Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 283

การสนับสนุนงาน สคช.

(งานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน)

โดย
นายอัครพัฒนน พิสิษฐสังฆการ
อัยการจังหวัดประจาสานักงานอัยการสูงสุด
เลขานุการอธิบดีอัยการ สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
การสนับสนุนงาน สคช.
(งานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน)
โดย
นายอัครพัฒนน พิสิษฐสังฆการ
อัยการจังหวัดประจาสานักงานอัยการสูงสุด
เลขานุการอธิบดีอัยการ สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
การสนับสนุนงาน สคช.
การสนับสนุนงาน สคช.

วัตถุประสงค
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ทราบถึง งานในภารกิจ ของสานักงานอัยการ
สู ง สุ ด ด้ า นการคุ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละช่ ว ยเหลื อ ทางกฎหมายแก่ ป ระชาชน
และแนวทางปฏิบัติงานในหน้าที่เพื่อสนับสนุนงานด้านการคุ้มครองสิทธิ
และช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
การสนับสนุนงานคุ้มครองสิทธิ
และช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
ขอบเขต
- ภารกิจของสานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
- ภารกิจของสานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและ
การบังคับคดีจังหวัด
- แนวทางปฏิบัติงานในหน้าที่เพื่อสนับสนุนงานด้านการคุ้มครองสิทธิฯ
ภารกิจของสานักงานอัยการสูงสุด

- การอานวยความยุติธรรมทางอาญา
- การรักษาผลประโยชนของรัฐ
- การคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชน
สานักงานอัยการสูงสุด

อานวยความยุติธรรม รักษาผลประโยชน คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ


ทางอาญา ของรัฐ ของประชาชน
แผนยุทธศาสตร
สานักงานอัยการสูงสุด
พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๖
วิสัยทัศน (Vision)
ของสานักงานอัยการสูงสุด
วิสัยทัศน (Vision)
ของสานักงานอัยการสูงสุด

“องค์กรนาในการใช้กฎหมายเพื่อรักษา
ความยุติธรรมให้กับประชาชนและสังคม”
พันธกิจ (Missions)
๑. ยกระดับคุณภาพมาตรฐานงานตามภารกิจ ด้านการอานวย
ความยุติธรรม การรักษาผลประโยชนของรัฐและประชาชน
และการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชนให้มีคุณภาพ โปร่งใสและตรวจสอบได้ เพื่อให้
ประชาชนเชื่อมั่นและศรัทธา
พันธกิจ (Missions)
๒. พัฒนนาความร่วมมือ บูรณาการเครือข่ายองคกรหรือ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ด้านการพัฒนนากระบวนการยุติธรรมให้เหมาะสมกับสถานการณ
ที่เปลี่ยนแปลงไปและตอบสนองต่อนโยบายรัฐบาลเพื่อประโยชน
ต่อส่วนรวมของประเทศ
พันธกิจ (Missions)
๓. เพิ่มศักยภาพมาตรฐานกลไกการบริหารจัดการระบบงาน
และกระบวนการทางานที่สาคัญ รวมทั้งการพัฒนนาระบบติดตาม
ประเมินผลและระบบจัดการองคความรู้เพื่อมุ่งสู่การสร้างนวัตกรรม
โดยมีเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นพื้นฐาน
พันธกิจ (Missions)
๔. พัฒนนาองคกรให้มีคุณภาพคู่คุณธรรมตามหลักธรรมาภิบาล
บุคลากรมีสมรรถนะสูง มีคุณธรรมจริยธรรม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ประเด็นยุทธศาสตร
๑. การยกระดับคุณภาพ ความน่าเชื่อถือ และภาพลักษณในการปฏิบัติ
ภารกิจของสานักงานอัยการสูงสุด
๒. การบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นเพื่อพัฒนนากระบวนการ
ยุติธรรมและตอบสนองนโยบายรัฐบาล
๓. การยกระดับประสิทธิภาพระบบงานและการจัดการความรู้/นวัตกรรม
ผ่านการเชื่อมโยงเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย
๔. การเพิ่มศักยภาพบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะสูง มีคุณธรรม จริยธรรม
และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
แผนยุทธศาสตร์ สานักงานอัยการสูงสุด ปี พ.ศ. 2563 - 2566
แผน
หมายเหตุ
ขณะนี้ อส. อยู่ระหว่างการตรวจรับงานจ้างที่ปรึกษาจัดทา
“แผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐)
ของสานักงานอัยการสูงสุด”
มีการแก้ไขเนื้อหาจากเดิม
ให้ติดตามการประกาศใช้แผนฯ อย่างเป็นทางการต่อไป
นโยบายการบริหารงานของอัยการสูงสุด
นายสิงหชัย ทนินซ้อน
อัยการสูงสุด
(พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)
นายสิงหชัย ทนินซ้อน
อัยการสูงสุด
(พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)
นโยบายการบริหารงานของอัยการสูงสุด
“ยกระดับ ปรับเปลี่ยน วางรากฐาน สานต่ออนาคต”
(ท่านนารี ตัณฑเสถียร อัยการสูงสุด)
๑. ยกระดับการอานวยความยุติธรรม รักษาผลประโยชนของรัฐ คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ และช่วยเหลือ
ประชาชนด้านกฎหมาย บนพื้นฐานของความร่วมมือและเทคโนโลยี
๒. ปรับเปลี่ยนและพัฒนนางานขององคกรอัยการให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกและความหลากหลาย
ทางสังคม เพื่อให้เกิดความยุติธรรมสาหรับทุกฝ่ายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
๓. วางรากฐานเพื่อสร้างระบบและกลไกในการเข้าถึงความยุติธรรมสาหรับทุกคน วางระบบนิเวศองคกร
(Eco-System) ที่เหมาะสมกับการทางาน และสร้างความเชี่ยวชาญเฉพาะทางวิชาชีพ
๔. สานต่ออนาคตโดยสร้างกลไก เครื่องมือ และแนวทางการพัฒนนาบนพื้นฐานการบริหารอย่างต่อเนื่อง
เพื่อส่งต่อองคความรู้ที่จะนาสานักงานอัยการสูงสุดสู่การเป็นองคกรของนักกฎหมายเพื่อสังคม และสร้าง
ความยุติธรรมที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน (Better Justice)
งาน สคช. กับ นโยบายการบริหารงานของอัยการสูงสุด
“ยกระดับ ปรับเปลี่ยน วางรากฐาน สานต่ออนาคต”
(ท่านนารี ตัณฑเสถียร อัยการสูงสุด)

งาน สคช . มีความเชื่อมโยง เกี่ยวพันกับนโยบายการบริหารงาน


ของท่านนารี ตัณฑเสถียร อัยการสูงสุด ทั้ง ๔ ข้อ
พระราชบัญญัติองคกรอัยการและพนักงานอัยการ
พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๑๔ กาหนดให้พนักงานอัยการมีอานาจและหน้าที่ ...
(๖) ในคดีที่ราษฎรฟ้องเองไม่ได้โดยกฎหมายห้าม เมื่อ
เห็นสมควร พนักงานอัยการมีอานาจเป็นโจทกได้ ...
(๑๐) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่
ของพนักงานอัยการ ...
พระราชบัญญัติองคกรอัยการและพนักงานอัยการ
พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๒๓ กาหนดว่า สานักงานอัยการสูงสุด นอกจากมีอานาจและหน้าที่เกี่ยวกับงาน
ธุรการและงานวิชาการ เพื่อสนับสนุนและอานวยความสะดวกให้แก่พนักงานอัยการแล้ว
ให้มีอานาจและหน้าที่ดังต่อไปนี้ด้วย
(๑) ให้ความช่วยเหลือประชาชนในการดาเนินการทางกฎหมาย รวมตลอดทั้งในการ
คุ้มครองป้องกันสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และการให้ความรู้ทางกฎหมายแก่
ประชาชน...
(๙) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจและหน้าที่ของพนักงานอัยการ
หรือสานักงานอัยการสูงสุด ...ทั้งนี้ ในการแบ่งส่วนราชการ การกาหนดอานาจและหน้าที่
ให้ทาเป็นประกาศคณะกรรมการอัยการ
สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือ
ทางกฎหมายแก่ประชาชน
ประวัติความเป็นมา
ยุครัฐบาลของ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
- โครงการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนชนบทในเขต
ยากจน (เป็นโครงการหนึ่งในแผนงานบริการขั้นพื้นฐานของแผนพัฒนนา
ชนบทยากจน)
- บรรจุเข้าเป็นส่วนหนึ่งของแผนพัฒนนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๒๙) โดยในชั้นแรกได้มอบหมายให้
สานักนโยบายและแผนมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย เป็นผู้รับผิดชอบ
ประวัติความเป็นมา (ต่อ)

กรมอัยการได้มีการดาเนินงานด้านการคุ้มครอง สิทธิเสรีภาพ และ ผลประโยชน


ของประชาชนตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของพนักงานอัยการ
อยู่ แ ล้ ว โดยมี ค าสั่ ง ที่ ๑๗๔/๒๕๒๕ ลงวั น ที่ ๑๕ กั น ยายน ๒๕๒๕ จั ด ตั้ ง
“สานักงานคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและผลประโยชนของประชาชน” (สคช.) เป็น
หน่วยงานภายใน
ประวัติความเป็นมา (ต่อ)
ยุครัฐบาลของ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์

มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๒๖ เห็นชอบ ตามความเห็นของ


คณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ และระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
ให้โอนโครงการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน ชนบทในเขตยากจน
ให้สานักงานอัยการสูงสุด (กรมอัยการในขณะนั้น) เป็นผู้ดาเนินการสืบต่อมา
ประวัติความเป็นมา (ต่อ)
สานักนโยบายและแผนมหาดไทยได้ส่งมอบงานตามโครงการให้ความช่วยเหลือ
ทางกฎหมายแก่ประชาชนให้กรมอัยการทั้งหมด ในวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๒๗
กรมอัยการก็ได้มอบหมายงานตามโครงการฯ ให้สานักงานคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ
และผลประโยชนของประชาชนดาเนินงานมาตั้งแต่บัดนั้น เป็นต้นมา
ประวัติความเป็นมา (ต่อ)
สานักงานคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและผลประโยชนของประชาชน ดาเนินงาน
ให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนชนบทในเขตยากจน ปรากฏว่า
เกิ ดผลดี ม าเป็น ล าดั บ ดั ง นั้ น เมื่ อ วั น ที่ ๒๑ สิง หาคม ๒๕๒๗ คณะรั ฐ มนตรี
ได้มีมติให้โอนงานช่วยเหลือทางกฎหมายแก่เกษตรกรและผู้ยากจนที่สานักงาน
ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีดาเนินการอยู่ มาให้ สานักงานคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ
และผลประโยชนของประชาชนดาเนินงานต่อไปด้วย
ประวัติความเป็นมา (ต่อ)
พ.ศ. ๒๕๓๑ มีพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมอัยการ กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.
๒๕๓๑ ประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษา เล่ ม ๑๐๕ ตอนที่ ๑๒๒ ลงวั น ที่ ๒๘
กรกฎาคม ๒๕๓๑ แบ่งส่วนราชการในกรมอัยการเพิ่มขึ้น คือ กองคดีเด็กและ
เยาวชน กองคดีภาษีอากร กองคดีศาลแขวง กองคดีเศรษฐกิจและทรัพยากร
และ ส านั กงานคุ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละช่ ว ยเหลื อ ทางกฎหมายแก่ ป ระชาชน โดย
ก าหนดให้ ส านั ก งานคุ้ ม ครองสิ ท ธิ เ สรี ภ าพและผลประโยชน ของประชาชน
เป็นส่วนราชการระดับกอง ตามกฎหมายของกรมอัยการ และเปลี่ยนชื่อเป็น
“สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน” ตามคาสั่ง
กรมอัยการที่ ๑๙๙/๒๕๓๑ ลงวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๓๑
ประวัติความเป็นมา (ต่อ)
ในระยะแรก สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับ
การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและผลประโยชนของประชาชน ตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่
ของพนักงานอัยการ หรือเมื่อมีกรณีอันสมควรเข้าคุ้มครองป้องกันสิทธิเสรีภาพและผลประโยชน ของ
ประชาชนในประการอื่น ที่กฎหมายให้มีอานาจดาเนินการได้ ตลอดจนดาเนินงาน ให้บริการช่วยเหลือ
ทางด้านกฎหมายแก่ประชาชนผู้ยากไร้และประชาชนในชนบท รวมทั้งดาเนินการเผยแพร่ความรู้ทาง
กฎหมายให้แก่ประชาชนทั่วไป ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็น ๓ กอง คือ”
๑) กองคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
๒) กองช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
๓) กองแผนและติดตามประเมินผล
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๓๑ เป็นต้นไป
ประกาศคณะกรรมการอัยการ
เรื่อง การแบ่งหน่วยงาน และการกาหนดอานาจและหน้าที่
ของหน่วยงานภายในของสานักงานอัยการสูงสุด
พ.ศ. ๒๕๖๓
ข้อ ๗ (๓๕)
สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
(ก) สานักอานวยการ
(ข) สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองผู้บริโภค
(ค) สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิ
(ง) สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ
(จ) สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทางกฎหมาย ๑ - ๔
(ฉ) สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายแผนช่วยเหลือทางกฎหมาย
สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน (สคช.)
อธิบดีอัยการ
ร.อคช. (อคช.) ร.อคช.

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายแผน สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย


สานักอานวยการ ช่วยเหลือทางกฎหมาย คุ้มครองสิทธิ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย คุ้มครองสิทธิประชาชน
คุ้มครองผู้บริโภค ระหว่างประเทศ

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง
กฎหมาย ๑ กฎหมาย ๒
ศูนยบริการช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชนเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง
กฎหมาย ๓ กฎหมาย ๔
มหาราชินี และ ๖๐ พรรษา
มหาวชิราลงกรณ
สถานที่ตั้ง
สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
(ส่วนกลาง)
สานักงานอัยการสูงสุด ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ชั้น ๒
เลขที่ ๑๒๐ ถนนแจ้งวัฒนนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่
กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐
ผู้บริหาร
สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือ
ทางกฎหมายแก่ประชาชน
นางกอรปกุล วินิจนัยภาค
อธิบดีอัยการ สานักงานการบังคับคดี รักษาการในตาแหน่ง
อธิบดีอัยการ สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
นายโกศลวัฒนน อินทุจันทรยง
รองอธิบดีอัยการ สานักงานคดีศาลแขวง รักษาการในตาแหน่ง
รองอธิบดีอัยการ สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
นายวิษณุ หาญนัทธี
อัยการพิเศษฝ่าย สานักงานคดีอาญาพระโขนง รักษาการในตาแหน่ง
รองอธิบดีอัยการ สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
ภารกิจของสานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชน

ประกาศคณะกรรมการอัยการ
เรื่อง การแบ่งหน่วยงาน และการกาหนดอานาจและหน้าที่
ของหน่วยงานภายในของสานักงานอัยการสูงสุด
พ.ศ. ๒๕๖๓
ข้อ ๘ (๓๕)
ภารกิจของสานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชน
มีอธิบดีอัยการเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ มีอานาจและหน้าที่
(ก) รับผิดชอบงานดาเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ
และผลประโยชนของประชาชน การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย และการเผยแพร่
ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนและความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชนทัง้ ในประเทศและระหว่าง
ประเทศ
(ข) รับผิดชอบงานดาเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอรรถคดี การให้ความ
ช่วยเหลือทางกฎหมาย และการเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุม้ ครองผู้บริโภค
แก่ประชาชน เว้นแต่การดาเนินคดีคุ้มครองผู้บริโภคในฐานะเจ้าหน้าที่คุ้มครองผูบ้ ริโภคตาม
กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค ให้รับผิดชอบเฉพาะการดาเนินคดีที่อยู่ในอานาจ
พิจารณาพิพากษาของศาลแพ่ง
ภารกิจของสานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชน

(ค) รับผิดชอบการศึกษา วิจัย และพัฒนนาระบบ รูปแบบ วิธีการ


และแนวทางปฏิบัติในการดาเนินการดังกล่าว
(ง) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน
อื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน (สคช.)
อธิบดีอัยการ
ร.อคช. (อคช.) ร.อคช.

