Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 98

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่

5
Islands
Hawaiian

การเปลี่ยนแปลงทาง วิชาภูมิศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษา
กายภาพของโลก ปีที่
5
ขอบคุณขอมู
้ ลจากสานักพิ มพ์อักษรเจริญทัศน์
ธรณีภาค
Lithosphere
ธรณีภาค (Lithosphere) พื้ นผิวโลกซึ่ง
หอหุ
่ มด ้ วยเปลื
้ อกแข็ง โลกเป็นดาวเคราะห์
ที่มีความเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา

1. โครงสร้างของโลก
โลกมีลกั ษณะเกือบกลม มีเสนผ
้ านศู
่ นยก
์ ลางตามแนวเสนศู้ นยส
์ ูตร ยาว
12,755 กิโลเมตร และตามแนวขัว ้ โลกยาว 12,711 กิโลเมตร แบงออกเป
่ ็น
3 ชัน
้ ไดแก
้ ่ แผนเปลื
่ อกโลกภาคพื้ นสมุทร แผนเปลื
่ อกโลกภาคพื้ นทวีป
(SIMA) (SIAL)

แผนเปลื
่ อกโลก ธรณีภาค สวนที
่ เ่ ป็นเปลือกโลก
0-100 km. และเนือ
้ โลกชัน
้ บนสุด
เนือ
้ โลก

เนื้อโลกชั้นลาง

แผนเปลื
่ อกโลก

แกนโลก

ภาพจาก
https://www.nationalgeographic.org/enc
yclopedia/lithosphere/12th-grade/
2. การเลื่อนของทวีป
- ทฤษฎีการเลื่อนของทวีป
อัลเฟรด เวเกเนอร์ นักฟิ สิกส์ชาวเยอรมัน เป็นผู้
เสนอทฤษฎีทวีปเลื่อน มีสมมติฐานว่า แผนธรณี

ภาคมีการเคลื่อนไหล ตลอดเวลา เวเกเนอรไ์ ด้
นาเสนอชวงเวลาทางธรณี
่ วิทยาโดยใชหลั
้ กฐาน
ของฟอสซิล โดยแบ่งเป็น 5 ระยะ ดังนี้

ภาพจาก
ngthai.com
ยุคเพอรเ์ มียน ยุคไทรแอสซิก ยุคจู ลาสซิก ยุคครีเทเซียส
250 ลานป
้ ืี ี ที่แล้ว 200 ลานป
้ ืี ี ที่แล้ว 145 ลานป
้ ืี ี ที่แลว
้ 65 ลานป
้ ืี ี ที่แลว

ยุคปัจจุ บน

ภาพจาก Continental Drift Theory -


Geography (brainkart.com)
3. การเปลี่ยนแปลงของธรณีภาค
การเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาคที่เกิดขึ้นบนผิวโลก เนื่องจากแรงโนมถ้ วง

และตังกระทาตางๆ่ เชน
่ การผุพังอยูกั
่ บที่ของหินและแรการเคลื
่ ่อนยายมวล

ดินและหินในพื้ นที่มีความลาดชัน้ สูง เชน่
3.1 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก เกิดจากพลังงานความรอนภายในโลก
้ ทาใหเกิ
้ ด
การไหลหรือเกิดการปะทุของมวลแมกมาใตเปลื
้ อกโลก กอให
่ เกิ
้ ดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะ
ตาง
่ ๆ เชน
่ แผนดิ
่ นไหว การปะทุของภูเขาไฟ การคดโดงของแผ
้ นดิ
่ น และการแตกหักของหิน

3.1.1 การเคลื่อนที่ของแผนธรณี
่ ภาค
เมื่อแผนเปลื
่ อกโลก
• การเคลื่อนที่เขาหากั
้ น เกิดขึ้นได้ 3 แบบ คือ ชนกัน แผนที ่ ่มีความ
หนาแน่นกว่าจะมุดลง
ดานล
้ างอี
่ กแผนเสมอ

อ่านเพิ่ มเติม
mitrearth

แผนเปลื
่ อกโลกทวีปชนทวีป

ภาพจาก http://www.mitrearth.org/3-
10-convergent-plate-movement/
แผนเปลื
่ อกโลกมหาสมุทรชนทวีป แผนเปลื
่ อกโลกมหาสมุทรชนมหาสมุทร

อ่านเพิ่มเติม
mitrearth

ภาพจาก http://www.mitrearth.org/3-10-
convergent-plate-movement/
• การเคลื่อนที่แยกจากกัน สวนมากเกิ
่ ดขึ้นใตมหาสมุ
้ ทร

แผนเปลื
่ อกโลกภาคพื้ นทวีปแยกออกจากกัน แผนเปลื
่ อกโลกภาคพื้ นมหาสมุทรแยกออกจากกัน

การเลื่อนออกจากกันของแผนภาคพื
่ ้ นทวีป การเลื่อนออกจากกันของแผนภาคพื
่ ้น
เมื่อมีการแยกกันเกิดการยุบของแผนดิ ่ น มหาสมุทร มีแมกมาไหลประทุขึ้นมาจนเกิด
เป็นหุบเขา เชน
่ เกรตรีฟตแ์ วลลีย์ ในทวีป เป็นแนวสันเขาใตมหาสมุ
้ ทร เชน
่ ใน
แอฟริกา มหาสมุทรแอตแลนติก

ภาพจาก http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-
tectonics/plate-boundaries/divergent
ภาพจาก https://www.scimath.org/lesson-
physics/item/7287-earthquake-earthquake

• การเคลื่อนที่ตามแนวระดับ พบมากจากการ
เคลื่อ นที่ ข องแผ่ นเปลื อ กโลกภาคพื้ นมหาสมุ ท ร
แต่ก็พบได้บนแผ่นเปลือกโลกภาคพื้ นทวีป เช่น
รอยเลื่อนแซนแอนเดรียส ในทวีปอเมริกาเหนือ

ตัวอยางแผ
่ นธรณี
่ เคลื่อนที่ผานกั
่ นใน ตัวอยางแผ
่ นธรณี
่ เคลื่อนที่ผานกั
่ นใน
แนวระนาบ แนวระนาบ

ภาพจาก http://vrgeology.net/2019/02/22/plate-
movement/
แผนที่แสดงแผนเปลื
่ อกโลก
3.1.2 การเกิดแผนดิ ่ นไหว เป็นปรากฏการณธ ์ รรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่น
เปลือกโลกหรือเกิดจากการปะทุของภูเขาไฟ ทาใหเกิ ้ ดการเคลื่อนตัวของชั้นหินขนาดใหญ่
เลื่อนเคลื่อนที่ หรือแตกหักและเกิดการโอนถายพลั
่ งงานในรูปคลื่นไหวสะเทือน

"แนววงแหวนแห่งไฟ"
มหาสมุทรแปซิฟิก เป็นบริเวณที่
เกิดแผ่นดินไหวบ่อยครั้งและรุนแรง
แกสต
๊ าง
่ ๆ
CO 2 SO2

ปากปลอง่
3.1.3 การเกิดปะทุของภูเขาไฟ เกิดจากหิน ภูเขาไฟ
หนืดที่อยูใต
่ เปลื
้ อกโลกถูกแรงดันอัด จนหิน
หนืดแทรกรอยแตกขึ้นมาสูผิ ่ วโลก โดยมีแรง
ปะทุหรือแรงระเบิดเกิดขึ้น สิง
่ ทีพ
่ ุ่ งออกมา
จากภูเขาไฟเมื่อภูเขาไฟระเบิดก็คือ หินหนืด ลาวา

