Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 18

รายงานปฏิบตั ิการชีวเคมี 1(คม324)

เรื่ อง คาร์โบไฮเดรต
วัน พฤหัสบดี ที่25 เดือน สิ งหาคม พ.ศ.2565
ผูท้ ดลอง
กลุ่มที่4
นางสาวภัทรมาศ บุตรจุมปา รหัส 6304103313
สาขาเคมี

อาจารย์ผคู ้ วบคุม
อาจารย์ กัญญา บุตราช

รายงานฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชาปฏิบตั ิการชีวเคมี 1(คม324)


ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2565
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

คํานํา
รายงานฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา คม 362 เคมีเชิงฟิ สิกส์ 2 โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษา
ปฏิกิริยาไฮโรไลซีสของเอทิลอะซิเตต
ผูจ้ ดั ทาหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่ารายงานเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์ให้แก่ผทู ้ ี่สนใจจะศึกษาหาความรู ้ เกี่ยวกับ
ปฏิกิริยาไฮโรไลซีสของเอทิลอะซิเตต ทั้งนี้หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใดผูจ้ ดั ทาขออภัยมา ณ ที่น้ ีดว้ ย

ผูจ้ ดั ทา
นางสาวภัทรมาศ บุตรจุมปา 6304103313

สารบัญ
เรื่อง หน้ า
คานา ก
สารบัญ ข
บทนา 1
อุปกรณ์ในการทดลอง 2
สารเคมี 2
วิธีการทดลอง 2-3
ตารางผลการทดลอง 3-4
คานวณ 4-7
วิจารณ์ผลการทดลอง 7-8
สรุ ปผลการทดลอง 7
อ้างอิง 8
1

การทดลองที่ 1
เรื่อง The Hydrolysis of Ethyl Acetate

ผู้ทดลอง : นางสาวภัทรมาศ บุตรจุมปา รหัส 6304103313 สาขา เคมี


นางสาวแพรวพรรณ วงศ์ตา รหัส 6304103312 สาขา เคมี
นางสาวรัตติกรณ์ หยง รหัส 6304103314 สาขา เคมี

วันที่ทดลอง : 22 สิงหาคม 2565


อาจารย์ ผ้ คู วบคุม : ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา แกล้วกล้า

วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสของเอทิลอะซิเตต

บทนํา
ในที่มีไฮดรอกซิลไอออน เอทิลอะซิเตตจะถูกไฮโดรไลซ์แบบเร่ งปฏิกิริยาสองโมเลกุล
CH2COOC2+OH- -> CH3COO- +C2H5OH. (1.1)

ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็ นปฏิกิริยาลาดับ ที่สอง โดยมีสัดส่ วนความเข้มข้นดังนี้


𝑑𝑥
= 𝐾(𝑎 − 𝑥)(𝑏 − 𝑥). (1.2)
𝑑𝑡
หรื อ อินทิเกรด
2.303 b(a−x)
𝑘 = 𝑡(𝑎−𝑏) Log (1.3)
a(b−x)
เมื่อ
k=อัตราค่าคงที่
t=เวลาตั้งแต่เริ่ มเกิดปฏิกิริยา
x=ปริ มาณโซเดียมไฮดรอกไซด์หรื อเอสเทอร์ทาปฏิกิริยาในเวลา t(mol -1)
a=ปริ มาณโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่มีอยู่เดิม (mol -1)
b=ปริ มาณเอสเทอร์ที่มีอยู่เดิม (mol -1)
2

อุปกรณ์ ในการทดลอง
1.บีกเกอร์
2.อุปกรณ์ไทเทรต
3.ปิ เปต
4.อ่างควบคุมอุณหภูมิ

สารเคมี
1.เอทิลอะซิเตต
2. Carbonate free sodium hydroxide
3. Potassium hydrogen phthalate
4. NaOH
5. HCl
6. Phenolphtalein

วิธีการทดลอง
3

ตารางบันทึกผลการทดลอง
ตารางที่1 การไทเทรตหาความเข้มข้นที่แน่นอนของNaOH
อินดิเคเตอร์ที่ใช้คือ Phenolphthalein
จุดยุติเปลี่ยนสีจากใสไม่มีสีเป็ นสีชมพูอ่อน
4

