ข่าวพลังงาน เฟรนด์

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 45

MEA-CU-EA" ลงนามขับเคลือ่ นมหาวิทยาลัยอัจฉริยะด้ านพลังงาน

ข่าวทัว่ ไทย
ไทยรัฐออนไลน์17 ธ.ค. 2562 22:40 น.
SHARE

3 CEO ชั้นนำด้านพลังงานและการศึกษา การไฟฟ้ านครหลวง หรื อ MEA พร้อมด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


หรื อ CU และ บริ ษทั พลังงานบริ สุทธิ์ จำกัด (มหาชน) หรื อ EA ร่ วมลงนาม "บันทึกความเข้าใจโครงการพื้นที่ทดสอบ
มหาวิทยาลัยอัจฉริ ยะด้านพลังงานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : ระบบซื้ อขายไฟฟ้ าแบบ Peer-to-Peer และอาคารอัจฉริ ยะ
ระหว่างการไฟฟ้ านครหลวง จุฬาฯ และบริ ษทั พลังงานบริ สุทธิ์ จำกัด (มหาชน)" เพื่อขับเคลื่อนวิถีชีวิตเมืองมหานคร
อัจฉริ ยะ เดินหน้าพัฒนาเทคโนโลยีดา้ นพลังงานหมุนเวียน ระบบกักเก็บพลังงาน และรถยนต์ไฟฟ้ า ครั้งแรกใน
ประเทศไทยที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ หอประชุมจุฬาฯ กรุ งเทพฯ
นายกีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผูว้ า่ การการไฟฟ้ านครหลวง หรื อ MEA กล่าวว่า MEA ในฐานะรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวง
มหาดไทย มีหน้าที่จ ำหน่ายพลังงานไฟฟ้ าในพื้นที่กรุ งเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ มีความมุ่งมัน่ ในการเดิน
หน้ามหานครอัจฉริ ยะ (Smart City) เพื่อยกระดับวิถีชีวิตเมืองมหานคร โดย MEA มีความยินดีเป็ นอย่างยิง่ ในการร่ วมลง
นามบันทึกความเข้าใจในครั้งนี้ ทั้ง 3 ฝ่ ายจะร่ วมกันศึกษาและพัฒนาระบบซื้ อขายไฟฟ้ าแบบ Peer-to-Peer และอาคาร
อัจฉริ ยะ ในพื้นที่การศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งถือเป็ นพื้นที่สำคัญ ตั้งอยูใ่ จกลางเมืองและมีความต้องการใช้
ไฟฟ้ าในระดับสูง มีศกั ยภาพในการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar Rooftop)
ประมาณ 20 เมกะวัตต์ โดย MEA มีหน้าที่ในการออกแบบติดตั้ง Solar Rooftop และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของระบบ
จำหน่ายไฟฟ้ าในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้สามารถรองรับการทดลองซื้ อขายไฟฟ้ าแบบ Peer-to-Peer รวมทั้งดูแลและ
ควบคุมผลกระทบที่เกิดจากการซื้ อขายไฟฟ้ าให้อยูใ่ นวงจำกัด  ไม่กระทบต่อโครงข่ายของระบบจำหน่ายไฟฟ้ าในภาพรวม
โดยบันทึกความเข้าใจฉบับนี้ มีระยะเวลา 3 ปี ซึ่งจะช่วยให้ กฟน. มีขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการปรับปรุ งกฎระเบียบต่างๆ
เพื่อรองรับความต้องการใช้ไฟฟ้ าที่หลากหลาย เพิม่ ความมัน่ คง และความมีเสถียรภาพให้แก่ระบบจำหน่ายไฟฟ้ าได้อย่าง
ต่อเนื่อง อีกทั้งเป็ นการเพิ่มโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่ วมในการผลิตและใช้พลังงานทดแทนมากขึ้น ส่ งผลดีต่อ
ประเทศในการลดค่าใช้จ่ายการลงทุนก่อสร้างหรื อเลื่อนระยะเวลาที่จะต้องก่อสร้างโรงไฟฟ้ าใหม่ๆ ลงได้
ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า จุฬาฯ มีวิสยั ทัศน์ในการพัฒนาพื้นที่ภายใน
มหาวิทยาลัยให้เป็ นเมืองอัจฉริ ยะต้นแบบย่านแห่งนวัตกรรมที่สร้างสรรค์คุณค่าแก่ชุมชนและสังคม ผสานคุณภาพชีวิตและ
ธุรกิจ มุ่งหวังให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อการดำรงชีวิตที่ดีอย่างยัง่ ยืน ซึ่งแนวคิดในการพัฒนา Chula Smart Campus นั้น
ประกอบด้วยวิสยั ทัศน์ "SMART 5" คือ (1) SMART ENERGY (2) SMART ENVIRONMENT (3) SMART MOBILITY
(4) SMART SECURITY และ (5) SMART COMMUNITY โดยความร่ วมมือครั้งนี้ จะเน้นที่การพัฒนาเสาหลักทางด้าน
SMART ENERGY ซึ่งเป็ นการพัฒนาระบบการบริ หารจัดการพลังงานอัจฉริ ยะที่ประกอบด้วยการซื้ อขายไฟฟ้ าแบบ Peer-
to-peer และอาคารอัจฉริ ยะ พร้อมทั้งจะทำการทดลองการซื้ อขายไฟฟ้ าที่ผลิตได้ในระบบผ่านแพลตฟอร์มการซื้ อขายแบบ
P2P เพื่อศึกษาผลกระทบต่อระบบไฟฟ้ าในประเด็นต่างๆ ทั้งการวิเคราะห์กลไกตลาด (Market Mechanisms) การออกแบบ
สัญญาอัจฉริ ยะ (Smart Contracts) สำหรับการซื้ อขายไฟฟ้ า และการออกแบบอัตราค่าผ่านทาง (Wheeling charge) ที่เหมาะ
สมกับการซื้ อขายไฟฟ้ าแบบ P2P โดยคาดหวังว่าผลการศึกษาดังกล่าวจะช่วยให้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ดา้ นการพัฒนา
ประเทศในมิติทางด้านพลังงานและเพื่อให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็ นตัวอย่างหนึ่งของต้นแบบเมืองอัจฉริ ยะทางด้าน
พลังงานต่อไป

นายสมโภชน์ อาหุนยั ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร บริ ษทั พลังงานบริ สุทธิ์ จำกัด (มหาชน) หรื อ EA กล่าวว่า 
บริ ษทั พร้อมแล้วที่จะนำ Trading Platform ที่บริ ษทั ได้พฒั นาขึ้น โดยร่ วมกับทีมงานของ Blockfint มาใช้ทดสอบซื้ อขาย
พลังงานไฟฟ้ าผ่านระบบออนไลน์ ณ สถานที่จริ งเป็ นครั้งแรก พื้นที่ที่ทดสอบในโครงการนี้ จะพัฒนาเป็ นอาคารอัจฉริ ยะ
ของจุฬาฯ ซึ่งมีความเหมาะสมและความพร้อมสูง สำหรับระบบการซื้ อขายพลังงานไฟฟ้ านี้ ใช้ชื่อว่า Gideon (กิเดียน) เป็ น
แพลตฟอร์มซื้ อขายพลังงาน ที่ลูกค้าสามารถซื้ อพลังงานจากผูผ้ ลิตได้โดยตรง มี AI ช่วยในการทำนายและเทรดได้แบบ
อัตโนมัติ และใช้เทคโนโลยี Block Chain เข้ามาจัดการ จึงมัน่ ใจได้วา่ มีความปลอดภัยสูง ซึ่งในระยะถัดไปบริ ษทั มีแผนจะ
ทำการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา (Solar Rooftop)  ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage
System)  สถานีอดั ประจุไฟฟ้ าสำหรับรถยนต์ไฟฟ้ า และ มิเตอร์ไฟฟ้ า เพื่อสร้างระบบนิเวศน์ให้เป็ นต้นแบบของ
มหาวิทยาลัยอัจฉริ ยะด้านพลังงานตามเจตนารมณ์ของจุฬาฯ ผลสำเร็ จจากโครงการนี้ จะนำไปสู่การมีระบบการผลิต
จำหน่าย และใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น
การลงนามบันทึกความเข้าใจในครั้งนี้ ถือเป็ นจุดเริ่ มต้นที่สำคัญในการพัฒนาโครงสร้างระบบจำหน่ายไฟฟ้ าของ
ประเทศให้รองรับกับเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการเติบโตของการผลิตพลังงานทดแทนใน
ประเทศ โดยที่ผา่ นมาทั้ง 3 หน่วยงาน ได้มีการประสานความร่ วมมือในการขับเคลื่อนมหานครอัจฉริ ยะมาอย่างต่อเนื่อง
โดย MEA ได้ร่วมกับ EA ในการขยายสถานีชาร์จยานยนต์ไฟฟ้ ามากกว่า 100 สถานี ทัว่ เขตจำหน่ายของ MEA ซึ่งถือเป็ น
ส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้ าให้เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิ ทธิภาพในประเทศไทย ในขณะที่ MEA ได้มี
การลงนามความร่ วมมือกับ CU ในการพัฒนาระบบจ่ายไฟฟ้ าและนวัตกรรม รองรับโครงการเมืองจุฬาฯ อัจฉริ ยะ (CHULA
Smart City) โดยบูรณาการร่ วมกัน เพื่อปรับปรุ งและพัฒนาระบบไฟฟ้ าเทคโนโลยีนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องมาใช้ในพื้นที่การ
ศึกษาและพื้นที่เชิงพาณิ ชย์ รวม 1,153 ไร่ ล้อมรอบด้วยถนนพระราม 4 – ถนนพระราม 1 – ถนนบรรทัดทอง – ถนน
อังรี ดูนงั ต์ แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมัน่ ตั้งใจ ของทั้ง 3 หน่วยงาน ในการเดินหน้าสร้างมหานครอัจฉริ ยะ โดยนำร่ องที่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใจกลางกรุ งเทพฯ และพร้อมขยายต่อไปในพื้นที่อื่น ๆ ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและยัง่ ยืน.
https://www.thairath.co.th/news/local/bangkok/1728381

เก็บเชื้อเพลิงไฮโดรเจนเป็ นมิตรสิ่งแวดล้อม
ข่าวต่างประเทศ
ไทยรัฐฉบับพิมพ์10 ธ.ค. 2562 12:01 น.
SHARE