ไอน้า ฝุ่นละออง เศษหินและแกสต ๊ าง่ ๆ โดย


จะพุ่ งออกมาจากปลองภู ่ เขาไฟ หินหนืดที่พุ่ง
ออกมานีจ ้ ะเรียกว่า "ลาวา" แตหากยั
่ งอยู่ใต้
ผิวโลกจะเรียกว่า "แมกมา"
3.1.4 โครงสรางทางธรณี
้ การเคลื่อนที่เขาหากั
้ นของแผนเปลื
่ อกโลกทาใหเกิ
้ ดแรงอัด
ระหว่างแผนเปลื
่ อกโลก กอให
่ ้ ดโครงสรางทางธรณี
เกิ ้ วิทยาและภูมิประเทศที่หลากหลาย เชน

• โครงสรางรอยเลื
้ ่อน เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผนเปลื
่ อกโลกในแนวดิ่งและแนวระนาบ

รอยเลื่อนแนวดิ่ง รอยเลื่อนแนวราบ

รอยเลื่อน รอยเลื่อน รอยเลื่อนตามแนว


ปกติ ยอน
้ ระดับ

• โครงสรางคดโค
้ ง
้ เป็นการคดโคงคล
้ ายลู
้ กฟู ก หรือแบบโดม หรือโดม
กลับหัว ขนาดของการคดโคงต้ างกั
่ น

อ่านเพิ่ มเติม mitrearth

รอยเลือ
่ น คดโคง

3.2 กระบวนการการปรับระดับพื้ นผิว เกิดจากพลังงานความรอนภายใน

โลก ทาใหเกิ
้ ดการไหลหรือเกิดการปะทุของมวลแมกมาใตเปลื
้ อกโลก
กอให
่ เกิ
้ ดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะตาง่ ๆ เชน
่ แผนดิ
่ นไหว การปะทุ
ของภูเขาไฟ การคดโดงของแผ
้ ่ น และการแตกหักของหิน
นดิ

3.2.1 การผุพังอยูกั
่ บที่ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพอยู่ ณ ที่เดิม
เกิดใน 3 ลักษณะ ดังนี้

ทางกายภาพ ทางเคมี ทางชีวภาพ


เกิดจากแรงกดดันและ เกิดจากการเปลี่ยนแปลง เกิดจากกิจกรรมของสิง ่ มีชีวิต
อุ ณหภูมิเป็นหลัก องคป์ ระกอบทางเคมีของ เชน
่ รากพื ช การขุดรูของสัตว์
แร่ในหิน กิจกรรมของมนุษย์

อ่านเพิ่ มเติม
mitrearth
3.2.2 การกรอน
่ เป็นกระบวนการที่หินและดินแตกหักหรือหลุดเป็น
กอนเล็
้ กจากการกระทา เชน
่ ธารน้าไหล คลื่น ลม ธารน้าแข็ง ดังนี้

แกรนแคนยอน ฟยอร์ด ถ้าหินปูน

แรงกระแทก การครูดถู การละลาย


เกิดจากกระแสน้าไหลเชี่ยว เกิดจากการที่ธารน้าแข็ง เกิดจากการที่น้าละลายแร่
ลมพั ดแรง ลม น้า ที่นาเอาเศษหิน บางชนิดใหหลุ
้ ดลอยหรือ
กรวด ทราย ไปกระทากับ ละลายไป
ภูมิประเทศ
3.2.3 การพั ดพาและการทับถม เป็น
กระบวนที่เกิดขึ้นคูกั
่ น คือ เมื่อมีการพั ด
พาตระกอน แร่ ดิน อินทรียว ์ ัตถุออกไป
จากที่หนึง
่ โดยตัวกระทา เชน่ ลม น้า ธาร
น้าแข็ง ก็จะทาใหเกิ ้ ดการทับถมในเวลา
ตอมา

3.2.4 การเคลื่อนที่ของมวล เกิดขึ้นเมื่อ


ก้ อนหิ น หรื อ มวลดิ น บนพื้ นที่ ล าดชั้น ล่ วง
หลนไปตามแรงโน
่ ้มถ่วง จากปัจจัยต่าง ๆ
เช่น ความลาดชัน น้า พื ช แรงสั่นสะเทื้อน
จากแผนดิ ่ นไหวหรือภูเขาไฟระเบิด
บรรยากาศภาค
Atmosphere
บรรยากาศมี ค วามส าคั ญ ต่ อสิ่ ง มี ชี วิ ต
บนผิ วโลก เนื่อ งจากเกี่ยวข้องกั บ
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่น การเกิดลม
เมฆ ฝน หยาดน้าฟ้า นอกจากนี้ยังช่วย
ป้องกันรังสีต่าง ๆ จากดวงอาทิตย์ไม่ให้
ผ่านลงมาถึงผิวโลกจนเป็นอั นตรายต่อ
สิ่งมีชีวิต
ไอน้าในอากาศจะแปรผัน
ไปตามลักษณะของพื้ นที่
1. สวนประกอบของบรรยากาศ
่ เชน แหลงน้
่ ่ า ป่าไม้
ประกอบดวยไนโตรเจน
้ ออกซิเจน อาร์กอน และ รวมทั้งฤดูของทองถิ
้ ่น
คาร์บอนไดร์ออกไซด์ ที่เหลือเป็นไอน้าและแก๊สอื่น ๆ

N O
20.94
Ar
0.93
Co
0.03
2
อื่น ๆ
0.033

78.08
2. ชัน
้ บรรยากาศของโลก
ชั้ น ของอากาศที่ ห่ อหุ้ มโลกและคงสภาพ
อยู่ได้ด้วยแรงดึงดูดของโลก ซึ่งชั้น
บรรยากาศทั้งหมดมีความหนานับจากพื้ น
โลกขึ้นไปประมาณ 400 กิโลเมตร
การแบงชั
่ น ้ บรรยากาศโดยใชลั
้ กษณะการเปลีย
่ นแปลงอุ ณหภูมิของอากาศ
เป็นเกณฑ์
>480 เทอรโ์ มสเฟี ยร์ - สะท้อนคลื่นวิทยุความถี่ต่าได้ อุ ณหภูมิเพิ่ มขึ้น
(thermosphere) - มีแสงเหนือแสงใตเกิ
KM.
้ ดขึ้น ตามลาดับความสูง

เมโซพอส -85 C

50-480 เมโซสเฟี ยร์ - วัตถุนอกโลกจะถูกเสียดสี อุ ณหภูมิลดลง


KM. (mesosphere) และเผาไหม้ ตามลาดับความสูง

สแตรโทพอส 0C

9-50 สแตรโทสเฟี ยร์ - มีแกสโอโซนชวยดู ดกลืนรังสี


KM. (stratosphere) ๊ ่ อุ ณหภูมิเพิ่ มขึ้น
อัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์
ตามลาดับความสูง
ชั้นโอโซน - เหมาะกับการบิน

โทโพพอส -60 C

<17 โทรโพสเฟี ยร์ - เกิดปรากฏการณส


์ าคัญ ไดแก
้ ่ อุ ณหภูมิลดลง
(troposphere)
KM. เมฆ ฝน หิมะ ลม พายุตาง
่ ๆ ตามลาดับความสูง

