั้นยังมีอุปสรรคอันเกิดจากการขาดความรูและขอมูลที่
เกี่ยวกับความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการทํางาน
63

6.3 ขอเสนอแนะ

จากการศึกษานี้สามารถเสนอแนะแนวทางเพื่อการพัฒนาการใหความรูทางดานความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงในการทํางาน และ
เป น แนวทางในการจั ด สภาพแวดล อ มที่ ป ลอดภั ย เพื่ อ ลดการเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ จ ากการทํ า งาน
ประกอบดวย ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ขอเสนอแนะตอแรงงาน การตรวจสอบจากหน วยงานที่
เกี่ยวของ ดังนี้

6.3.1 ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
6.3.1.1 การจางงาน
ลักษณะการจางงานเปนการวาจางผูรับเหมาชวงของสถานประกอบการ
ดังนั้นบริษัทผูรับเหมาก็คือนายจางของแรงงานขามชาติกัมพูชา ลูกจางทุกคนจะตองไดรับการดูแลที่
ไมแตกตางกัน ถึงแมวาจะมีการจางงานหลากหลายรูปแบบ ทั้งที่เปนแรงงานประจํา แรงงานรายวัน
และแรงงานรับเหมา แตสิทธิและสวัสดิการของลูกจางทุกคนจะตองไดรับตามที่กฎหมายกําหนด ไมมี
การแบ งแยกสัญ ชาติ หรือเชื้อชาติ และประชาสั ม พั น ธให ลูกจางรับ รูสิ ท ธิต ามกฎหมายคุ ม ครอง
แรงงานและใชสิทธิตามกฎหมาย โดยผานชองทางที่เปนสื่อบุคคล หัวหนางาน หรือฝายบริหารของ
บริษัทผูรับเหมา และสถานประกอบการที่เปนผูวาจางจะตองตรวจสอบบริษัทผูรับเหมา เพื่อใหแนใจ
วาบริษัทผูรับเหมาปฏิบัติสอดคลองตามกฎหมาย รวมทั้งแปลขอความสิทธิ สวัสดิการ เปนภาษาเขมร
เพื่ อให ลู กจ างที่ เป น แรงงานกั ม พู ชาเขาใจในสิ ท ธิที่ ได รับ ตลอดจนบริก ารหรือความต องการการ
ชวยเหลือ เพื่อเปนสื่อในกลางในการสื่อสารกันทั้งสองฝาย โดยมีเจาหนาที่ที่มีความสามารถทางภาษา
เขมรเปนลาม โดยมาจากหัวหนาสายที่เปนแรงงานกัมพูชา หรือแรงงานไทยที่สื่อสารภาษาดังกลาวได
6.3.1.2 การอบรมสอนงาน
สถานประกอบการและบริ ษั ท ผู รั บ เหมาควรมี ก ารจั ด อบรมก อ นเริ่ ม
ปฏิบัติงาน และใหความรูอยางตอเนื่องเปนระยะ หรือเมื่อลูกจางเปลี่ยนงาน เปลี่ยนสถานที่ทํางาน
หรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรอุปกรณ กอนเริ่มทํางานเกี่ยวกับขั้นตอนการทํางานที่ถูกตอง และสงเสริม
ความรูในเรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน และจัดใหหัวหนางาน
ไดรับการอบรมที่เกี่ยวของกับการประเมินสภาพแวดลอมในการทํางาน รวมถึงจัดทําคูมือการทํางาน
เปนภาษาเขมร เพื่อปองกันการสื่อสารที่ผิดพลาด
6.3.1.3 การรายงาน และปองกันอุบัติเหตุ
บริษัทผูรับเหมาควรจะตองมีการกําหนดขั้นตอนการรายงาน และปองกัน
อุบัติเหตุใหสอดคลองกับสถานประกอบการซึ่งจะตองรายงานเหตุทุกครั้งไมวาลูกจางจะไดรับบาดเจ็บ
64

หรือไม เพื่อสอบสวน และหามาตรการปองกันไมใหเหตุการณเกิดซ้ําอีก ดังเชนทฤษฎีภูเขาน้ําแข็ง