Dr.Guohua Jia Credit : Curtin University


พลังงานไฮโดรเจนเป็ นหนึ่งในสิ่ งที่ให้บริ การด้านพลังงานหมุนเวียนที่สะอาดที่สุดจากธรรมชาติ แต่กระบวนการสกัด
ไฮโดรเจนในปัจจุบนั นั้น การใช้งานเมทานอลอาจต้องทำในสภาวะที่รุนแรงด้วยอุณหภูมิความร้อนสูงกว่า 200 องศา
เซลเซียส และความดันสูงประมาณ 25 ถึง 50 บาร์ ซึ่งอาจส่ งผล ให้เกิดการปล่อยก๊าซคาร์บอนออกมา

เมื่อเร็ วๆนี้ มีงานวิจยั ใหม่นำโดย ดร.กัวฮวา เจี๋ย จากมหาวิทยาลัยเคอร์ติน ในออสเตรเลีย เผยถึงการวิเคราะห์ส ำรวจการใช้เม
ทานอลให้เป็ นแหล่งเก็บเชื้อเพลิงไฮโดรเจน ซึ่งเชื่อว่านี่จะเป็ นทางเลือกพลังงานที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม สามารถสกัดกั้น
การสร้างแหล่งพลังงานมลพิษได้แบบหมดจด การวิจยั นี้ เผยถึงกลยุทธ์ในการแยกไฮโดรเจนจากเมทานอล โดยพิจารณา
ความเป็ นไปได้ของการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการสลายเมทานอลที่อุณหภูมิหอ้ งและภายใต้ แรงดันปกติโดยใช้แผน
นาโนโมลิบดินมั ไดซัล-ไฟต์ (MoS2) ซึ่งอนุภาคนาโนโมลิบดินมั -ไดซัลไฟต์จะทำหน้าที่เป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยาโดยใช้แสง
อาทิตย์เพื่อแยกไฮโดรเจนออกจากสารประกอบเมทานอล
นักวิจยั เผยว่า เมื่อแยกไฮโดรเจนออกมาแล้วก็สามารถใช้เป็ นเชื้ อเพลิงไฮโดรเจนได้ แสดงว่าเมทานอลมีศกั ยภาพในการเป็ น
แหล่งกักเก็บเชื้อเพลิงไฮโดรเจนและเป็ นกระบวนการสกัดทรัพยากรหมุนเวียนที่สามารถทำได้อย่างสะอาดและเป็ นมิตรต่อ
สิ่ งแวดล้อม.
https://www.thairath.co.th/news/foreign/1722205

เซลล์ แสงอาทิตย์ทำจากเหล็กจะมีประสิทธิภาพขึน้
ข่าวต่างประเทศ
ไทยรัฐฉบับพิมพ์25 พ.ย. 2562 10:01 น.
SHARE

ภาพ : Lund University


ดวงอาทิตย์เป็ นแหล่งพลังงานบริ สุทธิ์ และพลังงานหมุนเวียนที่ไร้ขีดจำกัด อย่างไรก็ตามการผลิตส่ วนประกอบในการแก้
ปัญหาเซลล์แสงอาทิตย์ที่ใช้ซิลิคอนในปัจจุบนั นั้นต้องการพลังงานจำนวนมาก และเซลล์แสงอาทิตย์ใหม่หลายแห่งก็ใช้
องค์ประกอบที่หายากหรื อมีพิษ
เมื่อเร็ วๆนี้ มีการศึกษาจากนักวิจยั นานาชาติน ำโดยมหาวิทยาลัยลุนด์ ในสวีเดน ชี้ ให้เห็นว่า 30% ของพลังงานในโมเลกุล
ของเหล็กได้ดูดซับแสงบางชนิดหายไปในลักษณะที่ไม่เคยรู้มาก่อน ทำให้นกั วิจยั หวังว่าจะสามารถพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์
ที่มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น โดยเริ่ มพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์แบบทางเลือกโดยใช้เหล็กเป็ นส่ วนหนึ่งของการวิจยั และนำมา
ทำการทดลองเลเซอร์อิเล็กตรอนอิสระเพื่อศึกษาว่าโมเลกุลเหล็กที่ดูดซับแสงนั้นถ่ายโอนอิเล็กตรอนเข้าสู่สภาวะที่สามารถ
สกัดพลังงานได้อย่างไร
พลังงานผลการวิจยั พบว่าวัสดุอย่างเหล็กมีความยัง่ ยืนสามารถปรับขนาดได้ ซึ่งจะมาทดแทนหรื อเสริ มการแก้ปัญหาเซลล์
แสงอาทิตย์ที่ใช้ซิลิคอนในปัจจุบนั ทีมเชื่อมัน่ ว่าเหล็กซึ่งเป็ นทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ในเปลือกโลกอาจเป็ นวิธีการแก้
ปัญหา และจะทำให้นกั วิจยั เผชิญกับความท้าทายด้าน ระดับโลก.
https://www.thairath.co.th/news/foreign/1710981

พลังงาน 'เด็ก' สู่ พลัง 'น้ำ' การจัดการน้ำอย่างยัง่ ยืนของเด็กๆ


ไลฟ์ สไตล์ไลฟ์
ไทยรัฐออนไลน์2 ก.ค. 2561 16:09 น.
SHARE
พี่แคมปัส จะพาไปดูการพิทกั ษ์น ้ำอย่างยัง่ ยืน ด้วยพลังจากเยาวชนไทย โครงการดีๆ ที่หลายคนอาจไม่สนใจ แต่
เรื่ องราวครั้งนี้ อาจไม่ใช่เช่นนั้น กับจากจุดเริ่ มต้นเล็กๆ ของเด็กนักเรี ยน ในจังหวัดพระนครศรี อยุธยา ที่มีความคิดอยากจะ
พัฒนาแหล่งน้ำรอบโรงเรี ยนให้สะอาด และสามารถทำได้สำเร็ จ ต่อมาขยายผลออกสู่ ชุมชนเพื่อสร้างอนาคตที่สดใสเพื่อ
โลกของเรา ด้วยการเปิ ดศูนย์การเรี ยนรู้ "โครงการเยาวชนพิทกั ษ์สายน้ำ" แห่งแรกในจังหวัดพระนครศรี อยุธยา ณ โรงเรี ยน
สาคลีวิทยา โดยโครงการนี้ เกิดจากการจับมือเป็ นพันธมิตร ระหว่างผลิตภัณฑ์น ้ำดื่มเนสท์เล่ เพียวไลฟ์ และ WWF
ประเทศไทย เพื่อปลูกจิตสำนึกนักเรี ยน นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไปในจังหวัดพระนครศรี อยุธยา เรื่ องของการอนุรักษ์
และจัดการทรัพยากรน้ำบริ เวณชุมชนอย่างยัง่ ยืน

"ลูกา้ คิโอด้า" ผูอ้ ำนวยการบริ หารธุรกิจน้ำดื่ม บริ ษทั เนสท์เล่ (ไทย) จำกัด กล่าวไว้วา่ เรามีเจตนารมณ์อนั แน่วแน่
ในการดูแลทรัพยากรน้ำและสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน โดยได้ริเริ่ มดำเนินโครงการ “เยาวชนพิทกั ษ์สายน้ำ” ที่ร่วมมือกับ
WWF ประเทศไทย จัดขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2558 โดยให้ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์แหล่งน้ำรอบๆ โรงเรี ยนแก่นกั เรี ยนในจังหวัด
พระนครศรี อยุธยา พร้อมทั้งพัฒนาคนรุ่ นใหม่ในการเป็ นผูพ้ ิทกั ษ์น ้ำ ซึ่งยังจัดกิจกรรมอนุรักษ์น ้ำและสิ่ งแวดล้อมมาอย่างต่อ
เนื่อง โดยปี นี้ ได้ต่อยอดโครงการฯ จากโรงเรี ยนสู่ชุมชน ด้วยการเปิ ดศูนย์การเรี ยนรู้ “โครงการเยาวชนพิทกั ษ์สายน้ำ” เพื่อ
สร้างแรงบันดาลใจเรื่ องการอนุรักษ์น ้ำในโรงเรี ยนชุมชน เพราะเราเล็งเห็นว่า โรงเรี ยนชุมชนเป็ นศูนย์กลางสำคัญในการส่ ง
เสริ มการอนุรักษ์น ้ำ ให้กบั คนในชุมชนในวันนี้ และอนาคต พร้อมถ่ายทอดความรู้แก่ประชาชนทัว่ ไป ได้เข้ามาศึกษาเยีย่ ม
ชมโดยไม่มีค่าใช้จ่าย ในเรื่ องของการอนุรักษ์แหล่งน้ำ ตั้งแต่แหล่งกำเนิดของน้ำไปจนถึงการดูแลคุณภาพน้ำ ซึ่งสอดคล้อง
กับเจตนารมณ์ของเนสท์เล่ในการเพิ่มพูนคุณภาพชีวิต เสริ มสร้างสุ ขภาพดีสู่อนาคตเพื่อโลกของเรา

ด้าน "เยาวลักษณ์ เธียรเชาว์" ผูอ้ ำนวยการ WWF-ประเทศไทย กล่าวว่า เราดำเนินกิจกรรมให้ความรู้เรื่ องของการ