ความสูง ชัน
้ บรรยากาศ ปรากฏการณ์ อุ ณหภูมิ
3. การเปลี่ยนแปลงทางบรรยากาศภาค
ปรากฏการณท ์ ี่เกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศโทรโพสเฟี ยร์
ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิตในทุก ๆ แห่ง
ระบบธรรมชาติ ส าคั ญ ที่ มี เ ฉพาะในบรรยากาศชั้ น นี้
ได้แก่ อุ ณหภูมิ ความกดอากาศ ลมกับทิศทางลม
และความจริงของหยาดน้าฟ้า
1. อุ ณหภูมิ
อุ ณหภูมิในบริเวณสวนต่ าง
่ ๆ ของโลกมีความแตกตางกั ่ นไปตาม
การรับพลังงานความรอนและการแผ
้ รั
่ งสีจากดวงอาทิตย์ ขึ้นอยู่
กับคาของมุ
่ มที่รังสีตกกระทบพื้ นโลก ฤดูกาล ระยะใกลไกลจาก

ดวงอาทิตยก ์ ับโลก ความแตกตางกั่ นระหว่างพื้ นน้าและพื้ นดิน
2. ความกดอากาศและลม
อากาศเป็นสสารซึ่งอยู่ได้ด้วยแรงดึงดูดของโลก โดยค่าความกด
อากาศลดลงเมื่ออยูสู
่ งจากระดับน้าทะเลปานกลางขึ้นไป และลมเกิด
จากการเคลื่อนที่ของอากาศตามแนวระนาบเมื่อมีความต่างกันของ
ค่าความกดอากาศ โดยมีพลังงานความร้อนเป็นตัวการสาคัญ ก็จะ
ทาให้แต่ละในบริเวณเกิดความกดอากาศที่แตกต่างกัน และทาให้
เกิดลมขึ้นมา

2.1 ทิศทางลม ผลจากการหมุนรอบตัวเองของโลก


ท าให้ ทิ ศ ทางการเคลื่ อ นที่ ข องลมเบี่ ย งเบนไปจาก
ความกดอากาศสูง ไปสูบริ ่ เวณที่มีความกดอากาศต่า
2.2 ประเภทของลม การหมุนเวียนของลมในบรรยากาศ
มีชื่อและชวงเวลาการพั
่ ดแตกตางกั
่ น ดังนี้

• ลมประจาเวลา ลมพั ดเฉื่อยจะพั ดในชวงเวลาสั


่ ้น ๆ สลับกันในเวลากลางวัน
และกลางคืน นาจะความแตกต
่ าง
่ ของอุ ณหภูมิและความกดอากาศ ไดแก ้ ่
ลมบก-ลมทะเล และลมภูเขา-ลมหุบเขา

ลมบก ลมทะเล

ลมภูเขา ลมหุบเขา
ที่ราบสูงมาซีฟซองตราล แมน้
่ าโรน
เทือกเขาแอลป์

• ลมประจาถิน ่ คือลมที่พัด ประจา ณ


ถิน
่ ใดหรือประเทศใดประเทศหนึ่ง เชน

ลมมิสตราล ลมเหนือในประเทศฝรั่งเศส ที่พัดจาก


บริเวณที่ราบสูงตอนกลาง ผานหุ
่ บเขาที่มีแม่น้า
โรน ลักษณะเป็นลมเย็นและแหง

ลมสลาตัน ลมรอนและแห
้ ง
้ พั ดแถบหมูเกาะภาค

ตะวันออกของอินโดนีเซีย พั ดจากเหนือสู่ใต้
ลมชีนุก ลมตะวันตกเฉียงเหนือที่พัดจากชายฝ่ั งมหาสมุทร
แปซิฟิกเขาสู
้ แนวเทื
่ อกเขาร็อกกี้ ชวงเดื
่ อนมิถุนายนถึง
กรกฎาคม ส่งผลใหบริ
้ เวณที่ราบด้านตะวันออกของเทือกเขา
ร็อกกี้ มีอากาศรอนและแห
้ งแล
้ ้งเนื่องจากเป็นพื้ นที่อับฝน
• ลมประจาฤดู ลักษณะที่พัดเป็นประจาฤดูสลับชวงยาวนานกว
่ าลมประจ
่ า
ถิ่น ไดแก
้ ่ ลมมรสุมที่เกิดเดนชั
่ ดในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ เอเชีย
ใต้ เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลักษณะของลมมรสุม
คือ ลมที่พัดเปลี่ยนกับทิศทางตรงกันข้ามในรอบปี

ชวงฤดู
่ ร้อน ชวงฤดู
่ หนาว

• ลมประจาปี คือ ระบบลมที่มีทิศทางเบี่ยงเบนคงที่ตลอดปี การเคลื่อนที่


ของลมกาเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงกึ่งเขตร้อน ประมาณ
ละติจูด 30 องศาเหนือและใตสู้ บริ
่ เวณความกดอากาศต่าแถบศูนยส ์ ูตร
เรียกวา่ "ลมคา"
้ กลับสูบริ
่ เวณความกดอากาศต่าประมาณละติจูด 60
องศาเหนือและใต้ เรียกวา่ "ลมฝ่ายตะวันตก"
3. ความชื้นในบรรยากาศ
เกิดจากการระเหยของทะเลมหาสมุทรและแหลงน้ ่ าจืดบนผิว
โลกเป็นหลัก แตก็
่ จะมีบางสวนที
่ ่เกิดจากการคายน้าของพื ช
และกิจกรรมของมนุษย์

3.1 สถานะของน้าในอากาศ ไดบรรยากาศน้


้ ามีอยู่ 3 สถานะ ไดแก
้ ่ แกส

ของเหลว และของแข็ง มีการหมุนเวียนเปลี่ยนสถานะได้ โดยกระบวนการ
ของพลังงานความรอนจากดวงอาทิ
้ ตย์ ซึ่งมีวิธีการทางธรรมชาติ คือ

การระเหย การควบแนน
่ การหลอมเหลว การเยือกแข็ง การระเหิด
3.2 เมฆ เป็นกลุมก ่ อนของไอน้
้ าที่ลอยอยูในอากาศมี

ลักษณะแตกตางกั
่ นตามระดับความสูง รูปลักษณะของ
เมฆแบงได
่ เป
้ ็ น 3 แบบ ไดแก
้ ่

1. เมฆซีรร
์ ัส 2. เมฆคิวมูลัส 3. เมฆสเตรตัส
ลักษณะเป็นเสน ้ มีลักษณะเป็นกอน้ ลักษณะเป็นแผน ่
ปุยฝอยตอเนื
่ ่องกัน ขนาดตาง่ ๆ เชื่อมตอเนื
่ ่องกัน
3.3 หยาดน้าฟ้า เป็นควบรวมของสถานะตาง ่ ๆ ของ
น้าในบรรยากาศ ที่ตกลงมาสูผิ
่ วโลกในลักษณะตาง
่ ๆ
ไดแก
้ ่