(Iceberg Model) พบวาทุกๆ 600 รายงานอุบัติเหตุเล็กนอยจะมีโอกาสทําใหเกิดอุบัติเหตุขั้นรายแรง
1 ครั้ง ดังนั้นเจาหนาที่ที่บริหารดูแลบริษัทผูรับเหมาจะตองแจงใหบริษัทผูรับเหมาทราบถึงขั้นตอน
และกํากับใหปฏิบัติใหสอดคลอง เพื่อที่บริษัทผูรับเหมาจะนําองคความรูไปถายทอดใหแรงงานขาม
ชาติกัมพูชาไดเขาใจ เพื่อลดความกังวลในเรื่องของการแจงเหตุ
6.3.2 ขอเสนอแนะตอลูกจางแรงงานขามชาติกัมพูชา
แรงงานขามชาติกัมพูชาควรปฏิบัติตามระเบียบที่เกี่ยวของกับความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน โดยมีหนาที่ดูแลสภาพแวดลอมในการทํางาน หาก
ทราบขอบกพรองหรือการชํารุดเสียหาย และไมสามารถแกไขปรับปรุงใหสภาพแวดลอมในการทํางาน
ปลอดภัย จะตองแจงเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน หัวหนางาน หรือผูบริหาร เพื่อแกไขได
โดยไมชักชา
6.3.3 การตรวจสอบ
เพื่อใหแรงงานไดรับความเปนธรรมในสภาพการจาง สภาพการทํางานใหมีความ
ปลอดภั ย จึ งควรได รั บ การตรวจสอบจากกรมสวั ส ดิ ก ารและคุ ม ครองแรงงาน และสํ านั ก ความ
ปลอดภัยแรงงาน ซึ่งเปนหนวยงานหลักในการดําเนินการตรวจสอบสถานประกอบการใหปฏิบัติ
สอดคลองตามกฎหมาย
6.3.4 ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป
ควรศึกษาปจจัยที่มีผลตอการรับรูความเสี่ยงในแรงงานไทย แรงงานขามชาติ
สัญชาติอื่น ในลักษณะงานเดียวกัน หรือของแรงงานขามชาติกัมพูชาในลักษณะอาชีพอื่นที่ไมใชงาน
ขนถายสินคาเขา และคัดแยกสินคาออกจากตูคอนเทนเนอร
65

รายการอางอิง

หนังสือและบทความในหนังสือ

กุ ล ภา วจนสาระ และกฤตยา อาชวนิ จ กุ ล . (2555). ประชากรชายขอบและความเป น ธรรมใน


สังคมไทย. (1). (48).
ชาย โพธิสิตา. (2554). ศาสตรแ ละศิล ป แ หงการวิจัยเชิงคุณ ภาพ: บริษั ท อมริน ทรพ ริ้น ติ้งแอนด
พับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน).
เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ. (2533). ปรัชญาและแนวคิดเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน. เอกสารการ
ส อ น ชุ ด วิ ช าก ารบ ริ ห ารงาน ค วาม ป ล อ ด ภั ย ห น วย ที่ 1-8, น น ท บุ รี : โรงพิ ม พ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เบญจา ยอดดําเนิน-แอ็ตติกร และ, & กาญจนา ตั้งชลทิพย (Eds.). (2552). การวิเคราะหขอมูลเชิง
คุณภาพ: การจัดการขอมูล การตีความ และการหาความหมาย.
พิมพพรรณ ศิลปสุวรรณ. (2544). แนวคิดหลักการพยาบาลอาชีวอนามัย: ทฤษฎีและการปฏิบัติ.
ตําราหลักทางการพยาบาล, กรุงเทพฯ: เจริญดีการพิมพ.
วิฑูรย สิมะโชคดี. (2536). วิศวกรรมความปลอดภัย, กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพฟสิกสเซ็นเตอร.
วิริยา รัตนสุ วรรณ. (2547, น.1). ลดความสูญ เสียดวยการบริหารจัดการความเสี่ยง. สถาบั นเพิ่ ม
ผลผลิตแหงชาติ.
ศูนยวิจัยนโยบายและการบริหาร. (2554, น.2). โครงการศึกษาวิจัย เรื่องสภาพปญหาดานคุมครอง
แรงงานตางดาวในประเทศไทยและแนวทางแกไข. มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาลัยการบริหาร
รัฐกิจ, 1.
สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม. (2554, น.44). คูมือการประเมินความเสี่ยงจากการ
ทํางานของบุคลากรในโรงพยาบาล. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข(3).
สํานักงานแรงงานระหวางประเทศ. (2551). มาตรฐานแรงงานระหวางประเทศวาดวยสิทธิแรงงาน
ขามชาติ แนวทางสําหรับผูกําหนดนโยบายและผูปฏิบัติงานในเอเชียและแปซิฟก. องคการ
แรงงานระหวางประเทศ.
สํานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม. (2554, น.3). มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ระบบการจัดการ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย: ขอกําหนด. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงอุตสาหกรรม.
สุพจน เดนดวง. (2541). วัฒนธรรมความปลอดภัยในการทํางาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพองคการ
ทหารผานศึก.
66