อนุรักษ์น้ำในจังหวัดพระนครศรี อยุธยาอย่างต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 4 โดยศูนย์การเรี ยนรู้ “โครงการเยาวชนพิทกั ษ์สายน้ำ” ณ
โรงเรี ยนสาคลีวิทยา ซึ่งตั้งอยูใ่ นชุมชนคลองขนมจีน เกิดขึ้นจากความคิดริ เริ่ มของเด็กๆ ที่อยูใ่ นโรงเรี ยนเครื อข่ายของ
โครงการ “เยาวชนพิทกั ษ์สายน้ำ” ว่าอยากมีนิทรรศการหมุนเวียนเพื่อเผยแพร่ โครงการฯ และแสดงผลงานที่ประดิษฐ์ข้ึนมา
เพื่อปรับปรุ งทรัพยากรน้ำภายในโรงเรี ยน พร้อมให้ความรู้คนทัว่ ไปในการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำเพื่อให้เกิดการดูแลรักษา
สายน้ำให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และประสบผลสำเร็ จเมื่อโรงเรี ยนและชุมชนเข้มแข็งขึ้นมาได้
น้องเต๊าะ-ปนิดา กาวมาตุ อายุ 18 ปี ตัวแทนจากโรงเรี ยนสาคลีวิทยา กล่าวว่า "หนูเป็ นแกนนำนักเรี ยนของโครง
การฯ ตั้งแต่ปี 1 เลยค่ะ หนูช่วยเผยแพร่ ความรู้ให้นอ้ งๆ และขยายเครื อข่ายสู่เพื่อนนักเรี ยนคนอื่นๆ สำหรับศูนย์การเรี ยนรู้ฯ
ในวันนี้ เป็ นการขยายเครื อข่ายสู่ชุมชนด้วยการสร้างศูนย์นิทรรศการ ตอนแรกที่เสนอไปคิดว่าศูนย์การเรี ยนรู้จะเป็ นแค่
ศาลาเล็กๆ ที่มีป้ายติดมอบความรู้ และเราไปยืนเล่าเรื่ องราวที่เราได้ท ำมา แต่พอได้เห็นศูนย์การเรี ยนรู้ที่เปิ ดตัววันนี้ หนูวา่
สวย และยังมีสถานีต่างๆ กับเกมต่างๆ ทำให้เราได้เห็นสิ่ งที่เราเคยทำมาในอดีต ว่าเมื่อก่อนน้ำเป็ นอย่างไร แล้วมาย้อนดูใน
ปัจจุบนั นี้ หนูรู้สึกดีมากที่พี่ๆ ทำให้เราขนาดนี้ หนูกอ็ ยากเชิญชวนให้คนในชุมชนใกล้เคียง และโรงเรี ยนใกล้เคียงเข้ามาดู
ศูนย์การเรี ยนรู้กนั ค่ะ"

ทั้งนี้ ภายในศูนย์การเรี ยนรู้แห่งนี้ ถูกแบ่งออกเป็ น 4 สถานี คือ 


สถานีที่ 1 น้ำจืดอยูห่ นใด

เป็ นสถานีที่ให้ความรู้เรื่ องของต้นกำเนิดของแหล่งน้ำจืดซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าน้ำที่นำมาใช้อุปโภคและบริ โภคมี


น้อยกว่า 1% เท่านั้น เพราะฉะนั้นจึงควรเริ่ มอนุรักษ์น ้ำตั้งแต่วนั นี้ เพื่อให้คนรุ่ นหลังมีน้ำสะอาดไว้ใช้อย่างเพียงพอ ต่อด้วย

สถานีที่ 2 อดีต ปัจจุบนั คลองขนมจีนสายน้ำแห่งชีวิต


เป็ นการบอกเล่าประวัติความเป็ นมาของคลองขนมจีน จากอดีตที่น ้ำเป็ นเหมือนชีวิตของชุมชนขนมจีน ทั้งเรื่ อง
การกิน ใช้ และสัญจรของประชากรทั้งสิ้ น 66,700 คนจาก 6 ตำบล ซึ่งมีจ ำนวนบ้านเรื อนกว่า 24,606 ครัวเรื อน แต่เมื่อวิถี
ชีวิตของคนในปัจจุบนั เปลี่ยนไปก็อาจส่ งผลกระทบต่อทรัพยากรน้ำได้ คนเราจึงควรตระหนักถึงการดูแลใส่ ใจแหล่งน้ำ
หลังจากเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงไปของสายน้ำ

สถานีที่ 3 โซ่อาหาร และสายใย 

ที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของทรัพยากรน้ำที่มีคุณภาพ เพราะความอุดมสมบูรณ์ของสายน้ำทำให้มีความ
หลากหลายของสิ่ งมีชีวิตสายพันธุ์ต่างๆ ที่พ่ งึ พาอาศัย หากน้ำเน่าเสี ย หรื อสิ่ งมีชีวิตสายพันธุ์ไหนหายไป ก็ท ำให้สายพันธุ์
อื่นได้รับผลกระทบเช่นกัน
สถานีที่ 4 โครงการเยาวชนพิทกั ษ์สายน้ำ

ซึ่งเป็ นการสร้างความตระหนักต่อหน้าที่ของการดูแลสายน้ำเพื่อปลูกจิตสำนึกของเยาวชนและคนทัว่ ไปให้หนั มาอนุรักษ์น ้ำ


อย่างยัง่ ยืน
นอกจากนี้ยงั มีสถานีพิเศษ ซึ่งเป็ นการแสดงโครงงานที่ต่อยอดจากโครงการเยาวชนพิทกั ษ์สายน้ำ และได้น ำไปปฏิบตั ิจริ ง ได้แก่
ผลงาน "กังหันสวย กรองน้ำใส" จากโรงเรี ยนวังน้อย (พนมยงค์วิทยา) และ "เครื่ องตีน ้ำ" โรงเรี ยนท่าเรื อนิตยานุกลู และ
ภายในโรงเรี ยนสาคลีวิทยา ซึ่งได้รับเลือกให้เป็ นสถานที่จดั สร้างศูนย์การเรี ยนรู้ "โครงการเยาวชนพิทกั ษ์สายน้ำ" ก็มีผลงานที่
โดดเด่น ทั้งการเปลี่ยนคุณภาพแหล่งน้ำรอบโรงเรี ยน จากน้ำเสี ยเป็ นน้ำใส โดยใช้เวลาเพียงแค่ 4 เดือน จนต่อยอดไปเป็ น
โรงเรี ยนต้นแบบ ให้กบั โรงเรี ยนอีกหลากแห่งในพื้นที่ รวมถึงชุมชนรอบข้าง โดยได้พฒั นาพื้นที่โรงเรี ยนกว่า 33 ไร่ ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุ ด 5 จุด ประกอบด้วย กระชังปลาและกระชังกุง้ ฝอย กระชังหอยขม โรงเพาะเห็ด บ่อสายบัว และบ่อแพผัก จน
สามารถนำผลผลิตที่ได้มาประกอบอาหารให้เด็กนักเรี ยนทั้งโรงเรี ยนได้รับประทานเป็ นอาหารกลางวัน รวมถึงนำไปขาย สร้าง
รายได้ให้แก่โรงเรี ยนด้วย.
https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/1324973

โอกาสทีส่ ู ญเสียไป เขือ่ น กับ ต้ นทุนทางสังคม


ข่าวเศรษฐกิจ
ไทยรัฐฉบับพิมพ์19 มี.ค. 2561 05:01 น.
SHARE
ธนวัฒน์ ตรี วิศวเวทย์

ดร.วีรพงษ์ รามางกูร นักเศรษฐศาสตร์อาวุโสของประเทศไทย และประธานคณะกรรมการบริ ษทั ช.การช่าง จำกัด (มหาชน)


นำคณะสื่ อมวลชนไปสำรวจความคืบหน้าโครงการก่อสร้างเขื่อนไฟฟ้ าพลังน้ำไซยะบุรี ที่ต้งั อยูบ่ นแม่น้ำโขง ห่างจากเมืองหลวง
พระบางไปประมาณ 80 กิโลเมตร

เขื่อนไฟฟ้ าพลังน้ำแห่งนี้สร้างขึ้นในแบบฝายน้ำล้นขนาดใหญ่ (Run-of-River) ตามความยาวของลำน้ำโขง 820 เมตร


สามารถผลิตกระแสไฟฟ้ าได้ 1,285 เมกะวัตต์
เป็ นการดำเนินงานภายใต้การร่ วมทุนกันระหว่าง รัฐบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) กับ บริ ษทั ไซยะ
บุรี พาวเวอร์ จำกัด (มหาชน) “CKP” โดยมีสญ ั ญาซื้ อขายไฟฟ้ าให้กบั การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) 95%
และ รัฐวิสาหกิจ สปป.ลาว 5% เริ่ มการก่อสร้างตั้งแต่ปี 2555 และจะสิ้ นสุ ดพร้อมเปิ ดดำเนินการเชิงพาณิ ชย์ในปี 2562
ที่ต้งั ของเขื่อนนี้อยูท่ างทิศตะวันออกของประเทศไทยติดกับจังหวัดน่าน อุตรดิตถ์ และเลย ซึ่งหลังจากที่เขื่อนไซยะบุรีสามารถ
ดำเนินการเชิงพาณิ ชย์ได้แล้ว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยจะได้รับประโยชน์สูงสุ ดด้วยการมีไฟฟ้ าใช้อย่างเพียงพอ และ
ครอบคลุมพื้นที่ทวั่ ภูมิภาค

เขื่อนไซยะบุรี เป็ น 1 ใน 11 เขื่อนที่รัฐบาล สปป.ลาววางแผนจะดำเนินการในลักษณะฝายน้ำล้นแบบเดียวกันบนแม่น้ำโขง


หลังจากที่สาธารณรัฐประชาชนจีน สร้างเขื่อนบนแม่น้ำโขงในส่ วนที่อยูใ่ นจีน-เมียนมาไปแล้ว 7 เขื่อน
โครงการไฟฟ้ าพลังน้ำไซยะบุรีถูกออกแบบ และพัฒนาด้วยเทคโนโลยีทนั สมัยซึ่งเป็ นที่ยอมรับจากผูผ้ ลิตชั้นนำทัว่ โลก ภายใต้
คำแนะนำ และการออกแบบก่อสร้างของผูเ้ ชี่ยวชาญระดับโลกจากประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ และทีมกรุ๊ ปจาก
ประเทศไทย

ทำให้ปริ มาณน้ำที่ไหลเข้าเขื่อนเท่ากับปริ มาณน้ำที่ไหลออกจากโครงการ และไม่มีการเบี่ยงน้ำออกจากแม่น้ำโขง


ปริ มาณน้ำที่ไหลผ่านเขื่อนจึงเป็ นไปตามปริ มาณน้ำธรรมชาติ เพราะไม่มีอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่เหมือนเขื่อนกักเก็บน้ำทัว่ ไป หลัง
ก่อสร้างเสร็ จ และเริ่ มผลิตกระแสไฟฟ้ าจะทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำโขงสูงขึ้นเฉพาะบริ เวณด้านเหนือน้ำจากที่ต้งั โครงการไป
จนถึงตอนใต้ของเมืองหลวงพระบาง โดยมีระดับน้ำใกล้เคียงกับระดับน้ำสูงสุ ดในฤดูน ้ำหลากตามธรรมชาติ ส่ วนตอนล่าง หรื อ
ท้ายน้ำของโครงการ แม่น้ำโขงจะมีระดับปกติตามธรรมชาติ
ด้วยเทคโนโลยีการก่อสร้างที่ทนั สมัย และการคัดเลือกเครื่ องจักร รวมถึงอุปกรณ์ส ำคัญๆ เช่น บานประตู กังหันน้ำ เครื่ องกำเนิด
ไฟฟ้ า หม้อแปลง ระบบสายส่ งกระแสไฟฟ้ า ตลอดจนถึงระบบควบคุม และอุปกรณ์ความปลอดภัยต่างๆเพื่อให้มนั่ ใจในการใช้
เขื่อนไซยะบุรีให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด