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายแผน สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย


สานักอานวยการ ช่วยเหลือทางกฎหมาย คุ้มครองสิทธิ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย คุ้มครองสิทธิประชาชน
คุ้มครองผู้บริโภค ระหว่างประเทศ

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง
กฎหมาย ๑ กฎหมาย ๒
ศูนยบริการช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชนเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง
กฎหมาย ๓ กฎหมาย ๔
มหาราชินี และ ๖๐ พรรษา
มหาวชิราลงกรณ
สานักอานวยการ
มีผู้อานวยการสานักเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ
มีอานาจและหน้าที่
๑) รับผิดชอบงานสนับสนุนงานพนักงานอัยการ งานธุรการ งานสารบบคดี
งานบริหารงานบุคคล งานเลขานุการนักบริหาร งานงบประมาณ งานการเงิน
และบัญชี และงานเกี่ยวกับอาคารสถานที่ พัสดุและยานพาหนะของสานักงาน
คุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
๒) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
หรือที่ได้รับมอบหมาย
สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน (สคช.)
อธิบดีอัยการ
ร.อคช. (อคช.) ร.อคช.

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายแผน สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย


สานักอานวยการ ช่วยเหลือทางกฎหมาย คุ้มครองสิทธิ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย คุ้มครองสิทธิประชาชน
คุ้มครองผู้บริโภค ระหว่างประเทศ

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง
กฎหมาย ๑ กฎหมาย ๒
ศูนยบริการช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชนเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง
กฎหมาย ๓ กฎหมาย ๔
มหาราชินี และ ๖๐ พรรษา
มหาวชิราลงกรณ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองผู้บริโภค
มีอัยการพิเศษฝ่ายเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการ มีอานาจและหน้าที่
๑) รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภคของสานักงานคุ้มครองสิทธิและ
ช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนตามที่สานักงานอัยการสูงสุดกาหนด
๒) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองผู้บริโภค (ต่อ)
● ดาเนินคดีแพ่งแก่ผู้กระทาการละเมิดสิทธิของผู้บริโภคในศาลในฐานะที่
พนักงานอัยการเป็นเจ้าหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภค
● ช่วยเหลือทางอรรถคดีโดยจัดหาทนายความอาสาว่าต่างแก้ต่างแก่ประชาชน
ผู้บริโภค
● ช่วยเหลือในการทานิติกรรมต่าง ๆ และให้คาปรึกษาปัญหากฎหมายและ
ช่วยเหลือประนอมข้อพิพาทแก่ประชาชนผู้บริโภค
● เผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคแก่ประชาชน
● เป็นศูนยประสานงานรับเรื่องราวร้องทุกขจากหน่วยงานอื่น ทั้งในส่วนกลาง
และส่วนภูมิภาค
52
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๓๙ ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรเข้าดาเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของ
ผู้บริโภค หรือเมื่อได้รับคาร้องขอจากผู้บริโภคที่ถูกละเมิดสิทธิ ซึ่งคณะกรรมการเห็นว่าการ
ดาเนินคดีนั้นจะเป็นประโยชนแก่ผู้บริโภคเป็นส่วนรวม คณะกรรมการมีอานาจแต่งตั้งพนักงาน
อัยการ โดยความเห็นชอบของอธิบดีกรมอัยการหรือข้าราชการในสานักงานคณะกรรมการ
คุ้มครองผู้บริโภคซึ่งมีคุณวุฒนิไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทางนิติศาสตร เป็นเจ้าหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภค
เพื่อให้มีหน้าที่ดาเนินคดีแพ่งและคดีอาญาแก่ผู้กระทาการละเมิดสิทธิของผู้บริโภคในศาล และ
เมื่อคณะกรรมการได้แจ้งไปยังกระทรวงยุติธรรมเพื่อแจ้งให้ศาลทราบแล้วให้เจ้าหน้าที่คุ้มครอง
ผู้บริโภคมีอานาจดาเนินคดีตามที่คณะกรรมการมอบหมายได้
ในการดาเนินคดีในศาล ให้เจ้าหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจฟ้องเรียกทรัพยสิน
หรือค่าเสียหายให้แก่ผู้บริโภคที่ร้องขอได้ด้วย และในการนี้ให้ได้รับยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง
กรณีสัญญา/อสังหาริมทรัพย

53
54
55
ตัวอย่างกรณีสัญญา/อสังหาริมทรัพย

ผิดสัญญาจะซื้อจะขาย
- ก่อสร้างบ้าน/อาคารชุดไม่แล้วเสร็จตามสัญญา
- ก่อสร้างไม่ตรงตามแบบแปลนและตรงตามสัญญา ไม่จัดทาสาธารณูปโภค
ตามสัญญาและตามที่โฆษณา
- ไม่โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง/ที่ดิน/อาคารชุด
- ส่งมอบที่ดินไม่ครบถ้วน
- ก่อสร้างไม่ได้คุณภาพ ชารุดบกพร่อง ไม่ได้คุณภาพ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองผู้บริโภค (ต่อ)

สถานที่ตั้ง
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองผู้บริโภค
สานักงานอัยการสูงสุด อาคารถนนรัชดาภิเษก ชั้น ๒
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทรศัพท ๐ ๒๕๑๕ ๔๑๑๒ - ๗
E-mail : ocp@ago.go.th
สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน (สคช.)
อธิบดีอัยการ
ร.อคช. (อคช.) ร.อคช.

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายแผน สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย


สานักอานวยการ ช่วยเหลือทางกฎหมาย คุ้มครองสิทธิ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย คุ้มครองสิทธิประชาชน
คุ้มครองผู้บริโภค ระหว่างประเทศ

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง
กฎหมาย ๑ กฎหมาย ๒
ศูนยบริการช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชนเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง
กฎหมาย ๓ กฎหมาย ๔
มหาราชินี และ ๖๐ พรรษา
มหาวชิราลงกรณ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิ
มีอัยการพิเศษฝ่ายเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการ มีอานาจและหน้าที่
๑) รับผิดชอบงานคุ้มครองสิทธิของสานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือ
ทางกฎหมายแก่ประชาชนตามที่สานักงานอัยการสูงสุดกาหนด
๒) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิ (ต่อ)
● งานคุ้มครองสิทธิทางศาลตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นอานาจและหน้าที่ของ
พนักงานอัยการ ที่อยู่ในอานาจพิจารณาพิพากษาของศาลแพ่ง หรือศาลเยาวชน
และครอบครัวกลาง เช่น ขอให้ตั้งผู้จัดการมรดก ตั้งผู้อนุบาล ขอรับบุตรบุญธรรม
ตั้งผู้ปกครอง ตั้งผู้พิทักษ และขอให้ศาลสั่งเป็นคนสาบสูญ เป็นต้น
● การให้คาปรึกษา แนะนา หรือให้ความเห็นทางกฎหมาย
● การตอบปัญหาทางด้านกฎหมายที่มีผู้สอบถามทางเว็บไซต หรืออีเมลของ
สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
● เผยแพร่และประชาสัมพันธงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่
ประชาชน
● ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิ (ต่อ)

สถานที่ตั้ง
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิ
สานักงานอัยการสูงสุด อาคารถนนรัชดาภิเษก ชั้น ๒
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทรศัพท ๐ ๒๕๑๕ ๔๐๖๑, ๐ ๒๕๑๕ ๔๐๕๔
โทรสาร ๐ ๒๕๑๕ ๔๐๖๑
E-mail : protect@ago.go.th
สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน (สคช.)
อธิบดีอัยการ
ร.อคช. (อคช.) ร.อคช.

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายแผน สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย


สานักอานวยการ ช่วยเหลือทางกฎหมาย คุ้มครองสิทธิ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย คุ้มครองสิทธิประชาชน
คุ้มครองผู้บริโภค ระหว่างประเทศ

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง
กฎหมาย ๑ กฎหมาย ๒
ศูนยบริการช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชนเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง
กฎหมาย ๓ กฎหมาย ๔
มหาราชินี และ ๖๐ พรรษา
มหาวชิราลงกรณ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ
มีอัยการพิเศษฝ่ายเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการ มีอานาจและหน้าที่
๑) รับผิดชอบงานคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศของสานักงาน
คุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนตามที่สานักงาน
อัยการสูงสุดกาหนด
๒) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ
(ต่อ)
● ให้การคุ้มครองสิทธิประชาชนไทยทั้งในและต่างประเทศ
● ให้คาปรึกษาปัญหากฎหมายแก่คนไทยและคนต่างชาติ
● คลินิกสัญจรให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายทั้งในและต่างประเทศ
● ปฏิบัติงานตามที่อัยการสูงสุดมอบหมายที่เกี่ยวข้องกับกติการะหว่าง
ประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
● ประสานกับหน่วยงานอื่น ๆ ในด้านการคุ้มครองสิทธิ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ
(ต่อ)
การเผยแพร่ความรู้ในประเทศ
การบรรยายให้ความรู้ทางกฎหมายกับกลุ่มเป้าหมาย เช่น
- มรดก
- ที่ดิน
- สัญชาติ
- การเกณฑทหาร
- บุตร
- ลักพาตัวเด็กข้ามชาติ เป็นต้น
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ (ต่อ)

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๕


ณ ศูนยธารชีวิตเพื่อสตรี (มูลนิธิคณะศรีชุมพาบาล) เมืองพัทยา จ.ชลบุรี
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ (ต่อ)
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ (ต่อ)
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ (ต่อ)
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ (ต่อ)
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ (ต่อ)
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ (ต่อ)
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ (ต่อ)
การเผยแพร่ความรู้ในต่างประเทศ
โดยประสานความร่วมมือกับชุมชนไทยในต่างประเทศ สถานทูต กงศุล
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ
(ต่อ)
การบรรยาย online
ผ่านรายการ “#อัยการช่วยได้”
รับชมได้ทาง page facebook ของ สฝคป.
https://www.facebook.com/oippthai/videos/?ref=page_internal
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ (ต่อ)
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ
(ต่อ)
ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น อาทิ
●กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม
(เข้าร่วมประชุมความร่วมมือด้านสิทธิมนุษยชน)
● กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
(เป็นคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองการจ่ายเงินเยียวยา
นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ)
● กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ
(เป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้ทางกฎหมาย)
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ (ต่อ)
เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ นายอัครวุฒนิ จิตรปฏิมา อัครราชทูต ณ กรุงมาปูโต ผู้บริหาร
กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ ได้นาคณะวิทยากรสหวิชาชีพจากสานักงานอัยการ
สูงสุด สานัก งานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย บรรยายให้
ความรู้และให้บริการคาปรึกษาด้านกฎหมาย ทะเบียนราษฎร สัญชาติ และการเข้าเมืองแก่
คนไทยในเมืองโอเลซุนด ณ วัดโพธิธรรม เมืองโอเลซุนด ประเทศนอรเวย มีผู้เข้าร่วมรับฟัง
การบรรยายและรับบริการคาปรึกษาประมาณ ๗๐ คน โดยประเด็นที่ผู้เข้าร่วมให้ความสนใจ
สอบถามข้อมูล ได้แก่ กฎหมายครอบครัว (การสมรมและการหย่า ) การทาพินัยกรรมและ
การรับมรดก การถือครองอสังหาริมทรัพย การเกณฑทหารของบุตรสองสัญชาติ การแจ้งเกิด
การย้ายชื่อเข้าทะเบียนบ้าน การเสียสัญชาติไทย รูปแบบการตรวจลงตรา และการแจ้งที่พัก
คนต่างด้าวในประเทศไทย เป็นต้น
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ
(ต่อ)

คาปรึกษาที่พบบ่อย
- ขอรับเงินบานาญแม่หม้าย กรณีที่สามีชาวต่างชาติเสียชีวิต
- ขอตั้งเป็นผู้จัดการมรดกชาวต่างชาติที่มีทรัพยสินในประเทศไทย
- การลักพาตัวเด็กข้ามชาติ
- การสมรส หย่า กับชาวต่างชาติ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ
(ต่อ)

สถานที่ตั้ง
สานักงานอัยการสูงสุด อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ชั้น ๒
ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
ถนนแจ้งวัฒนนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๑๐
โทร. ๐ ๒๑๔๒ ๑๕๓๒ - ๓ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๗๙
E-mail humanright@ago.go.th
สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน (สคช.)
อธิบดีอัยการ
ร.อคช. (อคช.) ร.อคช.

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายแผน สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย


สานักอานวยการ ช่วยเหลือทางกฎหมาย คุ้มครองสิทธิ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย คุ้มครองสิทธิประชาชน
คุ้มครองผู้บริโภค ระหว่างประเทศ

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง
กฎหมาย ๑ กฎหมาย ๒
ศูนยบริการช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชนเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง
กฎหมาย ๓ กฎหมาย ๔
มหาราชินี และ ๖๐ พรรษา
มหาวชิราลงกรณ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทางกฎหมาย ๑ - ๔
มีอัยการพิเศษฝ่ายเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการ มีอานาจและหน้าที่
๑) รับผิดชอบงานช่วยเหลือทางกฎหมายของสานักงานคุ้มครองสิทธิและ
ช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนตามที่สานักงานอัยการสูงสุดกาหนด
๒) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
(รัชดาภิเษก หลักเมือง ธนบุรี มีนบุรี)
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทางกฎหมาย ๑ - ๔
- การให้คาปรึกษากฎหมาย
- การให้ความช่วยเหลือในการจัดทานิติกรรมสัญญา
- การไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท
- การให้ความช่วยเหลือทางอรรถคดี
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทางกฎหมาย ๑ - ๔
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทางกฎหมาย ๑ - ๔
สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน (สคช.)
อธิบดีอัยการ
ร.อคช. (อคช.) ร.อคช.

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายแผน สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย


สานักอานวยการ ช่วยเหลือทางกฎหมาย คุ้มครองสิทธิ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่าย คุ้มครองสิทธิประชาชน
คุ้มครองผู้บริโภค ระหว่างประเทศ

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง
กฎหมาย ๑ กฎหมาย ๒
ศูนยบริการช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชนเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทาง
กฎหมาย ๓ กฎหมาย ๔
มหาราชินี และ ๖๐ พรรษา
มหาวชิราลงกรณ
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายแผนช่วยเหลือทางกฎหมาย
มีอัยการพิเศษฝ่ายเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการ มีอานาจและหน้าที่
๑) รับผิดชอบงานแผนงานของสานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทาง
กฎหมายแก่ประชาชนตามที่สานักงานอัยการสูงสุดกาหนด
๒) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายแผนช่วยเหลือทางกฎหมาย (ต่อ)
งานแผนงานของสานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่
ประชาชน เช่น
- จัดทาคาของบประมาณประจาปีงบประมาณ
- จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ
- สื่อสารแผนปฏิบัติการ
- ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผน
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายแผนช่วยเหลือทางกฎหมาย
(ต่อ)

สถานที่ตั้ง
สานักงานอัยการสูงสุด อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ชั้น ๒
ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
ถนนแจ้งวัฒนนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๑๐
สานักงานในต่างจังหวัด

สานักงานอัยการภาค สานักงานคดีศาลสูงภาค สานักงานคดีแรงงานภาค สานักงานคดีปราบปราม


๑-๙ สานักงานคดีปกครอง
๑–๙ ๑–๙ การทุจริตภาค ๑ - ๙

สานักงาน สานัก สานักงาน สานักงาน สานักงาน สานักงาน


อัยการพิเศษ อัยการพิเศษ สานัก อัยการพิเศษ สานัก อัยการพิเศษ สานัก อัยการพิเศษ สานัก
อานวยการ อานวยการ อานวยการ อานวยการ อานวยการ
ฝ่าย ฝ่าย ฝ่าย ฝ่าย ฝ่าย

สานักงานอัยการ
สานักงาน สานักงานอัยการ สานักงานอัยการ
คุ้มครองสิทธิและ
อัยการจังหวัด คดีศาลแขวง คดีเยาวชนและ
ช่วยเหลือทางกฎหมาย
ครอบครัวจังหวัด
และการบังคับคดีจังหวัด
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิ
และช่วยเหลือทางกฎหมายภาค
ประกาศคณะกรรมการอัยการ เรื่อง การแบ่งหน่วยงาน
และการกาหนดอานาจและหน้าที่ของหน่วยงานภายในของ
สานักงานอัยการสูงสุด พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๗ (๕๗) (จ)
อานาจและหน้าที่
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายภาค
ประกาศคณะกรรมการอัยการ
เรื่อง การแบ่งหน่วยงาน และการกาหนดอานาจและหน้าที่ของหน่วยงาน
ภายในของสานักงานอัยการสูงสุด พ.ศ. ๒๕๖๓
ข้อ ๘ (๕๗) (ง)
...มีอัยการพิเศษฝ่ายเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ
มีอานาจและหน้าที่....
อานาจและหน้าที่
สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายภาค

