PAT3-61-13 ไฟฟ้ากระแสสลับ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์

PAT3 13.ไฟฟ้ากระแสสลับ
ฝึกทาข้อสอบPAT3#61 13.ไฟฟ้ากระแสสลับ
ข้อสอบPAT3 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
1. ข้อใด คือ กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง v และ i ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับเชิงเหนี่ยวนา และเชิงความจุ ตามลาดับ
(PAT3 ต.ค.55)
ก. V
ข. V

i i

ค. V

1. ข. และ ค.
2. ก. และ ค.
3. ค. และ ค.
4. ก. และ ข.
5. ข. และ ก.

2. แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ v(t) = 200 2 sin (100t ) จ่ายไฟให้กับตัวต้านทานดังรูป อยากทราบว่า


ข้อสังเกตใดถูกต้องที่สุด (PAT3 ต.ค.55)
1. ตัวประกอบกาลังน้อยกว่า 1
2. กระแสที่ไหลในวงจร I rms = 10 2 A
3. แรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน V rms = 200 V
20 
( 200 2 )2
4. กาลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน P = W
20
5. มีคาตอบที่ถูกต้องมากกว่า 1 ข้อ

2
3. จากรูปด้านล่าง จงหาค่า L ที่ทาให้กระแสมีค่า i(t) = 2sin(50t + 90o) A (PAT3 ก.ค.52)

1. 2000 H
10 Ω L
2. 4000 H
3. 6000 H v(t )  20 cos (50t ) V 0 . 1 F
4. 8000 H

4. จากวงจรดังรูป ถ้า VDC = 10 V และ VAC = 10 V โดยที่ R มีค่าเป็น 1 k  และ L ได้มาจากการเอาสายไฟ


พันเป็นขดจานวน 30 รอบ และฟิวส์มีขนาด 1 A แล้ว จงพิจารณาว่าหลังจากต่อสวิตซ์แล้ว ข้อสังเกตในข้อใดน่าจะ
ถูกต้อง (PAT3 มี.ค.56) Fuse

1. ฟิวส์น่าจะขาดก่อน Switch
2. คงเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง L
3. กระแสน่าจะสูงมาก +
DC
4. วงจรนี้ไม่สามารถทางานได้จริง
-

5. วงจรทางานได้อย่างปกติ
AC R

3
จากข้อความต่อไปนี้ จงตอบคาถามข้อ 5 - 6
แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับที่สามารถปรับเปลี่ยนความถี่ได้ดังรูป มีขนาดคงที่ 100 โวลต์

10 Ω 10 mH
I 0.02F 0.02F
100 V

5. ความถี่ของแหล่งจ่ายไฟฟ้ากี่เฮิรตซ์ที่จะทาให้เกิดกระแสไหลในวงจรมีค่าสูงสุด (PAT3 ต.ค.52)

6. กระแสสูงสุดดังกล่าวมีค่ากี่แอมแปร์ (PAT3 ต.ค.52)

4
7. หากแหล่งจ่ายอินพุตสามารถแปรค่าความถี่  ได้ ที่ค่าความถี่เท่ากับเท่าใดจึงจะทาให้ VL = 0 V และที่ค่าความถี่
นี้ค่า VR เท่ากับเท่าไร (PAT3 มี.ค.54)
1.   , VR  0 V
+V R - +V L -
2.   0, VR  0 V R L
3.   , VR  1 V
2cos t
4.   0, VR  2 V
5. ไม่มีข้อใดถูก

8. หากทุกชิ้นส่วนมีสมบัติเป็นอุดมคติและ F1 F2 F3 F4 คือฟิวส์ขนาด 10 A แล้ว ข้อสันนิษฐานใดถูกต้องที่สุด