ฝน ฝนละลอง ฝนน้าแข็ง หิมะ ลูกเห็บ

นอกจากนี้ ยังพบปรากฏการณท ์ ี่เกิดขึ้นจาก


ไอน้าในอากาศ อุ ณหภูมิและฝุ่นละอองดังนี้

หมอก น้าคาง
้ น้าคางแข็
้ ง ฟ้าหลัว หมอก
ปนควัน
อุ ทกภาค
Hydrosphere
อุ ทกภาคเป็นส่วนที่เป็นน้าที่อยูบนพื
่ ้ นโลกทั้งหมด
ประกอบดวย ้
1. น้าจืดเพี ยงร้อยละ 2.5 ซึ่งอยูในรู่ ปแบบของธาร
น้าแข็งและหิมะร้อยละ 68.7 รูปบบน้าใตดิ ้ นร้อยละ
30.1 และน้าผิวดินร้อยละ 1.2
2. น้าเค็ม ที่อยูในทะเลและมหาสมุ
่ ทรถึงร้อยละ 97.5
1. วัฏจักรของน้า
การหมุน เวี ย นเปลี่ย นแปลงของน้ า ซึ่ ง เป็นปรากฎการณ์ ที่ เกิ ด ขึ้ น เองตามธรรมชาติ
โดยเริ่มต้นจากน้าในแหล่งน้าต่าง ๆ เช่น ทะเล มหาสมุทร แม่น้า ลาคลอง ทะเลสาบ
จากการคายน้าของพื ช จากการขับถายของเสี
่ ยของสิ่งมีชีวิต และจากกิจกรรมต่าง ๆ
ที่ใช้ในการดารงชีวิตของมนุษย์ ระเหยขึ้นไปในบรรยากาศ กระทบความเย็นควบแน่น
เป็นละอองน้าเล็ก ๆ เป็นก้อนเมฆ ตกลงมาเป็นฝนหรือลูกเห็บสู่พื้ นดินไหลลงสู่แหล่ง
น้าตาง
่ ๆ หมุนเวียนอยูเช
่ นนี
่ ้เรื่อยไป
ภาพจาก https://www.worldatlas.com/the-water-cycle.html
2. ระบบน้าจืด
น้าจืด คือ น้าที่มีเกลือละลายอยูน่ อยกว
้ า่ 0.5 สวนใน
่ 1,000
สวน
่ มีอยูประมาณร
่ อยละ
้ 2.5 ของปริมาณน้าบนโลก น้าจืด
พบไดจากแหล
้ งน้
่ าตาง่ ๆ ดังนี้

2.1 น้าผิวดิน แหลงน้ ่ าผิวดินที่เป็นน้าจืด ไดแก ้ ่


ทะเลสาบน้าจืด แมน้
่ า ลาธาร หวย ้ หนอง คลอง บึง
และอ่างเก็บน้า รวมทั้งพื้ นที่ชมน้
ุ่ า น้าผิวดินมีเพี ยงรอย

ละ 0.01 จากปริมาณน้าจืดทั้งหมด
2.2 น้าใต้ดิน หรือน้าบาดาลมีประมาณร้อยละ 0.62 จาก
ปริมาณน้าจืดทั้งหมด น้าบาดาลเกิดขึ้นจากการไหลซึมของ
น้าผิวดินลงเนื้อดินที่มีรูพรุนสาหรับอากาศและน้า ไหลลงไป
จะเป็นชั้นหินตะกอนเนื้อหยาบที่สามารถเก็บกักน้าบาดาลไว้
ไดเรี
้ ยกว่า "ชั้นหินอุ้มน้า"

2.3 ธารน้าแข็ง พบในทวีปแอนตารก ์ ติกา กรีนแลนด์


เกาะไอซแ์ ลนด์ ยอดเขาสูงและที่ราบสูง เชน่ เทือกเขา
เชอเลน เทือกเขาแอลป์ ยอดเขาคิลิมันจาโร ที่ราบสูง
ทิเบต มีประมาณรอยละ
้ 2.20 จากปริมาณน้าจืดทั้งหมด
2.4 ไอน้าและเมฆ เป็นสวนของไอน้
่ าที่เกิดจากการ
ระเหยของน้า แลวรวมตั
้ วกันเป็นกลุมก
่ อน้ จะกลัน

ตัวเป็นน้าในรูปแบบของฝน ซึ่งมีประมาณรอยละ ้
0.01
เกรตอารท
์ ีเซียนเบซิน

แอ่งน้าใต้ดินขนาดใหญ่ของออสเตรเลียโดยอ่างเก็บน้าใต้ดินขนาดใหญนี
่ ้เรียกกันว่าเกรต
อาร์ทีเซียน เบซิน (Great Artesian Basin) ถือเป็นแหลงน้
่ าบาดาลที่ใหญที
่ ่สุดแห่งหนึ่งของ
โลกโดยที่ใดเปลื
้ อกชั้นหินที่แข็งของทวีปออสเตรเลีย ซึ่งมีขนาดถึง 1 ใน 5 ของเนื้อที่ประเทศ
ออสเตรเลีย โดยแอ่งน้าบาดาลนี้มีพื้นที่ 1.7 ลาน
้ ตร.กม. โดยมีอาณาบริเวณตั้งแต่ตั้งแต่
คาบสมุทรเคปยอร์ก (Cape York) ทางเหนือยาวจนถึงทะเลสาบแอร์ (Lake Eyre) ซึ่งอยู่
ทางใต้

เกรตอาร์ทเี ซียนเบซิน
แผนที่แสดงน้าจืดผิวดินสาคัญของโลก

ทวีปเอเชีย

แมน้
่ าที่สาคัญของทวีปเอเชีย ไดแก
้ ่
แมน้
่ าเยนิเซย์ แมน้
่ าคงคา
แมน้
่ าลีนา แมน้
่ าพรหมบุตร
แมน้
่ าฮวงโห แมน้
่ าสาละวิน
แมน้
่ าแยงซี แมน้
่ าโขง
แมน้
่ าสินธุ
แผนที่จาก
MAPWIRE
ทวีปออสเตรเลีย

แมน้
่ าที่สาคัญของทวีปออสเตรเลีย ไดแก
้ ่
แมน้
่ าดารล
์ ิง
แมน้
่ าเมอรร
์ ี่
่ าวอรร
แมน้ ์ ิโก
แมน้
่ าลาคลัน

แผนที่จาก
MAPWIRE
ทวีปยุโรป

แมน้
่ าที่สาคัญของทวีปยุโรป ไดแก
้ ่
เทมส์ แอลเบ
ลัวร์ ดานูบ
แซน นีเปอร์
โรน โวลกา
ไรน์ ยูราล
โป

แมน้
่ าวอลกา (Volga)
เป็นแมน้
่ าที่ยาวที่สุดของ
ทวีปยุโรป มีความยาว
ทั้งสิ้น 3,690 กิโลเมตร
ทวีปแอฟริกา

แม่น้าที่สาคัญของทวีปแอฟริกา ไดแก
้ ่
แม่น้าไนล์ ทะเลสาบวิกตอเรีย

แม่น้าคองโก ทะเลสาบแทนกันยิกา

แม่น้าไนเจอร์ ทะเลสาบโมซัมบิก

แม่น้าแซมบีซี

แผนที่จาก
MAPWIRE
ทวีปอเมริกาเหนือ

แม่น้าที่สาคัญของทวีป
อเมริกาเหนือ ไดแก
้ ่
แม่น้ายูคอน
แม่น้าแมกเคนซี

Great Lakes
แม่น้ามิสซูรี

แม่น้าริโอแกรนด์
แม่น้ามิสซิสซิปปี

แผนที่จาก
MAPWIRE
ทวีปอเมริกาใต้

แม่น้าที่สาคัญของทวีป
อเมริกาใต้ ไดแก
้ ่
แม่น้าโอรีโนโก
แม่น้าแอมะซอน
แม่น้าชีงกู

แม่น้าปารานา

แม่น้าปารากวัย

แผนที่จาก
MAPWIRE
3. ระบบน้าเค็ม
เป็ นน้ า ที่ มี ป ริ ม าณมากที่ สุ ด ถึ ง ร้ อยละ
97 ของปริมาณน้าบนโลกและกระจาย
อยูทั
่ ่วโลก เชน ่ อ่าว ทะเลสาบ ทะเล
และมหาสมุทร จึงเป็นแหล่งน้าที่มี
การระเหยเป็นไอมากที่สุด
3.1 ความเค็มและปริมาณความหนาแนน ่ ความเค็มของน้าทะเลเกิด
จากเกลือโซเดียมคลอไรด์ละลายอยู่ ในปริมาณเฉลี่ย 35 กรัมต่อ
น้า 1,000 กรัม แต่ละบริเวณมีความเค็มแตกต่างกันตามอัตราการ
ระเหยของน้า ปริมาณน้าฝน น้าจากแมน้่ าหรือน้าแข็งที่ละลายลงไป
และอุ ณหภูมิของน้า

