Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

กลไกการเกิดโรคมะเร็งและประสิ ทธิผลการใช้ ผลิตภัณฑ์ อาหารเสริมเพือ่ ต้ านเซลล์มะเร็ง กรณีศึกษา: ไซโต

ไคน์

จรั สศรี หลวงพันธ์ ชลิดา คาวงษา ชุติมา สิ ทธิ หาญ สุทธิ นี สนแก้ ว และนพพล เล็กสวัสดิ์

สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร สานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มะเร็ ง (cancer) หมายถึงโรคชนิดหนึ่งโดยเซลล์จะมีลกั ษณะของการแบ่งเซลล์ในแบบที่ไม่สามารถ


ควบคุมได้โดยเซลล์ที่ถูกแบ่งนี้สามารถที่จะลุกลามเข้าไปในเนื้ อเยือ่ อื่นๆในร่ างกายโดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ ง
เช่น เจริ ญเติบโตได้โดยตรงในเนื้ อเยือ่ ข้างเคียงหรื อการย้ายเซลล์ไปยังตาแหน่งที่ไกลๆซึ่งโดยปกติแล้วเซลล์
ร่ างกายส่ วนใหญ่จะมีการสร้างหรื อผลิตตัวเองขึ้นมาใหม่โดยจะเป็ นในแบบเดียวกันโดยเซลล์จะเริ่ มแก่และ
ตายไปในที่สุดและเซลล์ตวั ใหม่ก็จะเริ่ มผลิตเซลล์ข้ ึนมาแทนที่ซ่ ึงในการแบ่งเซลล์และเจริ ญเติบโตของเซลล์
จะมีการควบคุมการแบ่งเซลล์ไปตามลาดับขั้นตอนแต่ในกรณี ที่การแบ่งตัวของเซลล์ไม่สามารถที่จะควบคุม
การแบ่งตัวได้จะทาให้เกิดก้อนเนื้ อที่เรี ยกว่า เนื้ องอก (tumor) ซึ่งเนื้องอกที่เกิดขึ้นก็คือก้อนเนื้อร้ายที่ทาให้
เกิดมะเร็ ง (กรรญดา, 2551) โดยเนื้ องอกที่เกิดขึ้นสามารถที่จะเจริ ญเติบโตและรบกวนการทางานของระบบ
ต่างๆในร่ างกาย เช่น ระบบย่อยอาหาร ระบบประสาท ระบบไหลเวียนเลือด และนอกจากนี้เนื้ องอกยัง
สามารถปล่อยฮอร์ โมนที่เปลี่ยนแปลงการทางานของร่ างกายทาให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายได้ (Crosta, 2013)

กลไกการเกิดมะเร็ ง คือการที่เซลล์มีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์จากเซลล์ที่ปกติไปเป็ นเซลล์มะเร็ ง


ในการเปลี่ยนแปลงเซลล์น้ ีจะมีสาเหตุหลายๆประการคือ การผ่าเหล่า (random mutation) หรื อการจัดเรี ยงตัว
ใหม่ของยีน (gene rearrangement), การถูกกระตุน้ หรื อเหนี่ยวนาโดยสารเคมี เช่น โพลีไซคลิกอะโรมาติก
ไฮโดรคาร์บอน (polycyclic aromatic hydrocarbon) และ แอโรแมติกเอมีน (aromatic amine) เป็ นต้น จาก
ปัจจัยกายภาพเช่น รังสี จากการติดเชื้อไวรัสโดยเฉพาะออนโคจินิกไวรัส (oncogenic viruses) ซึ่ งแบ่งเป็ น
ดีเอนเอ (DNA, Deoxyribonucleic acid) และอาร์เอนเอ (RNA, Ribonucleic acid) ไวรัส (เสาวนีย,์ 2551)
วงจรชีวติ ของเซลล์ จะมีข้ นั ตอนหลักๆคือระยะ G1 S G2 และ M ดังรู ปที่ 1

STOP

G1

S
GO
Repairs
ahead

G2

รู ปที่ 1: วงจรชีวิตของเซลล์ ที่มา: ดัดแปลงจาก วิทย์ (2554)

จากรู ป ระยะ G1 จะเป็ นขั้นตอนเริ่ มต้นโดยมีการเจริ ญเติบโตของเซลล์เกิดขึ้น ในระยะ S จะเป็ น