สุ ภ างค จั น ทวานิ ช . (2550). การวิ เคราะห ข อ มู ล ในการวิ จั ย เชิ งคุ ณ ภาพ. . กรุ งเทพฯ: โรงพิ ม พ
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สุริชัย หวันแกว. (2550, น.17). คนชายขอบ: จากความคิดสูความจริง. 2.
สุ รี ย พ ร พั น พึ่ ง และ คณ ะ. (2548). คนรั บ ใช ใ นบ า น: แรงงานอพยพจากประเทศพม า .
มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 1.

บทความวารสาร

กนิษฐา บุญธรรมเจริญ และคณะ. (2555). แผนยุทธศาสตรการพัฒนาดัชนีประเมินภาระโรคและ


สุขภาพของประชากรไทย. Burden of Disease Thailand, 1(4), 1-4.
กั ญ ญา โพธิ์ พั น ธ พั ช นา สุ ว รรณแสน กนกภรณ อ ว มพราหมณ และ ดุ สิ ต โพธิ์ พั น ธุ . (2556).
การศึกษาการจางแรงงานตางดาวของผูประกอบการในเขตอุตสาหกรรมภาคตะวันออก.
วารสารการจัดการธุรกิจ, คณะการจัดการและการทองเที่ยว, มหาวิทยาลัยบูรพา, 2 no.2,
39-49.
ขจรจิ ต บุ ญ นาค. (2554, น.142). ความขั ด แย ง VS ความรุ น แรง. วารสารนั ก บริ ห าร, 31 no.3
(กรกฎาคม-กันยายน), 136-144.
ณัฐกานต เล็กเจริญ อนามัย เทศกะทึก และกุหลาบ รัตนสัจธรรม. (2554). ปจจัยที่มีอิทธิพลตอ
พฤติกรรมเสี่ยงตอการประสบอันตรายจากการทํางานของแรงงานประมงไทยและตางดาว
ตําบลเกาะเปริด อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา,
มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะสาธารณสุขศาสตร, 6(1), 42-52.
ตฤณ ไอยะรา. (2556). รั ฐ ตลาด และโลกาภิ วั ต น :ประวั ติ ศ าสตร อ ย า งย อ ของการจั ด ระเบี ย บ
เศรษฐกิจโลก. วารสารสงขลานครินทร ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 19 (เมษายน-
มิถุนายน) (2), 3-56.
ธนพรรณ จรรยาศิริ และศิวพร อึ้งวัฒนา. (2551). การทบทวนสถานการณและพัฒนาผังวิสัยงานวิจัย
แรงงานขามชาติ (แรงงานตางดาว). วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา, 6(2).
ปยะธิดา นาคะเกษียร และฤดี ปุงบางกะดี่. (2556). การศึกษาวิถีชีวิต ปญหา และความตองการดาน
สุขภาพของแรงงานขามชาติกลุมชาติพันธุมอญภายใตบริบททางสังคมวัฒนธรรมของพื้นที่
จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารพยาบาลทหารบก, 14 no.3 (Sep-Dec).
พฤกษ เถาถวิล และสุธีร สาตราคม. (2554). MOU for Transnational Labours Employment
Neoliberalism, Labour Protection and Adjustment of State’s Regulation
Strategy (MOU การ จางงานขามชาติ: เสรีนิยมใหมการคุมครอง แรงงาน และการปรับ
67

