Introduction To Pediatrics

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

1

Introduction to Pediatrics
วัฒนา ชาติอภิศักดิ์ พ.บ.

กุมารเวชศาสตรคอื วิชาทีเ่ กีย่ วของกับเด็กในแงของสุขภาพ การเจริญเติบโตและ พัฒนาการ ตัง้ แตวยั ทารก วัยเด็กเล็ก
เด็กโต จนกระทั่งถึงวัยรุน เพื่อที่จะใหเด็กเหลานี้ใดมีโอกาสที่จะมีศักยภาพสมบูรณเมื่อเปนผูใหญ
จุดมุง หมายของแพทยทดี่ แู ลเด็กคือ ความพยายามทีจ่ ะทําใหเด็กและครอบครัวไดรบั การบริการทางสุขภาพทีเ่ หมาะสม
และทําใหเด็กและครอบครัวมีความเปนอยูท ดี่ ี แพทยผดู แู ลเด็กจึงตองใหความสนใจทัง้ ในแงการพัฒนาทางกายภาพ สมอง
อารมณ และนอกจากนัน้ ยังตองคํานึงถึงปจจัยทางสิง่ แวดลอมและ สังคมซึง่ จะมีผลกระทบตอสุขภาพของเด็กดวย ทัง้ นีเ้ นือ่ งจาก
เด็กเปนกลุม เสีย่ งมากทีส่ ดุ ทีจ่ ะไดรบั ผลกระทบดังกลาวจากสังคม ดังนัน้ เด็กถือวาเปนกลุม ทีค่ วรจะไดรบั การดูแลเปนพิเศษ
เด็กไมใชผูใหญตัวเล็กๆ คํากลาวนี้เปนจริงเสมอเนื่องจากเด็กนั้นมีพัฒนาการในแตละอายุซึ่งตางจากในผูใหญ
ดังนั้นเราจึงจําเปนที่จะตองทราบพัฒนาการในดานตางๆ ของเด็กแตละวัยเพื่อที่จะไดเปนขอมูลมาสูการประเมินสุขภาพ
ของเด็กวัยตางๆ ทั้งทางกายภาพ อารมณ สังคม ความรูพื้นฐานในการ ประเมิน Growth และ development ของเด็กแต
ละวัยจะนําไปสูการวินิจฉัยโรคไดเปนอยางดี
Growth assessment
เราแบงเด็กเปนกลุมอายุตางๆดังนี้

New born ทารกแรกคลอด


Infant 1 เดือนถึง 1 ป
Preschool age 1 ถึง 6 ป
School age 6 ถึง 10 ป
Adolescence 10 ถึง 21 ป

การประเมินการเจริญเติบโตโดยทั่วไป อาศัย Parameter ตางๆ เหลานี้คือ การชั่งนํ้าหนัก, การวัดสวนสูง, การวัดเสนรอบ


ศีรษะ ขอมูลดังกลาวสามารถนําไปสูการวินิจฉัย ภาวะตางๆ เชน Failure to thrive, short stature, hydrocephalus,
malnutrition ดังนั้นจะเห็นวาขอมูลพื้นฐานเหลานี้เปนสิ่งที่มีประโยชนและควรไดรับการดูแลทุกครั้งที่เด็กมาพบแพทย
Weight measurement
นํ้าหนักโดยเฉลี่ยของเด็กสามารถคํานวณไดจากสูตร ตามตารางที่ 1 และ ตารางที่ 2

ตารางที่ 1 นํ้าหนักเฉลี่ยของเด็กตามอายุ

Age weight (KG)


At birth 3.25
3-12 month age(month) + 9
2
1 -6 year age(year) x 2 + 8
7-12 year age (year) x 7 – 5
2

File:med307-Introduction-to-Pediatrics-wattana
2

ตารางที่ 2 นํ้าหนักของเด็กตามอายุ

อายุ นําหนั
้ กที่เพิ่มขึ้น จํานวนเทาของทารกแรกเกิด

แรกเกิด - -
0-2 เดือน 30 กรัมตอวัน -
3-6 เดือน 20 กรัมตอวัน 2 เทาเมื่ออายุ 4 เดือน
6-12 เดือน 15 กรัมตอวัน 3 เทาเมื่ออายุ 1 ป
1-2 ป 2.5 กิโลกรัม -
2-10 ป 2 กิโลกรัมตอป 4 เทาเมื่อ 2 ป
6 เทาเมื่อ 5 ป
10 เทาเมื่อ 10 ป

