การก่อสร้างฐานรากอาคารบนไหล่เขา กรณีศึกษาการก่อสร้างเจดีย์วัดเขาสุกิม

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 23

สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ (2552). “การกอสรางฐานรากอาคารบนไหลเขา : กรณีศึกษาการกอสรางเจดียวัดเขาสุกิม”.

การ
สัมมนาทางวิชาการและการแสดงนิทรรศการเรื่อง วิศวกรรมปฐพีและฐานราก’52, ระหวางวันที่ 11-12 พฤศจิกายน
2552 ณ โรงแรม เอส ซี ปารค กรุงเทพฯ. จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมปฐพี วิศวกรรมสถานแหงประเทศ
ไทย ในพระบรมราชูปถัมภ. pp. 193-215.

“การกอสรางฐานรากอาคารบนไหลเขา : กรณีศึกษาการกอสรางเจดียวัดเขาสุกิม”

ผศ.ดร.สุทธิศกั ดิ์ ศรลัมพ 1


1
ผูชวยศาสตราจารย และหัวหนาศูนยวิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (fengsus@ku.ac.th)

ความเปนมา

โครงการกอสรางเจดียบูรพาฐิตวิริยาประชาสามัคคี ณ วัดเขาสุกิม อําเภอทาใหม จังหวัด


จันทบุรี ไดกอสรางตามเจตนารมณของพระวิสุทธิญาณเถร (หลวงปูสมชายฐิตยวิรโย) เพื่อประดิษฐาน
พระพุทธรูปหินออนและพระบรมสารีริกธาตุขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา โดยไดเริ่มดําเนินการ
กอสรางเมื่อป พ.ศ.2538 โดยองคเจดียที่กอสรางมีขนาดที่ฐาน 99×99 เมตร ความสูง 119 เมตร
(ภาพที่ 1) ตําแหนงขององคเจดียกอสรางบนไหลเขา ซึ่งเปนภูเขาหินแกรนิต (ภาพที่ 2 และ 3) ชนิด
Hornblende-Biotite มีขนาด Grain ใหญ มีรอยแตกสม่ําเสมอและมีความผุพังปานกลางถึงสูง เมื่อผุพังให
ดินทรายปนดินเหนียว (SC) เม็ดทรายมีความเปนเหลี่ยมคม สวนประกอบของดินเหนียวมีความเหนียวต่ํา
(PI<10%) ฐานรากเจดียสวนหนึ่งวางอยูบนชั้นหินแข็ง สวนที่เหลือเปนดินถมกอสรางโดยการใชเสาเข็ม
เจาะระบบแหง ขนาด 60 ซม. โดยเสาเข็มไดถูกออกแบบใหรับน้ําหนักบรรทุกปลอดภัย 120 ตัน/ตน
และน้ําหนักบรรทุกสูงสุดเทากับ 300 ตัน/ตน ระหวางกอสรางไดทําการทดสอบกําลังรับน้ําหนักของ
เสาเข็ม เมื่อป พ.ศ.2541 และพบวาเสาเข็มเจาะสวนใหญไมผานเกณฑการทดสอบ Dynamic Pile Load
Test (สุมทดสอบ 42 ตน ไมผาน 20 ตน) และไมผาน Static Pile Load Test ที่กําลังรับน้ําหนักสูงสุด
(ทดสอบ 8 ตน ไมผานทั้ง 8 ตน) จากเหตุดังกลาวทําใหการกอสรางตองหยุดชะงักลง เหตุผลสําคัญที่