ยุท ธศาสตรการกํากับควบคุมของ รัฐ). วารสาร สังคม ลุมน้ํา โขง (Journal of Mekong


Societies), 7(3), 1-26.
วราภรณ มนต ไตรเวศย . (2556). แรงงานต างด าวในภาคประมงกั บ ความรุน แรงเชิ งวัฒ นธรรม.
วารสารดํารงวิชาการ, คณะโบราณคดี, มหาวิทยาลัยศิลปากร, 12(2 (กรกฎาคม-ธันวาคม)),
281-306.
ศราวุฒิ เหลาสาย และอภิศักดิ์ ธีระวิสิษฐ. (2555). การเขาถึงบริการดานสุขภาพของแรงงานขามชาติ
ชาวพม าในโรงงานอุ ต สาหกรรม จั งหวัด ขอนแก น . Graduate Research Conference,
1131-1147.
เสาวธาร โพธิ์กลัด และอุไรรัตน แยมชุติ. (2555). ปญหาของแรงงานขามชาติ กรณีศึกษาแรงงานขาม
ชาติสัญชาติพมาในเขตพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ. วารสารวิชาการ, มหาวิทยาลัยธนบุรี,
6(11 (มกราคม-มิถุนายน)), 5-13.
สราวุธ สุธรรมาสา (บรรณาธิการบริหาร). (2554). วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, สาขาวิชา
วิทยาศาสตรสุขภาพ, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 4 no.15 (มิถุนายน-สิงหาคม).

วิทยานิพนธ

ชลอ นอยเผา. (2544, น.9). การจัดการภาวะเสี่ยงของหัวหนาหอผูปวย โรงพยาบาลมหาราชนคร


เชี ย งใหม . วิ ท ยานิ พ นธ ป ริ ญ ญาพยาบาลศาสตร ม หาบั ณ ฑิ ต , สาขาวิ ช าการบริ ห ารการ
พยาบาล,บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
ดิเรก หมานมานะ. (2549). การรับรูความสามารถของตนเอง การรับรูความเสี่ยงและพฤติกรรมความ
ปลอดภั ยในการทํ างานของพนั กงานระดั บ ปฏิ บั ติ การโรงงานประกอบรถยนต แ ห งหนึ่ ง.
วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรม, ภาควิชาจิตวิทยา,
บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
นนทพัทธ นุริตมนต. (2549). วิถีชีวิตแรงงานประมงตางดาว: กรณีศึกษาลูกเรือประมงสัญชาติพมาใน
ชุมชนชาวประมงปากน้ําหลังสวน จังหวัดชุมพร วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต,
สาขาสังคมศาสตรเพื่อการพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
นภาพร มัทยพงษถาวร. (2543). การรับรูความเสี่ยง และพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของ
คนงานกอสรางในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขา
จิตวิทยาอุตสาหกรรม, ภาควิชาจิตวิทยา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ศิ รสา จรัส วุฒิ ยากร. (2547). ความสั ม พั น ธระหว างป จ จัย ส วนบุ ค คลและการรับ รูค วามเสี่ ย งกั บ
ความเครียดในการทํางาน กรณีศึกษาพนักงานฝายชางที่ทํางานเปนกะของบริษัทการบินไทย
68

จํ า กั ด (มหาชน). วิ ท ยานิ พ นธ ป ริ ญ ญาศิ ล ปศาสตร ม หาบั ณ ฑิ ต , สาขาวิ ช าจิ ต วิ ท ยา


อุตสาหกรรมและองคกร, ภาควิชามนุษยศาสตร, บัณฑิตวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีพระ
จอมเกลาพระนครเหนือ.
สมพงษ สระแกว. (2544). แนวทางการแกไขปญหาสุขภาพในกลุมแรงงานตางดาวจังหวัดสมุทรสาคร.
(วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต), คณะสังคมสงเคราะหศาสตร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
เสาวนีย ถาวรปราถนา. (2549). การรับรูความเสี่ยง ทัศนคติตอระบบการจัดการอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย บุคลิกภาพ ที่มีผลตอพฤติกรรมเสี่ยงในการทํางาน: ศึกษาเฉพาะกรณีของ
พนั ก งานโรงงานอุ ต สาหกรรมประกอบรถยนต แ ห ง หนึ่ ง ในเขตจั ง หวั ด สมุ ท รปราการ.
วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรม, ภาควิชาจิตวิทยา,
บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
อดิศร พูลสุวรรณ. (2552). ความสัมพันธระหวาง สภาพแวดลอมการทํางานและการรับรูความเสี่ยง
กับความเครียดในการทํางาน กรณีศึกษา: พนักงานฝายผลิต บริษัท ฮิตาชิ โกลบอล สตอเรจ
เทคโนโลยีส (ประเทศไทย) จํากัด. วิทยานิพนธปริญ ญาอุตสาหกรรมศาสตรมหาบัณ ฑิต,
สาขาวิช าการจั ด การอุ ต สาหกรรม, ภาควิช าการจั ด การอุ ต สาหกรรม, บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย ,
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.