ตารางที่ 3 Rule of thumb for growth

1. weight loss in first few days : 5-10 % of body weight


2. return to birth weight 7-10 days of age
Double birth weight : 4-5 month
Triple birth weight : 1 year
Quadruple birth weight : 2 year
3. Average weight 3.5 Kg at birth
10 kg at 1 year
20 kg at 5 year
30 kg at 10 year
4. Daily weight gain 20-30 gm for first 3-4 month
15-20 gm for rest of the first year
5. average annual weight gain : 5 pound between first 2 year and puberty

นําหนั
้ กทีช่ งั่ ไดจะมีประโยชนในการประเมินการเจริญเติบโต และภาวะโภชนาการ โดยการเทียบเปนเปอรเซนตไทลของอายุ
และเพศนัน้ ๆ เมือ่ อางอิงกับการชัง่ นําหนั
้ กกอนหนานีห้ รือในครัง้ ตอไป ถามีการเปลีย่ นแปลงของนําหนั
้ กไปจากเปอรเซนตไทล
เดิมคอนขางมากเชน เดิมเคยอยูที่ 50-75 เปอรเซนตไทล แตวาตอมาลดลงมาที่ 10-25 เปอรเซนตไทล ก็ควรมองหาสาเหตุ
เชน ขณะนั้นมีการเจ็บปวยเกิดขึ้นจนทําใหเด็กไดรับสารอาหารไมเพียงพอหรือไม

File:med307-Introduction-to-Pediatrics-wattana
3

นอกจากนั้นการเปรียบเทียบนํ้าหนักของคนหนึ่งๆ กับคา median ของนํ้าหนักของเด็กทั่วไปที่มีอายุและเพศเดียวกัน


โดยออกมาเปนคารอยละ หรือที่เรียกวาการหา Weight for age ก็จะมีประโยชนในการประเมินภาวะทุโภชนาการโดยวิธี
ของ Gomez

ระดับการขาดอาหาร weight for age(percentile)


ไมขาดอาหาร over 90
เล็กนอย( ระดับ 1) 75-90
ปานกลาง(ระดับ 2) 60-74
รุนแรง ( ระดับ 3) less than 60

Height assessment
การวัดความสูงหรือความยาวตองอาศัยอุปกรณและวิธีการวัดที่ถูกตองจึงจะไดคาที่แมนยําในเด็กที่สามารถยืนไดดี
เราจะใชความสูงแตในเด็กเล็กที่ยังไมสามารถยืนได เราจะใชการวัดความยาว
วิธีการวัด
การวัดความยาว : ใชวัดความยาวของเด็กโดยจับใหเด็กอยูในทาprone position ขาเหยียดตรง จับศีรษะใหขอบ
กระบอกตาลางและชองหูอยูใ นแนวดิง่ ศีรษะชิดฝาดานใดดานหนึง่ ของเครือ่ งวัด เลือ่ นแผนวัดดานฝาเทาทีอ่ ยูใ นแนวตัง้ ฉาก
กับลําตัว แลวอานคาความยาว และควรระวังไมใหขางอเพื่อใหไดคาที่แมนยํา
การวัดความสูง : ใชวัดความสูงในเด็กที่ยืนไดโดยใหเด็กไมสวมรองเทาและถุงเทา ยืนตรงใหขอบกระบอกตาและชอง
หูในแนวราบ (Frankfort line) ใหสนเทา กน สวนบนของหลัง และ Occiput ชิดฝาแลวเลื่อนแผนวัดใหมาชนกับศีรษะพอดี
แลวอานคาความสูงที่วัดได
ตารางที่ 4 คาความสูงของเด็กอายุตางๆ

อายุ ความสูง (ซม.)