นายธนวัฒน์ ตรี วิศวเวทย์ กรรมการผูจ้ ดั การ ไซยะบุรี พาวเวอร์ ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับความสำคัญของการก่อสร้างที่น ำเอาเทคโนโลยี
ทางวิศวกรรมชั้นนำมาใช้วา่ เป็ นความจำเป็ นที่จะต้องทำให้เขื่อนไซยะบุรี สามารถรองรับเส้นทาง การเดินเรื อ ซึ่งต้องแล่นผ่าน
เข้าเขื่อนได้ตลอดทั้งปี เพื่อช่วยเสริ มสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และสังคมของอนุภมู ิภาคลุ่มแม่น้ำโขงโดยรวมให้ได้

ด้วยเหตุน้ ี ช่องทางการเดินเรื อจึงถูกออกแบบมาให้มีความกว้าง 12 เมตร และมีความยาวประมาณ 700 เมตร เมื่อการก่อสร้าง


แล้วเสร็ จจะสามารถรองรับเรื อขนส่ งสิ นค้าขนาดใหญ่ได้ถึง 500 ตัน เช่นเดียวกับการเดินทางโดยเรื อเพื่อการท่องเที่ยว
“เมื่อเรื อมาจากท้ายน้ำที่มีระดับน้ำต่ำกว่า จะแล่นเข้าสู่ ช่องพักเรื อด้านล่าง (Lower Lock Chamber) ประตูน ้ำควบคุม
น้ำบานท้ายน้ำจะปิ ดลง และมีการปล่อยน้ำจากเหนือเขื่อนเข้ามาเพื่อยกระดับน้ำและเรื อสูงขึ้นเท่ากับช่องพักเรื อด้านบน
(Upper Lock Chamber) จนน้ำนิ่ง แล้วจึงเปิ ดประตูให้เรื อผ่านเข้าสู่ ทางเดินเรื อเหนือน้ำเพื่อให้เรื อผ่านออกไปได้...
เช่นเดียวกับการล่องเรื อจากเหนือน้ำไปสู่ ทา้ ยน้ำ ก็ใช้วิธีเดียวกันภายใต้การควบคุมบานประตูที่มีประสิ ทธิภาพ ซึ่งจะไม่ท ำให้
เป็ นอุปสรรคต่อการท่องเที่ยวและการเดินเรื อเพื่อการขนส่ งสิ นค้า ซึ่งมีมากขึ้นเรื่ อยๆในลุ่มแม่น้ำโขง”

เขื่อนไซยะบุรี ยังมีทางระบายน้ำซึ่งเป็ นองค์ประกอบสำคัญในการควบคุมปริ มาณน้ำที่ไหลผ่านโครงการ เพื่อป้ องกันผลกระทบ


ต่อประชาชน และระบบนิเวศท้ายน้ำ ซึ่งสามารถระบายน้ำได้สูงสุ ด 47,500 ลบ.เมตรต่อวินาที จึงเหมาะแก่การใช้น ้ำเพื่อการ
ดำรงอยูข่ องชุมชน และการผลิตกระแสไฟฟ้ าได้อย่างต่อเนื่อง

จากกำลังการผลิตรวม 1,285 เมกะวัตต์ เขื่อนไซยะบุรี จะสามารถผลิตและจ่ายไฟฟ้ าส่ งเข้าระบบสายส่ งได้พลังงานการผลิต


ตลอดปี เท่ากับ 7,370 ล้านหน่วย จำหน่ายไฟฟ้ าให้แก่ประเทศไทยได้ 6,929 ล้านหน่วย และ สปป.ลาว 441 ล้านหน่วย

ส่ วนประเด็นที่มีขอ้ วิตกกังวลเกี่ยวกับการขยายพันธุ์ปลาน้ำจืดจำนวนมากในแม่น้ำโขงนั้น ไซยะบุรี พาวเวอร์ ได้ลงทุนกว่า


800 ล้านบาท เพื่อสร้างระบบทางปลาผ่านอย่างรอบคอบเพื่อให้ปลาส่ วนใหญ่ผ่านโครงการได้ในทุกฤดูกาลทั้งปลาที่อพยพ
ขึ้นทวนน้ำ และอพยพกลับไปตามน้ำด้วยช่องยกระดับปลาผ่านได้ เช่นเดียวกับทางผ่านของเรื อ
นอกจากนี้ ยังเพิ่มระบบทางปลาผ่านที่ช่องทางเดินเรื อให้ปลาสามารถผ่านขึ้นลงในช่วงตลอดการก่อสร้างจนแล้วเสร็ จในปี
2562 โดยไม่มีอุปสรรคใดๆด้วย

สำหรับการดูแลผลกระทบของสังคม โดยเฉพาะประชากรที่อาศัยอยูร่ ิ มฝั่งแม่น้ำโขง เมื่อระดับน้ำสูงขึ้นนั้น นายธนวัฒน์ กล่าว


ว่า บริ ษทั ได้จดั ทำแผนการโยกย้าย และฟื้ นฟูสภาพความเป็ นอยูข่ องผูค้ นจำนวน 600 กว่าครัวเรื อน โดยยึดแนวนโยบายของ
รัฐบาล สปป.ลาวว่า

ผูค้ นในบริ เวณนี้จะต้องมีความเป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ึน และมีรายได้สูงขึ้นกว่าเดิมคือ จาก 1,800 เหรี ยญสหรัฐฯ หรื อราว 56,700
บาท (4,725 บาทต่อครัวเรื อนต่อปี : 31.50 บาทต่อดอลลาร์ ) เพิม่ ขึ้นเป็ น 2,200 เหรี ยญต่อคนต่อปี หรื อ 69,300
บาทต่อครัวเรื อนต่อปี

ขณะเดียวกัน ก็ตอ้ งไปหาสถานที่ในบริ เวณใกล้เคียงที่มีสภาพแวดล้อมที่ดี รวมถึงสร้างโรงเรี ยน แหล่งอุปโภค-บริ โภค รวมถึง


ระบบการคมนาคมขนส่ งที่ดีให้

“การโยกย้ายประชาชนออกจากพื้นที่เป็ นไปด้วยความราบรื่ น เมื่อบริ ษทั ได้สร้างสิ่ งอำนวยความสะดวก และสิ่ งจำเป็ นในการ


ดำรงชีวิตอย่างเพียงพอให้ ไม่วา่ จะเป็ นถนน ระบบการคมนาคมขนส่ ง โรงเรี ยน สถานีอนามัย ศูนย์พฒั นาอาชีพ 22 รายการ...

ตลอดจนถึงการจัดสรรพื้นที่เกษตรกรรม 10 ประเภท และสร้างอาชีพนอกภาคเกษตรกรรม ให้อีก 12 ประเภท เพื่อให้หาเลี้ยง


ชีพได้อย่างเหมาะสม ทำให้สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของพวกเขาให้ดีข้ึนได้” นายธนวัฒน์ กล่าว
เขื่อนไฟฟ้ าพลังน้ำไซยะบุรีแห่งนี้ สร้างขึ้นด้วยงบประมาณ 135,000 ล้านบาท มากพอจะก่อให้เกิดการสร้างงานสร้างราย
ได้แก่ผคู้ นในพื้นที่เพื่อการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจได้อีกหลายเท่า ขณะเดียวกันยังก่อให้เกิดประโยชน์โพดผลมากมายแก่
ผูค้ นในสองฝั่งโขง และเศรษฐกิจระหว่างสองประเทศทั้งไทย และ สปป.ลาว จนอาจคำนวณเป็ นมูลค่าในอนาคตไม่ได้
น่าเสี ยดายที่โครงการขนาดใหญ่ และมีมูลค่ามหาศาลเช่นนี้ ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ในประเทศไทย เพราะมี NGO ออกมา
ประท้วงคัดค้านตลอด เขื่อนหลายแห่งที่ท ำประโยชน์ให้แก่สงั คมคนในพื้นที่ โครงสร้างพื้นฐาน และระบบเศรษฐกิจของ
ประเทศหลายแห่ง จึงต้องพับไป

แผนการสร้างเขื่อนสำคัญๆที่ถกเถียงกันมาเป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 20-30 ปี จึงหาข้อยุติไม่ได้ เพราะกลไกทางการเมืองไม่ท ำ


หน้าที่ในการตัดสิ น และหาข้อยุติวา่ สิ่ งใดดีที่สุดสำหรับประเทศ และประชาชน

เขื่อนแม่ยม และเขื่อนแม่วงก์ ซึ่งต้องสร้างขึ้นเพื่อป้ องกันน้ำท่วมซ้ำซากในหน้าฝน และแก้ปัญหาภาวะภัยแล้งในฤดูแล้ง ทั้งใน


จังหวัดสุ โขทัย นครสวรรค์ และจังหวัดต่างๆโดยรอบ เพื่อทำให้การบริ หารจัดการน้ำในแม่น ้ำเจ้าพระยาเป็ นไปอย่างครบวงจร
นั้น

ทำไม่ได้สกั ครั้งเมื่อเรื่ องของสองเขื่อนนี้ถูกหยิบยกขึ้นมา ก็มกั จะมีขอ้ อ้างเรื่ องพื้นที่ป่าที่จะถูกน้ำท่วมเพียง 1-2% เมื่อเทียบ


กับพื้นที่ป่าทั้งหมด หรื อพื้นที่เหนือเขื่อนเพียงหมื่นไร่ เมื่อเทียบกับพื้นที่ลา้ นไร่ ของอุทยาน และพื้นที่ที่จะท่วมบ้านเรื อน
ประชาชน รวมถึงอุทยานประวัติศาสตร์

