Food Science

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 117

องคความรูท างดานวิทยาศาสตรการอาหาร

ดร. พรอมลักษณ สมบูรณปญญากุล


ภาควิชาโภชนวิทยา
คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

การประชุมวิชาการนักกําหนดอาหาร ประจําป 2551


ณ โรงแรมแอมบาสเดอร
22 เม.ย 2551

1
เนือ้ หา

1 วิทยาศาสตรการอาหารคืออะไร

2 นักกําหนดอาหารกับวิทยาศาสตรการอาหาร

3 องคความรูด า นวิทยาศาสตรการอาหาร

2
www.themegallery.com
วิทยาศาสตรการอาหาร (Food Science)

วิ ท ยาศาสตร ก ารอาหาร เป น วิ ท ยาศาสตร ป ระยุ ก ต ส าขาหนึ่ ง ที่ เ รี ย นรู


เกีย่ วกับพืน้ ฐานทางวิทยาศาสตรของอาหารใหเปนผลิตภัณฑอาหารโดยใน
การแปรรูปตองใชวิชาการและเทคโนโลยีทําใหไดผลิตภัณฑอาหารที่มี
ปริมาณมากและมีคณ ุ ภาพสม่าํ เสมอเปนอุตสาหกรรมอาหาร

3
www.themegallery.com
นักกําหนดอาหารกับความรูดานวิทยาศาสตรการอาหาร
วิทยาศาสตรการอาหาร

สิง่ ทีน่ กั กําหนดอาหารควรมี - องคประกอบของอาหาร


- การเสือ่ มเสียของอาหาร
นั ก กํ า หนดอาหารจึ ง ต อ งมี - การถนอมอาหาร
บทบาทของนักกําหนดอาหาร ความรู ใ นด า นวิ ท ยาศาสตร - การควบคุมคุณภาพอาหาร
-ให ค วามรู และ คํ า แนะนํ า การอาหารในการผลิตอาหาร
เรื่ อ งการกิ น อาหารที่ ถู ก ต อ ง ให มี คุ ณ ภาพดี แ ละมี ค วาม
เพื่ อ สร า งเสริ ม สุ ข ภาพ และ ปลอดภั ย เพื่ อ การบริ ก าร
ปองกันโรคแกประชาชนทัว่ ไป จัดการอาหารในโรงพยาบาล
- มีค วามรู ทัก ษะ และ ความ ไดอยางมีประสิทธิภาพ
ชํานาญดานการบริการจัดการ
อาหารในโรงพยาบาล

4
www.themegallery.com
องคความรูทางดานวิทยาศาสตรการอาหาร

องคประกอบของอาหาร: น้าํ
การเสื่อมเสียของอาหาร
นักกําหนดการอาหาร การถนอมอาหาร
ควรมีความรูเกี่ยวกับ
การควบคุมคุณภาพอาหาร

5
www.themegallery.com
องคประกอบของอาหาร

น้ํา
ไขมัน

โปรตีน
องคประกอบของอาหาร
คารโบไอเดรต
วิตามิน
แรธาตุ
6
www.themegallery.com
น้ําในอาหาร

vน้าํ เปนสวนประกอบหลักของอาหารทุกชนิด

vน้ํามีทั้งอยูในรูปที่เปนอิสระ (free water) และ รูปที่เกาะเกี่ยวกับสารอื่น


(bound water)

vน้าํ อิสระมีผลตอลักษณะเนือ้ สัมผัสและการเก็บรักษาอาหารมาก

vการเก็บรักษาอาหารจึงตองระเหยน้าํ อิสระออกจากอาหาร ทําใหเขมขน หรือ


ทําใหอาหารเย็นแข็งตัว

7
www.themegallery.com
การเสือ่ มเสียของอาหาร
(Food Deterioration)

8
การเสื่อมเสียของอาหาร (Food Deterioration)

การเสื่อมเสียของอาหาร คือ การที่อาหารเกิดการเปลี่ยนแปลงใน


ลักษณะคุณภาพซึ่งรวมถึง สี กลิ่น รส รูปราง ลักษณะเนื้อสัมผัส
ของอาหารและคุณคาทางอาหารตลอดถึงความปลอดภัยในการ
บริโภค

9
www.themegallery.com
สาเหตุของการเสื่อมเสียของอาหาร

1. สาเหตุทางจุลินทรีย

2. สาเหตุทางเคมี

3. สาเหตุทางกายภาพ

10
www.themegallery.com
1. สาเหตุทางจุลินทรีย

vจุลนิ ทรียท ท่ี าํ ใหอาหารเสือ่ มเสีย ไดแก แบคทีเรีย ยีสต และ รา

vพบในดิน น้าํ และอากาศ รวมทัง้ ในอาหาร เครือ่ งมือในการผลิต ผิวหนัง


และ เสื้อผา

vเมือ่ สภาพแวดลอมเหมาะสม ® จุลินทรียเจริญ ® อาหารเสือ่ มเสีย

11
www.themegallery.com
ปจจัยทีเ่ กีย่ วของกับการเสือ่ มเสียของอาหารเนือ่ งจากจุลนิ ทรีย

1. ปริมาณความชื้นของอาหาร
2. ความเปนกรดดาง (pH) ของอาหาร
3. ชนิดและปริมาณของสารทีย่ บั ยัง้ การเจริญของจุลนิ ทรียท ม่ี อี ยู
ในอาหาร
4. ปริมาณความเขมขนของออกซิเจน
5. อุณหภูมิ

12
www.themegallery.com
1. ปริมาณความชื้นของอาหาร
¬ จุลินทรียแตละชนิดตองการปริมาณความชื้นในการเจริญเติบโต
แตกตางกัน
¬ ความชื้นในอาหารที่จุลนิ ทรียจะนําไปใชประโยชนไดจะอยูในรูปของ
“ available water” หรือ “water activity” โดยเปนน้ําอิสระที่อยูรอบๆ
อาหาร ไมไดถกู อาหารหรืออิออนของสารอืน่ ดูดยึดไว
Aw = P/Po

P = ความดันไอของน้ําที่เกิดในอาหารนั้น
Po = ความดันไอของน้ําบริสุทธิ์ที่อุณหภูมิ
เดียวกัน

13
www.themegallery.com
ตารางที่ 1 ระดับ Aw ขั้นต่ําในอาหารซึ่งจุลินทรียสามารถเจริญเติบโตได

ประเภทของจุลินทรีย ระดับ Aw ขั้นต่ํา


Bacteria 0.91
Yeasts 0.88
Molds 0.80
Halophilic bacteria 0.75
Psychrophilic bacteria 0.75
Xerophilic molds 0.60
Osmophilic yeasts 0.60