สื่ออิเล็กทรอนิกส

อีเลน เพียรสัน และคณะ. (2549). งานทาทายที่ลุมแมน้ําโขง การจางแรงงานขามชาติในประเทศไทย:


งานหนัก จายนอย และไมไดรับการคุมครอง. โครงการระหวางประเทศวาดวยการแกไข
ปญหาการใชแรงงานเด็ก, องคการแรงงานระหวางประเทศ, 1.

เอกสารอื่น ๆ

จารุวัฒน เกยูรวรรณ และวิทยากร บุญเรือง. (2555). บันทึกเดินทาง: ขามชาติ สรางเมือง. โครงการ


รณรงคเพื่อแรงงานไทย (TLC), เครือขายองคกรดานประชากรขามชาติ (MWG).
นฤมล นิราทร. (2555). บทความนําเสนอในสัมมนาโครงการธรรมศาสตร-อาเซียน เราจะอยูรวมกัน
อยางไรในอาเซียน. 1.
น้ําผึ้ง ทัศนัยพิทักษกุล. (2557). แรงงานขามชาติ: ปญหาที่อาเซียนตองรวมกันแกไข. สถาบันระหวาง
ประเทศเพื่อการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน), 3 ฉบับที่ 145.
พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน. (2554).
69

Books and Book Articles

Heinrich, H. W. (1931). Industrial accident prevention; a scientific approach (1st ed.).


New York, London,: McGraw-Hill book company, inc.
Lupton, Deborah. (1999). Risk and sociocultural theory. Risk and sociocultural theory-
New directions and perspectives, 1-11.
Pranee Liamputtong and Douglas Ezzy. (2005). Qualitative research methods. Oxford
University Press, 2.
Teddlie, Charles, & Yu, Fen. (2007). Mixed methods sampling a typology with
examples. Journal of mixed methods research, 1(1), 77-100.
Thompson, Michael, Ellis, Richard, & Wildavsky, Aaron. (1990). Cultural theory:
Westview Press.
Tongco, Maria Dolores C. (2007). Purposive sampling as a tool for informant selection.

Articles

Ahonen, E. Q., Porthe, V., Vazquez, M. L., Garcia, A. M., Lopez-Jacob, M. J., Ruiz-
Frutos, C., . . . Project, Itsal. (2009). A qualitative study about immigrant
workers' perceptions of their working conditions in Spain. Journal of
Epidemiology and Community Health, 63(11), 936-942. doi: DOI
10.1136/jech.2008.077016
Athearn, James L. (1981). Risk and insurance: West Publishing Company New York.
Barnett, Julie, & Breakwell, Glynis M. (2001). Risk Perception and Experience: Hazard
Personality Profiles and Individual Differences. Risk Analysis, 21(1), 171-178.
doi: 10.1111/0272-4332.211099
Douglas, M. (1994). Risk and Blame: Essays in Cultural Theory: Routledge.
Glendon, A Ian, Clarke, Sharon, & McKenna, Eugene. (2006). Human safety and risk
management: CRC Press.
Lenore S. Azaroff, & Wegman, David H. (2004). The Occupational Health of Southeast
Asains in Lowell: A Descriptive Study. Int J Occup Environ Health, 10, 47-54.
Nayyar, Deepak. (2000). Working Papers No. 194 August 2000.
70

Oltedal, Sigve, Moen, Bjorn-Elin, Klempe, Hroar, & Rundmo, Torbjorn. (2004, p.11).
Explaining risk perception: An evaluation of cultural theory.
Schenker, Marc B. (2010). A global perspective of migration and occupational health.
American Journal of Industrial Medicine, 53(4), 329-337. doi:
10.1002/ajim.20834
Stallones, Lorann, Acosta, Martha S. Vela, Sample, Pat, Bigelow, Philip, & Rosales,
Monica. (2009). Perspectives on Safety and Health Among Migrant and
Seasonal Farmworkers in the United States and México: A Qualitative Field
Study. The Journal of Rural Health, 25(2), 219-225. doi: 10.1111/j.1748-
0361.2009.00221.x
Tran, VenM, & Perry, JimA. (2003). Challenges to using neem (Azadirachta indica var.
sianensis Valenton) in Thailand. Economic Botany, 57(1), 93-102. doi:
10.1663/0013-0001(2003)057[0093:CTUNAI]2.0.CO;2
Weishaar, H. B. (2008). Consequences of international migration: A qualitative study
on stress among Polish migrant workers in Scotland. Public Health, 122(11),
1250-1256. doi: 10.1016/j.puhe.2008.03.016