ดร.วีรพงษ์ รามางกูร กล่าวว่า ฝรั่งให้ความสำคัญกับปากท้องของผูค้ นว่า จะต้องมาก่อน จึงจะเห็นว่าประเทศที่เจริ ญมัง่ คัง่ แล้ว
ทั้งยุโรป และอเมริ กา ได้สร้างเขื่อน โครงสร้างพื้นฐานต่างๆอย่างเต็มที่แล้ว แม่น้ำทุกสายไม่วา่ ใหญ่หรื อเล็ก ถูกใช้เพื่อการสร้าง
เขื่อน ฝาย เพื่อผลิตไฟฟ้ า และการชลประทานเต็มไปหมด
แม่น้ำดานูบก็ดี แม่น้ำสายอื่นๆก็ดี ล้วนแต่มีการก่อสร้างเขื่อน หรื อฝายเพื่อการชลประทาน และผลิตกระแสไฟฟ้ าตลอดทั้งสาย
ที่รัฐนิวยอร์ก เกาะแมนฮัตตันทั้งเกาะก็ใช้ไฟฟ้ าจากเขื่อน และฝายจากน้ำตกไนแองการา เขาจึงข้ามพ้นเรื่ องผลผลิตการเกษตร
และไฟฟ้ าสะอาด ราคาถูกกันไปหมดแล้ว กระทัง่ หันกลับมาคิดเรื่ องสิ่ งแวดล้อมอุดมคติ-คุณภาพชีวิต และโลกร้อน ป่ าที่ถูก
โค่นทำลาย ก็กลายเป็ นป่ าปลูกใหม่ไปหมดแล้ว

กลไกการปกครองประเทศ จำเป็ นต้องมีขบวนการตัดสิ นใจที่ไม่ท ำให้สงั คม และประเทศเสี ยโอกาส ขณะเดียวกัน ก็ตอ้ งไม่สร้าง
ต้นทุนมหาศาลจากน้ำท่วมน้ำแล้งให้แก่ผคู้ น
ในอนาคต หากความขัดแย้งเรื่ องการบริ หารจัดการทรัพยากรมีมากขึ้ น และประเทศไทยยังต้องการเพิ่มผลผลิตต่อหัว ต้องการ
เพิม่ รายได้จากภาษีอากร ต้องการพัฒนาการที่ท ำให้จีดีพีขยายตัวสูงกว่า 5% ต่อปี ก็จ ำเป็ นที่ผมู้ ีอ ำนาจปกครองประเทศจะต้อง
เลือกว่า จะเอาปากท้องของคนไทยมาเป็ นอันดับหนึ่ง หรื อเอาหน้าด้านอุดมคติกบั NGO เข้ามาเป็ นตัวตัดสิ น.

ทีมเศรษฐกิจ
https://www.thairath.co.th/news/business/1231447

น ักธุรกิจไทยผุดนว ัตกรรมลูกหมุนผลิต
ไฟฟ้า เพิม ่ ประสท ้ ล ังงานภาค
ิ ธิภาพใชพ
อุตสาหกรรม
SHARE Facebook LINE Twitter
ข่าวเศรษฐกิจ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 10:22 น. —ThaiPR.net
"อาทิตย์เวนติเลเตอร์" ผู ้ประกอบการไทยโชว์นวัตกรรมลูกหมุนระบายอากาศผลิตกระแสไฟฟ้ า
จากพลังงานลม การันตีด ้วยรางวัลไทยแลนด์เอเนอร์จอ ี้ วอร์ดด ้าน นวัตกรรมดีเด่น พร ้อมเจาะ
กลุม
่ ลูกค ้าทัง้ โรงงานอุตสาหกรรม อาคารทีอ
่ ยูอ ั สถานศก
่ าศย ึ ษา โรงพยาบาล มุง่ ประหยัด
พลังงานรักษ์ โลก

นายระพี บุญบุตร ผู ้จัดการห ้างหุ ้นสว่ นจำกัด อาทิตย์เวนติเลเตอร์ หนึง่ ในผู ้นำในการพัฒนา
พัดลมระบายอากาศติดตัง้ บนหลังคาในภาคอุตสาหกรรมไทย เปิ ดเผย ว่า บริษัทได ้วิจัย และ
พัฒนาเทคโนโลยีด ้านพลังงานสะอาด เพือ ่ ให ้สามารถตอบสนองต่อความต ้องการของผู ้บริโภค
โดยเฉพาะในกลุม ่ คนทีม ี ้านพักอาศัยในเมือง ด ้วยการติดตัง้ ลูกหมุนระบายอากาศทีส
่ บ ่ ามารถ
ผลิตกระแสไฟฟ้ า หรือ New Energy Ventilators (NEV) ทีใ่ ชกำลั ้ งแรงลมระดับต่ำเป็ นอุปกรณ์
ทีค
่ ด ิ ค ้นจากคนไทยและได ้รับการจดสทธิบต ิ ั รทรัพย์สนทางปั ญญาระดับโลก ถือเป็ นสงิ่ ประดิษฐ์

ทีม่ เี ฉพาะในประเทศไทยแห่งเดียวทีม ่ ก
ี ารผสมผสานจากอุปกรณ์พน ื้ ฐานทีเ่ ป็ นลูกหมุนระบาย
ความร ้อน และมลพิษภายในอาคาร บ ้านเรือน โรงงาน มาสูก ่ ารเป็ นเครือ่ งกำเนิดไฟฟ้ าและ
ระบายความร ้อนโดยใชพลั ้ งงานลม นับเป็ นพลังงานหมุนเวียนทีส ่ ะอาดและเป็ นมิตรกับสงิ่
แวดล ้อม

สำหรับศก ั ยภาพลูกหมุนระบายอากาศผลิตกระแสไฟฟ้ า นอกจากจะชว่ ยระบายอากาศร ้อน


ภายในอาคาร ก็ยังสามารถนำพลังงานไฟฟ้ าทีเ่ ก็บไว ้จากการผลิตของลูกหมุน NEV ผ่านระบบ
กล่องแปลงไฟฟ้ า เพือ
่ นำไฟฟ้ าทีไ่ ด ้ไปกักเก็บไว ้ในแบตเตอร์ร ี่ เพือ ้
่ ใชประโยชน์
กบั ระบบสง่
สว่างในเวลากลางคืน อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกสโคมไฟ ชาร์ทมือถือ เป็ นต ้น รวมถึงยังชว่ ยระบบ

ไฟฟ้ าสำรองฉุกเฉิน ซงึ่ ทีผ
่ า่ นมาลูกการคิดค ้นนวัตกรรมลูกหมุน NEV ถือว่าได ้รับการยอมรับทัง้
ในกลุม่ อุตสาหกรรม กลุม ่ โรงเรียน และ ศาสนสถาน ทำให ้บริษัทได ้รับรางวัลดีเด่น Thailand
Energy Award กระทรวงพลังงาน ประเภทพลังงานทดแทน สาขานวัตกรรมในปี ทผ ี่ า่ นมา
"บริษัทได ้มีการพัฒนาเรือ ่ งนวัตกรรมลูกหมุนมาอย่างต่อเนือ ่ ง เนือ
่ งจากปั จจุบนั ผู ้บริโภคใสใ่ จใน
เรือ่ งสงิ่ แวดล ้อม และการประหยัดพลังงาน รวมถึงยังเป็ นผู ้ผลิตพลังงานเพือ ้
่ ใชภายในบ ้านหรือ
โรงงานอุตสาหกรรม ทำให ้บริษัทสามารถ พัฒนาผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็ นนวัตกรรมใหม่ๆ ต่อยอด
ผลิตภัณฑ์ดงั ้ เดิมทีเ่ ป็ นผู ้ผลิตลุกหมุนระบายอากาศมากว่า 30 ปี ซงึ่ บริษัทพร ้อมทีจ ่ ะขยาย
ตลาดเพิม ่ ขึน
้ ไม่วา่ จะเป็ นกลุม ่ ผู ้ประกอบการในโรงงานอุตสาหกรรม อาคารทีอ ่ ยูอ่ าศย ั สถาน

ศกษา สถานพยาบาล ทีม ่ คี วามต ้องการติดตัง้ อุปกรณ์ลก
ู หมุนระบายอากาศอีกด ้วย" นายระพี
กล่าว
https://www.ryt9.com/s/prg/3066627

อังกฤษลมไม่ พดั กังหันลมทั่วประเทศหยุดทำงานร่ วมสั ปดาห์ ผลิตไฟฟ้ าได้ น้อยสุ ดใน


รอบ 2 ปี
 Created: 11 June 2018

         สภาพอากาศลมสงบในช่ วงระยะเวลา 7 วันเมื่อต้ นเดือนมิถุนายน 2561 ส่ งผลให้ กงั หันลมทั่วประเทศอังกฤษได้ แต่ ยนื นิ่งๆ และ
ผลิตไฟฟ้าได้ น้อยกว่ าร้ อยละ 2 ของปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตได้ ท้งั ประเทศ นับได้ ว่าเป็ นการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมได้ น้อยที่สุ ดในรอบ 2 ปี
การพยากรณ์ อากาศยังระบุด้วยว่ าสภาพลมสงบจะยังดำเนินต่ อไปจนถึงกลางเดือนมิถุนายนนี้

         การขาดแคลนพลังงานลมที่เกิดขึ้น เป็ นหลักฐานชี้ให้เห็นถึงความไม่แน่นอนและพึ่งพาไม่ได้ของพลังงานประเภทนี้ ด้านผู้


สนับสนุนการใช้พลังงานลมให้ความเห็นว่า ต้องมีการปรับปรุ งเทคโนโลยีกกั เก็บพลังงาน เพื่อช่วยให้ไฟฟ้ าที่ผลิตจากพลังงานลมตอบความ
ต้องการใช้ไฟได้อย่างราบรื่ น

         กรมอุตุนิยมวิทยาของอังกฤษระบุวา่ สภาพความกดอากาศสู งทัว่ ประเทศเป็ นผลให้ลมสงบในช่วงระยะนี้ โดยเป็ นเรื่ องปกติที่จะเจอ


ช่วงเวลาที่ลมสงบ แต่ความผิดปกติคือ สภาพอากาศที่ไม่มีลมพัดในครั้งนี้ กินระยะเวลานานเกินไป
สภาพอากาศที่ ลมสงบในช่ วงระยะเวลา 7 วัน ส่ งผลให้ กังหั นลมทั่วอังกฤษได้ แต่ ยืนนิ่ง ๆ ผลิตไฟฟ้ าได้ น้อยกว่ าร้ อยละ 2 ของปริ มาณไฟฟ้ า
ที่ ผลิตได้ ทั้งประเทศ
กราฟแสดงความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าของอังกฤษตั้งแต่ ปี 2551 ถึงปั จจุบัน

         เมื่อปี 2560 อังกฤษผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานได้มากถึงร้อยละ 15 ซึ่งมากกว่าถ่านหิ นถึง 2 เท่า แต่เมื่อวันอาทิตย์ที่ 3 มิถุนายน