14
www.themegallery.com
2. ความเปนกรดดาง (pH) ของอาหาร

vราเจริญในชวง pH ที่กวาง (pH 4-6)


vทนตอความเปนกรดสูงไดดกี วายีสตและแบคทีเรีย
vยีสตเจริญในชวง pH 4-4.5 (น้ําผลไม) แตไมเจริญในอาหารทีม่ ี
ความเปนดาง
vแบคทีเรียสวนใหญเจริญในชวง pH ใกลเปนกลาง (pH 6.5-7.5)
แตบางชนิดชอบเปนกรดเล็กนอย เชน พวกทีส่ ราง lactic acid
เจริญที่ pH 4-5

15
www.themegallery.com
2. ความเปนกรดดาง (pH) ของอาหาร

vแบคทีเรียที่ยอยสลายโปรตีนไดดี เชน
Pseudomonas
Achromobacter
Proteus
Salmonella
เจริญในอาหารทีค่ อ นขางเปนดาง

16
www.themegallery.com
3. ชนิดและปริมาณของสารที่ยับยั้งการเจริญของจุลินทรียที่มีอยูในอาหาร

3.1 สารยับยั้งการเสื่อมเสียเนื่องจากจุลินทรียที่มีมากับผลิตภัณฑ
อาหารตามธรรมชาติ
- Lactenins (นมสด)
- Lysozyme (ไขขาว)
- Benzoic acid (cranberry)
ฯลฯ

17
www.themegallery.com
3. ชนิดและปริมาณของสารที่ยับยั้งการเจริญของจุลินทรียที่มีอยูในอาหาร

3.2 สารเคมีท่ีเติมเพื่อปองกันการเสื่อมเสียเนื่องจากจุลนิ ทรีย


v Sorbic acid หรือ Propionic acid (ขนมปง)
v Sodium benzoate (ซอสมะเขือเทศ, มาการีน)
v SO2 (น้ําผลไม, น้ําเชื่อม)
v Nitrate หรือ Nitrite (ผลิตภัณฑเนื้อสัตว)

18
www.themegallery.com
Nitrite and Nitrate

vชวยใหเกิดสีในผลิตภัณฑเนื้อสัตว

vชะลอการเจริญของเชือ้ Cl. Botulinum และการสรางสารพิษของเชือ้ นี้


แตไมสามารถปองกันการงอกของสปอร

19
www.themegallery.com
Nitrite and Nitrate

20
www.themegallery.com
3.3 สารประกอบทีเ่ กิดจากกระบวนการหมักโดยจุลนิ ทรีย

vAlcohol

vLactic acid

vPropionic acid

vAntibiotic

21
www.themegallery.com
4. ปริมาณความเขมขนของออกซิเจน
vแบงประเภทของแบคทีเรียตามความตองการออกซิเจนเปน 3 ประเภท คือ

1. Aerobic bacteria: มีออกซิเจน


2. Anaerobic bacteria: ไมมอี อกซิเจน
3. Facultative anaerobic bacteria: มีและไมมอี อกซิเจน

vถาเก็บอาหารในสภาวะที่มีออกซิเจนตางกัน ชนิดของจุลนิ ทรียท ี่ทําให


อาหารเสือ่ มเสียยอมตางกัน

22
www.themegallery.com
5. อุณหภูมิ

v ราและยีสตเจริญไดดที อ่ี ณ
ุ หภูมิ 25 oC

v แบคทีเรียแบงเปนประเภทตามระดับอุณหภูมิที่เจริญไดดีเปน
3 ประเภท คือ

1. Thermophile: อุณหภูมิ > 45 oC


2. Mesophile: อุณหภูมริ ะหวาง 25-45 oC
3. Psychrophile: อุณหภูมิ < 20 oC
23
www.themegallery.com
Food storage: danger zone

24
www.themegallery.com
Foodborne illness

25
www.themegallery.com
อาหารเปนพิษ (Food poisoning)

v อาหารเปนพิษ หรือ การเกิดโรคจากอาหาร (Food borne infection)


หมายถึง การเจ็บปวยทีเ่ กิดจากการบริโภคอาหารทีไ่ มบริสทุ ธิ์ กอใหเกิด
อาการผิดปกติเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร (gastroenteritis) โดยทัว่ ไปมี
อาการปวดทอง คลืน่ ไส อาเจียน ทองรวง อาจมีไข และ มีอาการทาง
ประสาท หรือ มีอาการผิดปกติเกีย่ วกับระบบอืน่ รวมดวย

vอาหารเปนพิษทีเ่ กิดจากจุลนิ ทรีย มี 2 ชนิด คือ food infection และ


food intoxication

26
www.themegallery.com
Food infection
vเกิดจากแบคทีเรียทีต่ ดิ มากับอาหารแลวแบงตัวทวีจาํ นวนขึน้ มากมาย เมือ่
ผูบริโภครับประทานอาหารนั้นเขาไป เซลของแบคทีเรียจะเขาทําลายระบบ
ทางเดินอาหาร กอใหเกิดอาการปวดทอง ทองเดิน
vSalmonella (พบใน ไก ไข นก และ เนื้อสัตวอน่ื ๆ)
vVibrio parahaemolyticus (พบใน อาหารทะเล)
vE. coli (Enterobacteriaceae) พบใน ลําไสมนุษย
vFecal streptococci (Streptococcus faecalis) พบใน ลําไสมนุษย
vBacillus cereus (พบในดิน ฝุน ละออง น้าํ ขาวสุก และ นมพาสเจอไรซ)

27
www.themegallery.com
Food intoxication
vแบคทีเรียที่ปนมากับอาหาร เมือ่ เจริญเติบโตในอาหาร จะสรางสารพิษ
(Enterotoxin)ขึน้ มาในปริมาณทีเ่ พียงพอทีท่ าํ ใหผบู ริโภคเกิดอาการของ
โรคอาหารเปนพิษขึน้ ได
vStaphylococcus aureus (พบตามจมูก มือ บาดแผล สิว ของมนุษย สําหรับ
อาหารพบมากในขนมหวานทีใ่ ชนาํ้ ตาลและมะพราวขูด)
vClostridium botulinum (พบมากในอาหารกระปองทีม่ ีการฆาเชือ้ ไมสมบูรณ)
vClostridium perfringens (พบในดิน น้ํา ฝุนละออง และในทางเดินอาหารของ
คนและสัตว สําหรับอาหารพบใน เครือ่ งเทศ อาหารแหงทีต่ ากแดดไมถกู
สุขลักษณะ เนือ้ สัตวทป่ี รุงสุกและทิง้ ไวนาน