เสาเข็มเจาะระบบแหง ไมสามารถผานการทดสอบการรับน้ําหนักดังกลาว เนื่องจากเปนธรรมชาติของ
หินแกรนิตที่ผุพังในลักษณะเขาศูนยกลาง โดยการผุพังจะกอใหเกิดหินลอยแทรกอยูในมวลดินที่ผุพังแลว
(ภาพที่ 4) ลักษณะดังกลาวทําใหปลายเสาเข็มเจาะวางอยูบนหินลอยมากกวาที่จะวางอยูบนหินพืด จาก
การเจาะสํารวจในภายหลังไดพบวาสมมุติฐานดังกลาวถูกตอง เนื่องจากระดับหินพืดสวนใหญจากการเจาะ
สํารวจอยูต่ํากวาระดับปลายเสาเข็มเจาะ (ภาพที่ 5) ใน พ.ศ. 2548 หลังจากการมรณภาพของหลวงปู
สมชายและเสร็จงานบําเพ็ญกุศลสวดอภิธรรมครบ 100 วัน เหลาศิษยานุศิษยจึงไดมีมติในการสานตอการ
กอสรางเจดีย โดยศูนยวิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดเขามา
ดํา เนิน การศึ ก ษาและหาแนวทางแก ไขปญ หาในอดี ต ทางเลือกตา งๆ ในการแกไ ขปญ หาได ถูกนํา มา
พิจารณาเพื่อเปรียบเทียบ ขอดี-ขอเสีย และราคาการกอสราง ทางเลือกตางๆ ประกอบดวยการยายองค
เจดียเขาไปดานในภูเขาหรือยายไปบนยอดเขา การอัดฉีดน้ําปูนลงที่ปลายเสาเข็มเจาะเพื่อเพิ่มแรงตานที่
ปลายเสาเข็ม การตอดอัดเสาเข็มเจาะเดิม (Re-Strike) และการตอกเสาเข็มแซมโดยการเจาะนํา ดังแสดง
ดังภาพที่ 6 จากทางเลือกตางๆ ขางตน พบวาการตอกเสาเข็มแซมโดยการเจาะนํา เปนทางเลือกที่เปนไป
ไดมากที่สุด ทั้งนี้โดยใชเสาเข็ม Pre-Stress ขนาด 52.5×52.5 ซม. ตอกแซมเสาเข็มเจาะทุกตน (แซม
193
100%) และเพื่อลดการดันตัวของดินจากเสาเข็มตอกจึงใชการเจาะนํา (Pre-Bored) กอนสอดเสาเข็มเพื่อ
ตอก นอกจากนั้นเพื่อปองกันความเสียหายที่ปลายเสาเข็ม จึงไดใช Steel Shoe ที่ปลายเสาเข็ม (ภาพที่ 7)
เพื่อปองกันความเสียหายของปลายเสาเข็มและเพื่อกระแทกหินลอยขนาดเล็กใหหลีกหรือแตก โดยสรุป
จํานวนเสาเข็มตอกมีทั้งสิ้น 448 ตน ประกอบดวยเสาเข็มความยาว 11, 18, 21 และ 24 เมตร การแบง
พื้นที่ความยาวการตอกเสาเข็มพิจารณาจากผลการเจาะสํารวจชั้นดินและชั้นหินจํานวน 16 หลุม (ภาพที่ 8
และภาพที่ 9) การเจาะสํารวจดั งกล า วทําใหไ ดขอมูลที่นา เชื่อถือในการกํ าหนดความยาวของเสาเข็ม
นอกจากนั้นผลการเจาะสํารวจดังกลา วยังนําไปใช ในการปรั บความยาวเสาเข็ มใหม ทําใหสามารถลด
งบประมาณเสาเข็มไดกวา 5 ลานบาท