Electronic Media

Beck, Ulrich. (1992). Risk Society: Towards a New Modernity: SAGE Publications.
Dunn, James R., & Dyck, Isabel. (2000). Social determinants of health in Canada’s
immigrant population: results from the National Population Health Survey.
Social Science & Medicine, 51(11), 1573-1593.
doi: http://dx.doi.org/10.1016/S0277-9536(00)00053-8
Gao, Qin, Yang, Sui, & Li, Shi. (2012). Labor contracts and social insurance
participation among migrant workers in China. China Economic Review, 23(4),
1195-1205. doi: http://dx.doi.org/10.1016/j.chieco.2012.09.002
International Labour Organization. (2010, p.15). International labour migration. A
rights-based approach. 1, 1-202.
International Organization for Migration and World Health Organization. (2009).
Financin Healthcare for Migrants, A case study from Thailand.
71

Krimsky, Sheldon, & Golding, Dominic. (1992). Social theories of risk.


Luhmann, Niklas. (1993). Communication and Social Order: Risk: A Sociological
Theory: Transaction Publishers.
Paul Farmer. (2004, p.318). An Anthropology of Structural Violence. Current
Anthropology, 45(3), 305-325. doi: 10.1086/382250
Slovic, Paul Ed. (2000). The perception of risk: Earthscan Publications.
Vasuprasat, Pracha. (2008). Inter-state cooperation on labour migration: Lessons
learned from MOUs between Thailand and neighboring countries:
International Labour Organization.
Wachinger, Gisela, Renn, Ortwin, Bianchizza, C, Coates, T, De Marchi, B, Domènech, L,
. . . Pellizzoni, L. (2010). Risk perception and natural hazards. WP3-Report of
the CapHaz-Net Projekt. URL: http://www. caphaz-net. org. Synergien
zwischen Naturschutz und Klimaschutz–Wasser/Gewässer (-Management
WHO. (1998). The application of risk communication to food standards and safety
matters.
ภาคผนวก
72

ภาคผนวก ก
แบบสอบถามทั่วไป

ขอมูลพืน้ ฐาน ......................................................................................


รหัสบุคคล ......................................................................................
สถานทีส่ ัมภาษณ ......................................................................................
วันที่ ......................................................................................
เพศ ชาย หญิง
ลักษณะงานปจจุบัน ......................................................................................

1. อายุ................................................
2. ประเทศบานเกิด
พมา กัมพูชา ลาว อื่นๆ (ระบุ)...............................
3. เชื้อชาติ........................................
4. ความสามารถในการใชภาษา: (เลือกไดมากกวาหนึ่งขอ)
พูด อานและเขียน
ภาษา
ไดบาง คลอง ไดบาง คลอง
ไทย

5. ใบอนุญาตทํางาน มี ไมมี (ถามี) เก็บอยูทใี่ คร..................................................


6. มาทํางานในประเทศไทยเมื่อ ป........................................
7. บริษัทนี้ใชที่ทํางานที่แรกหรือไม...........................ถาไมใชเคยทําที่ไหนมากอน
..........................................
8. มีญาติหรือคนในครอบครัวทํางานดวยกันที่นี่หรือไม………………………………………..
9. ทานแตงงานหรือยัง
ยังไมแตง แตงงานแลว หยา/แยกกันอยู หมาย
สามี/ภรรยา สัญชาติ…………………………..เชื้อชาติ…………………………..
10. มีบุตรกี่คน.........................................................
11. รายไดขณะนี้คือ
11.1 ……………………บาทตอวัน
73