28
www.themegallery.com
การเสื่อมเสียของอาหารเนื่องจากสาเหตุทางเคมี

v การเปลี่ยนแปลงที่กอใหเกิดสีน้ําตาลในอาหาร
(Browning reaction)

v การเปลี่ยนแปลงที่กอใหเกิดการเหม็นหืน
(Rancidity)

29
www.themegallery.com
การเปลีย่ นแปลงทีก่ อ ใหเกิดสารสีนาํ้ ตาลในอาหาร

vสีของอาหารเปลีย่ นไปตั้งแตสเี หลืองออน ® น้ําตาลเขม ®


ดํา
vกลิน่ รสอาหารผิดไปจากเดิม
vบางทีทําใหกลิ่นรสดีขึ้น: ขนมปง เนื้อยาง
vBrowning reaction เกิดขึน้ ได 2 แบบ คือ
2.1.1 Enzymatic browning reaction
2.1.2 Non-enzymatic browning reaction

30
www.themegallery.com
Enzymatic browning reaction
v เอนไซมทเ่ี กีย่ วของมีหลายชนิด แตกตางกันตามชนิดของผักและผลไม

v Phenolase, Polyphenolase, Polyphenoloxidase, Tyrosinase ฯลฯ

v เอนไซมเหลานี้ทําใหสารประเภท Phenol เชน Cathecol, Protocatchuic acid,


Caffeic acid ซึ่งพบในมันฝรั่ง กลวย แอปเปล ฯลฯ เปลี่ยนแปลงเปนสีน้ําตาล
เมื่อผักหรือผลไมถูกขีดขวน ตัด ปอกเปลือกออกโดยทําใหเนื้อสัมผัสออกซิเจน

31
www.themegallery.com
Enzymatic browning

32
www.themegallery.com
การปองกันหรือควบคุมปฏิกิริยานี้

vปองกันไมใหผัก ผลไม ถูกทําใหเปนแผลหรือมีรอยขีดขวน

vใชความรอนเพือ่ ทําลายเอนไซมในอาหาร

vเติมกรดเพื่อลด pH ของอาหาร

vใสนาํ้ ตาลหรือเกลือในอาหาร

33
www.themegallery.com
Non-enzymatic browning reaction
vปฏิกริ ยิ าทีส่ าํ คัญ ไดแก
1. Amino acid + Reducing sugar (Maillard reaction) ® สารสีนาํ้ ตาล
2. Caramelization: การเผาไหมของน้าํ ตาลทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู ๆ ® น้ําใน
โมเลกุลน้าํ ตาลระเหยไป ® caramel (น้าํ ตาลไหม)
3. Oxidation of vitamin C: วิตามินซีเมือ่ สัมผัสอากาศจะเปลีย่ นเปน
สารสีนาํ้ ตาล

vการปองกันหรือควบคุม: คลายการควบคุมปฏิกริ ยิ าเนือ่ งจากเอนไซม

34
www.themegallery.com
Non Enzymatic Browning

Maillard

Caramelization

o
Dark Caramel 188 - 204 C Very dark and bitter; smells burned.
Used for colouring, but lack of
appropriate sweetness.
www.themegallery.com
35
การเปลีย่ นแปลงทีก่ อ ใหเกิดการเหม็นหืน (Oxidative rancidity)

vมักเกิดกับอาหารพวกไขมันและน้าํ มัน รวมทัง้ อาหารทีม่ ไี ขมัน และ


น้ํามันเปนองคประกอบ

vปจจัยที่มีผลตอการเหม็นหืนเนือ่ งจากออกซิเจน
- ชนิดของกรดไขมันไมอิ่มตัว (Oleic acid, Linoleic acid)
- ออกซิเจนในอากาศ
- ความรอนและแสงสวาง
- น้าํ มันจากสัตวและพืช

36
www.themegallery.com
กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ า oxidative rancidity อยางงาย

1. ระยะเริ่มตน (Initiation step)

Fe, Cu
RH Ro (free radical)
พลังงาน

37
www.themegallery.com
กลไกการเกิดปฏิกิริยา oxidative rancidity อยางงาย

ระยะที่ 2 (Propagation step)

Ro + O2 ® ROOo (Peroxy radical)

ROOo + RH ® Ro + ROOH (Peroxide)

38
www.themegallery.com
กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ า oxidative rancidity อยางงาย

ระยะสุดทาย (Final step)

ROOo + Ro ® ROOR
Ro + Ro ® RR
ROOo + ROOo ® ROOR + O2

39
www.themegallery.com
การปองกันหรือควบคุมปฏิกริ ยิ านี้

vเก็บไขมันในภาชนะทึบแสง ปดสนิท อากาศเขาไมไดและเก็บใน


ที่เย็น

vภาชนะบรรจุตองไมทําจาก Fe หรือ Cu ควรเปน stainless หรือ


aluminium

vเติม antioxidant เชน BHA (Butylated hydroxy anisole), BHT


(Butylated hydroxy toluene) ฯลฯ

40
www.themegallery.com
การเสื่อมเสียของอาหารเนื่องจากสาเหตุทางกายภาพ
vเกิดจากการขนสง การถายเทวัตถุดบิ ไมถกู วิธี หรือประมาท เชน การแตกหัก
ของวัตถุดบิ การขีดขวนทําใหเซลอาหารฉีกขาด
vเกิดจากกรรมวิธกี ารแปรรูป เชน การตัด หรือ หัน่ เปนชิน้ เล็กๆ การบดหรือ
สับ อาจเปนเหตุใหจุลนิ ทรียเขาไปเจริญหรือเกิดปฏิกิริยาเปลี่ยนแปลงทางเคมี
vการปองกัน
- ระมัดระวังในการขนสง
- ควบคุมกระบวนการผลิต

41
www.themegallery.com
การถนอมอาหาร
(Food Preservation)

42
คุณภาพอาหาร (Food Quality)

vสี (Color)
vกลิน่ รส (Flavor)
vลักษณะเนื้อสัมผัส (Texture)
vลักษณะปรากฏ (Appearance)
vอายุการเก็บรักษา (Storage life) ­

43
www.themegallery.com
การถนอมอาหาร (Food Preservation)

v การเสือ่ มเสียของอาหารเกิดจาก
- เอนไซมในอาหาร
- จุลนิ ทรีย
- ปฏิกิริยาเคมี

v เนือ่ งจากอาหารมีการเสือ่ มเสียจึงตองมีการถนอมอาหาร

44
www.themegallery.com
เอนไซม (Enzyme)
vเรงปฏิกิริยาทําใหเกิดปฏิกิริยาทางเคมีตางๆ
vอาหารมีเอนไซมหลายชนิด
vปจจัยสําคัญที่มผี ลตอการเรงปฏิกริ ยิ าของเอนไซม คือ อุณหภูมิ
vการเรงปฏิกิริยาของเอนไซมจะมีชวงอุณหภูมิที่พอเหมาะ (optimum
temperature) ประมาณ 30-35 oC