ภาพที่ 1 รูปตัดดานขาง เจดียบูรพาฐิตวิริยาประชาสามัคคี

ภาพที่ 2 ลักษณะฐานรากองคเจดียทสี่ ว นหนึ่งเปนฐานรากแผ สวนหนึ่งเปนฐานรากเสาเข็ม

194
ภาพที่ 3 พื้นที่ดําเนินงานกอสราง

ภาพที่ 4 การแตกและผุพังของหินแกรนิตทําใหเกิดหินลอย

195
?

ระดับดินเดิม (เมตร)
0.00

5.00

10.00
ความลึก (เมตร)

15.00

20.00
Bore Pile
25.00 Pre-Boring
Driven Pile
30.00

ภาพที่ 5 ผลการเจาะสํารวจแสดงระดับความลึกถึงชั้นหินและลงไปในหินอีก 3 เมตร


เปรียบเทียบกับระดับปลายเสาเข็มเจาะแบบแหง
ปริมาณการระเบิดหิน = 263,799 ลบ.ม.
Pump
Tank

Grout
Hole
Original Bore
Pile
Effective Grout

การระเบิดหิน การอัดฉีดน้ําปูน
L
Exiting Footing
Extending Edge
Exiting Bore Pile
Pre-Boring Pile

Embedded in Rock
การตอกอัดเสาเข็มเดิม การตอกแซม

ภาพที่ 6 รูปแบบทางเลือกในการแกไขฐานราก

196
ภาพที่ 7 Steel Shoe เพื่อปองกันปลายเสาเข็มและตอกกระแทกหินลอย

20 เมตร
12.5 เมตร

11 เมตร
21 เมตร 10 เมตร

ภาพที่ 8 ผังแสดงตําแหนงหลุมเจาะสํารวจและขอมูลบางสวนแสดงความลึกถึงชั้นหิน

197
N (Blow/ft.)
0 20 40 60 80 100 120
0

5
B-1
B-2
Depth (m.) 10 B-3
B-4
B-5
15
Ave.N (Blow/ft.)

20

25

ภาพที่ 9 ขอมูลการทดสอบ N-SPT

การควบคุมคุณภาพงานเสาเข็มตอก

เนื่องจากการออกแบบเสาเข็มตองการใหเสาเข็มมีพฤติกรรมเปน End bearing pile


ดังนั้นการควบคุมการตอกเสาเข็มจึงควบคุมจากระยะจมจากการตอก 10 ครั้งสุดทาย (Last Ten Blows)
โดยชวงแรกของการกอสราง Last ten blows ควบคุมระยะที่ 1 ซม. จากนั้นจึงพิสูจนกําลังรับน้ําหนักโดย
วิธี Dynamic Pile Load Test ซึ่งพบวากําลังรับน้ําหนักไดเกินเกณฑที่กําหนดอยางมาก (กวา 500 ตัน/
ตน) จึงผอนผันใหใชระยะที่ 2 และ 3 ซม. ไดตามลําดับ เพื่ดลดโอกาศเกิดความเสียหายของเสาเข็มจาก
การตอก โดยทุกครั้งที่เปลี่ยนแปลงระยะควบคุมการตอกไดทําการสุมทดสอบ Dynamic Pile Load Test
เพื่อตรวจสอบกําลังรับน้ําหนักเสมอ การทดสอบ Dynamic Pile Load Test นี้ไดดําเนินการสุมทดสอบทุก
ฐานราก ฐานรากละ 1 ตน หรือมากกวาขึ้นอยูกับจํานวนเสาเข็มตอฐานรากนั้น โดยจะเลือกเสาเข็มที่ไดคา
Last Ten Blows มากที่สุด นอกจากนั้นยังไดทําการทดสอบ Seismic Test กับเสาเข็มทุกตน เพื่อตรวจสอบ
ความสมบูรณของเสาเข็ม สําหรับการทดสอบ Static Pile Load Test ไดทําการทดสอบเสาเข็มจํานวน 8
ตน โดยเลือกเสาเข็มที่ความยาวตางๆ กัน และเลือกเสาเข็มในฐานรากที่รับน้ําหนักสูง ผลการทดสอบ
พบวาเสาเข็มทั้ง 8 ตน รับน้ําหนักไดตามกําหนด ภาพที่ 10 ถึง 12 แสดงตัวอยางผลการทดสอบ Static
Pile Load Test ของเสาเข็มยาว 11,18 และ 21 เมตร ตามลําดับ จากผลการทดสอบจะเห็นไดวาเมื่อ
ความยาวเสาเข็มมากขึ้นการทรุดตัวที่ 12 ชม. และการคื นตัวจะมีคาลดลง นอกจากนั้นเพื่ อใหเขาใจ
พฤติกรรมการถายแรง ระหวางเสาเข็มกับดิน วีรพงศและคณะ (2551) จึงไดทําการติดตั้ง Strain Gauge
ในเสาเข็มตนที่ทําการทดสอบ Static Pile Load Test โดยเลือกเสาเข็มยาว 18 เมตร ทําการติดตั้ง Strain
Gauge ตั้งแตขบวนการการหลอเสาเข็มผลของการทดสอบพบวาเมื่อน้ําหนักกระทําตอเสาเข็มอยูในชวง
น้ํ า หนั ก ใช ง าน (120 ตั น ) การถ า ยแรงลงสู ดิ น ส ว นใหญ เ กิ ด จากความฝ ด ของเสาเข็ ม กั บ ดิ น (Skin
Friction) ดังแสดงในภาพที่ 13 ทั้งนี้เนื่องจากเสาเข็มมีความยาวและดินรอบเสาเข็มเปนดินทรายปนดิน
เหนียว
198
เนื่ อ งจากเสาเข็ ม มี ป ริ ม าณมากและมี ปญ หาแต ล ะตน แตกต า งกั น สุท ธิ ศัก ดิ์ แ ละคณะ
(2551) จึงไดรวบรวมขอมูลการกอสรางและการควบคุมคุณภาพการกอสรางของเสาเข็มตอกลงในระบบ
ฐานขอมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร ขอมูลที่จัดเก็บไดแก ขอมูลพื้นฐานดานตําแหนง วันที่ดําเนินการตอก
คุณภาพของเสาเข็มกอนตอก ขนาดลูกตุมที่ใชตอก และความยาวเสาเข็ม ขอมูลดานการควบคุมคุณภาพ
การตอกเสาเข็มอันประกอบดวย คาการทรุดตัว 10 ครั้งสุดทาย คาคํานวณกําลังรับน้ําหนักสูงสุดจาก
Hiley’s Formular คาการเยื้องศูนยของเสาเข็ม คาการเอียงของเสาเข็ม ผลการทดสอบความสมบูรณของ
เสาเข็มโดยวิธี Seismic ผลการทดสอบพฤติกรรมความสามารถในการรับน้ําหนักโดยวิธี Dynamic Pile
Load Test และ Static Pile Load Test