(PAT3 เม.ย.57)
1. ฟิวส์ F1 น่าจะขาด
F1 F2 F3 F4
2. ฟิวส์ F2 น่าจะขาด
3. ฟิวส์ F3 น่าจะขาด 24V 50Hz
10μ F
4. ฟิวส์ F4 น่าจะขาด 10 Ω 1mH
5. น่าจะมีฟิวส์ขาดมากกว่า 1 ตัว

5
ข้อสอบPAT3 พลังงานและกาลังไฟฟ้ากระแสสลับ
9. มอเตอร์ตัวหนึ่งมีป้ายฉลากระบุรายละเอียดว่า Output Power 3.7 kW 3 Phase 380 V. 7.9 A 50 Hz
Efficiency 80% จากข้อมูลดังกล่าวนี้ ข้อสังเกตใดน่าจะผิด (PAT3 มี.ค.55)
1. มอเตอร์ตัวนี้ใช้กาลังไฟฟ้า 3.7 kW
2. มอเตอร์ตัวนี้ใช้กับไฟฟ้า 3 เฟส เท่านั้น
3. มอเตอร์ตัวนี้ใช้กับระบบแรงดันสาย 380 V
4. มอเตอร์ตัวมีค่ากระแสเต็มพิกัด 7.9 A
5. มอเตอร์ตัวนี้ใช้กับไฟฟ้าความถี่ 50 Hz เท่านั้น

10. บ้านหลังหนึ่งใน กทม. ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าพร้อมกัน 3 รายการ มีพิกัด 1,200 W 800 W และ 200 W ตามลาดับ
หากกระแสรวมของบ้านหลังนี้ เท่ากับ 20 A จงหาค่าตัวประกอบกาลังของบ้านหลังนี้ (PAT3 มี.ค.59)


11. ถ้าสัญญาณในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ คือ v(t) = 100 sin(100 t ) และ i(t) = 10 sin(100 t + ) แล้ว
3
วงจรนี้มีค่าตัวประกอบกาลัง (Power Factor) เท่าใด (PAT3 ต.ค.58)

6
12. อุปกรณ์ไฟฟ้าตัวหนึ่งมีค่าตัวประกอบกาลังเท่ากับ 0.5 ที่ความถี่ 50 เฮิรตซ์ ต่อกับระบบไฟบ้าน 220 โวลต์ 50
เฮิรตซ์ วัดกาลังไฟฟ้าที่ตัวอุปกรณ์ได้เท่ากับ 1100 วัตต์ ฟิวส์ที่ใช้ในวงจรควรมีขนาดกี่แอมแปร์ โดยใช้หลักการเลือก
ขนาดฟิวส์เป็น 1.5 เท่าของกระแสใช้งานปกติ (PAT3 ต.ค.52)

13. ถ้า v(t )  100 2 sin(100t ) แล้ววงจรนี้มีการใช้กาลังไฟฟ้ากี่วัตต์ (PAT3 ต.ค.58)


6

v(t) 8

14. หม้อแปลงในรูปเป็นหม้อแปลงอุดมคติทั้งหมด กาลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน 3 โอห์มใช้มีค่ากี่วัตต์ (PAT3 ต.ค.52)


10 : 1 1:5

220 V
j4 Ω

7
15. ถ้าแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับสร้างความต่างศักย์ที่มีหน่วยเป็นโวลต์ซึ่งแปรตามเวลาดังสมการ
v(t) = 220sin(120  t) ต่อเข้ากับขดลวดปฐมภูมิของหม้อแปลงไฟฟ้ากระแสสลับที่มีจานวนรอบของขดลวดปฐมภูมิ
500 รอบ และขดลวดทุติยภูมิ 200 รอบ และมีตัวต้านทานขนาด 8 โอห์ม ต่อกับปลายทั้งสองของขดลวดทุติยภูมิ
กาลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่เกิดขึ้นที่ตัวต้านทานมีค่ากี่วัตต์ (PAT3 ต.ค.59)

16. หากวงจรนี้เป็นไปตามอุดมคติ แหล่งจ่ายฝั่งปฐมภูมิต้องจ่ายกาลังไฟฟ้ากี่วัตต์ (PAT3 มี.ค.59)