3)แสดงคราparameters ที่เวลาต่างๆ

การคานวณ

การหาค่าเฉลี่ย
6.80+6.70+6.50
𝑥= =6.67
3
หาความเข้มข้นของสารละลาย NaOH
5

1mol NaOH =1 molKHP


(CV)NaOH=(CV)KHP
(𝑐𝑉)𝑁𝑎𝑂𝐻
CNaOH= (𝑉)𝑁𝑎𝑂𝐻
𝑚𝑜𝑙
0.0500 𝐿 𝑥10 𝑐𝑚3 𝑚𝑜𝑙
CNaOH= = 0.0750
6.67𝑐𝑚3 𝐿
หาความเข้มข้นของสารละลาย
(𝐶𝑉)𝑁𝑎𝑂𝐻
Cผสม= (𝑉)ผสม
𝑚𝑜𝑙
(0.0750 𝑥250 𝑚𝑙)
Cผสม= 𝐿
=0.03750 mol/L
500𝑚𝐿
ความเข้มข้นของสารละลายผสม(ไม่ได้คา้ งคืน)
(𝐶𝑉)𝑁𝑎𝑂𝐻
Cผสม= (𝑉)𝑡ใดๆ
-ที่เวลา2นาที
𝑚𝑜𝑙
(0.0750 𝑥1.80 𝑚𝑙)
Cผสม= 𝐿
=0.0027 mol/L
50.0𝑚𝐿
-ที่เวลา5นาที
𝑚𝑜𝑙
(0.0750 𝑥4.70𝑚𝑙)
Cผสม= 𝐿
=0.00705 mol/L
50.0𝑚𝐿
-ที่เวลา8นาที
𝑚𝑜𝑙
(0.0750 𝑥8.20 𝑚𝑙)
Cผสม= 𝐿
=0.0123 mol/L
50.0𝑚𝐿
-ที่เวลา15นาที
𝑚𝑜𝑙
(0.0750 𝑥13.30𝑚𝑙)
Cผสม= 𝐿
=0.01995 mol/L
50.0𝑚𝐿
-ที่เวลา25นาที
𝑚𝑜𝑙
(0.0750 𝑥20.10𝑚𝑙)
Cผสม= 𝐿
50.0𝑚𝐿
=0.03015 mol/L

ความเข้มข้นสารละลายผสม(ค้างคืน)
(𝐶𝑉)𝑁𝑎𝑂𝐻
Cผสม= (𝑉)𝑡ใดๆ
-ที่เวลา2นาที
6

𝑚𝑜𝑙
(0.0750 𝑥0.90𝑚𝑙)
Cผสม= 𝐿
=1.35x10-3 mol/L
50.0𝑚𝐿
-ที่เวลา5นาที
𝑚𝑜𝑙
(0.0750 𝑥0.70𝑚𝑙)
Cผสม= 𝐿
=1.05x10-3 mol/L
50.0𝑚𝐿
-ที่เวลา8นาที
𝑚𝑜𝑙
(0.0750 𝑥0.45𝑚𝑙)
Cผสม= 𝐿
=6.75 x10-4 mol/L
50.0𝑚𝐿
-ที่เวลา15นาที
𝑚𝑜𝑙
(0.0750 𝑥0.95𝑚𝑙)
Cผสม= 𝐿
=1.42 x10-3 mol/L
50.0𝑚𝐿
-ที่เวลา25นาที
𝑚𝑜𝑙
(0.0750 𝑥0.70𝑚𝑙)
Cผสม= 𝐿
=1.05 x10-3 mol/L
50.0𝑚𝐿

Cผสม(ไม่ได้คา้ งคืน)- Cผสม (ค้างคืน)จะได้ค่าethyl acetate ที่เหลืออยู่(x)


T2:x2=0.00135 M
T5:x5=0.0060 M
T8:x8=0.011625 M
T15:x15=0.018525 M
T25:x25=0.0291 M

𝑎−𝑥
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างt กับ log
𝑏−𝑥
a =ความเข้มข้นเริ่ มต้นของNaOH 0.0750(mol/L)
b =ความเข้มข้นของสารละลายผสมเริ่ มต้น 0.0375(mol/L)
x =ปริ มาณ ethly acetate ณ เวลาใดๆ (mol/L)
7