ขอมูลจากการจัดเก็บแสดงลักษณะหินฐานรากใตปลายเสาเข็มไดถึงแสดงในภาพที่ 14
และเมื่อวิเคราะหเปรียบเทียบผลการวิเคราะหกําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มโดยิวธีการประเมินจากสูตรของ
Hiley’s กับผลการทดสอบ Dynamic Pile Load Test พบวามีความแตกตางกัน (ภาพที่ 15 และ 16) ทํา
ใหสรุปไดวาการใชผลจากสมการ Hiley’s ควรใชประเมินเพื่อการควบคุมการกอสรางเปนหลัก ไมควร
นํามาใชเปนเกณฑตัดสินกําลังรับน้ําหนัก นอกจากนั้น หากทําการประเมินตําแหนงเสาเข็มที่เกิดการเอียง
ตัวจากการตอกพบวาเสาเข็มบริเวณรอยตอระหวางดินถมและฐานรากหินตัดมีการเอียงตัวมากและพบ
ปญหาการเกิดรอยแตกภายในเสาเข็ม เนื่องจากเสาเข็มสั้นและตอกลงในบริเวณที่หินฐานรากมีการเอียงตัว
ดังแสดงในภาพที่ 17

ภาพที่ 10 ผลการทดสอบ Static Pile Load Test เสาเข็มยาว 11 เมตร

ภาพที่ 11 ผลการทดสอบ Static Pile Load Test เสาเข็มยาว 18 เมตร

199
ภาพที่ 12 ผลการทดสอบ Static Pile Load Test เสาเข็มยาว 21 เมตร

ระดับดิน
SG5

SG4
SG3

SG2
SG1
ระดับหิน

ภาพที่ 13 การติด Strain Gauge ในเสาเข็มตอกและผลการถายแรงจากการทดสอบ Static Load Test


(วีรพงศและคณะ, 2551)

200
ภาพที่ 13 ลักษณะของหินฐานรากแสดงจากขอมูลปลายเข็มตอก (สุทธิศักดิแ์ ละคณะ, 2551)

20

3
U รับกําลังไดมากกวา 120 ตัน C
รับกําลังไดนอยกวา 120 ตัน

ภาพที่ 15 ตําแหนงเสาเข็มที่ไมผานเกณฑการรับน้ําหนักจากสมการ Hiley’s


(สุทธิศกั ดิ์และคณะ, 2551)

201
20

3
U กําลังรับน้ําหนักมากกวา 300 ตัน C
กําลังรับน้ําหนักนอยกวา 300 ตัน

ภาพที่ 16 ตําแหนงเสาเข็มที่ไมผานเกณฑรับน้ําหนักจากการทดสอบ Dynamic Pile Load Test


(สุทธิศกั ดิ์และคณะ, 2551)