45
www.themegallery.com
จุลินทรีย (Microorganism)
vแบคทีเรีย, ยีสต, รา ทําใหอาหารเกิดการ
เปลีย่ นแปลงแตกตางกัน
vสิง่ ทีเ่ หมือนกันคือ เมือ่ สภาวะแวดลอม
เหมาะสม (เชน อาหาร, อุณหภูมิ, pH) จะ
ทําใหจลุ นิ ทรียเ พิม่ จํานวน
(growth ® vegetative cell ­)
vถาสภาวะไมเหมาะสมจะสรางสปอร
vการทําลายจุลนิ ทรีย: รูปสปอรตอ งใชอณ ุ หภูมิ
สูงกวา vegetative cell (121 oC, 15 lb/in2, 15 min)

46
www.themegallery.com
ประเภทของอาหาร (แบงตามการเสื่อมเสีย)ไดเปน 3 ประเภท

1. อาหารทีเ่ สือ่ มเสียเร็ว (Highly perishable food)

2. อาหารทีเ่ สื่อมเสียเร็วปานกลาง (Moderately perishable food)

3. อาหารที่เสื่อมเสียชา (Slightly perishable food)

47
www.themegallery.com
อาหารทีเ่ สือ่ มเสียเร็ว (Highly perishable food)

v อายุการเก็บประมาณ 1-7 วัน

v ปริมาณน้ํา (Moisture content, medium to high)

v Vegetables, fruits, milk, meat, poultry, sea food

48
www.themegallery.com
อาหารที่เสื่อมเสียเร็วปานกลาง (Moderately perishable food)

vอายุการเก็บตัง้ แต 1 สัปดาห จนถึง หลายสัปดาห

vปริมาณน้ําปานกลาง

vRoot crops (พืชราก, หัว), มันฝรั่ง, มันสําปะหลัง, มันเทศ,


เผือก, แครอท และไข

49
www.themegallery.com
อาหารที่เสื่อมเสียยาก (Slightly perishable food)

vอายุการเก็บเปนเดือนขึน้ ไป
vปริมาณน้าํ นอย
vธัญพืช (Cereal), ถั่วเปลือกแข็ง
Bean: ถั่วเหลือง, ถั่วเขียว
Pea: ถั่วลิสง
Nut: เกาลัด

50
www.themegallery.com
การถนอมอาหาร

การถนอมอาหาร หมายถึง การเก็บรักษาอาหารโดยกรรมวิธีตางๆ


ให อ ยู ใ นสภาพใกล เ คี ย งกั บ ของสดมากที่ สุ ด โดยไม ใ ห สู ญ เสี ย
คุ ณ ภาพและคุ ณ ค า ทางโภชนาการและต อ งมี คุ ณ ลั ก ษณะทาง
คุณภาพซึง่ เปนทีต่ อ งการของผูบ ริโภค

51
www.themegallery.com
วิธกี ารถนอมอาหาร (Food preservation methods)

v ตองมีวธิ ขี ดั ขวาง, ทําลาย, ระงับ, ฆาจุลินทรีย และปฏิกิริยาที่


เกิดขึน้ เนือ่ งจากเอนไซม
1. การใชความรอน
2. การใชความเย็น
3. การทําแหง
4. การหมักดอง
5. การฉายรังสี
6. การใชสารเคมี

52
www.themegallery.com
การใชความรอน (Heating)

vเปนหัวใจของกระบวนการแปรรูปทั้งหมด

vนิยมใชมากในอุตสาหกรรมอาหาร

53
www.themegallery.com
ผลของความรอน (heat)

1. ผลตอจุลนิ ทรีย
- ทําลายเอนไซม ทําให denatured และมีผลตอ metabolism
ตางๆ ในเซลจุลินทรีย
- ระดับความรอนทีม่ ผี ลตอจุลนิ ทรียข น้ึ กับชนิดและสภาพ
ของจุลนิ ทรีย
2. ผลตอเอนไซม
- เอนไซมเกือบทุกชนิดถูกทําลายไดดวยความรอนที่อุณหภูมิ
175 oF (80 oC)

54
www.themegallery.com
หลักการใชความรอน 2 ประการ

1. ใหความรอนแกอาหารเพื่อ
- ไมใหอาหารเสื่อมเสียเนื่องจากจุลินทรียและเอนไซม
(Chemical reaction)
- ไมใหอาหารมีปญหาทางดานสุขภาพแกผูบริโภค
(ทําใหเกิดโรค, อาหารเปนพิษ)

2. ระดับความรอนที่ใชตองทําลายลักษณะคุณภาพของอาหารให
นอยที่สุด
55
www.themegallery.com
สิง่ ทีค่ วรรูก อ นใชความรอน คือ
1. ชนิดของจุลนิ ทรีย มี 3 พวก
ก. จุลินทรียกลุมทีท่ ําใหอาหารเสื่อมเสีย (Spoilage Microorganisms)
ไดแก ยีสต รา และแบคทีเรีย
แบคทีเรียมี 2 ชนิด
1. แบคทีเรียทีไ่ มทนตอความรอน (ไมสรางสปอร)
- ใชอณ ุ หภูมทิ ท่ี าํ ลายเทากับยีสตและรา
2. แบคทีเรียทีท่ นตอความรอน (Thermophilic bacteria)
- ใชอณ ุ หภูมิ ³ 100 oC ขึน้ ไปถึงทําลายได
- ทําลายยีสตและราเกือบทุกชนิด ยกเวน Aspergillus flavus
เปนจุลินทรียที่สรางสารพิษ
56
www.themegallery.com
จุลนิ ทรียท ส่ี รางสารพิษ (Toxin producing bacteria)

vเปนแบคทีเรียที่สรางสปอร
vClostridium botulinum ทนความรอนสูงสุด
(พิษ 1 ppm สามารถทําอันตรายได)
vอุณหภูมิ 121 oC, 15 min ® ทําลายสปอร
vอุณหภูมิ < 100 oC ® ทําลาย vegetative cell