ขั้นตอนที่สร้างดีเอนเอ (DNA, Deoxyribonucleic acid) ชุดใหม่ข้ ึนมาพอมาถึงระยะ G2 จึงเป็ นขั้นตอนที่
เซลล์เตรี ยมจะแบ่งตัวแล้วพอถึงระยะ M ก็จะเกิดการแบ่งตัวของเซลล์ โดยตัวที่ควบคุมการเจริ ญเติบโตและ
ควบคุมการแบ่งตัวของเซลล์เพื่อทดแทนเซลล์ที่ตายไปเรี ยกว่า ยีนมะเร็ ง (oncogenes) ส่ วนตัวที่มีหน้าที่ใน
การหยุดยั้งหรื อชะลอการเจริ ญเติบโตของเซลล์ในระยะ G1 เข้าสู่ ระยะ S เรี ยกว่า ยีนต้านมะเร็ ง (tumour
suppressor genes) ซึ่งหากไม่มีการแบ่งเซลล์ตามวงจรขั้นต้นนั้นก็จะทาให้เกิดการเติบโตของเซลล์หรื อเซลล์
มีการแบ่งตัวแบบควบคุมไม่ได้ ซึ่ งก็คือการกลายพันธุ์ของยีนมะเร็ ง (oncogenes) หรื อการกลายพันธุ์ของยีน
ต้านมะเร็ ง (tumour suppressor genes) โดยเราเรี ยกว่า มิวเทเชิน (mutation) หากเกิดการกลายพันธุ์เซลล์ก็
เติบโตมากผิดปกติและต่อมาจะลุกลามไปยังบริ เวณข้างเคียงและกระจายเข้าสู่ กระแสโลหิ ตและต่อม
น้ าเหลืองอีกทั้งกระจายไปสู่ อวัยวะที่อยูห่ ่างออกไป (วิทย์, 2554)
ไซโตไคน์ (cytokines) เป็ นโปรตีนหรื อไกลโคโปรตีนที่มีขนาดเล็ก (น้อยกว่า 30 กิโลดัลตัน) จะ
เป็ นตัวสร้างจากเซลล์เม็ดเลือดขาวและเซลล์ต่างๆภายในร่ างกายเพือ่ ตอบสนองต่อสิ่ งที่กระตุน้ โดยเป็ นตัวที่
ทาหน้าที่ในการสื่ อสารระหว่างเซลล์ (พิสิษฐ์, 2555) นอกจากนั้นไซโตไคน์สามารถทาหน้าที่เป็ นสื่ อกลาง
ของการสร้างภูมิคุม้ กันโดยธรรมชาติหรื อเรี ยกว่าระบบภูมิคุม้ กันที่ไม่เจาะจงโดยกระตุน้ เม็ดเลือดขาวให้เพิ่ม
จานวนและยังสามารถกระตุน้ การเจริ ญเติบโตของเซลล์ตน้ กาเนิดเม็ดเลือด (Sanchez-Vizcaino, 2001)
โดยไซโตไคน์จะออกฤทธิ์ ต่อเซลล์เป้ าหมายโดยจับกับตัวรับ (cytokine receptor) ที่อยูบ่ นผิวของเซลล์น้ นั ๆ
แล้วทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในเซลล์ เช่น อินเตอร์ ลิวคินทู (IL-2, interleukin-2) กระตุน้ บีเซลล์ (B
cell) โดยไปจับกับ อินเตอร์ ลิวคินทูรีเซ็บเตอร์ (IL-2R, interleukin-2 receptor) ที่อยูบ่ นผิวบีเซลล์ ซึ่งไซโต
ไคน์จะมีความสามารถสู งในการจับกับตัวรับทาให้ออกฤทธิ์ ได้แม้มีในปริ มาณน้อย (พิสิษฐ์, 2555)
เบต้ากลูแคน (Beta Glucan) คือสารอาหารประเภทแป้ งซึ่งมีคุณสมบัติที่สามารถกระตุน้ ภูมิคุม้ กัน
ของร่ างกายเพื่อป้ องกันโรคที่ติดเชื้ อจากไวรัสชนิดต่างๆและสามารถลดระดับคอลเลสเตอรอลในโลหิตได้
เบต้ากลูแคนเป็ นสารต้านอนุมูลอิสระและยิง่ ไปกว่านั้นเบต้ากลูแคนมีสรรพคุณในการป้ องกันและรักษาโรค
มะเร็ ง เมื่อร่ างกายได้รับสารเบต้ากลูแคนแล้วเม็ดเลือดขาวขนาดใหญ่จะถูกกระตุน้ ให้มีความสามารถในการ
สังเกตเห็นเชื้อมะเร็ งว่าเป็ นผูบ้ ุกรุ กและจะเข้าไปทาลายได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพโดยเฉพาะชนิดเบต้า1,3/1,6
กลูแคน (beta 1,3/1,6 glucan) ไซโมซาน ซึ่งมีสรรพคุณต่อต้านเชื้ อจุลินทรี ย ์ (สมศักดิ์ , 2013)
เบต้ากลูแคน1,3/1,6นี้ช่วยดูแลและป้ องกันโรคมะเร็ งในผูป้ ่ วยให้สามารถฟื้ นตัวเร็ วในการรักษาทาง
เลือก เช่น มะเร็ งที่คอ มะเร็ งที่ลิ้น มะเร็ งปอด มะเร็ งที่ลาไส้ มะเร็ งกระเพาะอาหาร มะเร็ งในตับ มะเร็ งถุง
น้ าดี มะเร็ งตับอ่อน มะเร็ งกระเพาะปัสสาวะ มะเร็ งต่อมลูกหมาก มะเร็ งมดลูก มะเร็ งเม็ดเลือดขาวหรื อลูคิ
เมีย และมะเร็ งผิวหนัง เป็ นต้น (สมศักดิ์, 2556)
เบต้ากลูแคนนอกจากจะใช้รักษาโรคมะเร็ ง โรคคอเลสเตอรอลสู ง โรคเบาหวาน และเอชไอวีหรื อ
เอดส์ ซึ่งเบต้ากลูแคนนี้ยงั สามารถใช้ในการกระตุน้ ระบบภูมิคุม้ กันของร่ างกายซึ่ งจะเกิดในร่ างกายของคนที่
ระบบภูมิคุม้ กันต่าลงตามสภาพ เช่น อ่อนเพลียเรื้ อรังหรื อมีความเครี ยดทางร่ างกายและอารมณ์หรื อโดยการ
รักษา เช่น การฉายรังสี หรื อเคมีบาบัด และเบต้ากลูแคนยังสามารถใช้สาหรับรักษาโรคหวัด ไข้หวัด
ใหญ่ H1N1 (สุ กร) โรคภูมิแพ้ โรคไขข้ออักเสบและเส้นโลหิตตีบ ซึ่งในบางคนใช้เบต้ากลูแคนเพื่อรักษา
โรคผิวหนัง, กลาก, ริ้ วรอยแผลไหม้,แผลเบาหวานและการฉายรังสี เผาไหม้ โดยในการรักษาพยาบาลนั้นใน
บาง ครั้งมีการให้เบต้ากลูแคนโดยการฉี ดเข้ากล้ามเนื้อในการรักษาโรคมะเร็ งและในการกระตุน้ ระบบ
ภูมิคุม้ กันในผูท้ ี่มีเอชไอวี (Nagpal, M. A., Nagpal, N., Rahar, Singh & Swami, 2011)
เอกสารอ้างอิง

