Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 15

Proximity sensor

การเลือกใช้งานอุปกรณ์เซนเซอร์นน
ั ้ ถือเป็ นจุดสำคัญ สำหรับการวางระบบ
Automation ให้ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในปั จจุบัน
Proximity Sensor นิยมใช้งานกันอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่มี
ระบบการควบคุมแบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์และ IoT

Proximity sensor คือ


อะไร
Proximity sensor หรือ
อีกชื่อหนึ่งเรียก ว่า Proximity
Switch เป็ น เซนเซอร์
ประเภทหนึ่งที่ถูก ออกแบบมา
เพื่อใช้ในงานตรวจจับวัตถุประเภท “โลหะ”สามารถตรวจจับจับวัตถุในระยะที่
กำหนดได้โดยไม่มีการสัมผัสกับตัวของวัตถุ
(Non-contact Detection)

สร้างขึน
้ เพื่อทดแทนอุปกรณ์ตรวจจับวัตถุโดยการสัมผัสทางกายภาพอย่าง ลิมิต
สวิตช์ (Limit Switch)เนื่องจากมีคุณสมบัติที่ทนทาน มีอายุการใช้งานยาวนานกว่า
นิยมใช้กันมากในงานอุตสาหกรรมโลหะการและอุตสาหกรรมยานยนต์และชิน
้ ส่วน
เป็ นต้น

Capacitive หรือ Capacitive Proximity Sensor คืออะไร


ส่วน Capacitive คือ เซนเซอร์ที่ใช้ตรวจจับวัตถุที่เป็ นทัง้ “โลหะและอโลหะ” ได้
เหมือนขัว้ ตรงข้ามกับ Proximity Sensor แต่จะเหมาะกับการตรวจจับระดับ เช่น
ระดับของพื้นผิว

หลักการทํางานของ PROXIMITY SENSOR


เซนเซอร์จะทําการแปลงข้อมูลจากการเคลื่อนไหวหรือตรวจจับวัตถุที่เข้ามาในระยะ
ตรวจจับได้ (Sensing Distance : SN) ให้เป็ นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากนัน
้ ส่งผล
ไปยังส่วนของ Output

มีระยะการตรวจจับในระยะใกล้ประมาณ 50-100 มิลลิเมตร ขึน


้ อยู่กับชนิด ขนาด
ของวัตถุที่ต้องการตรวจจับ และเส้นผ่านศูนย์กลางของเซนเซอร์ โดยปกติแล้วถ้า
ผ่านศูนย์กลางของเซนเซอร์มีขนาดใหญ่ก็จะยิ่งทําให้ระยะการตรวจจับได้ไกลขึน

ประเภทและการใช้งาน
สามารถแบ่งเซนเซอร์นอ
ี ้ อกเป็ น 2 ประเภทหลักๆ ตามการใช้งาน ดังนี ้
1. Inductive Sensor

เซนเซอร์ที่ใช้หลักการสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า สำหรับตรวจจับวัตถุที่เป็ น “โลหะ” โดย


เฉพาะ

โดยเซนเซอร์จะปล่อยสนามแม่เหล็กความถี่สูงออกมา หากมีวัสดุที่เป็ นโลหะผ่านเข้า


มาในบริเวณของสนามแม่เหล็กก็จะส่งผลให้ค่าความเหนี่ยวนำเกิดการเปลี่ยนแปลง
ทำให้ทราบถึงตำแหน่งของวัตถุ หรือสามารถระบุได้ว่าขณะนัน
้ มีวัตถุใดผ่าน เข้ามา
ในตำแหน่งที่กำหนดไว้หรือไม่

ซึ่งโลหะแต่ละชนิดจะให้การเหนี่ยวนำที่แตกต่างกัน ทำให้สามามารถแยกแยะโลหะ
แต่ละประเภทได้ เช่น ทองแดง อะลูมิเนียม ใช้งานได้ดีที่สุดกับโลหะประเภทเหล็ก