3.2 กระแสน้าพื้ นผิวและการลอยตัวของของมวลน้าในมหาสมุทร


การไหลเวี ย นของกระแสน้ า ในมหาสมุ ท รมี ค วามต่ อเนื่ อ งและ
สม่าเสมอ เกิดจากความหนาแน่นและอุ ณภูมิที่แตกต่างกันของน้า
ทะเลในแตละแห
่ ง
่ และลมประจาของโลก
• กระแสน้าพื้ นผิวมหาสมุทร เป็นระบบหมุนเวียนของน้าในแนวนอนประจาอยูใน ่
มหาสมุทรตาง ่ ๆ อยางเป
่ ็ นระบบ การไหลของกระแสน้าพื้ นผิวเกิดจากสาเหตุตาง
่ ๆ
ดังนี้ 1. การหมุนรอบตัวเองของโลก 2. ลมที่พัดประจา
• การลอยตัวของมวลน้า เป็นปรากฏการณ์เฉพาะพื้ นที่ เนื่องจาก
น้าในระดับลึกจากทะเลหรือมหาสมุทรมีอุณหภูมิต่าและมี ความ
หนาแนนสู
่ งลอยตัวขึ้นสูระดั
่ บผิวน้า เกิดจากลมประจากาลังแรง
ทาให้กระแสน้าเย็นพื้ นผิวที่ขนานกับชายฝ่ั งเคลื่อนที่เฉออกจาก
ชายฝ่ั ง ทาให้น้าเย็นระดับลึกเคลื่อนตัวเข้ามาแทนที่เกิดเป็นการ
ลอยตัวของมวลน้า
ชีวภาค
Biosphere
1. ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศบนโลกมีอยู่หลากหลายรู ปแบบขึ้นอยู่กับลักษณะภูมิประเทศ
และภูมิอากาศของแต่ละท้องที่ ซึ่งมีผลต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในบริ
่ เวณ
นั้น ๆ ระบบนิเวศของสิ่งมีชว
ี ิตในแตละพื
่ ้ นที่ เรียกว่า ชีวนิเวศ หรือไบโอม
(Biomes)
แผนที่แสดง 9 เขตชีวนิเวศของโลก

ทุนดรา
ป่าสน (ไทกา)
ป่าไมผลั
้ ดใบ
ป่าฝนเขตรอน

ทุงหญ
่ าเขตอบอุ
้ ่น
ทุงหญ
่ าเขตร
้ อน

ทะเลทราย
เมดิเตอรเ์ รเนีย
เทือกเขาสูง
1. ทุนดรา
เป็นทุงหิ
่ มะเหนือเสนละติ
้ จูดที่ 60 องศาเหนือ ไปจนถึงขัว
้ โลกเหนือ
มีอากาศหนาวเย็นตลอดปี ในชวงฤดู
่ หนาวมีชวงกลางคื
่ นที่ยาวนาน

เฉลี่ย -5 ถึง -40°C

พื ชพรรณ : ไลเคน มอสส์


เฉลี่ย 250 มม./ปี สัตว์ป่า : แมวน้าลายพิ ณ
หมีขั้วโลก หมาป่าหิมะ
กวางเรนเดียร์
2. ป่าสน (ไทกา)
เป็นป่าแถบขัว
้ โลกเหนือที่มีสภาพอากาศหนาวเย็น
มีฤดูหนาวยาวนานและอากาศอบอุ่นในชวงเวลาสั
่ น
้ ๆ

เย็นจัดถึง -40°C

พื ชพรรณ : สน
เฉลี่ย 1,000 มม./ปี สัตว์ป่า : กวางเรนเดียร์
กวางมูส
3. ป่าไมผลั
้ ดใบ
บริเวณป่าไมผลั
้ ดใบในเขตรอนจะผลั
้ ดใบในฤดูแลงและผลิ
้ ใบใหมในฤดู
่ ฝน ส่วน
บริเวณเขตอบอุ่นจะผลัดใบในฤดูใบไมร้ วงและพลิ
่ ใบใหมในฤดู
่ ใบไมผลิ

เฉลี่ย 15 - 30°C

พื ชพรรณ : โอ๊ก เชสตน ์ ัต


เฉลี่ย 760 - 1,500 มม./ปี
สัตว์ป่า :สุนัขจิง
้ จอก กวาง
4. ป่าฝนเขตรอน

ป่าดิบชืน
้ เป็นป่าไมผลั
่ ดใบ เขียวชอุ่มตลอดปีปริมาณฝนและความชืน
้ สูง

เฉลี่ย 20-25°C

เฉลี่ย 2,400 มม./ปี มีความหลากหลายสูง


5. ทุงหญ
่ าเขตอบอุ
้ ่น
เป็นบริเวณที่มีทงหญ
ุ่ าปกคลุ
้ มทัว
่ ไปใน
เขตละติจูด 10 - 30 องศาเหนือและใต้

ฤดูรอนอากาศร
้ อนมาก

ในทวีปอเมริกาเหนือ
เรียกว่า ทุงหญ
่ าแพรี

ในทวีปอเมริกาใต้
เฉลี่ย 250 -760 มม./ปี เรียกว่า ทุงหญ
่ าป
้ ั มปัส

ในทวีปอเมริกาเอเชีย
พื ชตระกูลหญาสู
้ ง เรียกว่า ทุงหญ
่ าสเตปป
้ ์
ตั้งแต่ 50 - 200 ซม.
6. ทุงหญ
่ าเขตร
้ อน

พื ชพรรณ : มีต้นหญ้ายาวและมี
เฉลี่ย 20-30°C ต้นไม้ ไม้พุ่ มกระจัดกระจายอยู่
ฤดูแล้งยาวนาน เป็นกลุ่ม ๆ บางแห่งมีลักษณะ
เป็นทุงหญ
่ าปนป
้ ่ าโปรง

สัตว์ป่า : สิงโต มาลาย
้ ควายป่า
เฉลี่ย 700 - 1,000 ชาง
้ เสือดาว
มม./ปี

ในทวีปแอฟริกา เรียกว่า
"ทุ่งหญาสะวั
้ นนา"
7. ทะเลทราย

ทะเลทรายโกบี ในจีนและมองโกเลีย
เฉลี่ยสูงกว่า 35°C
ทะเลทรายอาหรับ คาบสมุทรอาหรับ
กลางคืนมีอากาศหนาว
ทะเลทรายสะฮารา แอฟริกาตอนเหนือ

เฉลี่ยนอยกว
้ ่า 250 พื ชพรรณ : พื ชใบเล็ก ขึ้นหาง
่ ๆ กัน
มม./ปี สัตว์ป่า : อู ฐ จิง
้ จอกทะเลทราย
7. เมดิเตอรเ์ รเนียน
(ชาปารร์ ัล)
รอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทาง
อากาศแหงแล
้ ้งในฤดูรอน

ตะวันตกเฉียงใตของสหรั
้ ฐอเมริกา
ในฤดูหนาวมีอากาศอบอุ่น
บริ เ วณตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ของ
และไดรั
้ บความชื้นจากทะเล
เม็กซิโก เรียกว่า "ป่าชาปารร
์ ัล"