พฤติกรรมและปญหาการตอกเสาเข็ม

เนื่องจากการตอกเสาเข็มเปนการตอกลงสูฐานหินแกรนิต ดังนั้นจึงประสบปญหาที่เกิด
จากสภาพหินลอยหรือความไมสม่ําเสมอของหนาหินแกรนิต ทั้งนี้พฤติกรรมของการตอกเสาเข็มแสดงได
ดั ง พฤติ ก รรมของจํ า นวนครั้ง การตอกตอ 1 ฟุต ดัง แสดงในภาพที่ 18 โดยจะเห็ น วา พฤติ ก รรมมี 3
รูปแบบไดแก เสาเข็มที่ตอกแลวปลายวางอยูบนชั้นหิน (L6-1, L6-3, L6-4, L6-6), เสาเข็มที่ตอก
ผานหินลอยขนาดเล็กหรือกรวดลงสูชั้นหินพืด (L6-5) และเสาเข็มที่ไถลหรือหัก (L6-2) ทั้งนี้ปญหา
และอุปสรรคที่พบมากในการกอสรางไดแก

202
30

25
ความ ย าวเสาเข็ ม (เม ตร )
24 24

21 21
20 18 18
18 18

15
11
11 11 11 11 11
10

0
0.00 1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00
องศาการเอียง

20

3
U C
ภาพที่ 17 ตําแหนงเสาเข็มที่เกิดการเอียงและความสัมพันธเทียบกับความยาวเสาเข็ม
(สุทธิศกั ดิ์และคณะ, 2551)

203
จํา นวนครั้งการตอก/1ฟุต - ความลึก

จํานวนครั้งการตอก/ 1ฟุต
0 50 100 150 200 250 300
0.00

L6-1
1.00
L6-2
2.00 L6-3
L6-4
ความลึก(เมตร)

3.00 L6-5
L6-6
4.00

5.00

6.00

7.00

ภาพที่ 18 จํานวนการตอกเสาเข็มตอ 1 ฟุต ตามความลึก


1) เสาเข็มเอียงและหนีศูนย เกิดจากปลายเสาเข็มเกิดการลื่นไถลกับหินลอยหรือตอกลง
สูหินพืดที่ขรุขระ (ภาพที่ 19) ทําใหการตอกเสาเข็มเอียง พฤติกรรมนี้ทําใหเกิดการเยื้องศูนยของเสาเข็ม
และเสี่ยงตอการแตกราวของเสาเข็ม (ภาพที่ 20) เมื่อเสาเข็มเอียงมากจนปนจั่นไมสามารถโนมตัวตอกได
อาจทําใหตองตอกแซมเพิ่มเติม ในโครงการนี้ฐานรากทุกฐานตองทําการวิเคราะหออกแบบแกไขรวมถึง
ตอกแซมเนื่องจากการเยื้องศูนยและเอียงดังกลาว

ภาพที่ 19 ลักษณะความไมเรียบของหนาหินที่มีการเอียงตัวตามชุดรอยแตกของหิน
จากรูปจะเห็นเสาเข็มตอกใหมและเสาเข็มเจาะระบบแหงเดิม

204
ภาพที่ 20 การเอียงและหนีศูนยของเสาเข็ม

2) การตอกเสาเข็มในกลุมเดียวกันแตไดความลึกตางกันอยางมาก แมจะมีระยะหางกัน
ไมมาก เสาเข็มตนที่ตอกไมลงเนื่องจากปลายเสาเข็มวางอยูบนชั้นหินหรือหินลอยขนาดใหญ ไมสามารถ
ตอกทะลุลงไปได สวนเสาเข็มที่ตอกแลวมีการจมลงมากเกินไปเนื่องจากปลายเสาเข็มวางอยูบนชองวาง
ระหวางหินหรือซอกหิน (ภาพที่ 21)

ภาพที่ 21 ปลายเสาเข็มตางระดับกันแมจะอยูหางกันไมมาก

205
3) เสาเข็มจมลงไปในดินมากหรือความยาวเสาเข็มไมเพียงพอ จากสภาพชั้นหินดานลาง
นั้นแปรปรวนมากตามธรรมชาติของหินแกรนิต อยางไรก็ตาม เนื่องมีการเจาะสํารวจถึง 16 หลุมซึ่งถือวา
มากสําหรับพื้นที่ขนาดนี้ ทําใหพบปญหานี้อยูในปริมาณที่ไมมาก การแกไขดําเนินการโดยใชเหล็กสงตอก
สงลงไปอีกแตกําหนดใหสงไดไมเกิน 2 เมตร และตั้งแบบหลอปลายเสาเข็มขึ้นมา (ภาพที่ 22)