57
www.themegallery.com
58
www.themegallery.com
Food safety

59
www.themegallery.com
กลุม ของจุลนิ ทรียท ท่ี าํ ใหเกิดโรค

vสวนใหญเปนแบคทีเรีย

vPathogenic microorganism

vเปนพวกที่ไมสรางสปอร (non-spore forming bacteria)

vวัณโรค ไทฟอยด อหิวาตกโรค คอตีบ

60
www.themegallery.com
สวนประกอบของอาหาร

v อาหารบางชนิดไมสามารถใชอุณหภูมิ > 100 oC เพราะอาจ


ทําใหคุณลักษณะของอาหารเสียไป

61
www.themegallery.com
การแบงกลุม ของอาหารตามความเปนกรด-ดาง (pH)

vpH ของอาหารมีผลตอการเจริญเติบโตของจุลนิ ทรียท ส่ี รางสปอร

vClostridium botulinum ไมเจริญเติบโตในอาหารที่มี pH ต่ํากวา 4.5

vอาหารยิ่งมีความเปนกรดสูง สปอรยิ่งทําลายไดงาย

62
www.themegallery.com
การแบงกลุม ของอาหารตามความเปนกรด-ดาง (pH)

1. อาหารทีเ่ ปนกรดสูง (High acid food)


vpH < 3.7

vอาหารหมักดอง

vผลไม และ น้ําผลไมที่มีรสเปรี้ยว

63
www.themegallery.com
การแบงกลุมของอาหารตามความเปนกรด-ดาง (pH)

2. อาหารทีเ่ ปนกรด (Acid food)

vpH = 3.7 - 4.5

vมะเขือเทศ สม สับปะรด ลิ้นจี่ หรือ


ผลิตภัณฑอาหารทีใ่ ส กรดอินทรียล งไป

vกลุม 1 และ 2 ใชอุณหภูมิ < 100 oC ® ปลอดภัย

64
www.themegallery.com
การแบงกลุมของอาหารตามความเปนกรด-ดาง (pH)

3. อาหารที่มีความเปนกรดต่ํา (Low acid food)

v pH > 4.5

vเนือ้ สัตวตา งๆ นม และผักตางๆ

vใชอุณหภูมิ > 100 oC เพือ่ ใหปลอดภัย

65
www.themegallery.com
ระดับความรอนที่ใชจึงแบงเปน 3 ระดับ

1. การใชความรอนต่าํ กวาจุดเดือด (Temp < 100 oC)

2. การใชความรอนขนาดจุดเดือด (Temp = 100 oC)

3. การใชความรอนสูงกวาจุดเดือด (Temp > 100 oC)

66
www.themegallery.com
การใชความรอนต่ํากวาจุดเดือด (Pasteurization)

vวัตถุประสงค:
1. อาหารนั้นถาใช temp > 100 oC คุณสมบัตขิ องอาหารเสียไป
2. มุง ทําลายแบคทีเรียทีก่ อ ใหเกิดโรค เชน เชือ้ วัณโรค ไทฟอยด อหิวาต
3. พาสเจอไรซไมไดทาํ ลายจุลนิ ทรียท ง้ั หมดแตอาจมีแบคทีเรียทีท่ นความรอนเหลือ

อาหารที่ผานกระบวนการนี้จึงตองเก็บที่อุณหภูมิต่ําเพื่อระงับการเจริญเติบโตของ
จุลินทรียที่เหลืออยูห รือปองกันการงอกของสปอรของแบคทีเรีย

67
www.themegallery.com
การพาสเจอไรซ ทําได 2 ระบบ คือ
1. ระบบชา (Low Temperature Long Time, LTLT)
- Temp 60 oC, 30 นาที แลว cooling ทันที

2. ระบบเร็ว (High Temperature Short Time, HTST)


vTemp 72 oC, 15 นาที แลว cooling
vใชในอุตสาหกรรมอาหารเปนระบบ continuous เครื่องมือที่ใชเปนแบบ
เฉพาะ
vปลอยใหอาหารเหลวไหลผานแผนแลกเปลีย่ นความรอน (Plate heat
exchanger) แลว cooling

68
www.themegallery.com
2. ระบบเร็ว (High Temperature Short Time, HTST)

2.1 การใชความรอนขนาดจุดเดือด (100 oC)


- ทําลายจุลินทรียทุกชนิด ยกเวนสปอรของแบคทีเรีย
- นิยมใชผลิตพวกผักผลไม

2.2 การใชความรอนสูงกวาจุดเดือด (Sterilization)


- ใชอุณหภูมิ > 100 oC ภายใตความดันสูงเพื่อทําลายจุลินทรีย
และสปอรทง้ั หมดในอาหาร
- ในทางทฤษฎีจะ sterilize อาหารอยางสมบูรณจนไมมี
จุลินทรียเหลือ แตในทางปฏิบัติจริงๆ ทําไมได
69
www.themegallery.com
การสเตอริไรซทางการคา (Commercial sterilization)

vหมายถึง การใชอุณหภูมิและเวลานานเพียงพอที่จะทําลายสปอรของ
จุลนิ ทรียแ ละจุลนิ ทรียท ง้ั หมด ถามีจลุ นิ ทรียท ท่ี นความรอนสูง
เหลืออยู ไมควรเปนชนิดที่เปนพิษหรือทําใหอาหารเสื่อมเสีย

vอาหารกระปอง นม UHT (Ultra High Temperature or Ultra Heat


Treatment)
135-150 oC, 1-4 วินาที แลวบรรจุสภาพปลอดเชื้อ

70
www.themegallery.com
การสเตอริไรซทางการคา (Commercial sterilization)

vอาหารทีป่ ลอดเชือ้ ทางการคาตองไมมจี ลุ นิ ทรียท เ่ี ปนพิษหรือ


เกิดโรคอยู แตอาจมีจลุ นิ ทรียท ท่ี นอุณหภูมสิ ูงเหลือแตเจริญ
ไมไดในสภาพปกติที่ใชเก็บรักษาอาหาร