๑) รับผิดชอบงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
ภายในเขตท้องที่ของสานักงานอัยการภาคตามที่สานักงานอัยการสูงสุด
กาหนด
๒) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
ภาค ๑ - อาเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภาค ๒ - อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
ภาค ๓ – อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
ภาค ๔ - อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
ภาค ๕ - อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
ภาค ๖ - อาเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
ภาค ๗ - อาเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
ภาค ๘ - อาเภอเมืองสุราษฎรธานี จังหวัดสุราษฎรธานี
ภาค ๙ - อาเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
สานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิ
และช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัด
ประกาศคณะกรรมการอัยการ เรื่อง การแบ่งหน่วยงาน และ
การกาหนดอานาจและหน้าที่ของหน่วยงานภายในของสานักงาน
อัยการสูงสุด พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๗ (๖๑)
อานาจและหน้าที่สานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิ
และช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัด
ประกาศคณะกรรมการอัยการ
เรื่อง การแบ่งหน่วยงาน และการกาหนดอานาจและหน้าที่ของหน่วยงาน
ภายในของสานักงานอัยการสูงสุด พ.ศ. ๒๕๖๓
ข้อ ๘ (๖๑)
...มีอัยการจังหวัดคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดี
เป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ มีอานาจและหน้าที่
....
อานาจและหน้าที่สานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิ
และช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัด (ต่อ)
(ก) รับผิดชอบงานดาเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและผลประโยชนของประชาชน
การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย และการเผยแพร่ความรู้ด้าน
สิทธิมนุษยชนและความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน ภายในเขต
ท้องที่จังหวัดนั้น ๆ ตามที่สานักงานอัยการสูงสุดกาหนด
อานาจและหน้าที่สานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิ
และช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัด (ต่อ)
(ข) รับผิดชอบงานดาเนินการเกี่ยวกับการคุม้ ครองสิทธิและการให้
ความช่วยเหลือทางกฎหมายด้านอรรถคดีแก่ประชาชนภายในเขตท้องที่
จังหวัดนั้น ๆ รวมถึงการดาเนินคดีทั้งปวงในอานาจและหน้าที่ของ
พนักงานอัยการหรือสานักงานอัยการสูงสุดเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิ
และช่วยเหลือทางกฎหมายซึ่งอยู่ในอานาจพิจารณาพิพากษาของศาล
จังหวัด ศาลจังหวัดสาขา ศาลแขวง ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด
หรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอืน่ ในศาลนั้น ๆ แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ตาม
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และคาสั่งว่าด้วยการนั้น
อานาจและหน้าที่สานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิ
และช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัด (ต่อ)
(ค) รับผิดชอบงานดาเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน
อรรถคดี การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย การเผยแพร่ความรู้
ทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคแก่ประชาชนภายในเขต
ท้องที่จังหวัดนั้น ๆ ตามที่สานักงานอัยการสูงสุดกาหนด
อานาจและหน้าที่สานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิ
และช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัด (ต่อ)
(ง) รับผิดชอบงานศูนยกลางระบบฐานข้อมูลลูกหนี้ตามคาพิพากษาของ
หน่วยงานของรัฐและจาเลยที่ถูกยึดทรัพยสินใช้ค่าปรับตามคาพิพากษา
งานสารวจตรวจสอบข้อมูลทรัพยสินและสถานะของลูกหนี้ตามคาพิพากษา
ของหน่วยงานของรัฐและจาเลยที่ถูกยึดทรัพยสินใช้ค่าปรับตามคาพิพากษา
และงานการบังคับคดีแพ่ง คดีปกครอง และคดีอาญาเฉพาะในส่วนของการ
ยึดทรัพยสินใช้ค่าปรับตามคาพิพากษา และงานสืบหาทรัพยสินเพื่อการบังคับ
ตามมาตรการบังคับทางปกครอง การติดตามทรัพย และการดาเนินการตาม
คาพิพากษาเกี่ยวกับการยึดทรัพยและการบังคับคดีตามที่กฎหมายกาหนดให้
เป็นอานาจและหน้าที่ของพนักงานอัยการหรือสานักงานอัยการสูงสุดภายใน
เขตท้องที่จังหวัดนั้น ๆ ตามที่สานักงานอัยการสูงสุดกาหนด
อานาจและหน้าที่สานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิ
และช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัด (ต่อ)
(จ) รับผิดชอบงานดาเนินคดีทั้งปวงอันเกี่ยวกับการบังคับคดีแพ่ง คดีปกครอง และ
คดีอาญาเฉพาะในส่วนของการยึดทรัพยสินใช้ค่าปรับตามคาพิพากษาตามที่
กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจและหน้าที่ของพนักงานอัยการหรือสานักงานอัยการ
สูงสุดภายในเขตท้องที่จังหวัดนั้น ๆ ตามที่สานักงานอัยการสูงสุดกาหนด
(ฉ) รับผิดชอบงานสืบหาทรัพยสินเพื่อการบังคับตามมาตรการบังคับทางปกครอง
การติดตามทรัพย และการดาเนินการตามคาพิพากษาเกี่ยวกับการยึดทรัพยและการ
บังคับคดีที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของพนักงานอัยการหรือสานักงาน
อัยการสูงสุดภายในเขตท้องที่จังหวัดนั้น ๆ ตามที่สานักงานอัยการสูงสุดกาหนด
(ช) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ
ที่ได้รับมอบหมาย
สานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
และการบังคับคดีจังหวัด (สคชจ.) มีในทุกจังหวัด

ประเทศไทยมีกี่จังหวัด ?
สานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
และการบังคับคดีจังหวัด (สคชจ.) มีกี่แห่ง ?
เมื่อต้นปี พ.ศ. ๒๕๖๓
กรมการปกครอง มีหนังสือชี้แจงข่าวปลอมในโซเชียล
อ้างประกาศชาวไทยจะมี ๘๓ จังหวัด
ชี้เป็นข่าวปลอมตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๘
ยืนยันปัจจุบันประเทศไทย มีจานวนทั้งสิ้น ๗๖ จังหวัด
หากมีข้อสงสัย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
สานักบริหารการปกครองท้องที่ (สน.ปท.) กรมการปกครอง
กระทรวงมหาดไทย หมายเลขโทรศัพท ๐ ๒๖๒๙ ๘๓๐๖ – ๑๔ ต่อ ๕๑๖
กรุงเทพมหานคร ???

- เป็นเขตปกครองพิเศษของประเทศไทย มิได้มีสถานะเป็นจังหวัด
- คาว่า "กรุงเทพมหานคร" นั้นยังใช้เรียกองคกรปกครองส่วนท้องถิ่น
ของกรุงเทพมหานครอีกด้วย
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87
%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%
E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3

หากมีข้อสงสัย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สานักบริหารการปกครองท้องที่ (สน.ปท.)


กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย หมายเลขโทรศัพท ๐ ๒๖๒๙ ๘๓๐๖ – ๑๔ ต่อ ๕๑๖
สานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
และการบังคับคดีจังหวัด (สคชจ.) มีในทุกจังหวัด

ประเทศไทยมี ๗๖ จังหวัด

สานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
และการบังคับคดีจังหวัด (สคชจ.) มี ๗๖ แห่ง
สานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและ
การบังคับคดีจังหวัด (สคชจ.) ในทุกจังหวัด ๗๖ จังหวัด

สานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและ
การบังคับคดีจังหวัดที่ตั้งอยู่ ณ อาเภอ ๓๖ อาเภอ (สคชจ. (สาขา))
เช่น ชัยบาดาล จ.ลพบุรี, นาทวี จ. สงขลา, พัทยา จ.ชลบุรี, นางรอง จ.บุรีรัมย,
สว่างแดนดิน จ.สกลนคร, แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน, แม่สอด จ.ตาก เป็นต้น

ทั่วประเทศรวม ๑๑๒ สานักงาน


105
สานักงานอัยการภาค ๑ - ๙

สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายภาค ๑ - ๙

สคชจ. และ สคชจ.(สาขา) รวม ๑๑๒ แห่ง

สคชจ.สาขา (ศาลอาเภอ) ๓๖ แห่ง เช่น ชัยบาดาล จ.ลพบุรี /


สคชจ.ทั่วประเทศ พัทยา จ.ชลบุรี/ นางรอง จ.บุรีรัมย /สว่างแดนดิน จ.สกลนคร /
๗๖ จังหวัด แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน /แม่สอด จ.ตาก เป็นต้น
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒
107
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
พ.ศ. ๒๕๖๒
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหกสิบวันนับแต่วัน
ประกาศเป็นต้นไป

(ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒)


ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
108
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒

ข้อ ๓ ให้ยกเลิก
(๑) ระเบียบกรมอัยการว่าด้วยการช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๓๓
(๒) ระเบียบ อส. ว่าด้วยการช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๔๖
(๓) ระเบียบ อส. ว่าด้วยการช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.
๒๕๔๗
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
109
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒

ข้อ ๔ ในระเบียบนี้
“สคช.” หมายความว่า สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่
ประชาชน และให้หมายความรวมถึงสานักงานอัยการพิเศษฝ่าย หรือหน่วยงานที่
เรียกชื่ออย่างอื่นในสังกัดสานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่
ประชาชน ที่จัดตั้งขึ้นในเขตกรุงเทพมหานคร
“สคชจ.”หมายความว่าสานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
และการบังคับคดีจังหวัด
“สคชจ. (สาขา)”หมายความว่า สานักงานที่เป็นสาขาของ สคชจ.
110
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒
ข้อ ๘
สคช. มีอานาจหน้าที่ให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนได้ทั่วราชอาณาจักร
รวมทั้งคนไทยในต่างประเทศ
สคชจ. หรื อ สคชจ. (สาขา) มีอานาจหน้าที่ใ ห้ความช่ วยเหลือทางกฎหมายแก่
ประชาชนภายในเขตท้องที่จังหวัดนั้น ๆ ตามที่สานักงานอัยการสูงสุดกาหนด
111
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒
ข้อ ๑๒ (วรรคหนึ่ง)
การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน ได้แก่
- การให้คาปรึกษาหารือทางกฎหมาย
- การให้ความช่วยเหลือในการจัดทานิติกรรมและสัญญา
- การให้ความช่วยเหลือในการประนอมข้อพิพาท และ
- การให้ความช่วยเหลือทางอรรถคดี เช่น การรับว่าต่าง การรับแก้ต่าง และการยื่น
คาร้องในคดีแพ่ง คดีอาญา คดีแรงงาน และอื่น ๆ
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
113
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒

การให้คาปรึกษาหารือทางกฎหมาย (ข้อ ๑๙ วรรคหนึ่งและสอง)


- โดยเสมอภาคกัน โดยไม่คานึงถึงฐานะ รายได้
- ให้คาปรึกษาไปในทางที่ถูกที่ควรตามทานองคลองธรรม
- ไม่เป็นการเอารัดเอาเปรียบผู้อื่น
- ไม่ฝ่าฝืนหรือหลีกเลีย่ งกฎหมาย
- ต้องฟังข้อเท็จจริงให้ถ่องแท้เสียก่อน
- เพื่อให้คาปรึกษานั้นเป็นไปด้วยความถูกต้องและยุติธรรม
พนักงานอัยการ
นิติกร

ทนายความอาสา
115
116
117
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
118
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒

การจัดทานิติกรรมและสัญญา (ข้อ ๒๑)


- จะพิจารณาให้ความช่วยเหลือเฉพาะประชาชนผู้ยากจนเท่านั้น
- จัดทาไปตามประสงค์ของผู้ขอความช่วยเหลือ
- แต่ทั้งนี้จะต้องเป็นไปด้วยความเป็นธรรมและไม่ฝ่าฝืนกฎหมาย
ความหมายของนิติกรรมและสัญญา
119

นิติกรรม คือ การกระทาของบุคคลโดยชอบด้วยกฎหมายและมุ่งต่อ


ผลในกฎหมาย ที่จะเกิดขึ้นเพื่อการก่อสิทธิ เปลี่ยนแปลงสิทธิ โอน
สิทธิ สงวนสิทธิ สงวนสิทธิ และระงับซึ่งสิทธิ เช่น สัญญาซื้อขาย
สัญญากู้เงิน สัญญาจ้างแรงงาน สัญญาให้และพินัยกรรม เป็นต้น
ความหมายของนิติกรรมและสัญญา (ต่อ)
120

สัญญา คือ นิติกรรมชนิดหนึ่ง แต่เป็นนิติกรรมที่มีบุคคล ๒ ฝ่าย


หรือมากกว่านั้นมาตกลงกัน โดยแสดงเจตนาเสนอและสนองตรงกัน
ก่อให้เกิดสัญญาขึ้น

สัญญาย่อมก่อให้เกิดหนี้ เกิดความผูกพันระหว่างเจ้าหนี้กับลูกหนี้
โดยเจ้าหนี้มีสิทธิเรียกร้องให้ลูกหนี้ชาระหนี้ได้ตามกฎหมาย
สัญญาซื้อขาย
121

สัญญาซื้อขาย คือ สัญญาที่ผู้ขายโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้แก่


ผู้ซื้อ และผู้ซื้อตกลงว่าจะใช้ราคาทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ขาย

การโอนกรรมสิทธิ์ หมายถึง การโอนความเป็นเจ้าของในทรัพย์สิน


ที่ซื้อขายนั้นไปให้แก่ผู้ซื้อ ผู้ซื้อเมื่อได้เป็นเจ้าของก็สามารถที่จะใช้
ได้รับ ประโยชน์ หรือจะขายต่อไปอย่างไรก็ได้
สัญญาขายฝาก
122

สัญญาขายฝาก เป็นสัญญาซื้อขายซึ่งสิทธิแห่งความเป็นเจ้าของ
ในทรัพย์สินตกไปยังผู้ซื้อ โดยผู้ซื้อตกลงในขณะทาสัญญาว่า
ผู้ขายมีสิทธิไถ่ทรัพย์สินนั้นคืนได้ภายในกาหนดเวลาเท่าใด แต่ต้อง
ไม่เกินเวลาที่กฎหมายกาหนดไว้ เช่น ขายที่ดินโดยมีข้อตกลงว่า
ถ้าผู้ขายต้องการซื้อคืน ผู้ซื้อจะยอมขายคืนเช่นนี้ถือว่าเป็นข้อตกลง
ให้ไถ่คืนได้
การเช่าทรัพย
123

การเช่าทรัพย์ คือสัญญาที่มีบุคคลอยู่สองฝ่าย ฝ่ายแรกคือผู้ให้เช่า


ฝ่ายที่สองคือผู้เช่า ทั้งสองฝ่ายต่างก็มีหนี้ทจี่ ะต้องชาระให้แก่กัน
และกัน โดยฝ่ายผู้ให้เช่ามีหนี้ที่จะต้องให้ผู้เช่าได้ใช้หรือได้รับ
ประโยชน์ในทรัพย์ที่เช่า ส่วนฝ่ายผู้เช่าก็มีหนี้ที่จะต้องชาระค่าเช่า
เป็นการตอบแทน
สัญญาเช่าซื้อ
124

สัญญาเช่าซื้อ คือ สัญญาที่เจ้าของทรัพย์สินเอาทรัพย์สินของตน


ออกให้ผู้อื่นเช่า เพื่อใช้สอยหรือเพื่อให้ได้รับประโยชน์ และให้คามั่น
ว่าจะขายทรัพย์นั้น หรือจะให้ทรัพย์สินที่เช่าตกเป็นสิทธิแก่ผู้เช่าซื้อ
เมื่อได้ใช้เงินจนครบตามที่ตกลงไว้โดยการชาระเป็นงวดๆ จนครบ
ตามข้อตกลง
การกู้ยืมเงิน
125