การตอเสาเข็ม

ภาพที่ 22 การทําแบบหลอเพื่อตอเสาเข็มที่จม

เสาเข็มเจาะในชั้นหิน
เมื่อทําการกอสรางถึงบริเวณฐานรากที่เปนรอยตอระหวางดินถมและฐานรากหินตัด การ
กอสรางพบความยากลําบากเนื่องจากไมสามารถใชเสาเข็มตอกไดดังปญหาการเอียงของเสาเข็มที่ไดกลาว
มา และหากใชฐานรากแผ จําเปนตองขุดลึกลงไปมาก ซึ่งอาจเกิดปญหาการเคลื่อนตัวของฐานรากเสาเข็ม
ใกล เ คี ยงได ประกอบกับ การก อ สรา งเดิม ไดทิ้ง ฐานรากแผที่ ข าดความปลอดภัย เนื่อ งจากมีก ารเสริ ม
คอนกรีตรองฐานที่ไมไดเสริมเหล็กไว (ภาพที่ 23) ทําใหหากตองรื้อทั้งฐานรากเดิมและคอนกรีตรองฐาน
ออกเพื่อกอสรางฐานรากแผวางไวบนชั้นหินที่มั่นคงจะเปนไปไดยาก ดังนั้นจึงไดทําการกอสรางฐานราก
เสาเข็มเจาะในหินระบบเปยก โดยทําการรื้อฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กออกและเจาะทะลุคอนกรีตรอง
ฐานลงสูชั้นดินและชั้นหิน โดยใหปลายเสาเข็มวางอยูบนหินดีที่มีความหนาไมนอยกวา 3 เมตร เนื่องจาก
บริเวณรอยตอของไหลเขาดังลาวมีความแปรปรวนของชั้นดิน/หินมาก ประกอบกับราคาเสาเข็มเจาะในหิน
มีราคาคอนขางสูง จึงจําเปนตองเจาะสํารวจนําทุกตนเพื่อคํานวณกําลังรับน้ําหนักและระบุปลายเสาเข็มที่
เหมาะสม (ภาพที่ 24) แสดงความเสี่ยงตอการวางปลายเสาเข็มลงบนชั้นหินผุหรือบาง ทั้งนี้เพื่อไมใหเกิด
แรงฝดระหวางเสาเข็มกับฐานคอนกรีตรองฐานรากเดิม จึงไดมีการติดตั้งแผนสังกะสีเคลือบยางมะตอย
ในชวงที่เข็มเจาะผานบริเวณดังกลาว (ภาพที่ 25) เพื่อปองกันการดึงและบิดของฐานคอนกรีตซึ่งอาจสงผล
ตอเสาเข็มโดยตรง (ภาพที่ 26) แสดงการเจาะเสาเข็มในหิน

206
0.50 m.

3.90 m.

ภาพที่ 23 ฐานคอนกรีตปรับระดับที่ไมเสริมเหล็กและมีความหนาตางกัน

23

Ground on Site
Soil
Lean Concrete
=? 3.00 m. Granite Rock RQD< 90%
Lose
3.00 m. Granite Rock RQD< 90%
Lose
Granite Rock RQD< 90%

≥3.00 m. ≥3.00 m. Granite Rock RQD> 90%

ภาพที่ 24 ลักษณะหินฐานรากที่ปรากฎชั้นหินผุสลับชั้นหินดี

207
ภาพที่ 25 แผนสังกะสีเพือ่ ลดแรงฝดระหวางเสาเข็มเจาะกับฐานรองคอนกรีตเดิม

ภาพที่ 26 การกอสรางเสาเข็มเจาะในหิน
208
การควบคุมคุณภาพเสาเข็มเจาะในหิน
การควบคุมคุณภาพเสาเข็มประกอบดวยการทดสอบ Drilling Monitor เพื่อตรวจสอบ
ขนาดของหลุมเจาะ (ภาพที่ 27) Sonic Logging Test เพื่อตรวจสอบความสม่ําเสมอของเนื้อคอนกรีต
หลังจากเท (ภาพที่ 28) Dynamic Load Test, Seismic Test และ Static Pile Load Test ดังแสดงผลใน
ภาพที่ 29 ซึ่งจากผล Static Pile Load Test จะเห็นวาเสาเข็มมีความเปนอิลาสติกสูง มีคาการทรุดตัวถาวร
นอย