2. Capacitive Sensor

เซนเซอร์ที่ใช้หลักการประจุไฟฟ้ า สำหรับตรวจจับวัตถุที่เป็ น “โลหะและอโลหะ”

เมื่อมีวัตถุเคลื่อนที่เข้ามาในระยะของเซนเซอร์ก็จะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสนาม
ไฟฟ้ า ส่งผลให้วงจรภายในเซนเซอร์ รับรู้ได้ว่า ขณะนีม
้ ีวัตถุอยู่ด้านหน้า โดย
ลักษณะการตรวจจับจะขึน
้ อยู่กับชนิด และขนาดของวัตถุที่ต้องการตรวจจับ
ถูกออกแบบมาเพื่อให้สามารถตรวจจับวัสดุได้หลากหลาย มากกว่า Inductive
Sensor ทัง้ โลหะ อโลหะ น้ำ ขวด กระป๋อง พลาสติก กระจก ไม้ ไปจนถึงสิ่งที่เป็ น
ฝุ ่นผงต่าง ๆ
สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้หลายแบบ เช่น การตรวจ จับตำแหน่งของวัตถุ
สิ่งของ การตรวจสอบปริมาณของเหลว ที่บรรจุในภาชนะ การตรวจจับความเร็ว
รอบ และการตรวจ จับอื่น ๆ

คุณสมบัติที่โดดเด่นของ PROXIMITY SENSOR


- ตรวจจับวัตถุโดยไร้การสัมผัส ใช้เซมิคอนดักเตอร์ในการสั่ง Output เป็ นการส่ง
สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จึงไม่มีหน้าสัมผัสที่จะส่งผลต่ออายุการใช้งานและไม่ก่อให้
เกิดการเสียดสี หรือความเสียหาย ต่อวัตถุ
- เซนเซอร์ชนิดนีต
้ ่างจากวิธีการตรวจจับด้วยแสง จึง เหมาะสำหรับงานที่มีการใช้น้ำ
หรือน้ำมัน สามารถ ตรวจจับวัตถุที่มีฝุ่น น้ำมัน หรือน้ำอยู่บนวัตถุได้โดยไม่มีผลกระ
ทบใด ๆ
นอกจากนี ้ ยังมีร่น
ุ ที่มีตัวเรือนฟลูออโรเรซินเพื่อความทนทานต่อสารเคมีที่ดีเยี่ยม
(Chemical- resistant Fluororesin Case)
- ใช้การตรวจจับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ (Physical
Change)
ของวัตถุ จึงแทบไม่ได้รับผลกระทบจากสีพ้ืนผิวชิน
้ งาน
สามารถทำงานในสภาวะที่มีการรบกวนทางแสง (Optical)
และเสียง (Acoustic) ได้
- มีการตอบสนองด้วยความเร็วสูง เมื่อเทียบกับสวิตช์ที่ต้องให้วัตถุเคลื่อนมาสัมผัส
จึงจะตรวจจับได้
- มีช่วงอุณหภูมิการทำงานที่ค่อนข้างกว้าง สามารถใช้ได้ตงั ้ -40 ถึง 200°C
- สามารถตรวจจับได้แม้จะมีวัสดุอ่ ืน ๆ เช่น กล่อง หรือถุงมาขวางกัน

นอกจากนีใ้ นยังมีเซนเซอร์ที่ใช้ในสายการผลิต ชนิดอื่น ๆ อีก เพื่อตอบโจทย์
ลักษณะการใช้งานที่หลากหลายได้ อย่างตรงความต้องการที่สุด