11.2……………………บาทตอเดือน
12. ทานเริ่มทํางานเวลา………………………..และเลิกงานเวลา…………………………
13. มีวันหยุดกี่วันในแตละสัปดาห………………………………วัน ไดคาจางหรือไม………………………….
14. นายจางใหอะไรทานบาง
เสื้อผา อาหาร หองพัก อยูทั้งหมด……………….คน
ออกคารักษาพยาบาลให
ออกเงินคาใบอนุญาตให ทั้งหมด ครึ่งหนึ่ง ไมจายใหเลย
15. เมื่อเจ็บปวยหรือไมสบาย ทานทําอยางไร (เลือกไดมากกวาหนึ่งขอ)
หยุดงานโดยไดรับคาจาง หยุดงานโดยไดรับคาจาง
ซื้อยามาทานเอง นายจางหายาให
ไปหาหมอที่คลินิกเอง ไปหาหมอที่คลินิกกับเพื่อน
ไปหาหมอที่คลินิกกับนายจาง ไมทําอะไรเลย/ไมเคยปวย อื่นๆ(ระบุ)……………..
16. เคยเกิดอุบัติเหตุในการทํางานหรือไม………………………………………………………………..
17. มีประกันสุขภาพหรือไม
ประกันสังคม ประกันสุขภาพ อื่นๆ(ระบุ)……………..
74

ภาคผนวก ข
แนวคําถามการสัมภาษณเชิงลึก สําหรับผูบริหาร ผูจัดการบริษัทผูรับเหมา และ
หัวหนาแรงงาน

รหัสขอมูล ......................................................................................
วันที่สัมภาษณ ......................................................................................
สถานทีส่ ัมภาษณ .....................................................................................
หญิง/ชาย ......................................................................................
ประเทศบานเกิด ......................................................................................
ประเภทของงานที่ทาํ ......................................................................................
อายุงาน ......................................................................................

1. ในบริษัททานมีระบบการจางงานอยางไร การจาง แรงงานไทยกับแรงงานตางชาติตางกัน


อยางไร
2. ทานมีนโยบายการจางแรงงานตางชาติอยางไร (เงินเดือน การหยุดงาน การรักษาพยาบาล)
3. ทําไมทานจึงตัดสินใจจางแรงงานตางชาติ
4. อะไรคือขอดี/ขอเสีย หรืออุปสรรคในการจางแรงงานตางชาติ
5. ในชวง 2-3 ปที่ผานมา แรงงานตางชาติไดรับอุบัติเหตุไหม
6. ทานจัดการกับอุบัติเหตุอยางไร
7. ทานมีระบบการจัดการหรือแนวทางปองกันอุบัติเหตุอยางไร
8. มีอะไรอีกหรือไมที่อยากจะบอก
75

ภาคผนวก ค
แนวทางการสัมภาษณเชิงลึก สําหรับแรงงานขามชาติ และผูใหขอมูลที่สําคัญ

รหัสขอมูล ......................................................................................
วันที่สัมภาษณ ......................................................................................
สถานทีส่ ัมภาษณ .....................................................................................
หญิง/ชาย ......................................................................................
ประเทศบานเกิด ......................................................................................
ประเภทของงานที่ทาํ ......................................................................................
อายุงาน ......................................................................................

1. ทานเขามาเมืองไทยเมื่อไร เขามาอยางไร
2. กอนหนาที่จะมาทํางานบริษัทนี้ทานไดทํางานอะไรบาง
3. ทานเขามาทํางานที่บริษัทนี้ไดอยางไร
4. ปจจุบันงานที่ทําอยู ลักษณะเปนแบบไหน ทํางานกี่โมง ถึงกี่โมง
5. ตอนที่เขามาทํางานมีคนอธิบายลักษณะงานที่ทําไหม อยางไร
6. ทานเคยไดรับอุบัติเหตุจากการทํางาน /หรือมีเพื่อนไดรับอุบัติเหตุไหม กรุณาเลาใหฟง
7. ทานหรือเพื่อนของทานจัดการกับอุบัติเหตุนั้นอยางไร
8. ทานคิดวางานที่ทําปจจุบันนี้มีอันตรายอะไรบาง อะไรที่ทานกังวลที่สุด
9. ในกรณีทที่ านไมสบาย หรือตัง้ ครรภทานทําอยางไร
10. บริษัทควรมีวิธีใดในการลดอันตราย หรือปญหาที่เจอบอย
11. มีอะไรอีกมั๊ยทีอ่ ยากจะบอกเราเพิ่มเติม
76