71
www.themegallery.com
การถนอมอาหารโดยใชความเย็น
การใชความเย็นมี 2 ลักษณะ (ตามระดับความเย็น)

vการแชเย็น (Chilling) : Temp = 0-8 oC

v การแชแข็ง (Freezing) : Temp < 0 oC

72
www.themegallery.com
การแชเย็น (Chilling)
vวัตถุประสงคเพื่อลดอัตราการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา
ทางเคมี จุลินทรีย ทําใหยืดอายุการเก็บรักษาอาหารสด เชน
ผักและ ผลไมสด หรือ อาหารแปรรูปไดนานขึน้ เปนสัปดาห

vมีผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงคุณคาทางโภชนาการและคุณภาพ
ทางดานประสาทสัมผัสนอยมาก

vอาจใชรวมกับวิธีการถนอมอาหารอื่นๆ เชน การหมัก การฉายรังสี


และ การพาสเจอไรซ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาอาหารที่ผานการ
เก็บรักษาอาหาร ทีผ่ า นการแปรรูปบางสวนใหนานขึน้
73
www.themegallery.com
การแชเย็น (Chilling)

vชวยกําจัดความรอนทีต่ ดิ มากับอาหาร คือ sensible heat หรือ field


heat และความรอนที่เกิดจากการหายใจเพื่อ oxidize น้ําตาล
ดังสมการ

C6H12O6 + 6O2 6CO2 + 6H2O + 2.835 x 106 KJ

74
www.themegallery.com
ความรอนที่เกิดจากการหายใจของผักและผลไม

75
www.themegallery.com
ปจจัยทีช่ ว ยควบคุมอายุการเก็บของอาหารทีแ่ ชเย็น
vชนิดของอาหารและพันธุข องผักและผลไม

vพืชที่มีอัตราการหายใจสูง อายุการเก็บรักษาสั้น

vความแกออ นและการปนเปอ นของจุลนิ ทรีย

vอุณหภูมิระหวางการขนสงและการเก็บรักษาปลายทาง

vความชื้นสัมพัทธระหวางการเก็บรักษา 76
www.themegallery.com
อายุการเก็บรักษาของอาหารแชเย็น
3

77
www.themegallery.com
อายุการเก็บรักษาของอาหารแปรรูปแชเย็น ขึน้ กับ
vชนิดของอาหาร

vปริมาณจุลินทรียและเอนไซมที่ถูกทําลายในกระบวนการแปรรูป

vการควบคุมสุขอนามัยระหวางการแปรรูปและการบรรจุ

vสมบัติของภาชนะบรรจุ

vอุณหภูมิระหวางการขนสง เก็บรักษา และวางจําหนาย 78


www.themegallery.com
การแชเย็น (Chilling)
vการจัดสงอาหารแชเย็นเพื่อจําหนายจะประสบความสําเร็จ ขึน้ อยูก บั ระบบ
การจัดสงและจัดจําหนายที่ตองมีหองเย็นสําหรับขนสงและเก็บรักษา
โดยเฉพาะอาหารทีม่ คี วามเปนกรดต่าํ ซึง่ อาจมีการปนเปอ นของจุลนิ ทรียท ่ี
ทําใหเกิดโรคได

vการแชเย็นไมสามารถกระทําไดกบั อาหารทุกชนิด โดยเฉพาะผัก ผลไม


เขตอบอุน และเขตรอน เมือ่ ไดรบั อุณหภูมติ าํ่ (3-10 oC) จะเกิดอาการ
สะทานหนาว (chilling injury)

vการเก็บรักษาผักและผลไมเขตรอนควรใชวธิ กี ารควบคุมสวนประกอบของ
บรรยากาศรวมดวย (ลด O2 เพิม่ CO2)

79
www.themegallery.com
Chilling symptoms

Fig 4. Pitting, shrivelling and yellowing of cucumber held at 0°C for 4 days.

80
www.themegallery.com
Chilling symptoms

Fig. 5 Abnormal/uneven ripening of green tomatoes stored at 3°C


and subsequently ripened at room temperature.

81
www.themegallery.com
ผลของ Chilling ตออาหาร
vมีผลตอคุณคาทางดานโภชนาการเล็กนอย : อาหารที่ทําใหสุกแลว
นําไปแชเย็นอาจมีการสูญเสียวิตามินบี 1, บี2 และวิตามินเอบาง แต
วิตามินซีจะสูญเสียประมาณ 3.3-16% ตอวันที่ T = 2 oC

vการสูญเสียวิตามินจะผันแปรตามระยะเวลาที่แชเย็น อุณหภูมิที่ใช
เก็บรักษา ปริมาณออกซิเจนในบรรยากาศที่เก็บ และ ภาวะที่ใชใน
การอุน อาหาร

82
www.themegallery.com
การแชแข็ง (Freezing )
vใชอุณหภูมิต่ํากวา freezing point

vนําอาหารมาแชเยือกแข็งจนแข็งตัวที่อุณหภูมิต่ํามากๆ

vน้ําแข็งที่อยูใน cell ของอาหารกลายเปนน้าํ แข็ง

vนิยมใชที่ Temp ~ -18 oC

83
www.themegallery.com
การแชแข็ง (Freezing)
vไมไดเปนการทําลายจุลินทรียแตระงับการเจริญเติบโต ยกเวนที่
ทนความเย็นไมได

vชะลอปฏิกิริยาของเอนไซมใหเกิดไดชาลง อาจใชวิธีอื่นรวมกับ
การแชเยือกแข็ง เชน การลวก

vลักษณะของอาหารที่ผานการแชเยือกแข็งไมเปลี่ยนแปลง

vคุณคาทางอาหารไมเปลี่ยนแปลงมาก
84
www.themegallery.com
วิธกี ารแชเยือกแข็ง มี 2 วิธี คือ

vการแชเยือกแข็งแบบชา (Slow freezing)

vการแชเยือกแข็งแบบเร็ว (Quick Freezing)

85
www.themegallery.com
การแชเยือกแข็งแบบชา (Slow Freezing)
vใชเวลาในการแชเยือกแข็งนาน ประมาณ 3-72 ชม.
vการแชเยือกแข็งอาหารในตูเย็น
vมีผลึกน้าํ แข็งขนาดใหญและมีขนาดไมสม่าํ เสมอ เกิดภายนอกเซล
vระหวางการแชเยือกแข็งน้ําที่อยูใน cell มีการ diffusion ออกนอก
เซล แลวแข็งตัว
vผลึกน้าํ แข็งจะไปทิม่ แทงผนังเซลของเนือ้ เยือ่ อาหาร
vเซลบอบช้ํา ฉีกขาด
vหลังจากนําอาหารออกมาละลายน้าํ แข็ง (thaw) เซลจะบอบช้ํา
สารอาหารจะไหลอออกมาขางนอก ชุม น้าํ
86
www.themegallery.com
การแชเยือกแข็งแบบเร็วและแบบชา

87
www.themegallery.com
การแชเยือกแข็งแบบเร็ว (Quick freezing)

vใชเวลาในการทําใหอาหารแข็งตัวสั้น (ไมเกิน 30 นาที, อุณหภูมิ


-18 oC ถึง - 40 oC
vน้ําสวนใหญที่อยูในอาหารจะกลายเปนผลึกน้ําแข็งละเอียดอยู
ภายในเซล
vไมมีปญหาเรื่องการสูญเสียของเหลวออกจากเซลและคุณคาทาง
อาหาร
vนิยมใชในอุตสาหกรรมอาหาร
vตองมีสารที่ทําใหเกิดความเย็น (refrigerant)

