Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

อ.

เพ็ญญาภรณ์ เหล่าธนาสิน
▪ ความหมายของตลาด
▪ กิจกรรม การตกลงซื้อขายสินค้าและบริการรวมทั้งปัจจัยการผลิต
▪ การซื้อขายบางอย่างไม่จาเป็นที่ผู้ซื้อและผู้ขายต้องเจอกัน
▪ หน้าที่ของตลาด
▪ อานวยความสะดวกให้ฝ่ายผู้ขายและผู้ซื้อได้ทาการซื้อขายแลกเปลี่ยนดาเนิน
ไปได้โดยสะดวก
▪ ปัจจุบันเทคโนโลยีด้าน IT เจริญก้าวหน้ามาก ทาให้บริการต่างๆ ของตลาด
รวดเร็วและรอบด้าน

2
▪ จำแนกตลำดตำมเขตภูมิศำสตร์
▪ ตลำดท้องถิ่น
▪ ตลำดภำยในประเทศ
▪ ตลำดต่ำงประเทศ
▪ ตลำดโลก
▪ จำแนกตลำดตำมชนิดของผลผลิต/ปั จจัยกำรผลิต
▪ ตลำดผลผลิต
▪ ตลำดปั จจัยกำรผลิต

3
▪ จำแนกตลำดตำมลักษณะของกำรซื้อขำย
▪ ตลำดกลำง
▪ ตลำดขำยส่ ง
▪ ตลำดขำยปลีก
▪ ลักษณะอื่นๆ
▪ ตลำดกำรเงิน
▪ ตลำดกำรเงินต่ำงประเทศ
▪ ตลำดซื้อขำยล่วงหน้ำ

4
▪ การกาหนดราคา และปริมาณผลผลิต โดยอุปสงค์และอุปทาน ต้นทุน รายรับ เงื่อนไข
แห่งกาไรสูงสุด เป็นความรู้พื้นฐานที่ใช้ศกึ ษาตลาดประเภทต่างๆ
▪ การจัดโครงสร้างตลาดใช้หลักในการพิจารณา ดังนี้
▪ จานวนผู้ขายในตลาด
▪ ความแตกต่างของสินค้า
▪ ความยากง่ายในการเข้าสู่ตลาด
▪ โครงสร้างตลาด (Market Structure) เศรษฐศาสตร์จาแนกตลาดออกเป็น 2
ประเภทใหญ่ๆคือ
1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfectly competitive market)
2. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfectly competitive market)
1. ตลาดผูกขาดแท้จริง (Pure monopoly)
2. ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly)
3. ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic competition) 5
โครงสร้างและลักษณะสาคัญ
▪ ผู้ขายและผู้ซื้อมีจานวนมาก ถ้าผู้ซื้อ/ผู้ขายรายใดเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย/ซื้อ
จะไม่ส่งผลต่อระดับราคาในตลาด
▪ ในสายตาผู้ซื้อสินค้ามีลักษณะและคุณภาพ ของผู้ขายทุกรายใกล้เคียงกันมาก
หรือเหมือนกันหมด
▪ ผู้ผลิตรายใหม่ๆ สามารถเข้าสู่ตลาดได้โดยง่าย
▪ สามารถเคลื่อนย้ายสินค้าไปยังที่ต่างๆ ได้สะดวกโดยเสียค่าใช้จ่ายต่า
▪ ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายสามารถเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับตลาดเท่าๆกัน

6
โครงสร้างและลักษณะสาคัญ
▪ มีผู้ผลิตหรือผู้ขายเพียงรายเดียว เรียกว่าผู้ผูกขาด (monopolist) ถ้าผู้ขาย
เปลี่ยนแปลงปริมาณขาย จะส่งผลต่อระดับราคาในตลาด
▪ ในสายตาของผู้ซื้อ สินค้าของผู้ขายมีคุณลักษณะพิเศษไม่เหมือนใคร ไม่สามารถ
หาสินค้าอื่นมาทดแทนได้
▪ ผู้ผลิตผูกขาดสามารถกีดกันผู้อื่นไม่ให้เข้ามาผลิตแข่งขันด้วยสาเหตุใดๆ ก็ตาม
▪ ลักษณะการผูกขาดอาจเกิดจาก ต้องลงทุนผลิตขนาดใหญ่จึงจะคุ้มทุน ผูกขาด
ตามนโยบายรัฐบาล หรือผูกขาดตามกฏหมาย

7
โครงสร้างและลักษณะสาคัญ
▪ ตลาดมีผู้ผลิตหรือผู้ขายเพียง 3-4 ราย
▪ ปกติผู้ผลิตทุกรายจะขายสินค้าตามราคาดุลยภาพ ถ้าผู้ขายรายหนึ่งขึ้นราคา ผู้ขายราย
อื่นจะไม่ขึ้นตาม แต่ถ้าลดราคา ผู้ขายรายอื่นจะลดตาม
▪ ในสายตาของผู้ซื้อ สินค้าของผู้ขายแต่ละรายไม่แตกต่างกันมาก ใช้ทดแทนกันได้
▪ ผู้ผลิตผูกขาดเหล่านี้สามารถกีดกันผู้อื่นไม่ให้เข้าสู่ตลาดด้วยเหตุใดก็ตาม
▪ ส่วนใหญ่ราคาสินค้าโดยเฉลี่ยจะมีราคาสูงกว่าตลาดแข่งขันสมบูรณ์ แต่ต่ากว่าตลาด
ผูกขาดแท้จริง

8
โครงสร้างและลักษณะสาคัญ
▪ ลักษณะคล้ายกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ส่งที่ต่างกันคือ
▪ ผู้ผลิตย่อยๆ บางรายพยายามปรับปรุงผลผลิตของตน หรือปรับปรุงกิจการให้แตกต่าง
จากผู้ผลิตรายอื่นๆ เท่าที่จะทาได้ เพื่อดึงดูดลูกค้าให้เพิ่มขึ้น หรือสร้างกลุ่มลูกค้า
ประจา
▪ ความแตกต่างอาจจะเกิดจากอิทธิพลของโฆษณา
▪ ผู้ผลิตรายใหม่สามารถเข้าสู่ตลาดได้ง่าย

9
ประเภทตลาด จานวนผู้ขาย ลักษณะสิน ค้า การเข้าสู่ตลาด

แข่งขันสมบูรณ์ มากราย เหมือนกันทุกประการ ไม่มีข้อกีดขวาง

ผูกขาด หนึ่งราย คุณลักษณะพิเศษ ไม่ มีข้อกีดขวาง


มีทดแทน
ผู้ขายน้อยราย 2-3 ราย แตกต่างกันแต่ใช้แทน ได้ยากและมีการ
กันได้ รวมกลุ่มผู้ขาย
กึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด มากราย แตกต่างที่ตัว ไม่มีข้อกีดขวาง
ผลิตภัณฑ์

10
 การตั้งราคาตามต้นทุนเฉลีย่ ต่อหน่วย บวกด้วยกาไรตามที่ต้องการ
 การตั้งราคาสินค้าให้แตกต่างกัน
 การตัง้ ราคาตามรุ่นหรือรูปแบบของสินค้า (โดยไม่สัมพันธ์กับต้นทุน)
 การตัง้ ราคาเพื่อสร้างค่านิยม
 การตั้งราคาตามประเพณีนิยม
 การตัง้ ราคาตามราคาตลาด
 การตัง้ ราคาตามต้นทุน
 การตั้งราคาเพื่อทุ่มตลาด
 การตัง้ ราคาแบบเจาะตลาด
 การตัง้ ราคาเพื่อกาไรสูงสุด

11

You might also like