เฉลี่ยนอยกว
้ ่า 650 พื ชพรรณ : โอ๊ก มะกอก ซีดาร์
มม./ปี สัตว์ป่า : แพะป่า แกะป่า
8. เทือกเขาสูง
มีพื้นที่สูงกว่า 3,000 เมตร มีอากาศเบาบางแตมี
่ ลมแรง

อุ ณหภูมิลดลงตาม
เทือกเขาร็อกกี้
ความสูงของพื้ นที่

เทือกเขาแอนดีส

เฉลี่ยนอยกว
้ ่า 250 มม./ปี เทือกเขาหิมาลัย

เทือกเขาแอลป์
พื ชพรรณ : พื ชระดับล่าง ไมพุ
้ ่ม
สัตว์ป่า : แพะภูเขา จามรี
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพั นธุ ใ์ นระบบนิเวศอันเป็นแหลงที ่ ่
อยูอาศั
่ ย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือง่าย ๆ คือ
การที่มีชนิดพั นธุ ์ (species) สายพั นธุ ์ (genetic) และระบบนิเวศ
(ecosystem) ที่แตกตางหลากหลายบนโลก

2.1 ความหลากหลายในชนิดของสิง ่ มีชวี ิต
ชนิดของสิง
่ มีชีวิต หมายถึง กลุมประชากรของสิ
่ ง
่ มีชีวิตที่สามารถผสมพั นธุ ก
์ ันแลว

ใหก
้ าเนิดลูกได้ ระบบนิเวศในธรรมชาติแตละแห ่ งจะประกอบด
่ วยสิ
้ ง
่ มีชีวิตชนิดตาง
่ ๆ
มากมายอยูร ่ วมกั
่ นและมีความสัมพั นธก
์ ัน โดยเราสามารถพิ จารณาความหลากหลาย
ของสิง
่ มีชีวิตในระบบนิเวศไดดั
้ งนี้

1) จานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตในพื้ นที่ 2) ความสม่าเสมอของสิ่งมีชีวิต หมายถึง


หมายถึง จานวนชนิดของสิ่งมีชีวิต สั ด ส่ วนของสิ่ ง มี ชี วิ ต แต่ ละชนิ ด ที่ พ บและ
ในพื้ นที่ โดยสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดอาจ เป็นตัวแทนในระบบนิเวศนั้น
มีจานวนที่แตกตางกั่ นได้
2.2 ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา
ในระบบนิเวศแบบตาง ่ ๆ จะประกอบไปดวยกลุ ้ มสิ
่ ง ่ มีชีวิตรวมถึงองคป์ ระกอบ
แวดลอมที
้ ่แตกตางกั
่ น จึงทาใหสิ
้ ง ่ มีชีวิตตองมี
้ การปรับตัวทัง ้ ทางกายภาพและทาง
ชีวภาพเพื่ อใหสามารถด
้ ารงชีวิตอยูในระบบนิ
่ เวศนัน
้ ไดอย
้ างเหมาะสม
่ ลักษณะความ
หลากหลายทางนิเวศวิทยาจะสามารถจาแนกออกไดดั ้ งนี้

1) ความหลากหลายของถิ่นกาเนิด คือ ความแตกต่างของถิ่น


กาเนิดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ บริเวณที่มีความอุ ดมสมบูรณ์
ก็จะมีความหลากหลายมากขึ้น

2) ความหลากหลายของการแทนที่ คือ การเปลี่ยนแปลงความ


หลากหลายที่ เกิด จากระบบนิเ วศเดิมถู กทาลายลงด้ วยวิ ธีการ
ตาง
่ ๆ และอาจเกิดระบบนิเวศใหมขึ
่ ้นมาแทนที่
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อ
ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ
1. การเปลีย
่ นแปลงทางกายภาพทีส
่ งผลต
่ อภู
่ มปิ ระเทศ
ภูมิประเทศเกิดจากการปรับระดับผิวโลกจากตัวกระทา ไดแก
้ ่ ธารน้าไหล
ธารน้าแข็ง ลม น้าใตดิ
้ น คลื่น และกระแสน้าชายฝ่ั ง ทาใหหิ
้ นทีแ
่ ตกหักหรือ
ผุพังอยูกั
่ บที่ เกิดการกรอน
่ การพั ดพา และการทับถม ดังนี้
1.1 ภูมิประเทศเกิดจากการกระทาของน้าและแมน้
่ า
• การกร่อนโดยน้าและแมน้
่ า เชน

รองธาร
่ แกง
่ น้าตก โกรกธาร กุมภลักษณ์ (โบก)
ร่องน้าบนลาด ทางน้าที่มีหน
ิ สายน้าที่ไหลตก ธารน้าที่มีผาสูง หลุมที่เกิดบริเวณ
พื้ นดิน ขวางทางน้า ลงแบบตั้งฉาก ขนาบสองดาน ้ พื้ นทองน้
้ าที่เป็นหิน
• การทับถมโดยน้าและแมน้
่ า

ที่ราบน้าทวมถึ
่ ง คันดินธรรมชาติ เนินตะกอนรูปพั ด ดินดอนสามเหลี่ยม
ที่ราบสองฝ่ั งแม่น้า ตะกอนที่ทับถมจน เนินตะกอนที่ทับถม ดินดอนที่ตะกอนทับถม
ที่มักถูกน้าทวมใน
่ เป็นคันดินยาวขนาน บริเวณทางลาดชัน บริเวณปากแมน้
่ า
ชวงฤดู
่ ฝน ไปกับริมน้า กอนลงสู
่ ที
่ ่ราบ
1.2 ภูมิประเทศเกิดจากการกระทาของธารน้าแข็ง
ภาพจาก Solution: smartfigure 912 erosional
landforms created by alpine glaciers the
unglaciated... (zookal.com)

• การกร่อนโดยธารน้าแข็ง เชน

เซิร์ก แอ่งพระจันทร์เสี้ยวที่สูงชันบริเวณไหล่เขา

ยอดเขา จุ ดสูงที่สุดที่แหลมคมของหุบเขา

อาแร็ต สันเขาแคบ ๆ คลายฟั


้ นเลื่อย

หุบเขาลอย หุบเขาสาขาที่อยูสู
่ งกว่าหุบเขาใหญ่

จมูกเขาปลายตัด หน้าผาชันคลายกั
้ บสามเหลีย
่ ม
truncated

ขนาดใหญ่ spurs

อ่านเพิ่ มเติม
mitrearth
FJORD
ฟยอร์ด (fjord) - โตรกเขาติดทะเล คือ ร่องน้าที่
ประกอบด้วยหน้าผาสูงชัน เกิดจากการกัดร่องเขา
เป็นรู ปตัว U ด้วยธารน้าแข็ง ซึ่งกัดได้ลึกกว่า
ระดับน้าทะเลเนื่องจากน้าหนักกดทับของมวลน้าแข็ง
ซึ่งหลังจากผ่าน ยุคน้าแข็ง ธารน้าแข็งโดยส่วน
ใหญ่ละลายเป็นน้า ทาให้ระดับน้าสูงขึ้น เกิดเป็น
แมน้
่ าที่ลึกมาก บางพื้ นที่ลึกถึง 1,500 เมตร