88
www.themegallery.com
การเปลีย่ นแปลงทีอ่ าจเกิดขึน้ ระหวางเก็บรักษาอาหารแชเยือกแข็ง

vการเสือ่ มสลายของรงควัตถุ :
- ผักสีเขียวอาจมีการสูญเสีย chlorophyll อยางชาๆ เปลีย่ นเปนสีนาํ้ ตาล
- ผลไมมกี ารเปลีย่ นแปลง pH มีผลตอการเปลีย่ นสีของ anthocyanin

vการสูญเสียวิตามิน : วิตามินทีล่ ะลายไดในน้าํ เชน วิตามินซี

vActivity ของเอนไซมทเ่ี หลืออยู: การลวกไมดี

vOxidation ของ lipid : เกิดไดชา ที่ -18 oC

89
www.themegallery.com
การควบคุมอุณหภูมขิ องสินคาแชเยือกแข็ง

v ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก. 928-2533 เรื่องกําหนดสุขลักษณะ


สําหรับอาหารแชเยือกแข็ง ในการขนสงสินคาตองควบคุมอุณหภูมิของ
อาหารแชเยือกแข็งไมใหเกิน -12 องศาเซลเซียส

90
www.themegallery.com
การควบคุมคุณภาพอาหาร
(Food Quality Control)

91
การควบคุมคุณภาพอาหาร

vการควบคุมคุณภาพอาหาร เปนความพยายามที่จะรักษาคุณภาพ
อาหารใหคงอยูต ลอดไปเพือ่ ใหอาหารเปนทีพ่ อใจของผูบ ริโภค
และมีความปลอดภัยในการบริโภค

92
www.themegallery.com
Steps to quality assurance

vProduct specification
vRaw material control
vProcess control: CCP
vLaboratory control
vHouse keeping control
vQuality control/ Product control
vStaff training control
vStorage distribution control
93
www.themegallery.com
ระบบคุณภาพอาหาร (Quality System)

รูปที่ 7 ลําดับขั้นตอนของระบบคุณภาพอาหารที่ดี
94
www.themegallery.com
5ส

v5 ส เปนกิจกรรมพืน้ ฐาน ซึง่ เปนการปูพน้ื ฐานการจัดการในองคกร เพือ่ เพิม่


ประสิทธิภาพ ทัง้ ดานการผลิต, คุณภาพ, ตนทุน, การจัดสง, ความปลอดภัย,
ขวัญกําลังใจ, สภาพแวดลอม
v5 ส ประกอบดวยขั้นตอน และเปาหมายดังนี้

รูปที่ 8 ขัน้ ตอน และเปาหมายของ 5 ส 95


www.themegallery.com
Minimum Requirement
vเปนหลักเกณฑขน้ั ต่าํ ในการดําเนินงานผลิตอาหาร
vมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูผลิตจัดสถานที่ เครื่องจักร และใหมีการ
ดําเนินการในหลักการขั้นต่ําในเรื่องสุขาภิบาล และสุขลักษณะ
เบือ้ งตน
vปจจุบันกระทรวงสาธารณสุขไดมีการพัฒนาการควบคุมสถานที่
ผลิต และกระบวนการผลิต โดยใชหลักของ GMP

96
www.themegallery.com
GMP ( Good Manufacturing Practice)

vGeneral Principles of Food Hygiene

vเปนหลักเกณฑวธิ กี ารทีด่ ีในการผลิตอาหารทีไ่ ดรบั การยอมรับ


จากนานาประเทศวาทําใหอาหารมีความปลอดภัยอยางแทจริง

vเกณฑหรือขอกําหนดพื้นฐานที่จําเปนในการผลิตและการ
ควบคุมเพื่อใหผูผลิตปฏิบัติตามและทําใหสามารถผลิตอาหารได
อยางปลอดภัย

97
www.themegallery.com
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทัว่ ไป
v มีอยู 6 ขอกําหนดดังนี้
1. สถานทีต่ ง้ั และอาคารผลิต

ที่ตั้งและสิ่งแวดลอม จะตองอยูในที่
ไมกอ การปนเปอนไดงา ย โดย
บริเวณรอบตัวอาคารจะตอง
สะอาด หลีกเลีย่ งสิง่ แวดลอมที่
อาจกอใหเกิดการปนเปอ นและ
ควรมีมาตรการปองกันการ
ปนเปอ นจากภายนอกเขาสู
บริเวณผลิต

98
www.themegallery.com
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทัว่ ไป
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทัว่ ไป
อาคารผลิต มีขนาดเหมาะสม งายตอการบํารุงรักษา, ทําความสะอาด, และ
สะดวกกอการปฏิบัติงาน
- บริเวณผลิต ตองแยกออกเปนสัดสวน, จัดพื้นที่ใหเพียงพอที่จะติดตั้ง
เครื่องมือ และอุปกรณในการผลิต ปองกันการปนเปอนขามจากวัตถุดิบสู
ผลิตภัณฑ, บริเวณเก็บวัตถุดบิ ภาชนะ และสารเคมี ตองเปนสัดสวนไม
ปะปนกัน
- พืน้ ฝาผนัง และเพดาน ทําดวยวัสดุทท่ี นทาน แข็งแรง
- ระบบระบายอากาศ และแสงสวาง ควรมีอยางเพียงพอ

99
www.themegallery.com
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทัว่ ไป

100
www.themegallery.com
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทัว่ ไป
2. เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณที่ใชในการผลิต

- เครือ่ งมือ เครือ่ งจักร และอุปกรณทส่ี มั ผัสอาหาร ควรทําจากวัสดุทม่ี ที าํ


ปฏิกิริยากับอาหาร แข็งแรง ทนทาน และ พื้นผิวเรียบ เพื่องายตอการทําความ
สะอาด
- การออกแบบ และการติดตัง้ ตองคํานึงถึงการปองกันการปนเปอน และ
สามารถใชงา ยไดสะดวก

101
www.themegallery.com
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทัว่ ไป
- จํานวนเครือ่ งมือ เครือ่ งจักร และอุปกรณ ตองมีอยางเพียงพอ และเหมาะสม
ตองาน
- การแบงประเภทของภาชนะที่ใช ควรแยกประเภทสําหรับใสอาหาร ใสขยะ
และใสของเสีย ออกจากกันอยางชัดเจน
- การจัดเก็บ ควรแยกเก็บอุปกรณเปนสัดสวน เพือ่ ไมใหมีโอกาสเกิดการ
ปนเปอน

102
www.themegallery.com
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทัว่ ไป
3. การควบคุมการผลิต
- วัตถุดบิ สวนผสม และภาชนะบรจุ ควรคัดเลือกวัตถุดิบที่มีคุณภาพดี, และ
จัดเก็บอยางเปนระบบ ภายใตภาวะทีเ่ หมาะสม