แรกคลอด 50
1 ป 75
2-12 ป อายุ(ป) x 6 + 77

ความสูงทีว่ ดั ไดเมือ่ นํามาเทียบเปนเปอรเซนตไทลของอายุและเพศนัน้ ๆ จะมีประโยชนในการประเมินภาวะเตีย้ (short


stature) โดยถาความสูงนอยกวา 3 เปอรเซนตไทล ควรจะมองหาสาเหตุหรือวาในกรณีทสี่ ามารถติดตามเด็กไดเปนระยะๆ
แลวมีการลดลงของเปอรเซนตไทล เชน เดิมเคยสูงอยูที่ ระดับเปอรเซนตไทลที่ 25 แตตอมาอัตราความสูงลดลงมาที่ 3
เปอรเซนตไทล หรือตํ่ากวา ในกรณีเชนนี้จึงตองหาสาเหตุตอไป
Head circumference
การวัดเสนรอบศีรษะ รวมทัง้ การตรวจรอยแยก(suture) และรอยตอของsuture (fontanells) ควรรวมอยูใ นการตรวจราง
กายดวยทุกครัง้ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในเด็กอายุตากว ํ่ า 2 ป การวัดเสนรอบศีรษะจะชวยบอกถึงการเจริญเติบโตทางกายภาพ
ของสมองอยางคราวๆ รวมทัง้ เปนการประเมินความผิดปกติในกรณีทมี่ สี งิ่ กินทีใ่ นสมอง (space occupying lesion) หรือมีภาวะ
นําคั
้ ง่ ในชองสมอง (hydrocephalus)

File:med307-Introduction-to-Pediatrics-wattana
4

วิธีการวัด head circumference ควรใหเด็กนอนหงาย แลวใชแถบวัดชนิดออน โดยวางศีรษะของเด็กบนแถบวัด ให


บริเวณทีน่ นู ทีส่ ดุ ของ occipital part ของกระโหลกศีรษะพาดบนแถบวัด และใชแถบวัดพาดผานสวนทีน่ นู ทีส่ ดุ ของ parietal
part และผานบริเวณทีน่ นู ทีส่ ดุ ของหนาผากคือประมาณสูงกวาหัวคิว้ 1 นิว้ ก็จะไดความยาวเสนรอบวงศีรษะ ตามตองการ
คาเฉลี่ยของ head circumference ในเด็กแรกคลอดเทากับ 35 เซนติเมตร
ในขวบปแรก head circumference จะเพิ่มขึ้น 1 เซนติเมตร ตอเดือน ยกเวนในสามเดือนแรกจะเพิ่มได
ประมาณ 2 เซ็นติเมตรตอ เดือน
ในกรณีที่ head circumference วัดไดนอยกวาคาที่ควรจะเปน ทําใหนึกถึงภาวะ microcephaly หรือ
premature closure of suture
ในกรณีที่ head circumference วัดไดมากกวาคาที่ควรจะเปน ทําใหนึกถึงภาวะ hydrocephalus, subdural
hematoma หรือ brain tumor
คาเฉลี่ยของ head circumference ในเด็ก

อายุ head circumference (cm.)


Birth 35
3 month 40.4
6 month 43.4
9 month 45.2
12 month 46.4
18 month 47.7
2 year 49.0
3 year 49.6
4 year 50.0
5 year 50.7
6 year 51.2
7 year 51.7
8 year 52.0
9 year 52.2
10 year 52.5

ในเด็กทารกจะมี fontanels 2 อันคือ anterior และ posterior fontanels มีลักษณะเปน diamond shape anterior
fontanel เปนรอยตอของ coronal และ saggital suture ขนาดของ anterior fontanel ในเด็กแรกคลอดโดยประมาณเทา
กับ 2 × 2 เซนติเมตร เราสามารถคลํา anterior fontanel ไดตั้งแตแรกคลอด และ anterior fontanel จะปดเมื่อเด็กอายุได
ประมาณ 18 เดือน แตสวนใหญจะปดตั้งแตอายุประมาณ 9-12 เดือน
posterior fontanel เปนรอยตอของ occipital และ parietal bone ในทารกแรกคลอดอาจจะคลําไดขนาดประมาณ
finger tip และจะปดเมื่อ 6-8 สัปดาห

Vital sign
สัญญานชีพ ประกอบดวย องคประกอบสี่อยางไดแก อุณหภูมิ, ชีพจร, อัตราการหายใจ และ ความดันโลหิต