พร็อกซิมิตส
ี ้ วิตช์ PROXIMITY SWITCHES
ในปั จจุบันโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ได้พัฒนาเครื่องจักรที่ใช้ให้มีประสิทธิภาพใน
การผลิตมากขึน
้ และอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ก็มีการพัฒนาให้ดีขน
ึ ้ กว่าเดิม และอุปกรณ์ที่
จะกล่าวถึงในที่นค
ี ้ ือ พร็อกซิมิตส
ี ้ วิตช์ (Proximity Switches) หรือสวิตช์แบบไม่
สัมผัสกับวัสดุ ซึ่งนำมาใช้ตรวจจับวัตถุต่างๆ ที่เข้ามาในระยะที่ตรวจจับ ซึ่งสามารถ
นำไปประยุกต์ใช้ได้หลายแบบ ตัวอย่างเช่น การตรวจจับตำแหน่งของเครื่องจักร,
การตรวจสอบปริมาณที่บรรจุภาชนะ, การตรวจจับความเร็วรอบ, การตรวจจับ
สิ่งของ, ฯลฯ พร็อกซิมิตส
ี ้ วิตช์แบ่ง ได้เป็ น 2 ประเภทได้แก่

1. อินดัคทีฟพร็อกซิมิตี ้ (Inductive Proximity)


2. คะแพซิทีฟพร็อกซิมิตี ้ (Capacitive Proximity)

อินดัคทีฟพร็อกซิมิตส
ี ้ วิตช์ (INDUCTIVE PROXIMITY)
เป็ นเซ็นเซอร์ที่ใช้ตรวจจับวัตถุที่เป็ นโลหะเท่านัน
้ เช่น เหล็ก, สแตนเลส, อลูมิเนียม
เป็ นต้น โดยอินดัคทีฟพร็อก สามารถที่จะตรวจจับโลหะที่มีคาร์บอนน้อย (Mild
Steel) ได้ดี
ส่วนประกอบของอินดัคทีฟพร็อกซิมิตี ้

1. 1.วัตถุเป้ าหมาย (Target)


2. 2.สนามแม่เหล็กไฟฟ้ า (Magnetic
Fleld)
3. 3.ตัวเรื่อน (HOUSING)
4. 4.ขดลวดออสซิลเลเตอร์ (Oscillator
Coil)
5. 5.แกนเฟอร์ไรท์ (Ferrous)

หลักการทำงานของอินดัคทีฟพร็อกซิมิตส
ี ้ วิตช์

การทำงานของอินดัคทีฟพร็อกซิมิตจ
ี ้ ะเริ่มจากวงจรออสซิล
เลทกำเนิดสัญญานส่งให้ขด
ลวดซึ่งพันอยู่บนแกนเฟอร์ไรท์ ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า
บริเวณด้านหน้าซึ่งเรียก
บริเวณนีว้ ่าส่วนตรวจจับ เมื่อมีวัตถุเป้ าหมาย (ต้องเป็ นโลหะ
เท่านัน
้ ) เคลื่อนเข้ามายังบริเวณส่วนตรวจจับสนามแม่เหล็ก
ไฟฟ้ าจะเหนี่ยวนำในวัตถุเป้ าหมายได้ดีกว่าอากาศ (เนื่องจากวัตถุเป้ าหมายเป็ น
โลหะ) ทำให้ภายในวัตถุเป้ าหมายมีกระแสไหลวน (EDDY CURRENT) ขึน
้ ซึ่ง
เท่ากับว่าวัตถุเป้ าหมายได้ดูดซับสนามแม่เหล็กไฟฟ้ านี ้ จนเมื่อถึงจุดๆหนึ่งที่วัตถุเป้ า
หมายได้ดูดซับสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าจนหมดทำให้วงจรออสซิลเลเตอร์ไม่ทำงาน ส่ง
ผลให้วงจรทริกเกอร์ทำงานเกิดเอาท์พุตออกมา หลักการดูดกลืนสนามแม่เหล็ก
ไฟฟ้ านีเ้ รียกว่า "EDD CURRENT KILL OSCILLATOR"

ระยะตรวจจับของ อินดัคทีฟ ขึน


้ อยู่กับอะไรบ้าง?