100 Vrms 5 1
50 Hz 600 300 25  100 
H
500 
F

1. 100 W
2. 200 W
3. 350 W
4. 1600 W
5. เกิดความเสียหายในวงจร

8
17. ในการตรวจวัดทางไฟฟ้าของวงจรหนึ่ง พบว่าสัญญาณของกระแสและแรงดันเป็นดังรูป อยากทราบว่า วงจรนี้ใช้
กาลังไฟฟ้ากี่วัตต์ (PAT3 มี.ค.55)
y
v( t )  220 2 sin(100t )
i( t )  110 2 sin(100t  90o )

18. วงจรไฟฟ้าวงจรหนึ่งมีตัวต้านทานและตัวเหนี่ยวนาต่อขนานกันดังรูป ข้อใดเป็นการสันนิษฐานที่ผิด (PAT3 ธ.ค.56)


I1 I3
I2

VS R L

1. กาลังไฟฟ้าเฉลี่ยของวงจรเท่ากับ I12R
2. แรงดันอาร์ เอ็ม เอส VR = VL
3. แรงดันอาร์ เอ็ม เอส VS = VL
4. ที่แหล่งจ่ายรูปคลื่นสัญญาณกระแสล้าหลัง (Lag) สัญญาณแรงดัน
5. I3  0

9
19. โรงงานแห่งหนึ่งใช้ไฟฟ้ากระแสสลับความต่างศักย์ 220 V มีกาลังไฟฟ้าของอุปกรณ์ไฟฟ้าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 550 kW
และสามารถปรับให้ตัวประกอบกาลัง (Power Factor) รวม 0.75 เมื่อใช้ตัวเก็บประจุช่วยปรับค่าตัวประกอบกาลังรวมให้
เพิ่มเป็น 0.9 การใช้กระแสไฟฟ้าของโรงงานแห่งนี้จะลดลงไปเท่าไร (PAT3 ต.ค.59)
1. 555 A
2. 833 A
3. 1,100 A
4. 2,777 A
5. 3,333 A

20. โรงงานแห่งหนึ่งมีอุปกรณ์ไฟฟ้าต่ออยู่รวมทั้งหมด 1000 กิโลโวลต์ -แอมแปร์ โดยมีค่าตัวประกอบกาลังรวมเท่ากับ


0.6 หากต้องการปรับปรุงค่าตัวประกอบกาลังรวมให้เป็น 0.8 จงคานวณหาค่าตัวเก็บประจุที่ต้องใช้ (PAT3 ต.ค.52)
1. 350 กิโลวาร์
2. 580 กิโลวาร์
3. 600 กิโลวาร์
4. 800 กิโลวาร์

10
ข้อสอบPAT3 ตัวเก็บประจุและขดลวดเหนี่ยวนาในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
21. หานาแบตเตอรี่ 1.5 V ต่อเข้ากับตัวเก็บประจุขนาด 1 F และปล่อยทิ้งไว้เป็นเวลานานดังรูป ข้อใดกล่าวถูกต้อง
(PAT3 ต.ค.58)
1. VC = 0 V และ IC = 0 A 1.5 V
2. VC = 1.5 V และ IC = 0 A
3. VC = 1.5 V และ IC  0.1 A Ic
4. ตัวเก็บประจุจะเสียหายเนื่องจากมีแรงดันตกคร่อมมาก
5. ตัวเก็บประจุจะเสียหายเนื่องจากมีกระแสไหลผ่านจานวนมาก Vc

22. หากสวิตซ์อยู่ในตาแหน่งที่ทาให้วงจรปิดเป็นเวลานาน เมื่อทาการเปิดวงจรดังรูปแล้ว ข้อใดกล่าวถูกต้อง (PAT3


เม.ย.57)