File:med307-Introduction-to-Pediatrics-wattana
5

อุณหภูมิ
เราสามารถวัดอุณหภูมิรางกายโดยอาศัย thermometer ซึ่งมีสองชนิด ไดแก oral และ rectal thermometer ในเด็ก
อายุ 0-6 ป นิยมวัดโดยใช rectal thermometer ซึ่งอุณหภูมิปกติประมาณ 37.9 C
ในเด็กอายุมากกวา 6 ป สามารถวัดทาง oral ได คาปกติของ oral temperature ประมาณ 37.3 C
ชีพจร
ตารางที่ 5 แสดงชีพจรในเด็กอายุตางๆ

Age pulse rate ( minute)


At birth 140 ± 50
1 month 130 ± 45
1- 6 month 130 ± 45
6- 12 month 115 ± 40
1- 2 year 110 ± 40
2- 4 year 105 ± 35
6- 10 year 95 ± 30
10- 14 year 85 ± 30

ความดันโลหิต
การวัดความดันโลหิตมักจะถูกละเลยในเด็ก แตการวัดความดันโลหิตก็ถือวามีความสําคัญ เนื่องจากสามารถพบ
ภาวะความดันโลหิตสูงได โดยเฉพาะอยางยิ่งในโรคไต
The report of the second task force on blood pressure control in children 1987 ไดกําหนดคําจํากัดความ
เกี่ยวกับความดันโลหิตในเด็กไวดังนี้
Normal blood pressure หมายถึง systolic หรือ diastolic blood pressure นอยกวาเปอรเซนตไทล ที่ 90 ของความ
ดันโลหิตในอายุและเพศเดียวกันของผูนั้น
High normal blood pressure หมายถึงคาเฉลี่ยของ systolic และ / หรือ diastolic blood pressure อยูระหวาง
เปอรเซนตไทลที่ 90 ถึง 95 ของความดันโลหิตในอายุและเพศเดียวกันของผูนั้น
Hypertension หมายถึงคาเฉลี่ยของ systolic และ/หรือ diastolic มากกวา หรือเทากับเปอรเซนตไทลที่ 95
ของความดันโลหิตในอายุและเพศเดียวกันของผูนั้น โดยตองวัดไดคาที่เกิน 95 เปอรเซนตไทล อยางนอย 3 ครั้ง

วิธีการวัด
1. ขนาดของ cuff ควรมีขนาดประมาณ ¾ ของความยาวของแขนชวงบน หรือมากกวา 40 เปอรเซนตของความ
ยาวระหวาง Acromian process และ Olecranon process โดยคิดขนาดความยาวของถุงยางภายในเปนหลัก
2. ตองใหเด็กไดพักผอนกอนจะมีการวัดความดันโลหิตประมาณ 3- 5 นาที
3. ควรวัดความดันโลหิตในทานั่ง หรือในinfant ใหวัดทานอนหงาย โดยวัดแขนขวา ใหแขนดานขวาอยูใน ระนาบ
เดียวกันกับหัวใจ
4. ให inflated cuff โดยใชความดันทีส่ งู กวาความดันปกติประมาณ 20 mmHg เพือ่ ใหสงู กวาความดันของ brachial
artery แลวคอยๆปลอยใหคลายความดันลงครั้งละ 2-3 mmHg
เสียงที่ไดยินทั้งหมดจะมี 5 เสียงคือ K1, K2, K3, K4, K5

File:med307-Introduction-to-Pediatrics-wattana
6

K1 (systolic blood pressure) เปนเสียงแรกที่ไดยินหลังจากที่คอยๆคลายเกลียว cuff เสียงนี้จะถูก บันทึกเปน


systolic blood pressure
K 2 เปนเสียง constant murmur ตามหลังเสียงหนึ่ง ( K1)
K 3 ไดยินตามหลังเสียงสอง หลังจากที่คอยๆคลายเกลียว cuff ลักษณะเสียงถี่ๆ เบาๆ
K 4 เปนเสียง low pitch muffled sound
K 5 จะถูกบันทึกเมื่อไมไดยินเสียงใดๆ (เสียงหายไป)
สําหรับเด็กทุกอายุและผูใ หญถอื วา K1 เปน Systolic blood pressure และ K5 เปน Diastolic blood pressure

ตารางที่ 6 BP Levels for the 90th and 95th Percentiles of BP for Boys Aged 1 to 17 Years by Percentiles
of Height