การกู้ยืมเงินเป็นสัญญาอย่างหนึ่ง ซึ่งเกิดจากบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่ง
เรียกว่า "ผู้ก"ู้ มีความต้องการจะใช้เงิน แต่ตนเองมีเงินไม่พอ หรือ
ไม่มี เงินไปขอกู้ยืมจากบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า "ผู้ให้กู้" และผู้กู้
ตกลงจะใช้คืน ภายในกาหนดเวลาใดเวลาหนึ่ง การกู้ยืมจะมีผล
สมบูรณ์ก็ต่อเมื่อ มีการส่ง มอบเงินที่ยืมให้แก่ผู้ที่ให้ยืม ในการกู้ยืมนี้
ผู้ให้กู้จะคิดดอกเบี้ยหรือไม่ก็ได้
ค้าประกัน
126

ค้าประกัน หมายถึง สัญญาที่บุคคลหนึ่ง เรียกว่า "ผูค้ ้าประกัน"


สัญญาว่าจะชาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ ถ้าหากลูกหนี้ไม่ยอมชาระหนี้

ชนิดของสัญญาค้าประกัน ได้แก่ สัญญาค้าประกันอย่างไม่จากัด


จานวน และสัญญาค้าประกันจากัดความรับผิด
จานา
127

จานา คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า ผู้จานา ส่งมอบ


สังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเป็นผู้ครอบครองเรียกว่า
ผู้รับจานา เพื่อประกันการชาระหนี้ ทรัพย์สินที่จานาได้คือ ทรัพย์สิน
ที่สามารถเคลื่อนที่ ได้ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ ช้าง ม้า โค กระบือ และ
เครื่องทองรูปพรรณ สร้อย แหวน เพชร เป็นต้น
จานอง
128

จานอง คือการที่ใครคนหนึ่งเรียกว่า ผู้จานองเอาอสังหาริมทรัพย์ อัน


ได้แก่ ที่ดิน บ้านเรือน เป็นต้น ไปตราไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า
ผู้รับจานอง หรือนัยหนึ่ง ผู้จานองเอาทรัพย์สินไปทาหนังสือจด
ทะเบียนต่อเจ้าพนักงาน เพื่อเป็นประกัน การชาระหนี้ของลูกหนี้
โดยไม่ต้องส่งมอบทรัพย์ที่จานองให้เจ้าหนี้ ผู้จานองอาจเป็นตัว
ลูกหนี้เองหรือจะเป็นบุคคลภายนอกก็ได้
การจัดทานิติกรรมและสัญญา
การให้ความช่วยเหลือในการจัดทานิติกรรมหรือสัญญาจะพิจารณาให้
ความช่วยเหลือ เฉพาะประชาชนผู้ยากจนเท่านั้น โดยจัดทาไปตามประสงค์
ของผู้ ข อความช่ ว ยเหลื อ แต่ ทั้ ง นี้ จ ะต้ อ งเป็ น ไปด้ ว ยความเป็ น ธรรมและ
ไม่ฝ่าฝืนกฎหมาย
ให้ผู้ร่างนิติกรรมหรือสัญญาเสนอร่างดังกล่าวต่อหัวหน้าพนักงานอัยการ
เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนที่จะมอบให้ผู้ร้องขอรับความช่วยเหลือ
นาไปใช้ และให้เก็บสาเนานิติกรรมหรือสัญญาไว้อย่างน้อย ๑ ชุด
(ระเบียบ อส. ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๒๑)
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
130
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒

การประนอมข้อพิพาท
- ไม่คานึงถึงฐานะ รายได้ ของผู้ขอรับความช่วยเหลือ (ข้อ ๒๒)
- ต้องกระทาด้วยความเที่ยงธรรมเป็นกลาง (ข้อ ๒๓)
- ไม่กระทาการใดเพื่อเป็นการจูงใจ ให้คามั่นสัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรือ
โดยมิชอบประการอื่น เพื่อให้คู่กรณียินยอมในการประนอมข้อพิพาท
(ข้อ ๒๓)
ไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท
สะดวก รวดเร็ว ประหยัด ลดปริมาณคดีขึ้นสู่ศาล สังคมสมานฉันท
พนักงานอัยการ
นิติกร
ทนายความอาสา
133
การช่วยเหลืออรรถคดี จัดทนายความอาสา

การฟ้องหย่า
การขอเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร
การยื่นคาร้องขอรับรองบุตร
การขออนุญาตศาลแทนการยินยอมของผู้เยาว์
(การจัดการทรัพย์ของผู้เยาว์)
(หน้าที่ของทนายความอาสา)
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
134
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒

ข้อ ๔
“ทนายความอาสา” หมายความว่า ทนายความซึ่งได้อาสาสมัครเป็นผู้ทาหน้าที่ให้
ความช่ ว ยเหลื อ ทางกฎหมายแก่ ป ระชาชน และได้ รั บ อนุ มั ติ แ ต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น
ทนายความอาสา
“ทนายความอาสาอาวุโส” หมายความว่า ทนายความซึ่งได้อาสาสมัครเป็นผู้ทา
หน้าที่ให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน และได้รับอนุมัติแต่งตั้งให้เป็น
ทนายความอาสาอาวุโส
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
135
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒

ข้อ ๔๘
ทนายความอาสาต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
ก. คุณสมบัติทั่วไป
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่ต่ากว่า ๒๓ ปี ในวันรับสมัคร
(๓) เป็นผู้ได้รับอนุญาตให้เป็นทนายความตามกฎหมายว่าด้วยทนายความ
(๔) เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญด้วยความบริสุทธิ์ใจ
และมีจิตอาสา
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
136
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒

ข้อ ๔๘
ทนายความอาสาต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
ข. ลักษณะต้องห้าม
(๑) เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือบกพร่องในศีลธรรมอันดี
(๒) เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว
(๓) เป็นหรือเคยเป็นผู้ถูกสั่งให้พ้นสภาพการเป็นทนายความอาสาหรือทนายความอาสาอาวุโส
ตามระเบียบนี้
(๔) เป็นผู้เคยถูกลงโทษไล่ออก ปลดออก หรือ ให้ออกจากราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่น
ของรัฐ หรือหน่วยงานของเอกชน
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
137
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒

ข้อ ๔๘
ทนายความอาสาต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
ข. ลักษณะต้องห้าม
(๕) เป็นผู้เคยรับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่
ได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๖) เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือมีกาย
หรือจิตใจไม่เหมาะสมที่จะเป็นทนายความอาสา
(๗) เป็นผู้เคยถูกสอบสวนคดีมารยาททนายความ และถูกลงโทษฐานประพฤติผิดมารยาท
ทนายความ
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
138
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒

ข้อ ๔๙
ทนายความอาสาอาวุโสต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามเช่นเดียวกับ
ทนายความอาสา และเป็นผู้รับบาเหน็จหรือบานาญตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จ
บานาญข้าราชการ หรือกฎหมายว่าด้วยกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการซึ่งเคย
รับราชการเป็นข้าราชการสานักงานอัยการสูงสุดหรือหน่วยราชการอื่น หรือเป็น
ผู้ทรงคุณวุฒนิที่อัยการสูงสุดเห็นสมควรรับไว้เป็นทนายความอาสาอาวุโส
ส่วนที่ ๑ การเป็นทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโส
ข้อ ๔๕ ใน สคช. ให้มีคณะกรรมการทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโสคณะหนึ่งเรียกโดย
ย่อว่า กทอ. ประกอบด้วยอธิบดีอัยการหรือผู้ที่รับมอบหมายเป็นประธานกรรมการ รองอธิบดีอัยการ
อัยการพิเศษฝ่ายทุกฝ่ายใน สคช. ผู้แทนจากสานักงานวิชาการ และผู้แทนจากสานักงานคดีแพ่ง เป็น
กรรมการ
ใน สคชจ. ให้มีคณะกรรมการทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโสคณะหนึ่งเรียกโดยย่อ
ว่า กทอ. จังหวัด ประกอบด้วยอธิบดีอัยการภาคหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ
อัยการพิเศษฝ่ายคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนภาค อัยการจังหวัดคุ้มครอง
สิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดี อัยการจังหวัดประจาสานักงานอัยการสูงสุด
(ผู้รับผิดชอบงาน สคชจ. หรือ สคชจ. (สาขา)) และรองอัยการจังหวัด (ผู้รับผิดชอบงาน สคชจ. หรือ
สคชจ. (สาขา)) ที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณีเป็นกรรมการ
ให้ประธาน กทอ. หรือ ประธาน กทอ. จังหวัด ตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง แต่งตั้งพนักงาน
อัยการคนหนึ่งเป็นเลขานุการ
ข้อ ๔๖ นอกจากอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในหมวดนี้ ให้ กทอ. หรือ กทอ.
จังหวัด มีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) ดาเนินการควบคุม ดูแล และจัดหาทนายความอาสาและทนายความอาสา
อาวุโสใน สคช. สคชจ. หรือ สคชจ. (สาขา) แล้วแต่กรณี เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในการ
ให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
(๒) ดาเนินการควบคุมดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของทนายความอาสาและทนายความ
อาสาอาวุโส
(๓) ดาเนินการเสนอความเห็นเกี่ยวกับการพัฒนนาและแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ในการปฏิบัติหน้าที่ของทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโสต่อสานักงาน
อัยการสูงสุด
อานาจหน้าที่ของ กทอ.
- ให้ความเห็นชอบในการรับสมัครทนายความอาสาหรือทนายความอาสา
อาวุโส (ข้อ ๔๗ วรรคหนึ่ง)
- กาหนดวัน เวลา สถานที่ยื่นใบสมัคร วันเวลาคัดเลือก และวิธีการคัดเลือก
(ข้อ ๔๗ วรรคสอง)
- พิจารณาว่าควรรับผู้สมัครไว้เป็นทนายความอาสาหรือทนายความอาสา
อาวุโสหรือไม่ หากเห็นสมควรรับไว้ก็ให้เสนออัยการสูงสุดเพื่อพิจารณา
อนุมัติแต่งตั้ง (ข้อ ๕๑) (จากนั้นจะมีการขึ้นทะเบียน ออกบัตรประจาตัว
และประกาศให้ประชาชนทราบ)
อานาจหน้าที่ของ กทอ. (ต่อ)
- พิจารณาผลประเมินการฝึกทดลองปฏิบัติงาน (๓ เดือน) ของทนายความอาสา
และทนายความที่ได้รับแต่งตั้ง ว่าเหมาะสมที่จะเป็นทนายความอาสาหรือ
ทนายความอาสาอาวุโสต่อไปหรือไม่ หากเห็นว่าไม่เหมาะสม ให้เสนอความเห็น
ต่ออัยการสูงสุดเพื่อพิจารณามีคาสั่งให้ผู้นั้นพ้นสภาพจากการเป็นทนายความอาสา
หรือทนายความอาสาอาวุโส (ข้อ ๕๒)
- พิจารณาผลประเมินการปฏิบัติงานของทนายความอาสาและทนายความอาสา
อาวุโสทุกปี ปีละ ๒ ครั้ง ครั้งแรกภายในเดือนกรกฎาคม ครั้งที่ ๒ ภายในเดือน
มกราคม หากเห็นว่าไม่เหมาะสมที่จะเป็นทนายความอาสาหรือทนายความอาสา
อาวุโสต่อไปให้เสนอความเห็นต่ออัยการสูงสุดเพื่อพิจารณามีคาสั่งให้ผู้นั้นพ้นสภาพ
จากการเป็นทนายความอาสาหรือทนายความอาสาอาวุโส (ข้อ ๕๓)
อานาจหน้าที่ของ กทอ. (ต่อ)
ข้อ ๕๓ ให้หัวหน้าพนักงานอัยการ พนักงานอัยการ และนิติกรผู้ได้รับมอบหมายร่วมกัน
ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุ โ สตามแบบ
การประเมินผลที่สานักงานอัยการสูงสุดกาหนดทุกปี ปีละ ๒ ครั้ง
ครั้งที่ ๑ การปฏิบัติงานระหว่างวันที่ ๑ มกราคม ถึง ๓๐ มิถุนายน
ครั้งที่ ๒ การปฏิบัติงานระหว่างวันที่ ๑ กรกฎาคม ถึง ๓๑ ธันวาคม
ทั้งนี้ ให้รายงาน กทอ. หรือ กทอ. จังหวัด ภายในเดือนกรกฎาคมและเดือนมกราคม
ตามลาดับ
ในการพิจารณาของ กทอ. หรือ กทอ. จังหวัด หากเห็นว่าทนายความอาสาหรือ
ทนายความอาสาอาวุโสไม่เหมาะสมที่จะเป็นทนายความอาสาหรือทนายความอาสาอาวุโส
ต่อไป ให้เสนอความเห็นต่อ อัยการสูงสุดเพื่ อพิ จารณามีค าสั่งให้ผู้นั้นพ้ น สภาพการเป็ น
ทนายความอาสาหรือทนายความอาสาอาวุโส
อานาจหน้าที่ของ กทอ. (ต่อ)
- พิจารณาผลประเมินการให้ทนายความอาสาหรือทนายความอาสาอาวุโส
ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป อีกคราวละไม่เกิน ๒ ปีนับแต่วันครบกาหนดการปฏิบัติ
หน้าที่ เสนออัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาอนุมัติ (ข้อ ๕๕)
หัวข้อในแบบการประเมินผลกรณีทดลองงาน กรณีปีละ ๒ ครั้ง และกรณีต่ออายุ (กทอ. สคช.)
หัวข้อการประเมิน คะแนนเต็ม
จิตบริการที่ดี ๑๕
ความซื่อสัตย์สุจริต ๑๕
ความรู้ ความสามารถ ๑๕
การมีวินัย ๑๐
การเคารพระเบียบแบบแผนและคาสั่ง ๑๐
ความเอาใจใส่ต่อหน้าที่ ๑๐
มนุษยสัมพันธ์ กิริยามารยาท บุคลิกภาพ การแต่งกาย ๑๐
สุขภาพกายและจิตใจ ๑๐
ความเหมาะสมอื่น ๆ ๕
(เช่น ความเกื้อกูล มีน้าใจ อุทิศเวลาให้ทางราชการ ความขยันหมั่นเพียร เป็นต้น)
รวมคะแนน ๑๐๐
ส่วนที่ ๒ ทะเบียนทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโส
ข้อ ๕๗ ให้ผู้อานวยการสานักอานวยการ สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทาง
กฎหมายแก่ประชาชน เป็นผู้อานวยการฝ่ายทะเบียนทนายความอาสาและทนายความอาสา
อาวุโส
ให้ผู้อานวยการฝ่ายทะเบียนทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโส ทาหน้าที่
เกี่ยวกับงานทะเบียนและกิจการที่เกี่ยวข้องกับทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโส
ตามความในหมวดนี้ รวมทั้งจัดเก็บข้อมูลและรับผิดชอบงานธุรการของ กทอ.
ข้อ ๕๘ ให้สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายใน สคช. สคชจ. หรือ สคชจ. (สาขา) จัดทาทะเบียน
ทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโสตามแบบที่สานักงานอัยการสูงสุดกาหนด
และให้ส่งสาเนาเอกสารดังกล่าวไปให้ผู้อานวยการฝ่ายทะเบียนทนายความอาสาและ
ทนายความอาสาอาวุโสภายในเดือนสิงหาคมของทุกปีด้วย
147

ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒

ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยค่าตอบแทนและค่าพาหนะสาหรับ
ทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโสในการช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒
หมวด ๕
ค่าตอบแทนและค่าพาหนะในการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย
ข้อ ๗๒ การเบิกค่าตอบแทนและค่าพาหนะสาหรับทนายความอาสาหรือ
ทนายความอาสาอาวุโสในการช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน ให้เป็นไป
ตามระเบียบที่สานักงานอัยการสูงสุดกาหนด

ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยค่าตอบแทนและค่าพาหนะสาหรับ
ทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโสในการช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒
ข้อ ๘ ทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโสมีสิทธิ
ได้รับค่าตอบแทนตามบัญชี ๑ ท้ายระเบียบนี้
บัญชี ๑
บัญชีค่าตอบแทนทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโส
ตามข้อ ๘
๑. การปฏิบัติหน้าทีเ่ ข้าเวรเพื่อให้คาปรึกษาและแนะนาช่วยเหลือ
ทางกฎหมาย
• ทนายความอาสา วันละ ๑,๐๐๐ บาท
• ทนายความ ทนายความอาสาอาวุโส วันละ ๑,๒๐๐ บาท
บัญชี ๑
บัญชีค่าตอบแทนทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโส
ตามข้อ ๘
๒. การประนอมข้อพิพาท กรณีทนายความอาสาหรือทนายความอาสา
อาวุโสปฏิบัติหน้าที่จนคู่กรณีสามารถตกลงกันได้ และมีการทาบันทึก
ข้อตกลงสมประโยชนของคู่กรณีหรือสัญญาประนีประนอมยอมความ
เรื่องละ ๒,๐๐๐ บาท
บัญชี ๑
บัญชีค่าตอบแทนทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโสตามข้อ ๘
๓. ค่าวิชาชีพในการดาเนินอรรถคดีในแต่ละชั้นศาลจนศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่ง ดังนี้
๓.๑ การดาเนินคดีในศาลชั้นต้น
๓.๑.๑ คดีพิจารณาฝ่ายเดียว คดีละ ๒,๕๐๐ บาท
๓.๑.๒ คดีที่มิใช่คดีพิจารณาฝ่ายเดียว คดีละ ๓,๐๐๐ บาท
๓.๑.๓ คดีมีข้อยุ่งยาก หรือมีความยุ่งยาก คดีละ ๕,๐๐๐ - ๘,๐๐๐ บาท
๓.๒ การดาเนินคดีในศาลอุทธรณ คดีละ ๒,๕๐๐ บาท
๓.๓ การดาเนินคดีในศาลฎีกา คดีละ ๓,๐๐๐ บาท
บัญชี ๒ บัญชีค่าตอบแทนทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโส
ในกรณีเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ตามข้อ ๙
๑. การปฏิบัติหน้าที่ในจังหวัดเดียวกันกับสานักงานที่ทนายความอาสา
หรือทนายความอาสาอาวุโสประจาอยู่ ครั้งละหรือวันละ ๑,๐๐๐ บาท
ทั้งนี้ ให้เบิกจ่ายได้ไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาทต่อคดี
๒. การปฏิบัติหน้าที่ในจังหวัดอื่น ครั้งละหรือวันละ ๒,๕๐๐ บาท ทั้งนี้
ให้เบิกจ่ายได้ไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาทต่อคดี
บัญชี ๓ บัญชีค่าตอบแทนทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโส
ในกรณีเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ตามข้อ ๑๐
๑. การปฏิบัติหน้าที่ในจังหวัดเดียวกันกับสานักงานที่ทนายความอาสา
หรือทนายความอาสาอาวุโสประจาอยู่ ครั้งละหรือวันละ ๕๐๐ บาท
๒. การปฏิบัติหน้าที่ในจังหวัดอื่น ครั้งละหรือวันละ ๒,๐๐๐ บาท
บัญชี ๔ ค่าพาหนะทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโส
ในกรณีเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ตามข้อ ๙ และข้อ ๑๐
๑. ในจังหวัดเดียวกัน ให้เบิกได้ ดังนี้
๑.๑ ในท้องที่กรุงเทพมหานคร หรือในจังหวัดเดียวกันกับท้องที่หรือ
เขตอานาจศาลที่ทนายความอาสาหรือทนายความอาสาอาวุโสประจาอยู่
เหมาจ่ายวันละ ๒๐๐ บาท
๑.๒ ในจังหวัดเดียวกันแต่ต่างท้องที่หรือเขตอานาจศาลกับที่
ทนายความอาสาหรือทนายความอาสาอาวุโสประจาอยู่ เหมาจ่ายวันละ
๒๐๐ บาท หรือตามจานวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน ๕๐๐ บาท
บัญชี ๔ ค่าพาหนะทนายความอาสาและทนายความอาสาอาวุโส
ในกรณีเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ตามข้อ ๙ และข้อ ๑๐
๒. ในจังหวัดอื่นคนละท้องที่ที่ทนายความอาสาและทนายความอาสา
อาวุโสประจาอยู่ ให้เบิกได้ ดังนี้
๒.๑ ค่าโดยสารรถรับจ้างสาธารณะระหว่างบ้านหรือที่พักกลับสถานี
ขนส่งรถโดยสารรับจ้างประจาทางหรือสถานีรถไฟ ตามจานวนที่จ่ายจริง
๒.๒ ค่าโดยสารรถประจาทางปรับอากาศหรือค่าโดยสารรถไฟนอน
ชั้นที่ ๒ ปรับอากาศ ตามจานวนที่จ่ายจริง
๒.๓ ค่าโดยสารรถรับจ้างภายในจังหวัด เหมาจ่ายวันละ ๓๐๐ บาท
157
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒
ข้อ ๑๒ (วรรคหนึ่ง)
การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน ได้แก่
- การให้คาปรึกษาหารือทางกฎหมาย
- การให้ความช่วยเหลือในการจัดทานิติกรรมและสัญญา
- การให้ความช่วยเหลือในการประนอมข้อพิพาท และ
- การให้ความช่วยเหลือทางอรรถคดี เช่น การรับว่าต่าง การรับแก้ต่าง และการยื่น
คาร้องในคดีแพ่ง คดีอาญา คดีแรงงาน และอื่น ๆ
158
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒
ข้อ ๑๒ (วรรคสอง)
การคุ้มครองสิทธิแก่ประชาชน ได้แก่
- การดาเนินการคุ้มครองสิทธิทางศาลตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายให้เป็นอานาจหน้าที่
ของพนักงานอัยการ และ
- การดาเนินการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค
159
การคุ้มครองสิทธิทางศาล
ร้องขอจัดการมรดก
ขอตั้งผู้ปกครอง / ขอถอนอานาจปกครอง
ร้องขอให้เป็นคนสาบสูญ
ขอรับบุตรบุญธรรม / ขอยกเลิกการรับบุตรบุญธรรม
การร้องขอให้บุคคลเป็นคนไร้ความสามารถ /
การร้องขอให้บุคคลเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ /
การร้องขอให้ศาลเพิกถอนจากการเป็นคนไร้ความสามารถ/
คนเสมือนไร้ความสามารถ
160
ร้องขอจัดการมรดก
ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓ ทายาท หรือผู้มีส่วนได้เสีย หรือพนักงานอัยการ จะร้องต่อ
ศาลขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกก็ได้ในกรณีดังต่อไปนี้
(๑) เมื่อเจ้ามรดกตาย ทายาทโดยธรรม หรือ ผู้รับพินัยกรรมได้สูญหายไป
หรือ อยู่นอกราชอาณาเขต หรือเป็นผู้เยาว
(๒) เมื่อผู้จัดการมรดกหรือทายาท ไม่สามารถ หรือไม่เต็มใจที่จะจัดการ
หรือมีเหตุขัดข้องในการจัดการ หรือในการแบ่งปันมรดก
(๓) เมื่อข้อกาหนดพินัยกรรม ซึ่งตั้งผู้จัดการมรดกไว้ไม่มีผลบังคับได้ด้วย
ประการใด ๆ การตั้งผู้จัดการมรดกนั้น ถ้ามีข้อกาหนดพินัยกรรมก็ให้ศาลตั้งตาม
ข้อกาหนดพินัยกรรมและถ้าไม่มีข้อกาหนดพินัยกรรมก็ให้ศาลตั้งเพื่อประโยชนแก่
กองมรดกตามพฤติการณและโดยคานึงถึงเจตนาของเจ้ามรดก แล้วแต่ศาลจะ
เห็นสมควร
161
การขอตั้งผู้ปกครอง
เหตุแห่งการตั้งผู้ปกครอง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๘๕ วรรคหนึ่ง
บัญญัติว่า “บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะและไม่มีบิดามารดาหรือบิดา
มารดาถูกถอนอานาจปกครองเสียแล้วนั้น จะจัดให้มีผู้ปกครองขึ้นใน
ระหว่างที่เป็นผู้เยาว์ก็ได้
162 ผู้มีอานาจในการขอให้ตั้งผู้ปกครอง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๘๖ บัญญัติว่า
“ผู้ปกครองตามมาตรา ๑๕๘๕ นั้น ให้ตั้งโดยคาสั่งศาลเมื่อมีการร้องขอ
ของญาติของผู้เยาว์ อัยการ หรือผู้ซึ่งบิดาหรือมารดาที่ตายทีหลังได้ระบุ
ชื่อไว้ในพินัยกรรมให้เป็นผู้ปกครอง
ภายใต้บังคับมาตรา ๑๕๙๐ การตั้งผู้ปกครองนั้น ถ้ามีข้อกาหนด
พินัยกรรมก็ให้ศาลตั้งตามข้อกาหนดพินัยกรรม เว้นแต่พินัยกรรมนั้นไม่มี
ผลบังคับหรือบุคคลที่ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมนั้น เป็นบุคคลที่ต้องห้ามมิให้
เป็นผู้ปกครองตามมาตรา ๑๕๘๗”
163
ร้องขอให้เป็นคนสาบสูญ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย มาตรา ๖๑
ถ้าบุคคลใดได้ไปจากภูมิลาเนา หรือ ถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิต
อยู่หรือไม่ตลอดเวลาระยะห้าปี เมื่อผู้มีส่วนได้เสีย หรือ พนักงานอัยการร้องขอ ศาลจะสั่ง
ให้บุคคลนั้นเป็นคนสาบสูญก็ได้
ระยะเวลาตามวรรคหนึ่งให้ลดเหลือสองปี
(๑) นับแต่วันที่การรบหรือสงครามสิ้นสุดลง ถ้าบุคคลนั้นอยู่ในการรบ หรือ สงคราม
และหายไปในการรบหรือสงครามดังกล่าว
(๒) นับแต่วันที่ยานพาหนะที่บุคคลนั้นเดินทาง อับปาง ถูกทาลาย หรือ
สูญหายไป
(๓) นับแต่วันที่เหตุอันตรายแก่ชีวิตนอกจากที่ระบุไว้ใน (๑) หรือ (๒) ได้ผ่านพ้นไป
ถ้าบุคคลนั้นตกอยู่ในอันตรายเช่นว่านั้น
มาตรา ๖๒ บุคคลซึ่งศาลได้มีคาสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ให้ถือว่าถึงแก่ความตายเมื่อ
ครบกาหนดระยะเวลาดังที่ระบุไว้ในมาตรา ๖๑
164
ขอรับบุตรบุญธรรม

ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๙๘/๑๙ บุคคลที่มีอายุไม่ต่ากว่ายี่สิบห้าปีจะรับ


บุคคลอื่นเป็นบุตรบุญธรรมก็ได้ แต่ผู้นั้นต้องมีอายุแก่กว่าผู้ที่จะเป็นบุตร
บุญธรรมอย่างน้อยสิบห้าปี
มาตรา ๑๕๙๘/๒๐ การรับบุตรบุญธรรม ถ้าผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรม
มีอายุไม่ต่ากว่าสิบห้าปี ผู้นั้นต้องให้ความยินยอมด้วย
165
ขอรับบุตรบุญธรรม (ต่อ)
ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๙๘/๒๑ การรับผู้เยาวเป็นบุตรบุญธรรมจะกระทาได้
ต่อเมื่อได้รับความยินยอมของบิดาและมารดาของผู้จะเป็นบุตรบุญธรรม ในกรณีที่
บิดาหรือมารดาคนใดคนหนึ่งตายหรือถูกถอนอานาจปกครอง ต้องได้รับความ
ยินยอมของมารดาหรือบิดาซึ่งยังมีอานาจปกครอง
ถ้าไม่มีผู้มีอานาจให้ความยินยอมดังกล่าวในวรรคหนึ่ง หรือมีแต่บิดา หรือ
มารดาคนใดคนหนึ่งหรือทั้งสองคน ไม่สามารถแสดงเจตนาให้ความยินยอมได้ หรือ
ไม่ให้ความยินยอม และการไม่ให้ความยินยอมนั้นปราศจากเหตุผลอันสมควร และ
เป็นปฏิปักษต่อสุขภาพความเจริญหรือสวัสดิภาพของผู้เยาว มารดาหรือบิดาหรือ
ผู้ประสงคจะขอรับบุตรบุญธรรม หรืออัยการจะร้องขอต่อศาลให้มีคาสั่งอนุญาตแทน
การให้ความยินยอมตามวรรคหนึ่ง ก็ได้
166
การร้องขอให้บุคคลเป็นคนไร้ความสามารถ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย มาตรา ๒๘ บุคคลวิกลจริตผู้ใด ถ้าคู่สมรส
ก็ดี ผู้บุพการีกล่าวคือ บิดา มารดา ปู่ย่า ตายาย ทวดก็ดี ผู้สืบสันดานกล่าวคือ ลูก
หลาน เหลน ลื่อก็ดี ผู้ปกครองหรือผู้พิทักษก็ดี ผู้ซึ่งปกครองดูแลบุคคลนั้นอยู่ก็ดี หรือ
พนักงานอัยการก็ดี ร้องขอต่อศาลให้สั่งให้บุคคลวิกลจริตผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถ
ศาลจะสั่งให้บุคคลวิกลจริตผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถก็ได้
บุคคลซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถตามวรรคหนึ่ง ต้องจัดให้อยู่ใน
ความอนุบาล การแต่งตั้งผู้อนุบาล อานาจหน้าที่ของผู้อนุบาลและการสิ้นสุดของความ
เป็นผู้อนุบาล ให้เป็นไปตามบทบัญญัติบรรพ ๕ แห่งประมวลกฎหมายนี้
คาสั่งของศาลตามมาตรานี้ ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
167
การร้องขอให้บุคคลเป็นคนไร้ความสามารถ (ต่อ)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๙๐/๒๕๐๙ (ประชุมใหญ่) ซึ่งได้วางแนวไว้ว่า
คาว่า “บุคคลวิกลจริต” ตามที่บัญญัติไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา ๒๙ (มาตรา ๒๘
ใหม่) นั้น มิได้หมายเฉพาะถึงบุคคลผู้มีจิตผิดปกติ หรือตามที่เข้าใจทั่ว ๆ ไป
ว่าเป็นคนบ้าเท่านั้นไม่ แต่หมายถึงบุคคลที่มีอาการกิริยาผิดปกติเพราะสติ
วิปลาส คือ ขาดความราลึก ขาดความรู้สึก และขาดความรู้สึกผิดชอบด้วย
เพราะบุคคลดังกล่าวนี้ไม่สามารถประกอบกิจการงานของตนหรือประกอบ
กิจการส่วนตัวของตนได้ทีเดียว
168
การร้องขอให้บุคคลเป็นคนไร้ความสามารถ (ต่อ)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๔๖๖/๒๕๓๗
เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่า จ. ซึ่งผู้ร้องยื่นคาร้องขอให้ศาลสั่งเป็นคน
ไร้ความสามารถนั้นไม่รู้สึกตัวเองและพูดจารู้เรื่องบ้างไม่รู้เรื่องบ้าง ซึ่งแพทย
ให้การวินิจฉัยว่าเป็นโรคสมองฝ่อหรือสมองเสื่อมขั้นรุนแรงไม่สามารถรักษา
ให้หายได้ ตลอดจนไม่อาจปฏิบัติภารกิจส่วนตัวได้ แสดงให้เห็นว่า จ. เป็น
คนไม่มีสติสัมปชัญญะ ไร้ความสามารถที่จะดาเนินการทุกสิ่งทุกอย่างด้วย
ตนเองได้ พอถือได้ว่าเป็นบุคคลวิกลจริตตามบทบัญญัติดังกล่าวแล้ว
169
การร้องขอให้บุคคลเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
ป.พ.พ. มาตรา ๓๒ บุคคลใดมีกายพิการหรือมีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบหรือ
ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทานองเดียวกันนั้น
จนไม่สามารถจะจัดทาการงานโดยตนเองได้ หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแก่
ทรัพยสินของตนเองหรือครอบครัว เมื่อบุคคลตามที่ระบุไว้ในมาตรา ๒๘ ร้องขอต่อศาล
ศาลจะสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถก็ได้
บุคคลซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถตามวรรคหนึ่ง ต้องจัดให้อยู่
ในความพิทักษ การแต่งตั้งผู้พิทักษ ให้เป็นไปตามบทบัญญัติบรรพ ๕ แห่งประมวล
กฎหมายนี้
ให้นาบทบัญญัติว่าด้วยการสิ้นสุดของความเป็นผู้ปกครองในบรรพ ๕ แห่ง
ประมวลกฎหมายนี้ มาใช้บังคับแก่การสิ้นสุดของการเป็นผู้พิทักษโดยอนุโลม
คาสั่งของศาลตามมาตรานี้ ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
170
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒

ข้อ ๔๑ การคุ้มครองสิทธิทางศาล ให้พนักงานอัยการเป็นผู้ดาเนินการ หากมีค่า


ฤชาธรรมเนียม ที่ต้องชาระต่อศาล ให้ผู้ขอคุ้มครองสิทธิเป็นผู้ชาระค่าฤชาธรรมเนียม
ตามจานวนที่กฎหมายกาหนดไว้
ข้อ ๔๓ ให้นาระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดาเนินคดีแพ่งของพนักงาน
อัยการ มาใช้บังคับแก่การคุ้มครองสิทธิทางศาลเท่าที่ไม่ขั ดหรื อแย้งกับระเบียบ
ในส่วนนี้โดยอนุโลม
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
171
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒

การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค
ข้อ ๔๔ การดาเนินคดีแพ่งของพนักงานอัยการในฐานะเจ้าหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภค
ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค ให้นาระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
ว่าด้วยการดาเนินคดีแพ่งของพนักงานอัยการมาใช้บังคับโดยอนุโลม
172
ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๒
ข้อ ๑๒ (วรรคสาม)
การดาเนินการดังกล่าวตามวรรคหนึ่ง
(การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน)
และวรรคสอง (การคุ้มครองสิทธิแก่ประชาชน )
เป็นการดาเนินการโดยไม่มีค่าตอบแทน
การดาเนินการเกี่ยวกับ
ฎีกาขอพระราชทานความเป็นธรรม
และฎีกาขอพระราชทาน
ความช่วยเหลือ
ตามหนังสือ สคช. ที่ อส ๐๐๓๖(อก)/ว ๑๖ ลงวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๔

เพื่อความสะดวก รวดเร็ว เป็นระเบียบเรียบร้อยในการกากับดูแลเรื่องการร้องขอความ


เป็นธรรมที่เกี่ยวกับการทูลเกล้าถวายฎีกา สคช. ได้กาหนดให้ สฝชก.๑ รับผิดชอบ
เป็นฐานข้อมูลกลางของเรื่องทูลเกล้าถวายฎีกา เพื่อเสนอส่งเรื่องต่อไปยัง สฝชก.๒ – ๔,
สฝคผ. หรือ สคชจ. ที่เกี่ยวข้องดาเนินการ

สฝชก.๑
สฝชก.๒ - ๔ เสนอผ่าน
ดาเนินการแล้วเสร็จ
รับผิดชอบ แจ้งผลการดาเนินการ รายงานเพื่อทราบ สานักงาน
สฝคผ. อธิบดีอัยการ สคช.
ฐานข้อมูล องคมนตรี
สคชจ.
กลาง
175
สรุปงาน สคช.
๑. ให้การคุ้มครองสิทธิทางศาลตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของ
พนักงานอัยการ
๒. ให้คาปรึกษา แนะนา ช่วยเหลือทานิติกรรมสัญญา และไกล่เกลี่ยประนอม/
ระงับข้อพิพาท
๓. ให้การช่วยเหลือทางอรรถคดี โดยจัดทนายความอาสาดาเนินการทางศาล
๔. ส่งเสริมและสนับสนุนการประนอมและระงับข้อพิพาทในระดับท้องถิ่น
๕. เผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายต่างๆ แก่ประชาชน
๖. ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ
๗. ให้การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค
๘. ให้การคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนระหว่างประเทศ
ภารกิจด้านการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน

กิจกรรมการให้บริการ มีการดาเนินงานอย่างครบวงจร
กล่าวคือ การดาเนินงานในลักษณะของการป้องกันมิให้เกิดกรณีพิพาท
ขึ้น ด้วยการเผยแพร่ให้ความรู้เบื้องต้นทางกฎหมาย กฎหมายเกี่ยวกับ
ชีวิตประจาวัน เพื่อให้รู้ถึงสิทธิและหน้าที่ และปฏิบัติได้ถูกต้องตาม
กฎหมาย
กรณีมีปัญหา ก็รับช่วยเหลือในการให้คาปรึกษา แนะนาข้อกฎหมาย
ช่วยเหลือทานิติกรรมสัญญา

176
ภารกิจด้านการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน

กรณีมีข้อพิพาท ก็จะดาเนินการไกล่เกลี่ย ประนอมข้อพิพาท และ


สนับสนุนให้มีการประนอมข้อพิพาทในระดับท้องถิ่น โดยการฝึกอบรม
ผู้นาท้องถิ่น คณะกรรมการหมู่บ้าน ให้สามารถดาเนินการประนอม
ข้อพิพาทได้
การเยียวยา ในกรณีต้องการให้ช่วยเหลือดาเนินการทางศาล ถ้าเป็น
อานาจหน้าที่ของพนักงานอัยการ อัยการก็จะดาเนินการ ถ้าไม่ใช่อานาจ
ก็จะจัดทนายความอาสา ดาเนินการให้
177
๑.การให้คาปรึกษาหารือ ไม่คานึงถึงฐานะ รายได้

๒.การจัดทานิติกรรรมสัญญา เฉพาะผูย้ ากจนเท่านั้น

๓.การประนอมข้อพิพาท ไม่คานึงถึงฐานะรายได้
ยากจน/เดือดร้อน/ ได้รับความเสียหาย/
๔.การให้ความช่วยเหลืออรรถคดี ไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือมีเหตุจาเป็น /
สมควรได้รับการช่วยเหลือ
๕.คุ้มครองสิทธิทางศาล ไม่คานึงถึงฐานะ
กราดยิงหนองบัวลาภู : อดีตตารวจกราดยิงศูนยเด็กเล็ก
เสียชีวิตแล้ว ๓๘ ราย ส่วนใหญ่เป็นเด็กเล็ก
อดีตตารวจก่อเหตุกราดยิงศูนยพัฒนนาเด็กเล็ก จ.หนองบัวลาภู ทาให้มีผู้เสียชีวิตแล้ว ๓๘ คน
และบาดเจ็บอีกอย่างน้อย ๑๒ คน ก่อนยิงตัวตายพร้อมลูกและภรรยาในเวลาต่อมา

เหตุอุกฉกรรจครั้งนี้เกิดขึ้นภายในศูนยพัฒนนาเด็กเล็กขององคการบริหารส่วนตาบล (อบต.)
อุทัยสวรค อ.นากลาง จ.หนองบัวลาภู ช่วงเวลาประมาณ ๑๓.๐๐ น.

ตารวจ สภ.เมืองหนองบัวลาภู ได้รับแจ้งเหตุคนร้ายก่อเหตุกราดยิงภายในเขต อบต. ดังกล่าว


มีผู้เสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บหลายรายทั้งเด็กและผู้ใหญ่

ณ เวลา ๑๘.๔๗ น. ของวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๖๕ มีการยืนยันยอดผู้เสียชีวิตจากเหตุกราดยิง


ครั้งนี้แล้ว ๓๘ คน และบาดเจ็บอีกอย่างน้อย ๑๒ คน

นอกจากนี้ ผู้ก่อเหตุยังก่อเหตุในระหว่างทาง ก่อนไปปลิดชีพตัวเองที่บ้านพัก พร้อมกับ


บุตรชายและภรรยา
นายนิติคุปตก นพคุณ อัยการจังหวัดคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัดหนองบัวลาภู
ได้ร่วมกับ หัวหน้าส่วนราชการในจังหวัดหนองบัวลาภูเข้าไปยังที่เกิดเหตุในช่วงบ่ายของวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๖๕ และ
มีการร่วมกันแถลงข่าวเหตุการณที่เกิดขึ้นกับผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติและหัวหน้าสวนราชการที่เกี่ยวข้องและ
ประชาสัมพันธเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของประชาชนที่ได้รับความเสียหายและบทบาทของอัยการในการที่จะเข้าไป
ช่วยเหลือในเรื่องของการจัดการมรดกและเรื่องของค่าสินไหมทดแทนต่าง ๆ
อัยการสูงสุด (นายสิงหชัย ทนินซ้อน) ได้โปรดมีคาสั่งเมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๕
เห็นชอบให้ขยายการดาเนินโครงการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่
ประชาชนในวันหยุดราชการให้ครบทุกสานักงานทั่วประเทศ และเพิ่มในส่วนกลาง
คือ สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายคุม้ ครองสิทธิ สานักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือ
ทางกฎหมาย ๒ – ๔ โดยเริ่มวันเสาร์ที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา และสานักงาน
คุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน ได้มีหนังสือแจ้งเวียนหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการดาเนินงานตามโครงการและ
จัดเตรียมบุคลากรเข้าเวรปฏิบัติหน้าที่ ทั้งนี้ ตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ อส ๐๐๓๕.๘/
ว ๒๑ ลงวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๖๕ เรื่องขยายการดาเนินงานโครงการคุ้มครองสิทธิ
และช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนในวันหยุดราชการทุกสานักงาน
สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน ได้มีหนังสือที่
อส ๐๐๓๕.๘/ว ๒๓ ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๕ เรื่อง การรายงานผล
การปฏิบัติงานและรายงานความพึงพอใจการให้บริการในการดาเนินโครงการ
คุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนในวันหยุดราชการ
เรียน อธิบดีอัยการภาค อัยการพิเศษฝ่าย อัยการจังหวัดคุ้มครองสิทธิและ
ช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดี ขอให้สานักงานอัยการที่เปิดทาการ
ในวันหยุดราชการดังกล่าวดาเนินการสารวจความพึงพอใจของประชาชน
ผู้รับบริการตามแบบสารวจที่กาหนดและรายงานผลการปฏิบตั ิงานและ
รายงานความพึงพอใจการให้บริการตามโครงการทุกเดือน ไปยังสานักงาน
อัยการพิเศษฝ่ายแผนช่วยเหลือทางกฎหมาย ภายในวันที่ ๕ ของเดือนถัดไป
โครงการแผนการคุ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละช่ ว ยเหลื อ ทางกฎหมายแก่ ป ระชาชน
เคลื่อนที่ (Mobile Office) เพื่อสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้าทางสังคม
ในช่วงที่ยังมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อไวรัสโคโรนา - 2019
และยังไม่แน่ชัดว่าสถานการณ์แพร่ระบาดดังกล่าวจะคลี่คลายลงเมื่อใด ประชาชน
ได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น และต้ อ งการความช่ ว ยเหลื อ ด้ า นต่ า ง ๆ หลายด้ า น
แต่เนื่องจากรัฐได้ประกาศใช้มาตรการต่าง ๆ ในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
ท้าให้ประชาชนไม่อาจเข้าถึงการให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายและกระบวนการ
ยุติธรรม โดยง่าย สะดวก รวดเร็ว และไม่เสียค่าใช้จ่ายสูงเกินสมควร ท้าให้เกิด
ความเหลื่อมล้าทางสังคม
สคช. ได้น้าเสนอโครงการให้บริการประชาชนในเชิงรุก โดยได้กราบเรียนอัยการ
สูงสุดเพื่อโปรดอนุมัติให้ สลธ.อส. จัดสรร รถยนต์ตู้จ้านวน 11 คัน พร้อมอุปกรณ์เครื่อง
คอมพิวเตอร์ เครื่องปรินเตอร์ เครื่องส้ารองไฟ ระบบอินเตอร์เน็ต อุปกรณ์เครื่องเสียง
ล้าโพง ไมโครโฟน เครื่องขยายเสียง ที่มีมาตรฐาน
ให้ สคช. จ้ า นวน 2 คั น และ สคชจ.พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ชลบุ รี นครราชสี ม า
ขอนแก่น เชียงใหม่ พิษณุโลก ราชบุรี สุร าษฎร์ธานี และสงขลา ส้ านักงานละ 1 คั น
เพื่อน้าไปเป็นรถ Mobile Office
การจั ด ซื อจั ด จ้ า งในการปรั บ แต่ ง ตั ว รถ และ จั ด ซื ออุ ป กรณ์ ใ นรถ วงเงิ น รวม
ประมาณ 9 ล้านบาทเศษ
ผลการปฏิบัติงานของ สฝผช. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ต่อ)
สคช. ดาเนินงานโดยมีแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ
ถ่ายทอดมาจาก
- คาแถลงนโยบายและแผนบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล
- ยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐
- แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง อาทิ
กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ
ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม
- นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕
- แผนยุทธศาสตร สานักงานอัยการสูงสุด พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๖
- นโยบายการบริหารงานของอัยการสูงสุด
สคช. ดาเนินงานโดยมีแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ
ถ่ายทอดมาจาก (ต่อ)
- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ (ฉบับที่ ๑๓
พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐)
- แผนการปฏิรูปประเทศที่เกี่ยวข้อง อาทิ ด้านกฎหมาย ด้านกระบวนการยุติธรรม
ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
- แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
- แผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ
- แผนยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
- นโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
- บันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือ
ทางกฎหมายแก่ประชาชน
วิสัยทัศนของ สคช.

“คุ้มครองสิทธิเสรีภาพและช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชนอย่างมีมาตรฐาน ทั่วถึง เสมอภาค
และบูรณาการ เพื่อความเป็นธรรมของสังคม
อย่างยั่งยืน”
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๑.ให้การคุ้มครองสิทธิทางศาลตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของพนักงาน
อัยการ
๒.ให้ความช่วยเหลือในการทานิติกรรมสัญญา และการให้คาปรึกษาปัญหาทาง
กฎหมายแก่ประชาชนและช่วยเหลือประนอมข้อพิพาท
๓.ให้การช่วยเหลือทางอรรถคดี โดยจัดทนายความอาสาดาเนินการว่าต่าง แก้ต่าง
ในชั้นศาล
๔.ส่งเสริมและสนับสนุนการประนอมและระงับข้อพิพาทในระดับท้องถิ่น
๕.เผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายต่าง ๆ แก่ประชาชน
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๑.ให้การคุ้มครองสิทธิทางศาลตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของ
พนักงานอัยการ
- เป็นการให้ความช่วยเหลือคุ้มครองสิทธิตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็น
อานาจหน้าที่ของพนักงานอัยการไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น ๆ โดยไม่จากัดฐานะ
รวมเป้าหมายทั่วประเทศ ๑๐,๐๐๐ เรื่อง
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
๒. การให้ความช่วยเหลือในการทานิติกรรมสัญญาและการให้คาปรึกษาปัญหา
ทางกฎหมายแก่ประชาชน และช่วยเหลือประนอมข้อพิพาท
๒.๑ การให้คาปรึกษาทางกฎหมายแก่ประชาชนทั่วไป ไม่จากัดฐานะ ทั้งที่มาด้วย
ตนเองและที่ขอคาปรึกษาทางโทรศัพท ทางจดหมาย ทางโทรสาร หรือทาง
อินเตอรเน็ต และหากผู้ขอรับคาปรึกษาจะขอคาตอบเป็นหนังสือให้ช่วยเหลือ
ดาเนินการให้ และหากเป็นเรื่องที่ต้องส่งต่อไปยังหน่วยงานอื่น ให้ทาหนังสือถึง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ผู้ขอรับความช่วยเหลือถือไปขอความช่วยเหลือต่อด้วย
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๒. การให้คาปรึกษาปัญหาทางกฎหมายแก่ประชาชน การให้ความช่วยเหลือในการทา
นิติกรรมสัญญา และช่วยเหลือประนอมข้อพิพาท
๒.๒ การให้ความช่วยเหลือในการจัดทานิติกรรมหรือสัญญา จะพิจารณาให้ความ
ช่วยเหลือเฉพาะประชาชนผู้ยากจนเท่านั้น โดยจัดทาตามความประสงคของ
ผู้ขอความช่วยเหลือ แต่ทั้งนี้จะต้องเป็นไปด้วยความเป็นธรรมและไม่ฝ่าฝืนกฎหมาย
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๒. การให้คาปรึกษาปัญหาทางกฎหมายแก่ประชาชน การให้ความช่วยเหลือในการทา
นิติกรรมสัญญา และช่วยเหลือประนอมข้อพิพาท
๒.๓ การให้ความช่วยเหลือในการประนอมข้อพิพาท โดยไม่คานึงถึงฐานะ รายได้
ของผู้ขอรับความช่วยเหลือ