กรรญดา อิสระกุลฤทธา. (2551). จากhttp://www.cccthai.org/l-th/index.php/2009-06-13-08-46-51.html


(เข้าถึงวันที่ 4 ธันวาคม 2556)

พิสิษฐ์ จันทร์หอม. (2555). Collagen ElastinและCytokines จาก http://wrinkleremoval.wordpre.com


2012/12/10/collagen-elastin-และ-cytokines/ (เข้าถึงวันที่ 24 ธันวาคม 2556)

วิทย์ สมบัติวรพัฒน์. (2554).สาเหตุการเกิดมะเร็ ง.จากhttp://www.absolute-health.org/thai/article


-th-0003.htm#next (เข้าถึงวันที่ 4 ธันวาคม 2556)

สมศักดิ์ วรคามิน. (2556). เบต้ากลูแคน. จาก http://www.bgmarvels.com/index.php?lite=artice&


qid=42095031 (เข้าถึงวันที่ 8 ธันวาคม 2556)

เสาวนีย ์ ผลพอตน. (2551). กลไกการเกิดมะเร็ ง. จาก http://hopelife.igetweb.com/articles/87340/กลไกการ


เกิดมะเร็ ง.html (เข้าถึงวันที่ 24 ธันวาคม 2556)

Crosta, P. (2013). what is cancer. http://www.medicalnewstoday.com/info/cancer-oncology


(accessed 8 December 2013)

Nagpal, M. A., Nagpal, N., Rahar, S., Singh, G. S. & Swami, G. (2011). Preparation, characterization,
and biologicalproperties of beta-glucans. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC
3217690 (accessed 24 December 2013)

Sanchez-Vizcaino, J. M. (2001). cytokines. http://www.sanidadanimal.info/cursos/inmun/sexto1.htm


(accessed 8 December 2013)

You might also like