Chord 5

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

บทที่ 5

คอรด (Chord)

คอรด (Chord) หมายถึงกลุมเสียงที่มีความแตกตางกัน ประกอบดวยโนตตั้งแต 3 ตัวขึน้ ไป ถา


เปลงเสียงออกมาพรอมกันจะเปนลักษณะ การตีคอรด (Block chord) ถาเปลงเสียงออกมาทีละเสียงจะ
เปนลักษณะ การเกาคอรด (Broken chord) ดังรูป 5.1

Block chord Broken chord

รูป 5.1 ลักษณะของคอรด

5.1 ตรัยเอต (Triad)


ตรัยเอต (Triad) คือ เปนคอรดพื้นฐานที่ประกอบดวยตัวโนต 3 ตัว ที่มีโครงสรางแนนอน ดัง
รูป 5.2 นี้
− โนตตัวลางสุด เรียกวา โนตพื้นตน (root) หรือโนตตัวที่ 1
− โนตตัวกลาง เรียกวา โนตตัวที่ 3 เพราะหางกันเปนขั้นคู 3 จากโนตตัวที่ 1
− โนตตัวบน เรียกวา โนตตัวที่ 5 เพราะหางกันเปนขั้นคู 5 จากโนตตัวที่ 1

รูป 5.2 ตัวโนต 3 ตัวใน triad

การพลิกกลับของ Triad สามารถพลิกกลับได 2 ครั้ง ดังรูป 5.3

บทที่ 5 คอรด (Chord) 1


− รูปพื้นตน (root position) การวางเรียงตัวโนตของ triad คือ โนตตัวลางสุด / โนต
ตัวกลาง (หางเปนขั้นคู 3 จากโนตตัวลางสุด) / โนตตัวบน (หางเปนขั้นคู 5 จากโนต
ตัวลางสุด)

− การพลิกกลับครั้งที่ 1 (first inversion) คือ การที่ โนตพืน้ ตน (root) ถูกเปลีย่ น


ตําแหนงใหสูงขึ้นเปนขั้นคู 8 (1 octave) ดังนั้น โนตตัวที่ 3 อยูตําแหนงลางสุด,
โนตตัวที่ 5 จะเปนโนตตัวกลาง และ โนตพื้นตน (root) จะกลายเปนโนตตัว
บนสุด

− การพลิกกลับครั้งที่ 2 (second inversion) คือ การที่โนตพื้นตน และ โนตตัวที่ 3


ถูกเปลี่ยนตําแหนงใหสูงขึ้น 1 octave ทําใหโนตทั้งสองตัวอยูเหนือกวา โนตตัวที่ 5
ดังนั้น โนตตัวที่ 5 อยูตําแหนงลางสุด, โนตพื้นตน (root) จะเปนโนตตัวกลาง
และ โนตตัวที่ 3 จะกลายเปนโนตตัวบนสุด

root position first inversion second inversion

รูป 5.3 การพลิกกลับของ triad

ชนิดของ Triad มี 4 ชนิด แตละชนิดจะมีโครงสรางในรูปพื้นตน (root position) ดังตาราง


5.1 นี้
ตาราง 5.1 ชนิดของ triad

1. Major triad ประกอบดวย root + ขั้นคู Major 3rd + ขั้นคู Perfect 5th C

2. Minor triad ประกอบดวย root + ขั้นคู Minor 3rd + ขั้นคู Perfect 5th Cm

3. Augmented triad ประกอบดวย root + ขั้นคู Major 3rd + ขั้นคู Augmented 5th C+

4. Diminished triad ประกอบดวย root + ขั้นคู Minor 3rd + ขั้นคู Diminished 5th Co หรือ Cdim

บทที่ 5 คอรด (Chord) 2


คอรดในกุญแจเสียง C เมเจอร ดังรูป 5.3 นี้

รูป 5.3 ชนิดของ Triad ในบันไดเสียง C เมเจอร

คอรดในกุญแจเสียง A ไมเนอร ดังรูป 5.4 นี้

รูป 5.4 ชนิดของ Triad ในบันไดเสียง A ไมเนอร

5.2 คอรดทบเจ็ด (Seventh chord)

คอรดทบเจ็ด (Seventh chord) หมายถึงคอรดขั้นพื้นฐาน (triad) ทบดวยโนตตัวที่ 7 ของ


คอรด ดังรูป 5.5 ดังนัน้ คอรดทบเจ็ดประกอบดวยโนต 4 ตัว ไดแก โนตตัวที่ 1, 3, 5, 7 (มีระยะหาง
กันเปนระยะขั้นคู 3) คอรดทบเจ็ดทั้งหลายจัดเปนคอรดเสียงกระดางทั้งสิ้น เพราะคู 7 ที่เกิดจากการ
ทบโนตเปนขั้นคูเสียงกระดาง แตมีระดับความกระดางมากนอยตางกัน เชนขั้นคู 7 ไมเนอรมคี วาม
กระดางนอยกวาขั้นคู 7 เมเจอร

ดังรูป 5.5 ตัวโนต 4 ตัวใน Seventh chord

การพลิกกลับของคอรดทบเจ็ด สามารถพลิกกลับได 3 ครั้ง ดังรูป 5.6


− รูปพื้นตน (root position) วางเรียงตัวโนตแบบ โนตตัวที่ 1 / โนตตัวที่ 3 / โนตตัว
ที่ 5 / โนตตัวที่ 7