ภาคผนวก ง
ขอมูลประชากร

รหัส วันที่ ชื่อ เพศ อายุ สถานภาพ ใบอนุญาต อายุ อายุงานใน การศึกษา ลักษณะงาน
สัมภาษณ สมรส ทํางาน งานใน สถาน
ไทย ประกอบการ
1 13 พ.ย.57 สา ญ 28 แตงงาน มี 14 2 ป.6 คนคุมบน
โกดัง
2 19 พ.ย.57 สิทธิ์ ช 23 โสด มี 1 1 ไมเคย รัดชิ่ง
เรียน
3 20 พ.ย.57 สมุทร ช 42 แตงงาน มี 15 ปแลว 23 2 ไมเคย รัดชิ่ง
เรียน กอสราง
วันหยุด
4 13 ธ.ค.57 ทาน ช 20 โสด มี (บัตร 2 1 ชั้น8 หัวหนาสาย/
หมดอายุ) ทําดวย
5 13 ธ.ค.57 เทือน ช 45 แตงงาน มี 20 2 ไมเคย หัวหนาสาย
เรียน
6 13 ธ.ค.57 จันทร ญ 22 แตงงาน มี 7 1 ป.3 เกี่ยวแปง
(สายตายาว)
7 19 ม.ค.58 วันนา ช 31 แตงงาน มี 2 2 ไมเคย ยกกลองลงใส
เรียน รถ
8 20 ม.ค.58 เอง ญ 45 แตงงาน มี 20 1 ไมเคย หัวหนาสาย
เรียน
9 27 ม.ค.58 จันไร ญ 34 แตงงาน มี (บัตร 2 2 ไมเคย หัวหนาสาย/
หมดอายุ) เรียน ทําดวย
10 28 ม.ค.58 ดา ญ 35 โสด มี 2 1 ป.6 เกี่ยวแปง ยก
ของ
11 28 ม.ค.58 มับ ญ 18 โสด มี (บัตร 2 1 ป.3 เกี่ยวแปง ยก
หมดอายุ) ของ
12 2 ก.พ.58 นัท ช 23 แตง มี 13 1 ไมไดเรียน แบกแปง ยก
กลอง
13 2 ก.พ.58 รักษา ช 23 โสด มี 13 1 ป.6 แบกแปง ยก
กลอง
14 2 ก.พ.58 อัสมัน ช 25 โสด มี 8 2 ป.6 แบกแปง ยก
กลอง
77

รหัส วันที่ ชื่อ เพศ อายุ สถานภาพ ใบอนุญาต อายุ อายุงานใน การศึกษา ลักษณะงาน
สัมภาษณ สมรส ทํางาน งานใน สถาน
ไทย ประกอบการ
15 9 ก.พ.58 สมนาง ช 35 แตงงาน มี (บัตร 16 2 ไมไดเรียน หัวหนาสาย/
หมดอายุ) ทําดวย
16 21 ก.พ.58 ตรี ญ 40 แตงงาน มี 4 2 ไมไดเรียน เกี่ยวแปง
17 21 ก.พ.58 ดํา ช 36 โสด มี 16 1 ป.6 แบกของ
18 13 มี.ค.58 หัด ช 23 แตงงาน มี (บัตร 2 1 ป.6 หัวหนาสาย/
หมดอายุ) ทําดวย
19 17 มี.ค.58 สมเอือน ช 36 แตงงาน มี 1 1 ป.6 แบกแปง
20 17 มี.ค.58 นุตา ญ 21 แตงงาน มี 9 1 ป.6 แบกแปง
21 28 พ.ค.58 ผูจัดการ ช 51 แตงงาน ไทย 22 22 ป.ตรี ผูจัดการ
ฝาย
ปฏิบัติการ

22 29 มิ.ย.58 ผูจัดการ ช 56 แตงงาน ไทย 30 2 ป.ตรี ผูจัดการ


บริษัท
ผูรับเหมา

23 29 มิ.ย.58 หัวหนา ช 54 แตงงาน ไทย 30 2 ปวส หัวหนาคุม


แรงงาน แรงงาน
78

ประวัติผเู ขียน

ชื่อ นางกิตติมา ภูระยา


วันเดือนปเกิด 29 ตุลาคม พ.ศ.2524
วุฒิการศึกษา ปการศึกษา 2546 : วิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ
ตําแหนง ผูชวยผูจัดการฝายอาชีวอนามัย ความปลอดภัย
และสภาพแวดลอมในการทํางาน
บริษัทแหงหนึง่ ในกรุงเทพมหานคร
ประสบการณทํางาน 2547-2549: เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน
บริษัท บางสะพาน บารมิล จํากัด (มหาชน)

You might also like