SBP by percentiles of Height (mmHg)b SBP by percentiles of Height (mmHg)b


Age BP
(yr) Percentilea 5% 10% 25% 50% 75% 90% 95% 5% 10% 25% 50% 75% 90% 95%
1 90th 94 95 97 98 100 102 102 50 51 52 53 54 54 55
95th 98 99 101 102 104 106 106 55 55 56 57 58 59 59
2 90th 98 99 100 102 104 105 106 55 55 56 57 58 59 59
95th 101 102 104 106 108 109 110 59 59 60 61 62 63 63
3 90th 100 101 103 105 107 108 109 59 59 60 61 62 63 63
95th 104 105 107 109 111 112 113 63 63 64 65 66 67 67
4 90th 102 103 105 107 109 110 111 62 62 63 64 65 66 66
95th 106 107 109 111 113 114 115 66 67 67 68 69 70 71
5 90th 104 105 106 108 110 112 112 65 65 66 67 68 69 69
95th 108 109 110 112 114 115 116 69 70 70 71 72 73 74
6 90th 105 106 108 110 111 113 114 67 68 69 70 70 71 72
95th 109 110 112 114 115 117 117 72 72 73 74 75 76 76
7 90th 106 107 109 111 113 114 115 69 70 71 72 72 73 74
95th 110 111 113 115 116 118 119 74 74 75 76 77 78 78
8 90th 107 108 110 112 114 115 116 71 71 72 73 74 75 75
95th 111 112 114 116 118 119 120 75 76 76 77 78 79 80
9 90th 109 110 112 113 115 117 117 72 73 73 74 75 76 77
95th 113 114 116 117 119 121 121 76 77 78 79 80 80 81
10 90th 110 112 113 115 117 118 119 73 74 74 75 76 77 78
95th 114 115 117 119 121 122 123 77 78 79 80 80 81 82
11 90th 112 113 115 117 119 120 121 74 74 75 76 77 78 78
95th 116 117 119 121 123 124 125 78 79 79 80 81 82 83
12 90th 115 116 117 119 121 123 123 75 75 76 77 78 78 79
95th 119 120 121 123 125 126 127 79 79 80 81 82 83 83
13 90th 117 118 120 122 124 125 126 75 76 76 77 78 79 80
95th 121 122 124 126 128 129 130 79 80 81 82 83 83 84
14 90th 120 121 123 125 126 128 128 76 76 77 78 79 80 80
95th 124 125 127 128 130 132 132 80 81 81 82 83 84 85
15 90th 123 124 125 127 129 131 131 77 77 78 79 80 81 81
95th 127 128 129 131 133 134 135 81 82 83 83 84 85 86
16 90th 125 126 128 130 132 133 134 79 79 80 81 82 82 83
95th 129 130 132 134 136 137 138 83 83 84 85 86 87 87
17 90th 128 129 131 133 134 136 136 81 81 82 83 84 85 85
95th 132 133 135 136 138 140 140 85 85 86 87 88 89 89
a
BP percentile was determined by a single reading.
b
Height percentile was determined by standard growth curves.

File:med307-Introduction-to-Pediatrics-wattana
7

ตารางที่ 7 BP Levels for the 90th and 95th Percentiles of BP for Girls Aged 1 to 17 Years by Percentiles
of Height