อ่านเพิ่มเติม
mitrearth
• การทับถมโดยธารน้าแข็ง เชน

กองตะกอน เป็นเนินหรือสันตะกอนของธารน้าแข็ง

เนินเคม เนินหรือสันรู ปร่างไม่สม่าเสมอ

outwash
plain
หลุมน้าแข็ง แอ่งที่เกิดจากการละลายของน้าแข็ง
ที่ฝังอยูในดิ
่ น

เนินดรัมริน เนินตะกอนรู ปไข่ เป็นเนินเรียบ ยาวรี

เนินรูปงู ลักษณะสันเขาที่คดโค้งไป-มา ประกอบดวย



กรวดและทรายเป็นส่วนใหญ่

ที่ราบเศษหิน เป็นที่ราบประกอบไปดวยเศษหิ
้ น
ภาพจาก Glacier - Wikipedia

อ่านเพิ่ มเติม
mitrearth
1.3 ภูมิประเทศเกิดจากการกระทาของลม
• การกร่อนโดยลม เชน

เสาหินทะเลทราย ลาดเชิงเขา ดาดหินทะเลทราย แอ่งลมหอบ


เสาหินที่เกิดจากการ บริเวณที่ราบหิน เกิดจากการที่ลมพั ด แอ่งที่เกิดจากการ
กัดกร่อนไม่เท่ากัน แข็งติดเชิงเขา เอาทรายออกจากไป ที่ลมลมพั ดหอบ
พื้ นที่ทรายปนกรวด เอาทรายออกไป

อ่านเพิ่ มเติม
mitrearth
• การทับถมโดยลม เชน

พลายา (playa) เนินทราย (sand dune)


ทะเลสาบแหงที
้ ่เกิดจากการทับถม เกิดจากการที่ลมพั ดพาตะกอนทราย
ของตะกอนดินเป็นบริเวณกวาง
้ มากองรวมกัน

อ่าน
เพิ่ มเติม
mitrearth
SandDune

อ่านเพิ่ มเติม
mitrearth
1.4 ภูมิประเทศเกิดจากการกระทาของน้าใตดิ
้ น
• การกร่อนโดยน้าใตดิ
้ น เป็นการละลายหินปูนหรือหินเกลือใตดิ
้ น เชน

หลุมยุบ ถ้า สุสานหิน เขาลอมฟาง


หลุมที่เกิดจากชั้น ชองโพรงลี
่ กเขา้ ที่ราบที่มีหน
ิ ปูน ยอดเขาหินปูนที่
หินดานล
้ างถู
่ ก ไปในดินหรือภูเขา โผลพ ่ ้ นผิวดิน ถูกน้ากร่อนจน
กร่อนหายไป เป็นหยอม ่ ๆ คลายลอมฟาง

• การทับถมโดยน้าใตดิ
้ น เชน

ที่ราบคาสต์ หินงอก
เป็นลักษณะของหินปูนที่ถูกน้า ละลายหิน เป็นคราบหินปูนที่งอกจากพื้ นถ้า
ออกไปจนเหลือหินเป็นลักษณะตะปุ่มตะป่า ที่เกิดจากน้าที่หยดลงจากปลายหิน
ยอยด
้ านบน
้ สะสมตัวสูงขึ้นจากพื้ นถ้า
1.5 ภูมิประเทศเกิดจากการกระทาของคลื่นและกระแสน้าชายฝ่ั ง
• การกร่อนโดยคลื่นและกระแสน้าชายฝ่ั ง เชน

ซุ้มหินชายฝ่ั ง เกิดคลื่นกัดเซาะทะลุส่วนที่เป็นแหลมยื่นไปในทะเล

หน้าผาชันชายฝ่ั ง เกิดจากคลื่นกัดกร่อน ทาใหหิ


้ นพั งทะลาย

เกาะหินโดง
่ เกาะขนาดเล็กใกลฝ
้ ่ั งเกิดจากการเซาะของคลื่น

หุบเขาลอย หุบเขาสาขาที่อยูสู
่ งกว่าหุบเขาใหญ่
• การทับถมโดยคลื่นและกระแสน้าชายฝ่ั ง เชน

รีโอเดลาปลา
ตา

สันดอน หาด ลากูน ชะวากทะเล


เนินที่เกิดจาก พื้ นที่แถบยาวไป แอ่งน้าเค็มที่เกิด เป็นฝ่ั งทะเลที่เวา้
กระแสน้าพั ดพา ตามริมฝ่ั ง ระหวางแผ
่ นดิ
่ นใหญ่ เป็นชองเข
่ าไป

ตะกอนมาทับถม กับสันดอนชายฝ่ั งหรือ ยังปากแมน้ ่ า
อยูในเกาะปะการั
่ ง
วงแหวน
2. การเปลี่ยนแปลงทาง
กายภาพที่สงผลต
่ อภู
่ มิอากาศ
2.1 สาเหตุการเปลีย
่ นแปลงทางกายภาพที่สงผลต
่ อสภาพภู
่ มิอากาศ
• การแปรผันของวงโคจรโลก ตามวัฏจักรมิลานโควิทชจ
์ ะเกิดการผัน
แปรวงโคจรของโลกใน 3 ลักษณะ ดังนี้
0 N

ํ N

S S

วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ แกนของโลก การส่ายไปมาของแกนโลก


วงโคจรของโลกมีความรีลด มุมเอียงของแกนโลกจะอยู่ การส่ายของแกนโลกนี้มีผล
น้อยลง จะมีการเปลี่ยนแปลงทุก 1 ราว 22.1 – 24.5 องศา ใช้ ตอความรุ
่ นแรงของฤดูกาล
แสนปี เวลาราว 41,000 ตอรอบ
่ ใชเวลาราว
้ 26,000 ปีตอรอบ

• การแปรผันของรังสีจากดวงอาทิตย์ จากการเกิด
จุ ด ดั บบนดวงอาทิต ย์ จ ะส่งผลต่ อรั งสี ที่ แผ่มายั ง
โลก ทาให้อุ ณภูมิบนโลกลดลง เกิดขึ้นทุก ๆ
ประมาณ 11 ปี

• การเปลี่ยนแปลงของแกสเรื
๊ อนกระจก การปะทุของ
ภูเขาไฟทาให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดร์ออกไซด์ มีเทน
ไนตรัสออกไซด์ ส่งผลทาให้เกิดยุคน้าแข็งและ
น้าแข็งละลาย
2.2 ประเภทของภูมิอากาศ
• เขตภูมิอากาศตามคาเฉลี
่ ่ยของอุ ณหภูมิ แบงได
่ ้ 5 พื้ นที่ 3 เขตภูมิอากาศ ดังนี้

3. ภูมิกาศเขตขั้วโลก อุ ณหภูมิเฉลี่ยนอยกว
้ ่า 10 C ทุกเดือน
อาร์กติกเซอร์เคิล 66 N

2. ภูมิกาศเขตอบอุ ่น อุ ณหภูมิเฉลี่ยต่ากว่า 18 C แตสู


่ งกว่า -3 C
ทรอปิกออฟแคนเซอร์ 23 S

ศูนย์สูตร 1. ภูมิกาศเขตร้อน อุ ณหภูมิเฉลี่ยมากกว่า 18 C ทุกเดือน 0

ทรอปิกออฟแคปริคอร์น 23 S

2. ภูมิกาศเขตอบอุ ่น อุ ณหภูมิเฉลี่ยต่ากว่า 18 C แตสู


่ งกว่า -3 C
แอนตาร์กติกเซอร์เคิล 66 N
3. ภูมิกาศเขตขั้วโลก อุ ณหภูมิเฉลี่ยนอยกว
้ ่า 10 C ทุกเดือน
• เขตภูมิอากาศตามคาเฉลี
่ ย ่ น้าฝน แบงได
่ ้ 7 ภูมิภาค ดังนี้