บทที่ 5 คอรด (Chord) 3


− การพลิกกลับครั้งที่ 1 (first inversion) คือ การที่โนตตัวที่ 1 ถูกเปลี่ยนตําแหนงให
สูงขึ้น 1 octave ดังนั้น โนตตัวที่ 3 อยูตําแหนงลางสุด, โนตตัวที่ 5 จะเปนโนต
อันดับ 2 และ โนตตัวที่ 7 จะกลายเปนโนตอันดับ 3 และ โนตตัวที่ 1 จะเปนตัว
บนสุด
− การพลิกกลับครั้งที่ 2 (second inversion) คือ การที่โนตตัวที่ 1 และ โนตตัวที่ 3
ถูกเปลี่ยนตําแหนงใหสูงขึ้น 1 octave ทําใหโนตทั้งสองตัวอยูเหนือกวา โนตตัวที่ 5 และ
โนตตัวที่ 7 ดังนั้น โนตตัวที่ 5 อยูตําแหนงลางสุด, โนตตัวที่ 7 จะเปนโนตอันดับ
2, โนตตัวที่ 1 จะเปนโนตอันดับ 3 และ โนตตัวที่ 3 จะกลายเปนโนตตัวบนสุด
− การพลิกกลับครั้งที่ 3 (third inversion) คือ การที่โนตตัวที่ 1, โนตตัวที่ 3 และโนต
ตัวที่ 5 ถูกเปลี่ยนตําแหนงใหสูงขึ้น 1 octave ทําใหโนตทั้งสามตัวอยูเหนือกวา โนตตัว
ที่ 7 ดังนั้น โนตตัวที่ 7 อยูตําแหนงลางสุด, โนตตัวที่ 1 จะเปนโนตอันดับ 2,
โนตตัวที่ 3 จะเปนโนตอันดับ 3 และ โนตตัวที่ 5 จะกลายเปนโนตตัวบนสุด

root position first inversion second inversion Third inversion

รูป 5.6 การพลิกกลับของ seventh chord

ชนิดของคอรดทบเจ็ดมี 7 ชนิด แตละชนิดจะมีโครงสรางตายตัวในรูป root position ดัง


ตาราง 5.2 นี้
ตาราง 5.2 ชนิดของ seventh chord

1. Major – major seventh chord (เรียกวา Major 7th) ประกอบดวย Major triad (root + ขั้นคู Major 3rd +
CM7
ขั้นคู Perfect 5th) + Major 7th เปนคอรดทบเจ็ดที่มีเสียงกระดางมาก นิยมใชนอ ย
2. Major – minor seventh chord (เรียกวา Dominant 7th) ประกอบดวย Major triad (root + ขั้นคู Major 3rd
C7
+ ขั้นคู Perfect 5th) + Minor 7th เปนคอรดทบเจ็ดนิยมใชมากทีส่ ดุ
3. Minor – minor seventh chord (เรียกวา Minor 7th) ประกอบดวย Minor triad (root + ขั้นคู Minor 3rd +
Cm7
ขั้นคู Perfect 5th) + Minor 7th เปนคอรดทบเจ็ดทีม่ เี สียงกระดางไมมาก
บทที่ 5 คอรด (Chord) 4
4. Minor – major seventh chord ประกอบดวย Minor triad (root + ขั้นคู Minor 3rd + ขั้นคู Perfect 5th) +
CmM7
Major 7th ใหเสียงที่กระดางมากกวา Minor 7th พบคอนขางนอย
5. Augmented – major seventh chord (เรียกวา Augmented 7th) ประกอบดวย Augmented triad (root + ขั้น
คู Major 3rd + ขั้นคู Augmented 5th) + Major 7th เปนคอรดทบเจ็ดที่ใหเสียงกระดางมากที่สุด
CAug7
เนื่องจากทั้งคอรดพื้นฐานและเสียงของขั้นคู 7 เมเจอรเปนเสียงที่กระดางมาก เปนคอรดทีไ่ มนยิ ม
ใช
6. Diminished – minor seventh chord (เรียกวา Halfly Diminished 7th) ประกอบดวย Diminished triad (root
Cm7-5
+ ขั้นคู Minor 3rd + ขั้นคู Diminished 5th) + Minor 7th
7. Diminished – diminished seventh chord (เรียกวา Fully Diminished 7th) ประกอบดวย Diminished triad
(root + ขั้นคู Minor 3rd + ขั้นคู Diminished 5th) + Diminished 7th เปนคอรดทีน่ ยิ มใชมาก รองจาก Cdim7
Dominant 7th ใหเสียงกระดางในระดับไมรนุ แรง

คอรดในกุญแจเสียง C เมเจอร ดังรูป 5.7 นี้

รูป 5.7 ชนิดของ Seventh chord ในบันไดเสียง C เมเจอร

คอรดในกุญแจเสียง A ไมเนอร ดังรูป 5.8 นี้

รูป 5.8 ชนิดของ Seventh chord ในบันไดเสียง A ไมเนอร

บทที่ 5 คอรด (Chord) 5

You might also like