ภาพที่ 27 การทดสอบความสมบูรณของหลุมเจาะเสาเข็ม (Drilling Monitor)

ภาพที่ 28 การทดสอบ Sonic Logging เพื่อตรวจสอบความสมบูรณของเสาเข็มหลังการเทและ


แข็งตัว

209
ภาพที่ 29 ผลการทดสอบ Static Pile Load Test ของเสาเข็มเจาะในหิน

ฐานรากแผ
งานกอสรางฐานรากสวนสุดทายไดแกการกอสรางฐานรากแผซึ่งแตเดิมไดมีการกอสรางไว
แตเมื่อทําการตรวจสอบความมั่นคงพบวา อาจมีความเสี่ยงสูงที่จะนําฐานรากเดิมมาใช ดังแสดงปญหา
ตางๆ ที่พบในภาพที่ 30 ถึง 32 ดังนั้นจึงไดตัดสินใจรื้อฐานรากเดิมออกและตัดปรับหินฐานรากที่มีความ
ขรุขระมาก โดยการตัดใหเรียบ ดังภาพที่ 33 โดยมีขอกําหนดการปรับหนาหินดังภาพที่ 34 การตัดหินเพือ่
ทําฐานรากเปนไปดวยความยากลําบาก เนื่องจากหินมีความแข็งแตเปราะ ทําใหควบคุมขนาดและความ
เรียบยาก โดยในการปรับความเรียบตองอาศัย ผูรับเหมาที่ชํานาญในการสกัดหินสรางพระมาดําเนินการ
ทั้งนี้การกอสรางฐานรากแผ ไดดําเนินการโดยความระมัดระวังอยางยิ่ง เนื่องจากปรากฎแนวรอยแตกของ
หินหลายรูปแบบ ดังแสดงในภาพที่ 35 และ ภาพที่ 36 แสดง Stereonet ที่ระบุถึงรูปแบบของรอยแตกที่
ตัดกันใหลักษณะการพิบัติแบบลิ่มระนาบ 327/51°

ภาพที่ 30 ฐานรากเกาพบการเซาะรองเพื่อวางคานทําให Effective Depth ของฐานรากเปลี่ยนไป


210
ภาพที่ 31 คอนกรีตรองฐานรากมีความหนามากไป, ไมสม่ําเสมอ รวมถึงไมมีการเสริมเหล็ก

ภาพที่ 32 ฐานรากบางฐานวางอยูบนหินพืดสวนหนึ่งและวางบนดินถมสวนหนึ่ง
อาจทําใหเกิดการบิดตัวของฐานรากจากการทรุดตัวไมเทากัน

211
ภาพที่ 33 การตัดหินเพื่อทําฐานรากแผ

ผิวหินใตฐานราก
ในกรณีที่นูน ใหมคี วามนูนไมเกิน 10 cm.
ในกรณีที่เปนหลุม ใหมีความลึกไมเกิน 20 cm.
ความลาดของฐานรากทั้งฐาน ไมเกิน 5 องศาหรือผลตางมุมไมเกิน 20 cm.

ภาพที่ 34 ขอกําหนดความเรียบของหินฐานราก และการเสริมเหล็กในคอนกรีตรองฐาน


เพื่อรับแรง Tension จากความไมเรียบของหนาหิน

212
A B CD
A1 A2
F1A

F1D

F1D

F1D

F1D
F1D

F1D
L=26 m.

L=26 m.

L=26 m.

L=26 m.
L=26 m. L=26 m.

L=26 m. L=26 m.
F1D

F1D
F1A

L=26 m. L=26 m.

L=26 m. L=26 m.
L=11 m.

3.75
2.00 1.43
L=11 m.

F1D

F1D
F1D

F1D
Q R

F1D

F1D

F1D

F1D
L=26 m.

L=26 m.

L=26 m.

L=26 m.

2.25
3.43

1.50
9.00
7.50
F1A

F1A
L=11 m.

L=11 m.

9.00
E
9.00

9.00
F
G H
2.00
S

5.00
9.00
J K
2.00
9.00
9.00

9.00
M L
T

9.00
N P
2.00
5.00
9.00
7.50
9.00

Q R
2.00
F1A

F1A
L=11 m.

L=11 m.