เขตภูมิอากาศ ปริมาณฝน

1. แถบศูนยส
์ ูตร >2,000 มม./ปี
้ บลมคา้
2. ชายฝ่ั งที่ไดรั > 1,500 มม./ปี
3. ทะเลทราย < 250 มม./ปี
4. กึึ่งทะเลทราย 250-500 มม./ปี
5. แถบชื้นกึ่งรอน
้ 1,000-1,500 มม./ปี
6. ชายฝ่ั งตะวันตกละติจูดกลาง > 1,000 มม./ปี
7. แถบอารก
์ ติกและแอนตารก
์ ติกา < 300 มม./ปี
• การจาแนกประเภทภูมิอากาศแบบเคิปเปน
เป็นหนึ่งในระบบการแบงเขตภู
่ มิอากาศที่ใชกั
้ นกว้างขวางที่สุด ดร.วลาดีเมียร์ เคิป
เปน นักอุ ตุนิยมวิทยาชาวเยอรมัน เป็นผูเผยแพร
้ ระบบการแบ
่ งเขตภู
่ มิอากาศนี้เป็นคน
แรกใน พ.ศ. 2427 โดยใชอั
้ กษรโรมันตัวใหญอธิ
่ บายอุ ณหภูมิเป็น 5 เขตหลัก
A หมายถึง ภูมิอากาศเขตรอน
้ B หมายถึง ภูมิอากาศเขตแหงแล
้ ง

C หมายถึง ภูมิอากาศเขตอบอุ่น D หมายถึง ภูมิอากาศเขตหนาว
E หมายถึง ภูมิอากาศเขตขั้วโลก
นอกจากนี้ยังมีการเพิ่ มตัวอักษรโรมันตัวเล็กและใหญ่ เพื่ ออธิบายรายละเอียด
เพิ่ มเติม และเพิ่ มตัวอักษร H แทนภูมิอากาศแถบภูเขา
แผนที่แสดงเขตภูมิอากาศ
โลกแบบเคิปเปน

ภาพจาก การแบ่งเขตภูมอ ิ ากาศแบบเคิพเพิน


- วิกพ
ิ เี ดีย (wikipedia.org)
3. การเปลีย
่ นแปลงทางกายภาพทีส
่ งผลต
่ อทรั
่ พยากรธรรมชาติ
การเพิ่ มขึ้นของอุ ณหภูมิผิวโลกเป็นปัญหาสาคัญและมีแนวโน้มทวีความรุ นแรง
ขึ้นในแต่ละพื้ นที่ รวมถึงส่งผลกระทบไปทั่วโลก การแปรปวนของฤดูกาลยัง
กอให
่ เกิ
้ ดภัยพิ บัติทางธรรมชาติรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ส่งผลถึงทรัพยากรธรรมชาติ
การเกษตร ความมั่นคงทางอาหารและเศรษฐกิจโดยรวม
3.1 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลตอทรั
่ พยากรน้า

น้าแข็งขั้วโลกละลาย ระดับน้าทะเลสูงขึ้น ลาณีญาและเอลนีโญ


จากอุ ณหภูมิที่สูงขึ้น เกิดรุนแรงขึ้น
3.2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่สงผลต
่ อทรั
่ พยากรดิน ดินเกิดขึ้นตามธรรมชาติจาก
การสลายตัวของหิน แร่ และสารอินทรีย์ โดยพื้ นและสัตว์ตาง
่ ๆ ชวย
่ และบางครั้ง
ปรากฏการณท
์ างธรรมชาติ เชน
่ ลม ฝน ก็ชวยท
่ าใหเกิ
้ ดดินได้

วัตถุตนก
้ าเนิดดิน ลักษณะภูมิประเทศ เวลา
ดินอาจเปลี่ยนไปตาม ความลาดชันมีผลตอ
่ การสลายตัวของวัตถุตนก
้ าเนิดมี
สภาพภูมิอากาศ การสะสมตัวของดิน ความแตกตางกั
่ นตามภูมิอากาศ
ปัจจัยด ้านชีววิทยา ภูมอ
ิ ากาศ
พืชและสัตว ์จะมีอท
ิ ธิพลในการพัฒนาดินอย่าง ปริมาณฝน อุณหภูมิ และลม มีผลต่อ

มาก พืชปกคลุมดินเมือตายไปจะเป็ นขุยอินทรีย ์ ้ นั
กระบวนการการเกิดดิน ในพืนที ่ ้น ๆ
ในดิน ส่วนสัตว ์มีผลทาให ้โครงสร ้างของดิน

เปลียนแปลงไป เช่น ไส ้เดือนช่วยทาให ้ดินร่วนซุย
3.3 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่สงผลต
่ อทรั
่ พยากรพื ชพรรณ มีสาเหตุ
สาคัญ 4 ประการ ดังนี้

การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศอยางรุ
่ นแรง
เชน
่ ธารน้าแข็ง ภูเขาไฟระเบิด ทาใหเกิ
้ ดภัยพิ บัติทางธรรมชาติรุนแรงขึ้น
สึนามิ แผนดิ
่ นไหว ทาใหสภาพแวดล
้ อมเปลี
้ ่ยนไป
ปัจจัยจากการกระทาของมนุษย์ ปฏิกิริยาของสิง
่ มีชีวิต
เชน
่ การตัดไมท
้ าลายป่า การทา สิง
่ แวดลอมจะค
้ อย
่ ๆ มีการเปลี่ยนไป
ไรเลื
่ ่อนลอย มลพิ ษทางอากาศ จนทาใหกลุ
้ มสิ
่ ง
่ มีชีวิตเดิมไมสามารถ

การสรางเขื
้ ่อน และอื่น ๆ อยูได
่ ้ และมีสิ่งมีชีวิตใหมเข
่ ้ามาแทนที่
การแทนที่ของสิง
่ มีชว
ี ิต
เป็นการเปลี่ยนแปลงของชนิดในระบบนิเวศตามกาลเวลา แบงได
่ เป
้ ็ น 2 ประเภท ดังนี้

1. การแทนที่ขน
ั้ ปฐมภูมิ การแทนที่ในพื้ นที่ที่ไมเคยมี
่ สง
ิ่ มีชีวิต
• การแทนที่พื้นที่วางเปล
่ าบนบก

ขั้นแรก ขั้นสอง
มอส หญา้ วัชพื ชป่า
และไลเคน ไมล
้ มลุ
้ ก ไมพุ
้ ่ม

ขั้นสาม ขั้นสุดทาย

ตนไม
้ ยื
้ นตน
้ ตนไม
้ ยื
้ นตนขนาดใหญ
้ และมี
่ สภาพเป็นป่าไมสมบู
้ รณ ์
• การแทนที่พื้นที่วางเปล
่ าในแหล
่ งน้
่ า

เริ่มมีสาหร่ายและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ดิน ใบไม้ และสสารทีเ่ นาเป


่ ื่ อย จนสุดทายทะเลสาบก็
้ ถูกปกคลุมไป
เพิ่ มสารอาหารให้ กั บ ทะเลสาบ ทับถมทีด
่ านล
้ างของทะเลสาบ
่ ดวยทุ
้ งหญ
่ า้
ส า ร อ า ห า ร เ ห ล่ า นี้ ช่ ว ย ใ นก า ร ทาใหทะเลสาบตื
้ ้นขึ้น และเป็น
เจริญเติบโตของพื ช แอ่งน้า

ภาพจาก 5 Evolution and Community Ecology CHAPTER. Black and White, and Spread All
Over Zebra mussels and quagga mussels were accidentally introduced into Lake. - ppt
download (slideplayer.com)
2. การแทนที่ขน
ั้ ทุติภูมิ การแทนที่ในพื้ นที่ที่เคยมีสิ่งมีชว
ี ิต แตถู
่ กทาลายถิ่นที่อยู่

You might also like