จากกราฟจะได้ค่า slope =52.428


2.303
Slope=
𝑘(𝑎−𝑏 )
2.303 2.303
K=𝑠𝑙𝑜𝑝𝑒𝑥 (𝑎−𝑏) =(52.428)(0.075−0.0375)=1.17 min-1

สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองหาความเข้ม ข้นของสารละลายNaOH ที่ ไทเทรตกับ KHPได้ความเข้มเข้นเท่ ากับ
0.0750 mol/L และจะได้ความเข้มข้นของสารผสมเท่ากับ0.03750mol/Lต่อมาในการทดลองหาความเข้มข้น
ของสารละลาย ณ เวลาใดๆ โดยจะนาสารละลายผสมที่คา้ งคืนไว้1คืนมาไทเทรตคืนด้วยสารละลายNaOH
และที่ไม่ได้คา้ งคืนโดยที่เวลา2,5,8,15และ25นาทีได้ความเข้มข้นดังนี้ 1.35 x10-3 mol/L, 1.05 x10-3 mol/L,
6.75 x10-3 mol/L, 1.42 x10-3 mol/Lและ1.05 x10-3 mol/Lตามลับส่ วนค่าที่ได้จากสารละลายผสมที่ไม่ได้คา้ ง
คืน ซึ่ งาเวลาเดีย วกัน ด้ความเข้ม ข้น เท่ากับ 0.0027,0.00705,0.0123,0.01995และ0.0315mol/Lตามลาดับ
จากนั้นจะได้ค่าethyl acetate ที่เหลือยู่ ณ เวลาใดๆเท่ากับt2 : x2= 0.00135 M , t5 : x5 = 0.0060 M
t8 : x8 = 0.011625 M , t15 : x15 = 0.018525 M และ t25 : x25 = 0.0291 M

วิจารณ์ ผลการทดลอง
จากการทดลองเรื่ อง The Hydrolysis of Ethyl Acetate จะพบว่าเมื่อเมื่อเกลือกับน้ าเกิดปฏิกิริยา
กันโดยที่เกลือนั้นจะเป็ นอิเล็กโทรไลต์แก่ละลายกับน้ าเกิดการแตกตัวเป็ นไอออนลบและบวกดังนั้นสมบัติ
การละลายของเกลือจึงขึ้นอยู่กบั ไอออนลบและบวกของแต่ละสารละลายในการทดลองนี้จะใช้ปฏิกิริยา
ระหว่างเบสแก่ NaOH และกรดแก่HCI เมื่อทากับเกลือบริ สุทธิ์ ละลายแล้วจะไม่เกิดปฎิกิริยาไฮโดรไลซีส
8

เกิดขึ้น และที่เลือกใช้อินดิเคเตอร์ ฟี นอลทาลีนเพราะว่าค่รpHมีความเหมาะสมในการทาปฏิกิริยาสุ ดท้ายเมื่อ


ไทเทรตสารล้วทิ้งไว้ขา้ มคืนจะพบว่าเมื่อนามาไทเทรตกลับคืนอีกครั้ง พบว่าปริ มาตรNaOH ที่ใช้มีปริ มาตร
ลดลงกว่าการเทรตครั้งแรก

เอกสารอ้ างอิง
-https://reanooanirut.wordpress.com/
- http://wiroty.blogspot.com/
9
10

ผลการทดลอง
อุณหภูมิน้ าในอ่าง ขณะที่ทาการทดลอง 29 ℃

ตอนที่1 flow-time ของน้ ากลัน่ และสารละลาย PVOH ในความเข้มข้นต่างๆ

ครั้งที่
1 2 3

ปริ มาตร 2.48 2.48 2.57


NaOH(cm3)
ค่าเฉลี่ย (x) 3.07 3.07 3.10
ความเข้มข้นที่ 4.02 4.01 4.02
แน่นอนของ
NaOH(mol/L)

ตอนที่ 2 ค่าความหนืดต่างๆของสารละลาย PVOH

ความเข้มข้ม Flow – time η ηr =t


t
ηsp =ηr -1 ηred =ηsp ηinh =ln ηr
c c
PVOH (%w/v) t(s) 0

น้ ากลัน่ t0=171 η0 = 0.6071 1 0 - -


0.19 % 187 0.662 1.09 0.09 0.47 0.45
11

0.38 % 242 0.856 1.41 0.41 1.09 0.90


0.75 % 319 1.135 1.87 0.87 1.16 0.83
1.50 % 629 2.234 3.68 2.68 1.79 0.87

คานวณ
-หาค่า ηr (ตัวอย่าง ความเข้มข้น 0.19%)
t
จากสูตร ηr = t
0
187
= 171
= 1.09
-หาค่า ηsp (ตัวอย่าง ความเข้มข้น 0.19%)
จากสูตร ηsp = ηr -1
= 1.09 – 1
= 0.09
ηsp
-หาค่า ηred = (ตัวอย่าง ความเข้มข้น 0.19%)
c
η
จากสูตร ηred = csp
0.09
= 0.19
= 0.47
ln ηr
-หาค่า ηinh = (ตัวอย่าง ความเข้มข้น 0.19%)
c
ln ηr
จากสูตร ηinh = c
ln 1.09
= 0.19
= 0.45

ηsp ln ηr
-กราฟความสัมพันธ์ระหว่างค่า และ กับความเข้มข้น
c c
12

-หามวลโมเลกุลเฉลี่ยโดยความหนืด (𝑀𝑣 )ของพอลิไวนิลอัลกอฮอล์จากสมการ Mark – Houwink [𝜂] = 𝐾𝑀𝑣𝑎