1. ขนาดของพร็อกซิมิตี ้ ถ้าพร็อกตัวใหญ่จะมีระยะการตรวจจับวัตถุได้ใกลกว่าพร็อก
ตัวเล็ก เนื่องจากพร็อกตัวใหญ่มีขดลวดออสซิลเลเตอร์ใหญ่ สามารถสร้างสนามแม่
เหล็กไฟฟ้ าได้มากกว่าพร็อกที่ขนาดเล็กและขดลวดออสซิลเลเตอร์เล็ก
2. ชนิดของโลหะที่ตรวจจับ ระยะตรวจจับของพร็อกซิมิตจ
ี ้ ะใกล้หรือใกลขึน
้ อยู่กับ
ชนิดของวัตถุที่ถูกจับด้วย โดยวัตถุที่ถูกตรวจจับ (โลหะ) แต่ละชนิดจะมีตัวคูณ
(FACTOR) ของมันเพื่อที่จะหาระยะในการตรวจจับ (ดูตารางที่ 2.1)
3. ขนาดของวัตถุเป้ าหมาย ถ้าวัตถุเป้ าหมายที่มีขนาดเล็กระยะตรวจจับจะใกล้กว่า
วัตถุเป้ าหมายที่มีขนาดใหญ่กว่า เนื่องจากวัตถุขนาดเล็ก-ใหญ่มีผลต่อการเหนี่ยวนำ
ดังนัน
้ (ขนาดใหญ่เหนี่ยวนำง่ายจึงจับได้ใกลกว่า)

ชนิดของโลหะที่ตรวจจับ ตัวคูณ (FACTOR)


เหล็ก (MILD) 1
สแตนเลส (STANLESS) 0.7
อลูมิเนียม 0.5
(ALUMINIUM)
ทองเหลือง (BRASS) 0.4
ทองแดง (COPPER) 0.2
ตารางที่ 2.1 แสดงค่าตัวคูณของโลหะ

คะแพซิทีฟพร็อกซิมิตี ้ (CAPACITIVE PROXIMITY


SWICH)
เป็ นเซ็นเซอร์ที่ใช้ตรวจจับวัตถุทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็ น แก้ว, น้ำ, ไม้, พลาสติก,
กระดาษ ฯลฯ คะแพซิทีฟพร็อก สามารถจับวัตถุที่มีค่าคงที่ไดอิเล็กทริก
(DIELECTRIC CONSTANT, (εr) มาก ๆ ได้ดี

ส่วนประกอบของอินดัคทีฟพร็อกซิมิตี ้

1. 1. วัตถุเป้ าหมาย (Target)


2. 2. สนามไฟฟ้ า (Electric Fiele)
3. 3. ตัวเรื่อน (Housing)
4. 4. เอิทธ์อิเล็กโทรด (Earth Electrode)
5. 5. อิเล็กโทรดชดเชย (Compensate)
6. 6. แอคทีฟอิเล็กโทรด (Active Electrode)

หลักการทำงานของคะแพซิทีฟ พร็อกซิมิตี ้ สวิตช์


การทำงานของคะแพซิทีฟพร็อกซิมิตใี ้ ช้หลักการ
วงจร RC OSCILLATOR คือมีความต้านทานที่ปรับค่าได้
เพื่อปรับระยะตรวจจับ ซึ่งบริเวณด้านหน้าของตัวพร็อก
จะมองเหมือนเป็ นแผ่นเพลทอยู่แผ่นหนึ่ง และวัตถุเป้ า
หมายจะมองเหมือนเป็ นแผ่นเพลทอีกแผ่นหนึ่ง ระทาง
ระหว่างหน้าพร็อกและวัตถุเป้ าหมายจะเป็ นค่า
ประจุไฟฟ้ า (Capacitance, C)

เมื่อค่าประจุเปลี่ยนแปลงจนถึงค่าๆหนึ่งเดียวกันกับความ
ต้านทานที่ปรับไว้ตอนแรก ซึ่งจะเกิดสภาวะ RC รีโซ
แนนต์ ส่งผลให้เกิดการออสซิลเลทสัญญานขึน
้ ส่งต่อให้
O/P ทำงาน

ระยะตรวจจับวัตถุขน
ึ้ อยู่กับอะไร ?