รวมเป้าหมายทั้ง ๓ กิจกรรมทั่วประเทศ ๖๕,๐๐๐ เรื่อง


ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖

๓.ให้การช่วยเหลือทางอรรถคดี โดยการจัดทนายความอาสาให้ความช่วยเหลือ
ในการว่าต่าง แก้ต่าง ในชั้นศาล

รวมเป้าหมายทั่วประเทศ ๒,๐๐๐ เรื่อง


ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๔. การสนับสนุนการประนอมและระงับข้อพิพาทในระดับชุมชน (โดยการอบรมผู้นา
ชุมชน ผู้นาท้องถิ่น คณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน)
ความหมายของคดีแพ่ง / ความหมายของคดีอาญาอันเป็นความผิดอันยอมความได้ /ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการปฏิบัติงานประนีประนอมข้อพิพาทของคณะกรรมการหมู่บ้าน พ.ศ. ๒๕๓๐ / การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
ของคณะผู้ไกล่เกลี่ยอาเภอ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๖๑/๒ และกฎกระทรวงว่าด้วยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางแพ่ง พ.ศ. ๒๕๕๓ / การไกล่เกลี่ยของ
นายอาเภอหรือปลัดอาเภอในคดีความผิดอันยอมความได้ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๖๑/๓ / การไกล่เกลี่ยของผู้ไกล่เกลี่ยที่ขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัติ
การไกล่เกลี่ย พ.ศ. ๒๕๖๒ การไกล่เกลี่ยของผู้ไกล่เกลี่ยที่ขึ้นทะเบียนต่อศาลในชั้นก่อนฟ้องคดี ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา ๒๐ ตรี
รวมเป้าหมาย ๙,๐๐๐ หมู่บ้าน/ชุมชนและ ๑๘,๐๐๐ คน
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๕.เผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายต่าง ๆ แก่ประชาชน
อาจมีการดาเนินงานได้หลายวิธี ดังนี้
- ออกคลินิกเคลื่อนที่ไปตามหมู่บ้าน ชุมชนต่าง ๆ
- ตามความต้องการของหมู่บ้าน/ชุมชน นั้น ๆ
- ร่วมกับโครงการสืบสานพระราชปณิธาน (เดิมคือโครงการพระราชทานความช่วยเหลือ)
- ร่วมกับหน่วยงานอื่น อาทิเช่น โครงการจังหวัดเคลื่อนที่ โครงการอาเภอยิ้ม อบจ. เคลื่อนที่
เทศบาลเคลื่อนที่ เขตเคลื่อนที่ (ในกรุงเทพฯ) เป็นต้น
- ตามความต้องการของหน่วยงานอื่น อาทิเช่น เผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายแก่ผู้ขอรับ
ใบอนุญาตขับรถในสานักงานขนส่งจังหวัดหรือสถานศึกษาต่างๆ ที่จัดดาเนินการแทน
สานักงานขนส่งจังหวัด เป็นต้น
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๕.เผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายต่าง ๆ แก่ประชาชน
อาจมีการดาเนินงานได้หลายวิธี ดังนี้ (ต่อ)
- การเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายในฐานะวิทยากรจากการเชิญโดยชุมชน หมู่บ้าน
หน่วยงานต่าง ๆ ฯลฯ
- การเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายผู้ต้องโทษ/ต้องขังภายในเรือนจา
- นอกจากนี้ยังดาเนินการได้หลายวิธี เช่น การจัดรายการวิทยุ โทรทัศน หอกระจาย
ข่าวชุมชน จุลสาร วารสาร ฯลฯ
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๕.เผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายต่าง ๆ แก่ประชาชน
ทั้งนี้ ให้คานึงถึงความต้องการของท้องถิ่น ชุมชนและเป้าหมายผู้รับบริการเป็นหลัก
ซึ่งสามารถดาเนินการได้โดยการสารวจความต้องการของเป้าหมาย เช่น การออกแบบ
สอบถาม การรับฟังความคิดเห็น เป็นต้น โดย สคชจ.จัดสถิติการขอรับคาปรึกษามี
ปัญหาอะไรมาก หรือสถิติคดีที่เกิดมากในท้องที่นั้น ๆ ให้ทาองคความรู้นั้นไว้ จากนั้น
จึงจัดทาโครงการ กิจกรรม ให้สอดรับกับความต้องการดังกล่าว
รวมเป้าหมาย ๒๐,๐๐๐ หมู่บ้าน/ชุมชน และ ๘๐,๐๐๐ คน
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ
- การฝึกอบรมกาหนดหลักสูตรให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของ
ประชาชนท้องถิ่นให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมประเพณี อาชีพ สภาพพื้นที่และ
กลุ่มผู้เข้าอบรมและให้เข้าใจภารกิจของ สคช.

รวมเป้าหมายทั่วประเทศ ๔๖,๐๐๐ คน
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ (ต่อ)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ขอให้เน้นในเรื่องดังต่อไปนี้
๑. หลักสิทธิมนุษยชน สิทธิและหน้าที่ของประชาชน ตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐
๒. กฎหมายแพ่งและพาณิชยเกี่ยวกับ หนี้ นิติกรรมสัญญา ทรัพยสิน ครอบครัวและ
มรดก กฎหมายที่ดิน ความผิดอาญาที่เป็นความผิดอันยอมความได้
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ (ต่อ)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ขอให้เน้นในเรื่องดังต่อไปนี้ (ต่อ)
๓. กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้ถูกกระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว การคุ้มครอง
สิทธิเด็ก ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ การดาเนินคดีคุ้มครองสวัสดิภาพ
ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ
ครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๗๑ ถึง ๑๗๙ และข้อบังคับของประธานศาลฎีกา
ว่าด้วยวิธีการดาเนินคดีคุ้มครองสวัสดิภาพ พ.ศ. ๒๕๕๔
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ (ต่อ)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ขอให้เน้นในเรื่องดังต่อไปนี้ (ต่อ)
๔. แนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ ตามมติคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
เรื่อง แนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบอย่างบูรณาการและยั่งยืน ลงวันที่
๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ และตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ เรื่อง
การบริหารงานเพื่อการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบอย่างบูรณาการและยั่งยืน
ใน ๕ มิติ
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ (ต่อ)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ขอให้เน้นในเรื่องดังต่อไปนี้ (ต่อ)
๕. สิทธิของผู้บริโภคตามหลักสากล การคุ้มครองผู้บริโภค ตามพระราชบัญญัติ
คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.
๒๕๕๑
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ (ต่อ)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ขอให้เน้นในเรื่องดังต่อไปนี้ (ต่อ)
๖. การแก้ไขปัญหากองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ โดยขอให้เน้นการฝึกอบรมกลุ่มเป้าหมายกองทุนหมู่บ้านที่มีการจัดตั้ง
ขึ้น แต่ยังมิได้จดทะเบียนเป็นนิติบคุ คล หรือกองทุนหมู่บ้านที่ได้จัดตั้งขึ้นและได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลแล้ว แต่ยังไม่ได้รับ
การเพิ่มทุนเงินล้านที่สอง ไม่ได้รับการจัดสรรเงินโครงการประชารัฐ เนื่องจากประสบปัญหามีหนี้ค้างชาระ เงินขาดบัญชี
เอกสารสูญหาย ไม่มีคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านทาหน้าที่บริหารจัดการ หรือด้วยเหตุอื่น ซึ่งขณะนี้มีกองทุนประเภทนี้อยู่
จานวนประมาณ ๗,๐๐๐ กองทุน การฝึกอบรมให้เน้นการฟื้นฟูและพัฒนนาศักยภาพของกองทุนหมู่บ้านดังกล่าวให้สามารถ
กลับมาดาเนินกิจการต่อไปได้ และสามารถจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลได้หรือสามารถได้รับการเพิ่มทุนเงินล้านที่สองได้ และอยู่
ในเกณฑได้รับการจัดสรรเงินโครงการประชารัฐได้ ตามเงื่อนไขตัวชี้วัดของสานักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ
ซึ่งรายละเอียดและข้อมูลของกองทุนหมู่บ้านตามที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น สามารถสอบถามได้จากพนักงาน สานักงานกองทุน
หมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา ในแต่ละพื้นที่ โดยให้บรรยายถ่ายทอดความรู้ไปตามคู่มือแนวทางการบริหารจัดการ
กองทุนหมู่บ้าน ชุดองคความรู้ ๔ เล่ม ที่สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนได้จัดทาขึ้น
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ (ต่อ)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ขอให้เน้นในเรื่องดังต่อไปนี้ (ต่อ)
๗. การคุ้มครองสิทธิ์ด้านเอดสและเพศภาวะ ให้เน้นการยุติการตีตราและการเลือกปฏิบัติ ตาม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๗ การบรรยายถ่ายทอดยุทธศาสตร
แห่งชาติว่าด้วยการยุติปัญหา เอดส พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๓ ในยุทธศาสตรที่ ๔ “ปรับภาพลักษณ
ความเข้าใจ เสริมสร้างความเข้มแข็งระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน รวมทั้งกลไกการคุ้มครองสิทธิ
เพื่อลดการรังเกียจ กีดกัน การเลือกปฏิบัติที่เกี่ยวเนื่องกับเอชไอวีและเพศภาวะ” ซึ่งเป็นภารกิจหลัก
ของสานักงานอัยการสูงสุด อาจมีการจัดกิจกรรมการรณรงค ประชาสัมพันธ การลดการตีตรา
(stigma) และเลือกปฏิบัติ (discrimination) ต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวีและเพศภาวะ ร่วมด้วย
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ (ต่อ)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ขอให้เน้นในเรื่องดังต่อไปนี้ (ต่อ)
๗. การคุ้มครองสิทธิ์ด้านเอดสและเพศภาวะ (ต่อ)
- กลุ่มเป้าหมายเป็นประชาชนโดยทั่วไป อสม. ผู้นาชุมชน ผู้ติดเชื้อเอชไอวี กลุ่ม LGBT
ภาคประชาสังคม หรือคณะทางานส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิด้านเอดสประจาจังหวัดซึ่งมี
อัยการจังหวัดคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัดเป็นประธาน
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ (ต่อ)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ขอให้เน้นในเรื่องดังต่อไปนี้ (ต่อ)
๗. การคุ้มครองสิทธิ์ด้านเอดสและเพศภาวะ (ต่อ) เนื้อหาในการบรรยายตามคู่มือคุ้มครองสิทธิด้านเอดสที่สานักงาน
คุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนได้จดั ทาขึ้น หลักการพื้นฐานสิทธิมนุษยชน การเคารพ
(Respect) ปกป้องคุ้มครอง (Protect) เติมเต็ม (Fulfill) ความหมายของการตีตรา การตีตราจากภายนอกและ
ภายใน ความหมายของการเลือกปฏิบัติ รูปแบบของการตีตรา รูปแบบของการเลือกปฏิบตั ิ กลไกการคุ้มครองสิทธิ
กรณีการถูกละเมิดสิทธิดา้ นเอดสเพศภาวะ และความเป็นกลุ่มประชากรเปราะบางต่อการถูกเลือกปฏิบัติ (Crisis
Response System : CRS ) บทบาทและหน้าที่ของคณะทางานส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิด้านเอดสประจาจังหวัด
76 จังหวัด ขั้นตอนการแสวงหาข้อเท็จจริงและพยานหลักฐาน การจัดการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนด้วยกลไกการ
คุ้มครองสิทธิผู้เกี่ยวเนื่องกับเอชไอวีและเพศภาวะในรูปแบบสหวิชาชีพของสานักงานอัยการสูงสุด ตามผัง
กระบวนงานแนวทางที่สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและหน่วยงานภาคีได้ร่วมกันจัดทาขึ้นใน
คู่มือการคุ้มครองสิทธิด้านเอดส
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ (ต่อ)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ขอให้เน้นในเรื่องดังต่อไปนี้ (ต่อ)
๗.การคุ้มครองสิทธิ์ด้านเอดสและเพศภาวะ (ต่อ) โดยอาจประสานวิทยากรจากกรมควบคุมโรค
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด แพทย มูลนิธิคุ้มครองสิทธิด้านเอดส สานักงานคุ้มครองสิทธิ
และช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน ภาคีเครือข่ายที่เป็นภาคประชาสังคมและองคพัฒนนา
เอกชน (NGO) ในพื้นที่
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ (ต่อ)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ขอให้เน้นในเรื่องดังต่อไปนี้ (ต่อ)
๘. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพระราชบัญญัติป้องกันและปรามปรามการค้ามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๑
สถานการณการค้ามนุษย รูปแบบของการค้ามนุษย พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีค้ามนุษย
พ.ศ. ๒๕๕๙ และการป้องกันกลุ่มเสีย่ งมิให้ตกเป็นเหยื่อคดีค้ามนุษย
สคชจ. ที่เป็นสานักงานนาร่องรับผิดชอบดาเนินการสานักงานละ ๑๐ ชุมชน/หมู่บ้าน
(เชียงราย ตาก หนองคาย นครศรีธรรมราช ปัตตานี ประจวบคีรีขันธ และตราด)
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ (ต่อ)
- เนื่องจากสานักงานคดีค้ามนุษยได้มีหนังสือ ที่ อส ๐๐๕๐/๑๔ ลงวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๓
แจ้งว่า สานักงานคดีค้ามนุษยได้จัดทาแผนยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติการ สานักงานคดีค้ามนุษย
สานักงานอัยการสูงสุด ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๘ ซึ่งในแผนยุทธศาสตรดังกล่าวได้
กาหนดให้มีโครงการร่วมมือกับ สคช. ในการสร้างผู้นาชุมชนให้มีความรู้เพือ่ ป้องกันกลุ่มเสี่ยงมิให้
ตกเป็นเหยื่อคดีค้ามนุษย โดยขอให้ สคช. คัดเลือกชุมชนนาร่องจานวน ๓๐ ชุมชน และจัดการ
ฝึกอบรมผู้นาชุมชนให้มีความรู้เพือ่ ป้องกันกลุ่มเสีย่ งมิให้ตกเป็นเหยื่อคดีค้ามนุษย
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ (ต่อ)
- ดังนั้น จึงกาหนดให้ สคชจ.เชียงราย ตาก หนองคาย นครศรีธรรมราช ปัตตานี ประจวบคีรีขันธ
และตราด นอกจากจะต้องดาเนินการฝึกอบรมความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุม่ ต่าง ๆ ตาม
กิจกรรม/โครงการความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุม่ ต่าง ๆ แล้ว ยังกาหนดให้หน่วยงานดังกล่าว
เป็นสานักงานนาร่องในการคัดเลือกชุมชนในพื้นที่จานวน ๑๐ ชุมชน/หมู่บ้าน และจัดการ
ฝึกอบรมผู้นาชุมชนให้มีความรู้เพือ่ ป้องกันกลุม่ เสี่ยงมิให้ตกเป็นเหยื่อคดีค้ามนุษยตามแผน
ยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติการสานักงานคดีค้ามนุษย สานักงานอัยการสูงสุด ประจาปี พ.ศ.
๒๕๖๔ - ๒๕๖๘ ดังกล่าว โดยใช้งบประมาณของ สคชจ. และให้รายงานผลการปฏิบัติงานฯ ไป
ยัง สคช. ตามแบบรายงานประจาเดือนของ สคช. เฉพาะเดือนที่มีผลการดาเนินงาน
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ (ต่อ)
- ในส่วนของวิทยากรในการบรรยายให้ความรู้ อาจประสานวิทยากรจาก สานักงาน
พัฒนนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด (พมจ.) /ศูนยปฏิบัติการป้องกันและ
ปราบปรามการค้ามนุษยจังหวัด (ศปมจ.)
ภารกิจตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๖.ฝึกอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ (ต่อ)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ขอให้เน้นในเรื่องดังต่อไปนี้ (ต่อ)
๙. การหลอกลวงทางออนไลน
๑๐. กฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดฯ
ฯลฯ
243
“โครงการพัฒนนาระบบการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทาง
กฎหมายแก่ประชาชนเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคม”
- ปรับปรุงพัฒนาระบบงาน (แอพพลิเคชั่น) และโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
เพื่อพัฒนาระบบงานให้มีความทันสมัย ลดขั้นตอนการปฏิบัติติงาน มีระบบรองรับการจัดเก็บ
ผลงาน สามารถทารายงานผลการปฏิบัติติงาน รวมทั้งสามารถเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศ
ของสานักงานอัยการสูงสุดและหน่วยงานภายนอกที่บูรณาการความร่วมมือกันได้
“โครงการพัฒนนาระบบการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทาง
กฎหมายแก่ประชาชนเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคม”
ฝึกอบรมผู้ใช้งานระบบฯ
- จานวน ๓ รุ่น ผ่านระบบออนไลน์ กลุ่มเป้าหมาย นิติกร ธุรการ ทนายความอาสา ใน สคช. สคชจ. และ
สคชจ. สาขา และ ในสานักงานอัยการภาค ๑ – ๙ ที่ต้องใช้ระบบงาน (รุ่นที่ ๑ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๔
รุ่นที่ ๒ วันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๔ และรุ่นที่ ๓ วันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๔)
-ฝึกอบรมความรู้แก่นิติกร ธุรการ ผู้ปฏิบัติงานใน สคช. สฝคช.ภาค สคชจ. และ สคชจ. (สาขา) ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ (ในระบบออนไลน์) จานวน ๔๑๕ คน วันที่ ๒๖ และ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๕
เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. (ช่วงที่ ๑ - ๒)
- โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ รองอัยการจังหวัด อัยการจังหวัดประจาสานักงานอัยการสูงสุด และ
อัยการอาวุโส ปฏิบัติงานใน สคช./สคชจ./สคชจ.(สาขา) พ.ศ. ๒๕๖๕ (ในระบบออนไลน์) จานวน ๒๘๔ คน
วันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๕ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. (ช่วงที่ ๑) วันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. (ช่วงที่ ๒)
“โครงการพัฒนนาระบบการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทาง
กฎหมายแก่ประชาชนเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคม”
ระบบการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
เพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคม เปิดใช้งานวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๔
ประกอบด้วย ๓ ส่วน ได้แก่
๑. สารบบ สคช. ทั่วประเทศ
๒. เว็บบอร์ด (Web Board)
๓. แอปพลิเคชัน (Application) (อัยการช่วยได้)
247 ระบบการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
เพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคม
 ระบบคาร้องขอปรึกษาปัญหากฎหมาย (สคช.9)
❑ ข้อมูลผู้ติดต่อ
❑ การบันทึกคาร้องขอปรึกษาปัญหากฎหมาย
❑ การสร้างแบบฟอร์ม สคช.8
❑ การพิมพ์แบบฟอร์ม สคช.9
❑ การเสนออนุมัติคาร้องขอปรึกษาปัญหากฎหมาย
❑ การอนุมัติคาร้องขอปรึกษาปัญหากฎหมาย
248 ระบบการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
เพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคม
 ระบบคาร้องขอรับความช่วยเหลือ และคาร้องอื่นๆ (สคช.8)
❑ การบันทึกคาร้องขอรับความช่วยเหลือ
❑ การเสนออนุมัติคาร้องขอรับความช่วยเหลือ
❑ การอนุมัติคาร้องขอรับความช่วยเหลือ
❑ การพิมพ์แบบฟอร์ม สคช.8
249 ระบบการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
เพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคม
 ระบบสานวน, ยื่นคาร้องและชาระเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส
❑ สานวนคดี
❑ การจ่ายสานวน/ การรับสานวน
❑ การบันทึกความเห็นและคาสั่ง
❑ การบันทึกร่างคาร้อง/คาฟ้อง
❑ การบันทึกบันทึกคาพิพากษา (อก.14)
❑ บันทึกนัดหมาย
250 ระบบการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
เพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคม
 ระบบรายงานผลการดาเนินงาน สคช.
❑ การกาหนดแผนการปฏิบัติงาน
❑ การบันทึกผลการปฏิบัติงาน
 ระบบทนายความเพื่อประชาชน
❑ การลงทะเบียนทนายความอาสา
❑ การตรวจสอบเอกสาร และคุณสมบัติ
❑ การอนุมัติทนายความอาสา
❑ การออกบัตรประจาตัวทนายความอาสา
251 ระบบการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
เพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคม
 การใช้งานระบบผ่านแอพพลิเคชัน “อัยการช่วยได้”
❑ การยื่นคาร้องขอรับความช่วยเหลือ
❑ การใช้งานระบบทนายความอาสา
252 ระบบการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
เพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคม
 ระบบคลังข้อมูลกฎหมาย
❑ การนาเข้าข้อมูลประมวลกฎหมาย
❑ การสืบค้นข้อมูลประมวลกฎหมาย
 ระบบเว็บบอรดทางกฎหมายออนไลน
❑ การลงทะเบียนการใช้งาน
❑ การลงชื่อเข้าใช้งาน
❑ การสร้างคาถาม และการตอบคาถาม
“บ.๗” หมายถึง สมุดบัญชีจ่ายสานวน ให้เจ้าของสานวนเซ็นชื่อรับสานวนไป
ดาเนินการ
“อ.ก.๔” หมายถึง แบบพิมพสาหรับเขียนความเห็นและคาสั่งของพนักงาน
อัยการ
“อ.ก.๒๐” หมายถึง แบบพิมพสาหรับเขียนต่อความเห็นและคาสั่งของ
พนักงานอัยการ
“สารบบ สคช.๒” หมายถึง สารบบคาร้องขอรับความช่วยเหลือ
“สารบบ สคช.๓” หมายถึง สารบบประเภทการให้ความช่วยเหลือ
“สคช.๑” หมายถึง ปกสานวนคดี
“สคช.๘” หมายถึง แบบคาร้องขอรับความช่วยเหลือ
“สคช.๙” หมายถึง แบบให้คาปรึกษาปัญหากฎหมาย
เพื่อให้การปฏิบัติงานตามภารกิจของ สคช. มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ประหยัด
งบประมาณ และ เป็นไปตามเป้าหมายของตัวชี้วัด ต้องดาเนินการอย่างไร?