9.00
UV W X
1.50

9.00
S
0.625

T
W1 W2
F1

F1
F1

F1
F1

F1

F1

F1

7.50
9.00
2.50
0.625

UV W X
F1

F1

1.50
F1

F1
F1

F1
F1

F1

0.625

W1 W2
2.50
0.625
0.62
2.00 5.00 2.00 2.00 5.00 2.00 7.50 1.50 2.50 0.63 0.63 2.50
3.75 2.25
1.50 7.50
9.00 9.00 9.00
2.00 5.00
9.00
2.00
9.00 9.00 9.00
2.00 5.00
9.00
2.00
9.00 9.00
7.50
9.00
1.50
2.25
2.50
3.75
0.63
0.63

4.72 9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 2.25 3.75

16
19

17

14
13
18

15

12

10
20

11
22 21.2
2121.1

4
3
2 1.2
1 1.1
8
7

5
9
0.63
16

14
17

13
15

10
12

11

1
4
3
2
5
7
8
9

5.00
9.00
Q R
2.00
F1A

F1A
L=11 m.

L=11 m.

9.00
9.00
TS
7.50
9.00
UV W X
1.50
0.625

W1 W2
2.50
0.625
2.00 5.00 2.00 2.00 5.00 2.00 7.50 1.50 2.50 0.63
9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 2.25 3.75
0.63
16

14
17

13
15

10
12

11

1 1.1
4
3
2 1.2
5
7
8
9

ภาพที่ 35 แผนที่รอยแตกและประเภทของหินบริเวณสวนกอสรางฐานรากแผ

STEREONET OF FOUNDATION (KHOA-SUKIM PROJECT)

POLE PLOT CONTOUR POLE PLOT ROSES PLOT


101 Data Wedge Failure Plane failure is 327/51 (strike/dip)

Y. SIRISART
Updated : 07/07/2008

ภาพที่ 36 Sterecnet บริเวณหินฐานราก

213
92 เสาเข็มตอก
15 เสาเข็มเจาะ
36 ฐานวางบนหิน

ภาพที่ 37 สรุปประเภทของฐานรากที่ใชในโครงการฯ

สรุป

การกอสรางอาคารขนาดใหญบนไหลเขาจําเปนตองใชความใสใจมากเปนพิเศษโดยเฉพาะ
อยางยิ่งหากหินฐานรากเปนแกรนิต จากการดําเนินงานที่เสนอมาทําใหสรุปไดวาถึงแมฐานรากเสาเข็มตอก
214
จะมีความประหยัดแตไดประสบปญหาระหวางการกอสรางมาก ทําใหตองติดตามแกไขฐานรากเกือบทุก
ฐาน อยางไรก็ตามเมื่อแกปญหาเปนที่เรียบรอยพบวาคุณภาพการรับน้ําหนักและการทรุดตัวอยูในเกณฑที่
ดี สําหรับเสาเข็มเจาะในหินพบวามีประสิทธิภาพดีทั้งดานคุณสมบัติทางวิศวกรรมและการกอสรางแต
เนื่องจากมีราคาแพงกวาเสาเข็มตอกมากจึงกําหนดใหกอสรางเฉพาะในพื้นที่ที่จําเปน อันไดแกพื้นที่ที่มี
ความลาดเทของหินฐานรากมาก สุดทายการกอสรางฐานรากแผนบนหินแกรนิตที่มีแนวรอยแตกที่มีการ
เอียงตัวและตัดกันเปนลิ่มพบวาประสบปญหาในการตัดและทําใหฐานรากเรียบ ภาพที่ 37 แสดงสรุป
ประเภทฐานรากทั้งหมดที่ไดดําเนินการในโครงการนี้

เอกสารอางอิง
วีรพงศ ขวัญเซง, กอโชค จันทวรางกูร และ สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ, 2551 “การควบคุมงานตอกเสาเข็มตาม
หลักสมดุลพลังงาน” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติ ครั้งที่ 13
สุทธิศกั ดิ์ ศรลัมพ, ศิริชัย แกวกิติคณ
ุ และ เสวก จีนโต, 2551 “การประยุกตใชระบบ GIS ในการ
วิเคราะหขอมูลการกอสรางฐานรากเสาเข็มเจดียบูรพาฐิตวิริยาประชาสามัคคี วัดเขาสุกิม จ.
จันทบุร”ี การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติ ครั้งที่ 13.

215

You might also like