1. การปรับค่าความไว (Sensitivity) เป็ นการปรับค่าระยะครวจจับให้ใกล้หรือใกลโดย


มีปุ่มให้หมุน ถ้าหมุนทวนเข็มระยะตรวจจับจะลดลง ถ้าหมุนตามเข็มจะได้ระยะที่
เพิ่มขึน

2. ค่าคงที่ไดอิเล็กทริค (Dielectric Constant, (εr) ระยะตรวจจับจะต่างกัน วัตถุที่มี
ค่าคงที่ไดอิเล็กทริคมาก จะถูกตรวจจับได้ดีกว่าวัตถุที่มีค่าน้อย
3. ถ้าใช้พร็อกซิมิตแ
ี ้ บบคะแพซิทีฟตรวจจับวัตถุที่เป็ นโลหะ ระยะตรวจจับจะได้เท่ากัน
หมด ไม่ว่าจะเป็ นโลหะชนิดใดก็ตาม

ชนิดของพร็อกซิมิตี ้ มี 2 ชนิด คือ

1. ชนิด FLUSH บริเวณปลายหัวจะไม่มีสาย shield พันล้อมรอบอยู่ทำให้การกระจาย


ของสนามแม่เหล็กหรือสนามไฟฟ้ า กระจายได้เฉพาะบริเวณหัวเท่านัน
้ วัตถุที่ตรวจ
จับ ต้องอยู่เฉพาะบริเวณด้านหน้าเท่านัน

2. ชนิด NON FLUSH บริเวณปลายหัวจะไม่มีสาย shield พันอยู่ ทำให้ด้านข้างของ
พร็อกสามารถกระจายสนามแม่เหล็กหรือสนามไฟฟ้ าได้ ชนิด NON FLUSH จึง
สามารถจับวัตถุได้ใกลกว่าแบบ FLUSH ในพร็อกรุ่นเดียวกัน

เอาท์พต
ุ ของพร็อกซิมต
ิ แ
ี ้ บ่งเป็ น

1. แบบ NAMUR เหมาะกับ โซนที่เ ป็ นโซนอัน ตรายและป้ องกัน การระเบิด งานที่


ต้อ งการความปลอดภัย เนื่อ งจากใช้ไ ฟเลีย
้ งเพีย ง 8.2 โวลต์ มีแ บบ NORMALLY
CLOSE, NC เท่านัน

2. แบบ ทรานซิส เตอร์ม ีท งั ้ แบบ PNP และ NPN มีไฟเลีย
้ งในช่ว ง 10-65 VDC มีท งั ้
แบบ NO และ NC โดยเอาท์พ ุต จะออกมาเกือ บเท่า กับ ไฟเลีย
้ ง โดยจะเป็ น
ON/OFF
3. แบบ SCR จะใช้ไฟเลีย
้ งเป็ นแรงดันไฟสลับในช่วง 20-240 VAC มีทงั ้ แบบ NO และ
NC เอาท์พุตจะออกเหมือนกับแบบทรานซิสเตอร์
4. แบบ รีเ ลย์ ไฟเลีย
้ งสามารถใช้ไ ด้ท งั ้ แรงดัน ตรงและแรงดัน สลับ เอาท์พ ุต จะเป็ น
ON/OFF และ NO,NC ในตัวเดียวกัน เอาท์พุตเป็ นเพียงหน้าคอนแทค (CONTACT)
เท่านัน

5. แบบ ANALOG ใช้กับงานที่ต้องการความละเอียดในการควบคุมหรือสังเกตุผลการ
เปลี่ยนแปลงของเครื่องจักร โดยจะให้สัญญานเป็ น 2 ลักษณะ คือ 4~20 mA และ
1~10 V