- น้าํ น้าํ แข็ง และไอน้าํ ทีส่ มั ผัสกับอาหาร


ตองมีคณ ุ ภาพตามมาตรฐานตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข

103
www.themegallery.com
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทัว่ ไป

- การผลิต การเก็บรักษา การขนยาย


และการขนสงผลิตภัณฑอาหาร ตอง
ดําเนินการภายใตการควบคุมภาวะที่
เหมาะสม เพื่อปองกันการเสื่อมเสีย
ของอาหารและการปนเปอน
- การควบคุมอุณหภูมแิ ละเวลาการผลิต
อาหาร ตองมีการพิจารณาทุกขั้นตอน
โดยเฉพาะขั้นตอนการใหความรอนใน
การฆาเชื้อ การทําใหเย็น การแปรรูป
และการเก็บรักษา

104
www.themegallery.com
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทัว่ ไป

- การบันทึก และรายงานผล เพื่อ


เปนขอมูลตรวจสอบยอนกลับได
ในกรณีที่เกิดปญหา

105
www.themegallery.com
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทัว่ ไป

4. การสุขาภิบาล เปนเกณฑสาํ หรับสิง่ อํานวยความสะดวกในการปฏิบตั งิ าน


เพื่อใหการผลิตมีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ไดแก
- น้ําที่ใชในโรงงาน ตองเปนน้ําที่สะอาด
- อางลางมือหนาทางเขาบริเวณการผลิต ตองมีจํานวนเพียงพอมีสบูเ หลว
สําหรับลางมือ

106
www.themegallery.com
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทั่วไป

- หองน้ํา ตองสะอาดถูกสุขลักษณะ และไมเปดสูบริเวณการผลิตโดยตรง


- การปองกัน และกําจัดแมลง ตองมีมาตรการในการปองกันเพือ่ ลดความ
เสี่ยงที่จะปนเปอนในอาหาร
- ระบบกําจัดขยะมูลฝอย มีจํานวนที่เพียงพอ
และเหมาะสม โดยถังรองรับขยะควรมีฝาปด
- ทางระบายน้ําทิ้ง ตองมีอุปกรณดกั เศษอาหาร
อยางเหมาะสม เพื่อปองกันการอุดตัน

107
www.themegallery.com
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทัว่ ไป

5. การบํารุงรักษา และการทําความสะอาด จะชวยใหการทํางานเปนไปอยางมี


ประสิทธิภาพ และ สงเสริมการปองกันการปนเปอ น

108
www.themegallery.com
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทัว่ ไป

6. บุคลากร ควรไดรับการดูแลสุขภาพ
และ ความสะอาดสวนบุคคล รวมทัง้
การฝกอบรมเพื่อพัฒนาจิตสํานึก
และ ความรูในการปฏิบัติงานอยาง
ถูกตองและเหมาะสม

109
www.themegallery.com
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทัว่ ไป

110
www.themegallery.com
ขอกําหนด GMP สุขลักษณะทัว่ ไป

111
www.themegallery.com
HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point)

vเปนระบบวิเคราะหอนั ตราย และควบคุมจุดวิกฤติ เพือ่ เพิม่ ความปลอดภัยแก


อาหาร
vผูผลิตที่จะดําเนินการจัดทําระบบนี้จะตองมีพนื้ ฐานในเรื่องระบบ GMP
vระบบ HACCP จะครอบคลุมถึงการปองกันปญหาจากอันตราย 3 สาเหตุ
ไดแก ชีวภาพ เคมี และกายภาพ

112
www.themegallery.com
HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point)
v หลักการของมาตรฐาน ระบบ HACCP มีดังนี้
1. ดําเนินการวิเคราะหอนั ตราย
2. หาจุดวิกฤติที่ตองควบคุม
3. กําหนดคาวิกฤติ
4. กําหนดวิธกี ารตรวจสอบจุดวิกฤติทต่ี อ งการควบคุม
5. กําหนดวิธกี ารแกไข เมือ่ ตรวจสอบพบวาจุดวิกฤติทต่ี อ งการควบคุมจุดใด
จุดหนึง่ มีความผิดพลาด หรือไมอยูภ ายใตการควบคุม
6. กําหนดวิธกี ารตรวจสอบทบทวนระบบ HACCP เพือ่ ยืนยันวาการใช
ระบบ HACCP ยังมีประสิทธิภาพดี
7. กําหนดวิธกี ารจัดทําเอกสารขอมูลตางๆ ทีเ่ กีย่ วกับวิธกี ารทีใ่ ชในการ
ดําเนินการทัง้ หมด และบันทึกขอมูลตางๆ ตามหลักการ และ การใช

113
www.themegallery.com
การกําหนดจุดควบคุมวิกฤต โดยใช CCP Decision Tree

114
www.themegallery.com
HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point)

v ประโยชนจากการใช HACCP :

1. เนือ่ งจากการใชระบบ HACCP ในการประกันคุณภาพนัน้ เปนการเลือกจุด


วิกฤตของแตละขัน้ ตอนมาทําการควบคุม เปนการชวยลดปริมาณ
ของ Q.A. ลง
2. สามารถชวยลดตนทุนการผลิตบางจุดลงได เชน ตนทุนที่จะตองใชในการ
ทํางานของ Q.A. ตนทุนทีจ่ ะตองสูญเสียไป เนือ่ งจากผลิตภัณฑมคี ณ
ุ ภาพ
ไมไดมาตรฐาน
3. ผลิตภัณฑมคี วามปลอดภัยตอผูบ ริโภคสูงขึน้
4. ผลิตภัณฑทผ่ี ลิตสามารถสงไปจําหนายยังตางประเทศได เนือ่ งจากขณะนี้
ประเทศตางๆ ตางยอมรับการใชระบบ HACCP ในการประกันคุณภาพของ
ผลิตภัณฑอาหาร
115
www.themegallery.com
เอกสารอางอิง
v คณาจารยภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร. 2539. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ทางอาหาร. ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทางอาหา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
v สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. 2544. แนวทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี
(จี.เอ็ม.พี). ศูนยประสานงานพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑสขุ ภาพชุมชน สํานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภณ ั ฑ.
v Potter, N. N., and Hotchkiss, J. H. 1995. Food Science. 5th ed. New York: Chapman
and Hall.
v Stewart, G. F., and Amerine, M. A. 1982. Introduction to Food Science and Technology.
2nd ed. New York: Academic Press.

116
www.themegallery.com
117

You might also like