2561 พลังงานลมในอังกฤษผลิตไฟฟ้ าได้เพียงร้อยละ 1.1 โดย ณ เวลา 10.00 น. กังหันลมทัว่ ประเทศผลิตไฟได้แค่ 300 เมกะ
วัตต์เท่านั้น ซึ่ งเลวร้ายไม่ต่างจากวันเสาร์ที่มีการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานลมได้เพียงร้อยละ 2.6

         ด้วยนโยบายพลังงานของอังกฤษที่ตอ้ งการลดการพึ่งพาเชื้ อเพลิงฟอสซิ ล ในปี 2560 อังกฤษจึงสามารถผลิตไฟฟ้ าจากพลังงาน


ลมได้มากกว่าถ่านหิ นถึง 2 เท่า และในช่วงที่มีลมแรงเมื่อเดือนมีนาคม 2561 อังกฤษสามารถผลิตไฟฟ้ าจากลมได้ถึงหนึ่งในสาม (ร้อยละ
35.7) ของปริ มาณไฟฟ้ าที่ผลิตได้ท้ งั หมด ตามมาด้วยก๊าซ ที่ผลิตไฟฟ้ าได้ในสัดส่ วนร้อยละ 20.3 ส่ วนพลังงานนิวเคลียร์และถ่านหิ น
ผลิตไฟฟ้ าได้ในสัดส่ วนร้อยละ 17.6 และร้อยละ 12.9 ตามลำดับ
กราฟแสดงปริ มาณการผลิตไฟฟ้ าด้ วยพลังงานลมของอังกฤษ ตั้งแต่ วันที่ 6 มิถนุ ายน 2560 – 6 มิถนุ ายน 2561 โดยเมื่อเดือน
มีนาคม 2561 อังกฤษสามารถผลิตไฟฟ้ าจากลมได้ สูงสุด เป็ นสั ดส่ วนถึงหนึ่งในสาม

กราฟแสดงปริ มาณการผลิตไฟฟ้ าด้ วยพลังงานลมของอังกฤษช่ วงสั ปดาห์ แรกของเดือนมิถนุ ายน 2561 โดยเมื่อวันอาทิ ตย์ ที่ 3 มิถนุ ายน
2561 พลังงานลมในอังกฤษผลิตไฟฟ้ าได้ เพียงร้ อยละ 1.1
         ปกติในช่วงเดือนมิถุนายนนี้ พลังงานลมเคยผลิตไฟฟ้ าได้ปริ มาณมาก สู งถึง 14,300 เมกะวัตต์ หากเมื่อเข้าฤดูหนาว อังกฤษยัง
ต้องเจอสภาพอากาศลมสงบลักษณะนี้ จะเป็ นผลเสี ยร้ายแรงกับระบบไฟฟ้ าของอังกฤษที่พ่ งึ พาพลังงานหมุนเวียนสู ง

         หนทางแก้ไขของอังกฤษในเงื่อนไขของความต้องการใช้พลังงานหมุนเวียนเป็ นหลัก คือต้องพัฒนาระบบกักเก็บพลังงาน เพื่อจะได้


เก็บไฟฟ้ าที่ผลิตได้ในช่วงลมพัดแรงไว้ใช้ในเวลาที่ไม่มีลมพัด พร้อมกับต้องพัฒนาแหล่งพลังงานหมุนเวียนอื่นๆ อย่างพลังงานจากคลื่นและ
กระแสน้ำให้พ่ งึ พาและทดแทนได้ เมื่อเจอสภาพอากาศที่ไม่มีแสงอาทิตย์ หรื อลมไม่พดั เช่นนี้
https://www.egat.co.th/index.php?option=com_content&view=article&id=2581:20180611-
art01&catid=49&Itemid=251

โรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์ แบบฟาร์ มลอยน้ำขนาด


ใหญ่ ที่สุ ดในโลก ของประเทศจีน

ในเมื อ งคู ห นานประเทศจี น แผงโซลาร์ เ ซลล์ ส ามารถพบลอยอยู ่ บ นพื ้ น น้ำ ในที ่ ด ิ น ที ่ เ คยใช้ เ พื ่ อ ท ำเหมื อ งถ่ า นหิ น โรงไฟฟ้ าพลั ง งาน
แสงอาทิ ต ย์ แบบฟาร์ มลอยน ้ำ นี้ ต ั้ งอยู ่ ใ นจ ั ง หว ัด อ ั น จิ น ทางตอนใต้ ข องประเทศจี น ซึ่ งเป็ นพื ้ น ที ่ ท ี ่ ม ี ช ื ่ อ เสี ยงในด้ า นที ่ ด ิ น ที ่ อ ุ ด มด้ ว ย
ถ่ า นหิ น แต่ เ นื ่ องจากพื ้ น ที ่ ต อนนี ้ ถู ก น้ำ ท่ ว มเนื ่ องจากสภาพอากาศที ่ ฝ นตกและปกคลุ ม ด้ ว ยน ้ำ ลึ ก ต ั้ ง แต่ 4-10 เมตร บริ ษ ัท
Sungrow Power Supplyผู ้ผ ลิ ต อิ น เวอร์ เ ตอร์ รายใหญ ่ ระดั บ โลกของจี น ประกาศว่ า โรงไฟฟ้ าพล ัง งานแสงอาทิ ต ย ์แ บบ
ฟาร์ มลอยน ้ำ ได้ เ ริ ่ มผลิ ต ไฟฟ้ าและเชื ่ อ มต่ อ เข ้า ก ั บ เครื อข่ า ยของระบบไฟฟ้ าในมณฑลหู ห นานแล้ ว โดยก ำลั ง ผลิ ต รวมขนาด40 เมกะ
ว ัต ต์ ( MW) ซึ่ งได้ ก ลายเป็ นโรงไฟฟ้ าพล ัง งานแสงอาทิ ต ย ์แ บบฟาร์ มลอยน ้ำ ที ่ ใ หญ่ ท ี ่ ส ุ ดในโลกในปั จจุ บ ั น และแซงหน้ า ฟาร์ มลอย
น ้ำ อื ่ น ๆ ในอิ น เดี ย และออสเตรเลี ย ในการสร้ า งโรงไฟฟ้ าพลั ง งานแสงอาทิ ต ย ์ แ บบฟาร์ ม ลอยน ้ำ ลงบนผิ ว น ้ำ ท ำให้ อากาศโดยรอบ
พื ้ น ที ่ เ ย ็ น ลง และช่ ว ยลดความเสี ่ ยงที ่ แ ผงเซลล์ แ สงอาทิ ต ย ์ จะร้ อ นจ ั ด และส่ งผลให้ ป ระสิ ทธิ ภาพการผลิ ต ไฟฟ้ าลดลงได ้ (ประสิ ทธิ ภา
พการผลิ ต ไฟฟ้ าลดลงเมื ่ อ อุ ณ หภู ม ิ เ พิ ่ ม ขึ ้ นเนื ่ องจากสภาพแวดล้ อ มที ่ ร ้ อ นและชื ้ น ท ำให้ ป ระสิ ทธิ ภาพ การเปิ ดรั บ แสงอาทิ ต ย ์ ล ดลง
)บริ ษ ัท Sungrowกล่ า วว่ า เครื ่ องแปลงกระแสไฟฟ้ า ( inverter ) รุ ่ น SG2500-MV ได้ ร ั บ การติ ด ต ั้ ง ที ่ โ รงไฟฟ้ าแห่ ง นี ้
โดย Sungrowได ้ ป รั บ แต่ ง สำหรั บ การใช้ ง านเพื ่ อ โรงไฟฟ้ าพลั ง งานแสงอาทิ ต ย ์ แ บบฟาร์ ม ลอยน ้ำ แห่ งนี ้ สามารถท ำงานใน สภาพ
แวดล้ อ มที ่ ม ี ค วามร้ อ นและความชื ้ นสู งจากละอองความชื ้ นบนผิ ว น ้ำ
https://ienergyguru.com/2017/07/%e0%b8%9e
%e0%b8%a5%e0%b8%b1%e0%b8%87%e0%b8%87%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b9%81%e0%b8%
aa%e0%b8%87%e0%b8%ad
%e0%b8%b2%e0%b8%97%e0%b8%b4%e0%b8%95%e0%b8%a2%e0%b9%8c-2/

ชงนำเข้ าปี 64 “ก๊ าซธรรมชาติ” ไม่ พอใช้


ข่าวเศรษฐกิจ
ไทยรัฐฉบับพิมพ์24 ก.ค. 2562 08:27 น.
SHARE

ผูส้ ื่ อข่าวรายงานว่า ในสัปดาห์หน้าสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) จะนำเสนอแผนบริ หารจัดการก๊าซธรรมชาติ


ระยะยาวของประเทศระหว่างปี 2561-2580 ที่ผา่ นการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ หารนโยบายพลังงาน (กบง.) แล้วต่อ
นายสนธิ รัตน์ สนธิจิรวงศ์ รมว.พลังงาน รับทราบ ก่อนเปิ ดรับฟังความคิดเห็นเรื่ องดังกล่าวจากประชาชนต่อไป โดยแผนดัง
กล่าวจะเป็ นการจัดหาก๊าซธรรมชาติตามความต้องการ ตามแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้ าของประเทศปี 2561-80 (พีดีพี
2018) ที่คาดว่าความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติในประเทศจะเพิ่มขึ้นปี ละ 0.8% ซึ่งทำให้ปี 2564 ก๊าซธรรมชาติใน
ประเทศไม่เพียงพอ และต้องนำก๊าซธรรมชาติเหลว (แอลเอ็นจี) เข้ามาตั้งแต่ปี 2564 เป็ นต้นไป เพื่อให้เพียงพอกับความ
ต้องการ โดยต้องมีการปรับปรุ งระบบโครงข่ายก๊าซธรรมชาติให้เหมาะสม รวมทั้งการสร้างคลังเก็บแอลเอ็นจี หรื อ LNG
Terminal ในปี 2565 ในพื้นที่ภาคใต้ เพื่อใช้เป็ นเชื้ อเพลิงผลิตไฟฟ้ า

ทั้งนี้ สำหรับความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติในภาคใต้ แบ่งเป็ นการจัดหาก๊าซธรรมชาติ สำหรับโรงไฟฟ้ าจะนะจังหวัดสงขลา