การนำพร็อกซิมิตส
ี ้ วิตช์ชนิด อินดักทีฟ และคะแพซีทีฟ
ไปประยุกต์ใช้งาน
    พร็อกซิมิตเี ้ ซ็นเซอร์ (Proximity Sensor) คือ สวิตช์ตรวจจับวัตถุแบบไม่สัมผัส
สำหรับตรวจจับวัตถุที่เป็ นโลหะและอโลหะ หรือของเหลว สามารถนำไปใช้งานโดย
ต่อร่วมกับอุปกรณ์ เช่น เครื่องนับจำนวน (Counter) สำหรับนับจำนวนของชิน
้ งาน
ตามสายพานลำเลียง, เครื่องวัดความเร็วรอบ (Tachometer) สำหรับวัดความเร็ว
รอบของมอเตอร์ หรือ PLC เป็ นต้น และจะมีวิธีการต่อใช้งานอย่างไร
หาก Proximity Sensor ที่ใช้งานอยู่นน
ั ้ มีทงั ้ แบบ 2 สาย, 3 สาย และ 4 สาย
     ในหัวข้อนีเ้ ราจะมาแนะนำวิธีการต่อสายใช้งานของ Proximity Sensor ยี่ห้
อ AECO ในแต่ละแบบ ดังนี ้

การต่อใช้งาน Proximity Sensor แบบ AC 2 Wire  (ดังรูป)

การต่อใช้งาน Proximity Sensor แบบ DC 2 Wire

การต่อใช้งาน Proximity Sensor แบบ DC 2 Wire  Namur


รูปแสดงการต่อใช้งาน Proximity Sensor แบบ DC 2 Wire 
Namur
     Proximity Sensor แบบ NAMUR เหมาะสำหรับงานที่ต้องการความ
ปลอดภัย เนื่องจากใช้ไฟเลีย
้ ง 8.2 โวลต์ และกระแส Output จะน้อยมากเพียง 1-
3mA เท่านัน
้ ไม่สามารถขับโหลดที่มีกระแสมากกว่าได้โดยตรง จึงต้องต่อร่วมกับ
อุปกรณ์เพื่อขยายสัญญาณ (Amplifying) จากเซ็นเซอร์ (24VDC) แล้วเปลี่ยนให้
เป็ น Contact Relay (10A, 250VAC)
การต่อใช้งาน Proximity Sensor Output แบบ NPN และ PNP 3/4
Wire (ดังรูป)
รูปแสดงการต่อใช้งาน Proximity Sensor Output แบบ NPN
และ PNP 3/4 Wire
การนำมาประยุกต์ใช้งาน Proximity Sensor ที่มีจำนวนมากกว่า 1 ตัว ซึ่ง
สามารถต่อได้ 2 แบบ คือ การต่อแบบอนุกรม และ การต่อแบบขนาน
     การต่อของชนิด D.C. ในแบบอนุกรม (AND LOGIC) ในการใช้งานบางอย่าง
จำเป็ นต้องใช้ 2 สัญญาณเอาต์พุตเดียวกันในการทำงาน ตัว Proximity Sensor 2
ตัวนีจ
้ ะถูกต่อในแบบเดียวกัน ซึ่งเอาต์พุตจะทำงานพร้อมกัน และเมื่อใช้เป็ นชนิด
D.C. มันจะเกิดแรงดันตกคร่อมที่เอาต์พุตของแต่ละตัว Sensor (<1.8V) ตาม
กระแสสูงสุดของโหลด (ดังรูป)

PNP แบบ

การต่อของชนิด D.C. ในแบบขนาน (OR LOGIC) การต่อในลักษณะนี ้ Proximity


Sensor ทุกตัวสามารถทำงานได้ในจุดเอาต์พุตเดียวกันได้อย่างอิสระ เมื่อใช้เป็ น
ชนิด D.C. ถ้า Sensor แต่ละตัวมีโหลดต่อเพิ่มมากขึน
้ ค่าความต้านทานก็จะเพิ่ม
มากขึน
้ ตามตัว Proximity Sensor อื่น ๆ ด้วย (Collector Resistance) ดังนัน
้ จึง
ต้องต่อไดโอดเพื่อกันสัญญาณเอาต์พุตรบกวนตัว Sensor ตัวอื่น (ดังรูป)

You might also like