โดยในกรณี ของ PVOH ในน้ าที่ 25 ℃ ค่า K = 2.0×10-4 และค่า a = 0.76
จากสูตร [𝜂] = 𝐾𝑀𝑣𝑎
แทนค่า 0.42 = 2.0×10-4𝑀𝑣0.76
2.0×10−4 = 𝑀𝑣
0.42 0.76

𝑀𝑣 = 2.4 ×10
4

-หามวลโมเลกุลเฉลี่ยโดยจานวน Mn ของพอลิไวนิลอัลกอฮอล์ จากสมการ (1.28)


จากสูตร Mv = 1.89Mn
2.4×104
แทนค่า Mn =
1.89
Mn = 1.27 × 104

คําถาม
13

1.การที่ความหนืดของของเหลวมีค่าต่างกันนั้น มีปัจจัยมาจากสาเหตุใดบ้าง อธิบายพร้อมบอกเหตุผลมาโดย


ละเอียด
ตอบ 1. แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล
2. น้ าหนักโมเลกุล
3 โครงสร้างโมเลกุล
4 ความดัน
5 อุณหภูมิ
6 สิ่ งเจือปน
7 ความเข้มขันของสารละลาย
8 ธรรมชาติของตัวทาละลาย
9 ชนิดของพอลิเมอร์
2.ขีดจากัดของวิธีการหามวลโมเลกุลโดยการวัดค่าความหนืด มีอะไรบ้าง
ตอบ 1. ต้องเป็ นพอลิเมอร์ที่เป็ นเส้นตรง
2. มีหมู่ฟังก์ชนั ที่ปลายโมเลกุล
3.ใช้ได้กบั พอลิเมอร์ที่มี ต่า (20,000–30,000) เพราะ เมือ่ โมเลกุลพอลิเมอร์ยาวขึ้นความเข้มข้นหมู่
ปลายลดลง ประสิทธิภาพการวิเคราะห์ลดลง
4. ต้องรู ้ธรรมชาติ (nature) ของหมู่ฟังก์ชนั เพื่อจะได้เลือกชนิด ของไทแทรนต์ (titrant) อินดิเคเตอร์
(indicator) และตัวทาละลายให้เหมาะสมในการไทเทรต

วิจารณ์ ผลการทดลอง
14

จากผลการทดลองเรื่ อง Polymer molecular weight determination by dilute-solution viscometry จะ


พบว่าสารละลายเมื่อมีความเข้มข้นมากขึ้นจะทาให้ค่าความหนืดเพิ่มขึ้น และใช้เวลาในการไหลนานขึ้น
เนื่องจากในขณะที่สารละลายไหลลงเกิดแรงเสี ยดทานของการไหลขึ้น แรงเสี ยดทาน 𝐹⃖ เกิดระหว่างชั้นลามิ
นารู ปทรงกระบอก โดยจะเป็ นไปตามกฎการไหลของนิวตัน (Newton’s Law) ซึ่งแรงเสี ยดทาน fx จะแปร
ผันโดยตรงกับอัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ ว และพื้นที่ของชั้นของเหลวที่เคลื่อนที่ เมื่อนามาเปรี ยบเทียบ
ค่าความหนืดที่ความเข้มข้นต่างๆ กับความหนืดตัวทาละลายบริ สุทธิ์ เรี ยกว่า ความหนืดจาเพาะ (specific
viscosity)

สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองเรื่ อง Polymer molecular weight determination by dilute-solution viscometry จะ
พบว่า ณ ความเข้มข้นที่ 0(น้ ากลัน่ ) ,0.19% ,0.38% ,0.75% และ 1.50% ตามลาดับจะเห็นว่าใช้เวลาในการวัด
หนืดที่ความเข้มข้นที่แตกต่างกันโดยแต่ละความเข้มข้นใช้เวลาในการไหลเฉลี่ย 2.51 , 3.07 , 4.02 , 5.19
และ 10.29 ตามลาดับ และมีค่า [𝜂] =0.42 จะเห็นได้ว่าเมื่อสารละลายพอลิไวนิลอัลกอฮอล์ที่มีความเข้มข้น
มากขึ้นจะส่ งผลให้ค่าความหนืดของสารละลายนั้นมีค่าเพิ่มขึ้นทาให้ระยะเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนของ
สารละลายพอลิไวนิ ลอัลกอฮอล์เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย

หนังสื ออ้ างอิง


- http://www.rmutphysics.com/
- https://seem.kmutt.ac.th/
- https://chemistry.mju.ac.th/
-หนังสือปฏิบตั ิการเคมีเชิงฟิ สิกส์ คม362

You might also like