- จัดเก็บและบันทึกข้อมูลผลการปฏิบัติงานทุกครั้งที่ปฏิบัติงานเสร็จ
- ปฏิบัติงานตามกิจกรรม/โครงการ แบบบูรณาการกับหน่วยงานอื่น ๆ
- ปฏิบัติงานผ่านระบบสารสนเทศโปรแกรมรายงานผลการดาเนินงาน
ทางอิเล็กทรอนิกส์ของ สคช. ทุกครั้ง
งานสนับสนุนการปฏิบัติงาน
คุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
งานธรุการทั่วไป - ลงสารบบรับเรื่องต่างๆ ควบคุม ดูแลการบริหารงาน
ภายในสานักงานทั้งหมด (สานักอานวยการ)
บันทึกข้อมูล - งานพิมพต่างๆ ทาเว็บไซต ตรวจดูหนังสือเวียน
(เจ้าพนักงานธุรการ)
นิติกร - ช่วยพนักงานอัยการ รับเรื่องให้คาปรึกษา
255
ประนอมข้อพิพาท เผยแพร่ ฝึกอบรมความรู้
ทาแผนงานโครงการ งบประมาณ รายงานผลงาน
เจ้าพนักงานคดี - ช่วยงานบังคับคดี
การกาหนดแผนและขั้นตอนการทางาน
ในหน้าที่อย่างเป็นระบบ
วงจรเดมิ่ง
(Deming Cycle) (P D C A)
วงจรเดมิ่ง
(Deming Cycle) (P D C A)
Dr. William Edwards Deming เป็นวิศวกรชาวอเมริกัน, สถิติ,
ศาสตราจารย, นักเขียน, อาจารยและที่ปรึกษาด้านการจัดการ
การศึกษาขั้นต้นในฐานะวิศวกรไฟฟ้า และต่อมามีความเชี่ยวชาญ
ในสาขาฟิสิกสคณิตศาสตร
วงจรเดมิ่ง
(Deming Cycle) (P D C A)
Dr. William Edwards Deming มีความเชื่อว่า คุณภาพสามารถปรับปรุงได้
- แนวคิดของการพัฒนนาคุณภาพงานขั้นพื้นฐาน
- การกาหนดขั้นตอนการทางานเพื่อสร้างระบบการผลิตให้สินค้ามีคุณภาพดี
การให้การบริการดี หรือทาให้กระบวนการทางานเป็นไปอย่างมีระบบ
- ใช้ได้กับทุก ๆ สาขาวิชาชีพแม้กระทั่งการดาเนินชีวิตประจาวันของมนุษย
วงจรเดมิ่ง
(Deming Cycle) (P D C A)
PLAN – การวางแผน
DO – การนาไปปฏิบัติ
CHECK – การติดตาม (และเปรียบเทียบผล)
ACT - การดาเนินการปรับปรุง
วงจรเดมิ่ง
(Deming Cycle) (P D C A)
PLAN – การวางแผน
พิจารณาจากแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ....
สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
(สคช.)

กิจกรรม / วิธีดาเนินงาน / พื้นที่ดาเนินการ / เป้าหมายผลผลิต


วงจรเดมิ่ง
(Deming Cycle) (P D C A)
DO – การนาไปปฏิบัติ
ดาเนินการตามกิจกรรม / วิธีดาเนินงาน / พื้นที่ดาเนินการ /
เป้าหมายผลผลิต ที่กาหนด
วงจรเดมิ่ง
(Deming Cycle) (P D C A)
CHECK – การติดตาม (และเปรียบเทียบผล)
ติดตามการดาเนินงานและเทียบกับแผนที่กาหนดไว้ว่า
ได้ตามเป้าหมายที่กาหนดแล้วหรือไม่
วงจรเดมิ่ง
(Deming Cycle) (P D C A)
ACT – การดาเนินการปรับปรุง
พิจารณาหาแนวทางแก้ไข ป้องกันปัญหา
หรือพัฒนนางานให้ดียิ่งขึ้นต่อไปในอนาคต
ข้อดีของการใช้วงจรเดมิ่ง
(Deming Cycle) (P D C A)
ทาให้ผู้ปฏิบัติมีการวางแผน
ป้องกันปัญหาที่ไม่ควรเกิด
ช่วยลดความสับสนในการทางาน
ลดการใช้ทรัพยากรมากหรือน้อยเกินความพอดี
ลดความสูญเสียในรูปแบบต่าง ๆ
ข้อดีของการใช้วงจรเดมิ่ง
(Deming Cycle) (P D C A) (ต่อ)
การทางานที่มีการตรวจสอบเป็นระยะทาให้การปฏิบัติงานมีความรัดกุมขึ้น
และแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็วก่อนจะลุกลาม
การตรวจสอบที่นาไปสู่การแก้ไขปรับปรุงทาให้ปัญหาที่เกิดขึ้นแล้วไม่เกิดซ้า
หรือลดความรุนแรงของปัญหา
ถือเป็นการนาความผิดพลาดมาใช้ให้เกิดประโยชน์
สมรรถนะหลักของข้าราชการ
 ๑. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation)
 ๒. การบริการที่ดี (Service Mind)
 ๓. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise)
 ๔. จริยธรรม / ความถูกต้องชอบธรรม (Integrity)
 ๕. ความร่วมแรงร่วมใจ (Teamwork)
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๗๘
ยึดมั่น ยืนหยัด
ในสิ่งที่ถูกต้อง

มุ่งผลสัมฤทธิ์ ซื่อสัตยสุจริต
ของงาน และรับผิดชอบ
จรรยาข้าราชการ

ไม่เลือกปฏิบัติ โปร่งใสและ
อย่างไม่เป็นธรรม ตรวจสอบได้
อุดมการณของข้าราชการฝ่ายอัยการ และบุคลากร
ของสานักงานอัยการสูงสุด

ข้ า ราชการฝ่ า ยอั ย การและบุ ค ลากรของส านั ก งานอั ย การสู ง สุ ด


ต้องยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรมและยืนหยัดทาในสิ่งที่ถูกต้องและ
เป็ น ธรรมในการอ านวยความยุ ติ ธ รรมแก่ ป ระชาชนโดยเสมอภาค
รั ก ษาผลประโยชน ของรั ฐ และคุ้ ม ครองสิ ท ธิ เ สรี ภ าพของประชาชน
โดยต้องปฏิบัติหน้าที่อย่างมีจิตสานึกที่ดี ด้วยความซื่อสัตย สุจริต ถูกต้อง
เที่ย งธรรม รอบคอบ รวดเร็ ว โปร่ งใส และตรวจสอบได้ เพื่อให้เป็นที่
เชือ่ ถือศรัทธาแก่ประชาชน
หมวด ๕ จริยธรรมข้าราชการธุรการ

ข้ อ ๑๘ ข้า ราชการธุ รการต้ อ งรั กษาไว้ ซึ่ง อุด มการณแห่ ง


วิชาชีพและจริยธรรมนี้อย่างเคร่งครัด ไม่กระทาการใด ๆ อัน
อาจนามาซึ่งความเสื่อมเสียถึงเกียรติศักดิ์แห่งตาแหน่งหน้าที่
ราชการ

ข้ อ ๑๙ ข้ า ราชการธุ ร การต้ อ ง ไม่ ป ระมาทเลิ น เล่ อ


ในหน้าที่ราชการ
หมวด ๕ จริยธรรมข้าราชการธุรการ

ข้อ ๒๐ ข้าราชการธุรการต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี และต้อ ง


ช่วยเหลือกั นในการปฏิ บัติราชการระหว่างข้ าราชการด้ วยกัน และผู้ร่วมปฏิบั ติ
ราชการ

ข้ อ ๒๑ ข้ า ราชการธุ ร การต้ อ งวางตั ว เป็ น กลาง ละเว้ น การมี ส่ ว นร่ ว ม ทั้ ง


ทางตรงและทางอ้อมในการกระทาอันอาจก่อให้เกิดความเสียหายในการปฏิบัติ
หน้าที่

ข้อ ๒๒ ข้าราชการธุร การต้องอุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการ จะละทิ้งหรื อ


ทอดทิ้งหน้าที่ราชการมิได้
หมวด ๕ จริยธรรมข้าราชการธุรการ

ข้อ ๒๓ ข้าราชการธุรการต้องส่งเสริมและสนับสนุนงาน
ของข้าราชการอัยการให้ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
รวดเร็ว รวมถึงให้ความร่วมมือในการ ปรับปรุง และพัฒนา
ระบบงานเพื่อให้สามารถปฏิบัติภารกิจสาเร็จลุล่วงได้อย่าง
มีประสิทธิภาพเกิดผลสัมฤทธิ์ของงาน
วิธกี ารส่งหนังสือแจ้งคู่พิพาทหรือผูท้ ่เี กีย่ วข้อง
275

หลัก - ให้นายอาเภอหรือประธานคณะผูไ้ กล่เกลี่ย ส่งหนังสือทางไปรษณี ยล์ งทะเบียนตอบรับ


(ใบเหลืองตอบรับ)

เว้นแต่ – ผูน้ นั้ อยู่ ณ สถานที่ไกล่เกลี่ยในเวลาที่ได้มกี ารนัด หมาย และได้ลงลายมือชื่อ


รับรูไ้ ว้ ให้ถือว่า ได้สง่ โดยชอบแล้ว
(กฎกระทรวงข้อ ๑๓ วรรคสอง)
หน้าที่ของ “ข้าราชการ”
การบริการ เป็นหน้าที่ของผู้ที่เป็นข้าราชการ
งานราชการ มิใช่การปฏิบัติต่อประชาชนในลักษณะของ
ผู้ที่มีอานาจวาสนาปฏิบัติต่อผู้ต่าศักดิ์กว่า แต่ต้องเป็นไป
ในลักษณะผู้ให้บริการแก่ประชาชน
กลยุทธ์บริการ Strategic Service
“หน้าไม่งอ รอไม่นาน บริการสะดวก”
การใช้ภาษาเพื่อพัฒนนาการบริการ
๑. มองหน้า ๕. ไต่ถาม
๒. สบตา ๖. รับฟัง
๓. ยิ้มแย้ม ๗. แนะนา
๔. ทักทาย ๘. บริการ
บริการดี มีคุณภาพ
ตามคาด พออก พอใจ
เกินคาด ถูกอกถูกใจ

ประทับจิตประทับใจ
ไม่คาดคิด
การสนับสนุนงาน สคช.
จบการบรรยาย
ขอบคุณครับ
การสนับสนุนงาน สคช.
(งานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน)

โดย
นายอัครพัฒนน พิสิษฐสังฆการ
อัยการจังหวัดประจาสานักงานอัยการสูงสุด
เลขานุการอธิบดีอัยการ สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน

You might also like