SBP by percentiles of Height (mmHg)b SBP by percentiles of Height (mmHg)b


Age BP
(yr) Percentilea 5% 10% 25% 50% 75% 90% 95% 5% 10% 25% 50% 75% 90% 95%

1 90th 97 98 99 100 102 103 104 53 53 53 54 55 56 56


95th 101 102 103 104 105 107 107 57 57 57 58 59 60 60
2 90th 99 99 100 102 103 104 105 57 57 58 58 59 60 61
95th 102 103 104 105 107 108 109 61 61 62 62 63 64 65
3 90th 100 100 102 103 104 105 106 61 61 61 62 63 63 64
95th 104 104 105 107 108 109 110 65 65 65 66 67 67 68
4 90th 101 102 103 104 106 107 108 63 63 64 65 65 66 67
95th 105 106 107 108 109 111 111 67 67 68 69 69 70 71
5 90th 103 103 104 106 107 108 109 65 66 66 67 68 68 69
95th 107 107 108 110 111 112 113 69 70 70 71 72 72 73
6 90th 104 105 106 107 109 110 111 67 67 68 69 69 70 71
95th 108 109 110 111 112 114 114 71 71 72 73 73 74 75
7 90th 106 107 108 109 110 112 112 69 69 69 70 71 72 72
95th 110 110 112 113 114 115 116 73 73 73 74 75 76 76
8 90th 108 109 110 111 112 113 114 70 70 71 71 72 73 74
95th 112 112 113 115 116 117 118 74 74 75 75 76 77 78
9 90th 110 110 112 113 114 115 116 71 72 72 73 74 74 75
95th 114 114 115 117 118 119 120 75 76 76 77 78 78 79
10 90th 112 112 114 115 116 117 118 73 73 73 74 75 76 76
95th 116 116 117 119 120 121 122 77 77 77 78 79 80 80
11 90th 114 114 116 117 118 119 120 74 74 75 75 76 77 77
95th 118 118 119 121 122 123 124 78 78 79 79 80 81 81
12 90th 116 116 118 119 120 121 122 75 75 76 76 77 78 78
95th 120 120 121 123 124 125 126 79 79 80 80 81 82 82
13 90th 118 118 119 121 122 123 124 76 76 77 78 78 79 80
95th 121 122 123 125 126 127 128 80 80 81 82 82 83 84
14 90th 119 120 121 122 124 125 126 77 77 78 79 79 80 81
95th 123 124 125 126 128 129 130 81 81 82 83 83 84 85
15 90th 121 121 122 124 125 126 127 78 78 79 79 80 81 82
95th 124 125 126 128 129 130 131 82 82 83 83 84 85 86
16 90th 122 122 123 125 126 127 128 79 79 79 80 81 82 82
95th 125 126 127 128 130 131 132 83 83 83 84 85 86 86
17 90th 122 123 124 125 126 128 128 79 79 79 80 81 82 82
95th 126 126 127 129 130 131 132 83 83 83 84 85 86 86

a
BP percentile was determined by a single reading.
b
Height percentile was determined by standard growth curves.

อัตราการหายใจ
อัตราการหายใจของเด็ก ปกติจะเร็วกวาผูใหญโดยในเด็กอายุนอยๆ อัตราการหายใจจะเร็ว และไมสมํ่าเสมอ
(irregular and periodic pattern with apneustic pause up to 10 seconds)

File:med307-Introduction-to-Pediatrics-wattana
8

ตารางที่ 8 คาอัตราการหายใจปกติของเด็กอายุตางๆ

อายุ อัตราการหายใจ (ครั้ง/นาที)


new born 45
1 ป 30
1- 5 ป 20- 25
10 ป 20

Reference
1. เสาวณีย จําเดิมเผด็จศึก, พ.ญ. การตรวจรางกายเด็กเพื่อการวินิจฉัย. กรุงเทพฯ. โรงพิมพจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย, 2544
2. มรว. จันทรนิวัฒน เกษมสันต, พ.ญ. ตํารากุมารเวชศาสตร เลม 1. กรุงเทพฯ, คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาล
รามาธิบดี, 2540
3. สาหรี จิตตินันท และคณะ. ตํารากุมารเวชศาสตร เลม 2, กรุงเทพฯ, ยูนิตี้พับลิเคชั่น, 2529
4. จัณทฑิตา พฤกษานานนท และคณะ. การดูแลสุขภาพเด็ก. กรุงเทพฯ, สหมิตรเมดิเพรส, 2536
5. อรุณ วงศจิราษฎร และคณะ. ปญหาสารนํ้าอิเล็กโตรไลตและโรคไตในเด็ก, กรุงเทพฯ, โรงพิมพชวนพิมพ,2540
6. John Munro, Christopher Edwards. Method’s clinical examination. 9th edition. Singapore, Churchill
Livingstone,1995
7. Berhman Et Al, Nelson textbook of Pediatric 16th edition. Philadelphia, Wa Saunder Co, 2000
8. T.Martin Barratt Et Al. Pediatric Nephrology 4th edition, Pennsylvania, Lippincott William & Wilkins, 1999

File:med307-Introduction-to-Pediatrics-wattana

You might also like