Vs + R C V
-

1. ยังคงมีกระแสไหลผ่านตัวต้านทานต่อไปเรื่อยๆ
2. ตัวเก็บประจุยังคงมีแรงดันตกคร่อมอย่างคงที่ตลอดเวลา
3. โวลต์มเิ ตอร์วัดแรงดันได้เท่ากับ 0 V
4. โวลต์มิเตอร์วัดแรงดันได้ค่าลดลงเรื่อยๆ และเท่ากับ 0 V ในที่สุด
5. แหล่งจ่ายไฟจะเสียหาย

11
23. ข้อใดถูกต้องที่สุด (PAT3 มี.ค.59) 5Ω
1. I = 0 A และ Vc = 0 V

2. I = 0 A และ Vc = 5 V
I
3. I = 1 A และ Vc = 0 V
5V 5V C V
4. I = 1 A และ Vc = 5 V
5. I = 1 A และ Vc = -5 V

24. จากรูปที่กาหนดให้ กระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานมีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT3 มี.ค.53)


1. 0 แอมแปร์
2. 0.005 แอมแปร์
3. 0.05 แอมแปร์ 1 F
10 V 2 k Ω 1 mH
4. 0.5 แอมแปร์
5. 5 แอมแปร์

25. จากรูปวงจรที่กาหนดให้ กระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน IR มีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT3 ก.ค.53)


IT 2k
1. 0.0025 A IL
2. 0.005 A IR IC
3. 0A 20V 2k 1 F 1 mH
4. 0.01 A
5. 0.1 A

12
26. จากวงจรไฟฟ้าข้างล่างนี้ แหล่งจ่ายต้องจ่ายกาลังไฟฟ้าเท่ากับกี่วัตต์ (W) (PAT3 มี.ค.55)
2
1. 150 W
2. 100 W 4F 2F 10 mH
3. 50 W 10 V
4. 25 W 2 2 2
5. ไม่มีคาตอบที่ถูกต้อง

27. ข้อใดกล่าวถูกต้อง (PAT3 ธ.ค.56)


2Ω 2Ω 2Ω
I1 I2 I3

20 V + 20 mH 2μ F 2Ω
-

1. I1 = I2 + I3
2. วงจรนี้มีค่าความต้านทานรวม 8 
3. I3 = 2.5 A
4. I1 = 10 A
5. I1 มากกว่า I3 ถึง 4 เท่า

13
28. กระแส I1 และ I2 ก่อนและหลังกดสวิตซ์ ต่อวงจร (Close Circuit) ในระยะเวลาหนึ่งจะเป็นเช่นไร (PAT3 มี.ค.
59)
I1 5 Ω 10 Ω

30 V 10 Ω
I2 10 mH

1. ก่อนกดสวิตซ์ I1 = 0 A และ I2 = 0 A หลังกดสวิตซ์ I1 =  A และ I2 = 0 A


2. ก่อนกดสวิตซ์ I1 = 2 A และ I2 = 2 A หลังกดสวิตซ์ I1 =  A และ I2 = 2 A
3. ก่อนกดสวิตซ์ I1 = 2 A และ I2 = 2 A หลังกดสวิตซ์ I1 = 3 A และ I2 = 1.5 A
4. ก่อนกดสวิตซ์ I1 = 2 A และ I2 = 2 A หลังกดสวิตซ์ I1 =  A และ I2 =  A
5. ก่อนกดสวิตซ์ I1 = 2 A และ I2 = 0 A หลังกดสวิตซ์ I1 =  A และ I2 = 0 A

29. หากอุปกรณ์ทุกตัวในรูปเป็นไปตามอุดมคติแล้ว กระแส I ที่อ่านจากแอมมิเตอร์ควรมีค่าเป็นเท่าใด (PAT3 ต.ค.55)


10F

1A 1k
1. 10 A
2. 1A 10 mH
R2 R3
3. 0.1 A
R1
4. 0.01 A
5. ไม่มีคาตอบที่ถูกต้อง +
20 V I=? A 1k
I

14

You might also like