โดยเร่ งเจรจาซื้ อก๊าซธรรมชาติจากแหล่งพัฒนาร่ วมไทย-มาเลเซีย (เจดีเอ) หรื อก่อสร้างสถานีเก็บรักษาและแปรสภาพก๊าซ
ธรรมชาติจากของเหลวเป็ นก๊าซแบบลอยน้ำ (FSRU) ในพื้นที่เพื่อรองรับการนำเข้าแอลเอ็นจีเป็ นทางเลือก รวมทั้งการจัดหา
ก๊าซธรรมชาติสำหรับโรงไฟฟ้ าขนอม โรงไฟฟ้ าสุ ราษฎร์ธานี และโรงไฟฟ้ าแห่งใหม่ๆตามแผนพีดีพี 2018 ที่มีความจำเป็ น
ต้องจัดหาคลังแอลเอ็นจีเพิม่ เติม ที่ จ.สุ ราษฎร์ธานี ขนาด 5 ล้านตันต่อปี ในปี 2565

ขณะที่ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบว่า การจัดหาก๊าซธรรมชาติจะเพียงพอกับความต้องการใช้ถึงปี 2572 โดยต้องเตรี


ยมการสำรวจและผลิต หรื อจัดหาเพิ่มเติมผ่านระบบท่อส่ งก๊าซธรรมชาติใหม่ จาก จ.นครราชสี มาไปยังโรงไฟฟ้ าน้ำพอง
จ.ขอนแก่น และโรงไฟฟ้ าใหม่ๆตามแผนพีดีพี 2018 และ การจัดหาก๊าซธรรมชาติผา่ นโครงข่ายท่อบนบก ที่พบว่าการจัดหา
จะเพียงพอกับความต้องการใช้ถึงปี 2563 นอกจากนี้ สนพ.ยังจะรายงานถึงแนวทางการสนับสนุนโครงการพัฒนาท่าเรื อ
อุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ 3 ซึ่ง กบง.ที่เห็นชอบให้กระทรวงพลังงานเสนอคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.)
พิจารณาออกใบอนุญาตประกอบกิจการก๊าซธรรมชาติในส่ วนที่เกี่ยวข้องให้กบั ภาคเอกชนที่ได้รับสัมปทานโครงการดังกล่าวคือ
บริ ษทั กลุ่มกิจการร่ วมค้ากัลฟ์ และพีทีที แทงค์.
https://www.thairath.co.th/news/business/market-business/1621605

ลูกหลานต้ องจารึก 'ไอซีที' เชื่อมต่ อ จากชายขอบถึงโอกาสการศึกษา


ไทยรัฐออนไลน์19 ก.ค. 2559 05:30 น.
SHARE
ในปัจจุบนั ปฏิเสธไม่ได้วา่ เทคโนโลยีการสื่ อสารได้พฒั นาก้าวหน้าจนตามไม่ทนั ไม่วา่ จะเดินไปทางไหน ทำกิจกรรมอะไร ก็มกั
เห็นผูค้ นมาพร้อมกับอุปกรณ์สมาร์ทโฟน หรื ออุปกรณ์ทางเทคโนโลยีต่างๆ อีกมากมาย คนเมืองใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยอำนวย
ความสะดวกสบาย ค้นคว้าหาข้อมูล ติดต่อสื่ อสารกันอย่างไร้ขอบเขต เป็ นจุดเริ่ มต้นของการพัฒนาสิ่ งต่างๆ นับไม่ถว้ น

แต่ในประเทศไทย ยังมีพ้ืนที่ห่างไกลอีกมากมาย ที่ยงั ขาดการเข้าถึงเทคโนโลยีเหล่านี้ และในวันนี้  "ทีมข่าวไทยรัฐ


ออนไลน์" เดินทางลงพื้นที่ ศูนย์การเรี ยนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านคีรีลอ้ ม หมู่ที่ 1 ตำบลช้างแรก อำเภอบางสะพานน้อย
จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ พื้นที่ที่แต่ก่อนไม่มีกระทัง่ ไฟฟ้ าใช้
ศูนย์การเรี ยนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านคีรีลอ้ ม จ.ประจวบคีรีขนั ธ์
ย้อนไปเมื่อวันที่ 28 มิ.ย. 2559 ที่ผา่ นมา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปยังศูนย์
การเรี ยนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านคีรีลอ้ ม ในการนี้ ทรงเปิ ด "ศูนย์การเรี ยนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านคีรีลอ้ ม" จัดสร้างขึ้น
ตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยมีภาคเอกชนเข้ามาสนับสนุน งบประมาณในการ
ก่อสร้างอาคารเรี ยน ขณะที่อาคารบ้านพักครู ได้พระราชทานพระราชทรัพย์สร้างเป็ นอาคารชั้นเดียว 1 หลัง
ศูนย์การเรี ยนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านคีรีลอ้ ม เปิ ดทำการเรี ยนการสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 มี
นักเรี ยน 105 คน มีครู ต ำรวจตระเวนชายแดน 6 นาย และผูด้ ูแลเด็ก 2 คน
ศูนย์การเรี ยนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านคีรีลอ้ ม สังกัดกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน พื้นที่รับผิดชอบของกองกำกับ
การตำรวจตระเวนชายแดนที่ 14 จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พุทธศักราช 2557 เดิมตั้งอยูบ่ ริ เวณพื้นที่ของอาคาร
ศาลาว่าการของชุมชนบ้านคีรีลอ้ ม ต่อมาเพื่อสะดวกในการจัดการเรี ยนการสอนและรองรับนักเรี ยนในพื้นที่ จึงได้ยา้ ยมายังที่ดิน
สาธารณประโยชน์ของหมู่บา้ น บนเนื้อที่ 25 ไร่ โดยเปิ ดทำการเรี ยนการสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 มี
นักเรี ยน 105 คน ส่ วนใหญ่เป็ นนักเรี ยนสัญชาติไทย มีเพียงบางส่ วนเป็ นไทยพลัดถิ่น เมียนมา และมอญ มีครู ตชด. หรื อ ครู
ตำรวจตระเวนชายแดน 6 นาย และผูด้ ูแลเด็ก 2 คน
ศูนย์การเรี ยนฯ แห่งนี้ ตั้งอยูบ่ ริ เวณพื้นที่ป่าต้นน้ำหน่วยพิทกั ษ์ป่าคีรีลอ้ ม ยังไม่มีระบบสายส่ งไฟฟ้ าและไม่มีระบบการสื่ อสาร
โทรคมนาคม ทำให้การใช้ชีวิตของชาวบ้านในพื้นที่เป็ นไปด้วยความยากลำบาก เหล่าบรรดาเด็กนักเรี ยนขาดโอกาสในการ
ศึกษาหาความรู้ ใช้เพียงห้องสมุดที่บางทีขอ้ มูลก็ลา้ สมัยไปมากแล้ว

จนกระทัง่ ทางมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี พร้อมด้วยศูนย์


เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรื อเนคเทค สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรื อ
สวทช. และภาคเอกชน อย่างผูใ้ ห้บริ การด้านเครื อข่าย เอไอเอส เข้ามาสนองพระราชดำริ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไอซี
ที เพื่อให้เยาวชนและชุมชนชายขอบได้เข้าถึงแหล่งความรู้และการติดต่อสื่ อสาร ในโครงการระบบไอซีทีและพลังงานทดแทน
แบบบูรณาการสำหรับชุมชนชายขอบตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี
แผงระบบการผลิตพลังงานไฟฟ้ า
ชุดชาร์จแบตเตอรี่ จากพลังงานแสงอาทิตย์
พลังงานจากน้ำ นำไปใช้ผลิตพลังงานไฟฟ้ า
สำหรับขั้นตอนการดำเนินงาน เริ่ มตั้งแต่การผลิตพลังงานไฟฟ้ า เพราะบริ เวณชุมชนบ้านคีรีลอ้ มอยูใ่ นพื้นที่ห่างไกลยังไม่มี
ระบบไฟฟ้ า และระบบการสื่ อสารโทรคมนาคมยังเข้าไปไม่ถึง เอไอเอสจึงร่ วมกับ เนคเทค ออกแบบ พัฒนา และติดตั้งระบบ
พลังงานทดแทนแบบบูรณาการ ที่ใช้ระบบการผลิตพลังงานไฟฟ้ าแบบผสมผสานระหว่างพลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์ และ
พลังงานจากน้ำ โดยมีความจุ 6,200 วัตต์ เพื่อให้เพียงพอสำหรับใช้งานภายในศูนย์การเรี ยนตำรวจตระเวนชายแดนแห่งนี้
พร้อมมีระบบตรวจวัดข้อมูลสังเกตการณ์ระยะไกล เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ และเข้ามา
แก้ไขได้อย่างรวดเร็ ว
สถานีเก็บประจุไฟฟ้ า
นอกจากนี้ ยังร่ วมกันจัดตั้งสถานีเก็บประจุไฟฟ้ า เพื่อให้ประชาชนนำตะเกียงมาชาร์จไฟไปใช้งานที่บา้ นได้ พร้อมทั้งจัดอบรม
เพื่อให้ความรู้แก่ครู และนักเรี ยนเรื่ องการใช้งาน ตลอดจนการบำรุ งรักษาอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อให้ชาวบ้านในพื้นที่มีไฟฟ้ าใช้ไป
นานๆ ไม่ตอ้ งเสี ยเวลาซ่อมแซม
ตะเกียงที่ประชาชนนำมาชาร์จไฟ จากสถานีเก็บประจุไฟฟ้ า
โครงการดังกล่าว เอไอเอสได้รับหน้าที่น ำระบบไอซีทีมาเชื่อมโยงการสื่ อสารจัดทำห้องเรี ยนต้นแบบด้านการเรี ยนรู้สำหรับ
เยาวชน ติดตั้งระบบอินเทอร์เน็ตความเร็ วสูงแบบไร้สายและระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G เพื่อให้เยาวชนและชุมชนสามารถเข้า
ถึงแหล่งข้อมูลที่นบั เป็ นเครื่ องมือสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดียิง่ ขึ้น

นายสมชัย เลิศสุ ทธิวงค์ ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส หรื อ เอไอเอส มองเป้ าหมายของเอไอเอส
ในการปรับเปลี่ยนองค์กรจากการเป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรื อ Mobile Operator สู่ การเป็ นผูใ้ ห้บริ การดิจิทลั
หรื อ Digital Service Provider อันดับ 1 และเป็ นผูน้ ำด้านนวัตกรรมต่างๆ ของเมืองไทย เพื่อนำเทคโนโลยีดิจิทลั
เข้ามายกระดับการใช้ชีวิตของลูกค้าในยุคปัจจุบนั ให้ง่ายและสะดวกสบายมากยิง่ ขึ้น ทั้งด้านการทำงาน การใช้ชีวิตและ การ
เรี ยนรู้ สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศด้วยเทคโนโลยีดิจิทลั ซึ่งจำเป็ นต้องมี
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการสื่ อสารให้ทนั สมัย มีคุณภาพ ครอบคลุมทุกพื้นที่ และสามารถให้บริ การได้อย่างต่อเนื่อง
นัน่ เอง
บรรยากาศภายในห้องเรี ยนต้นแบบด้านการเรี ยนรู้ส ำหรับเยาวชน ติดตั้งระบบอินเทอร์เน็ตความเร็ วสูงแบบไร้สาย และระบบ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G
ตัวโครงการดังกล่าว ตำรวจตระเวนชายแดน เอไอเอส และสวทช. มีเป้ าหมายที่จะติดตั้งระบบเดียวกันไปยังโรงเรี ยนชายขอบ
บริ เวณรอบรอยต่อชายแดนอีก 20 โรงเรี ยนทัว่ ประเทศภายในปี นี้
ส่ วนรู ปแบบของพลังงานทดแทนจะต้องพิจารณาตามความเหมาะสมของพื้นที่วา่ จะใช้ลกั ษณะใด โดยการยิงสัญญาณจะดึงจาก
เสาสถานีฐานขนาดใหญ่ในตัวเมือง ทดแทนการใช้การส่ งสัญญาณจากดาวเทียมไอพีสตาร์ เพราะมีค่าใช้จ่ายสูงมากเรื่ องค่าเช่า
แบนด์วิธ แต่การทำลักษณะพลังงานทดแทนใช้เงินลงทุนราว 3.5 ล้านบาท

ด้าน พล.ต.ท.ดร ปิ่ นเฉลียว ผูบ้ ญั ชาการตำรวจตระเวนชายแดน กล่าวว่า พื้นที่ตามแนวชายแดนชายขอบมีท้งั สิ้ น 5,600


ตารางเมตร ในขณะที่ ตำรวจตระเวนชายแดนมีเพียง 20,000 คน สิ่ งที่จะทำให้การดูแลความเรี ยบร้อยตามแนวชายแดน
ประสบความสำเร็ จคือความร่ วมมือกันระหว่างชุมชนและตำรวจตระเวนชายแดน ดังนั้น จึงตั้งโรงเรี ยนตำรวจตระเวนชายแดน
ขึ้น ซึ่งขณะนี้มีแล้ว 700 โรง เป็ นการพ่วงเรื่ องสาธารณสุ ข การศึกษา และการดูแลความสงบเรี ยบร้อย
เด็กๆ มีอินเทอร์เน็ตใช้ในการค้นคว้าหาความรู้แล้ว
จะเห็นได้วา่ นอกจากความร่ วมมือในครั้งนี้ จะส่ งผลให้ชุมชนกับโรงเรี ยน และตำรวจตระเวนชายแดนใกล้ชิดกันมากขึ้นแล้ว
การใช้เทคโนโลยีมาช่วยเรื่ องการเรี ยนรู้ยงั เป็ นสิ่ งที่จบั ต้องได้จริ ง ช่วยให้ผทู้ ี่ใช้เทคโนโลยีมองโลกได้กว้างขึ้น ช่วยให้การ
ค้นคว้าหาความรู้เกิดขึ้นได้ทุกที่ มิใช่เพียงเกิดภายในห้องเรี ยนหรื อห้องสมุดเพียงอย่างเดียว
https://www.thairath.co.th/content/665096

เอ็กโก กรุ๊ปถือหุ ้นโรงไฟฟ้ าลม 640MW ทีไ่ ต ้หวัน


เผยแพร่: 20 ธ.ค. 2562 08:15   ปรับปรุง: 20 ธ.ค. 2562 11:32   โดย: ผู ้
จัดการออนไลน์

้ หุ ้นร ้อยละ 25 ใน “หยุนหลิน โฮลดิง้ จีเอ็มบีเอช” ทีไ่ ต ้หวัน ซึง่ มีโครงการโรงไฟฟ้ าพลังงาน
เอ็กโก กรุ๊ป ซือ
ลมนอกชายฝั่ งทะเล 640 เมกะวัตต์ทอ ี่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร ้าง คาดทยอยแล ้วเสร็จในปี 2563-64

นายจักษ์กริช พิบล ู ย์ไพโรจน์ กรรมการผู ้จัดการใหญ่ บริษัท ผลิตไฟฟ้ า จำกัด (มหาชน) หรือเอ็กโก กรุ๊ป
เปิ ดเผยว่า บริษัท กรีนวิง เอนเนอร์ย ี บี.วี. (Greenwing Energy B.V.) ซึง่ เป็ นบริษัทในกลุม ่ เอ็กโก ได ้ลงนาม
สัญญาซือ ้ ขายหุ ้นเมือ
่ วันที่ 19 ธันวาคม 2562 เพือ ้ หุ ้นในสัดส่วนร ้อยละ 25 ในบริษัท หยุนหลิน โฮลดิง้ จี
่ ซือ
เอ็มบีเอช จำกัด (Yunlin Holding GmbH) ซึง่ เป็ นบริษัทย่อยของบริษัท ไต ้หวัน ออฟชอร์ โฮลดิง้ จีเอ็มบี
เอช จำกัด (Taiwan Offshore Holding GmbH) การลงทุนครัง้ นีไ ้ ด ้รับการอนุมัตจิ ากคณะกรรมการบริษัทเอ็ก
โกในการประชุมครัง้ ที่ 12/2562 เมือ ่ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2562 โดยคาดว่าการซือ ้ ขายหุ ้นจะแล ้วเสร็จใน
ไตรมาสที่ 1 ปี 2563 ทัง้ นี้ ความสำเร็จของการทำรายการขึน ้ อยูก
่ บั เงือ่ นไขต่างๆ ของการปิ ดรายการแล ้วเสร็จ
ตามทีก ่ ำหนดไว ้ ซึง่ รวมถึงการได ้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานรัฐบาลไต ้หวัน

“หยุนหลิน” เป็ นบริษัททีป


่ ระกอบธุรกิจในลักษณะโฮลดิง้ ถือหุ ้นทัง้ หมดในบริษัท หยุนเหนิง วินด์ พาวเวอร์
จำกัด (Yunneng Wind Power Co., Ltd.) ในไต ้หวัน ซึง่ กำลังก่อสร ้างโครงการโรงไฟฟ้ าพลังงานลมนอก
ชายฝั่ งทะเล “หยุนหลิน” กำลังผลิต 640 เมกะวัตต์ ตัง้ อยูบ
่ ริเวณช่องแคบไต ้หวัน ห่างจากชายฝั่ งทะเลทาง
ตะวันตกของมณฑลหยุนหลิน ในไต ้หวัน เป็ นระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร และโครงการนีค ้ รอบคลุมพืน้ ที่
ทัง้ หมดประมาณ 90 ตารางกิโลเมตร

บริษัท หยุนเหนิง วินด์ พาวเวอร์ จำกัด ได ้ลงนามสัญญาซือ ้ ขายไฟฟ้ าระยะเวลา 20 ปี สำหรับโครงการโรง


ไฟฟ้ าพลังงานลมนอกชายฝั่ งทะเล “หยุนหลิน” จำนวน 2 สัญญา กับบริษัท ไต ้หวัน พาวเวอร์ จำกัด
(Taipower) เมือ ่ วันที่ 11 ธันวาคม 2561 ภายใต ้สัญญาซือ ้ ขายไฟฟ้ าในรูปแบบ Feed-in Tariff ซึง่ มีอต
ั รารับ
้ ไฟฟ้ าคงที่ ทัง้ นี้ โครงการมีกำหนดเดินเครือ
ซือ ่ งเชิงพาณิชย์และจ่ายไฟฟ้ าเข ้าระบบ 2 ระยะ โดยโครงการ
ระยะที่ 1 กำลังผลิต 352 เมกะวัตต์ มีกำหนดแล ้วเสร็จและจ่ายไฟฟ้ าเข ้าระบบในไตรมาสที่ 4 ปี 2563 และ
โครงการระยะที่ 2 กำลังผลิต 288 เมกะวัตต์ มีกำหนดแล ้วเสร็จและจ่ายไฟฟ้ าเข ้าระบบในไตรมาสที่ 3 ปี
2564

นายจักษ์กริชกล่าวเพิม ่ เติมว่า ไต ้หวันเป็ นพืน


้ ทีท
่ ม
ี่ ศ ั ยภาพสูงด ้านการลงทุนและยังส่งเสริมการพัฒนา
ี ก
พลังงานหมุนเวียน ซึง่ เป็ นนโยบายสำคัญทีจ ่ ะบรรลุเป้ าหมายการใช ้พลังงานหมุนเวียนอย่างเต็มรูปแบบ โดย
มุง่ เน ้นโครงการโรงไฟฟ้ าพลังงานลมทัง้ บนบกและนอกชายฝั่ งทะเล รวมทัง้ โครงการโรงไฟฟ้ าพลังงานแสง
อาทิตย์ ไต ้หวันตัง้ เป้ าหมายให ้มีสด ั ส่วนการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียนร ้อยละ 20 ภายในปี 2568

“การลงทุนครัง้ นีน
้ ับเป็ นก ้าวสำคัญของเอ็กโก กรุ๊ป ในการขยายการลงทุนไปยังตลาดพลังงานหมุนเวียนใหม่
ทีม
่ กี ารเติบโตอย่างต่อเนือ่ งในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟิก โครงการนีจ ้ ะช่วยสนับสนุนการเติบโตของบริษัท ใน
ขณะเดียวกันก็ชว่ ยสร ้างผลตอบแทนทีด ่ ใี นระยะยาวให ้แก่ผู ้ถือหุ ้น นอกจากนี้ ยังเป็ นโครงการแรกทีบ่ ริษัท
เข ้าไปลงทุนในไต ้หวัน ซึง่ เป็ นการสร ้างฐานการลงทุนเชิงกลยุทธ์ให ้บริษัทเพือ ่ ต่อยอดสูก่ ารขยายธุรกิจใน
อนาคตต่อไป” นายจักษ์กริชกล่าว
https://mgronline.com/business/detail/9620000121270

You might also like