ข้อสอบเคมีอินทรีย์-กลางภาค 64

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 21

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ ายมัธยมศึกษา (มอ

ดินแดง)
ปี การศึกษา
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1
2564
วิชา อินทรีย์เคมีและเคมีพอลิเมอร์ รหัสวิชา ว 33222
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/2 – 6/4
สอบวันพุธที่ 4 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564
เวลา 08.30 – 10.00 น.
อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์ชุติกา ศรีสวัสดิ ์
คะแนนเต็ม 50 คะแนน
คำชีแ
้ จง : 1. ข้อสอบมีทงั ้ หมด 9 หน้า มี 2 ตอน ข้อสอบรวม
50 คะแนน
ตอนที่ 1 ปรนัย จำนวน 40 ข้อ รวม
40 คะแนน
ตอนที่ 2 อัตนัย จำนวน 5 ข้อ รวม
10 คะแนน
2. ให้นักเรียนกรอก ชื่อ-สกุล ชัน
้ เลขที่ ให้เรียบร้อย
3. ไม่อนุญาตให้นักเรียนเปิ ดเอกสารใดๆ ขณะทำข้อสอบ
4. ไม่อนุญาตให้ใช้เครื่องคำนวณ หรือนำเครื่องมือสื่อสารทุกชนิดเข้า
ห้องสอบ
5. หากมีการ ทุจริต จะปรับตกทันที

ตอนที่ 1 คำชีแ
้ จง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วทำเครื่องหมาย
กากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ

1. ข้อใดต่อไปนีถ
้ ูกต้องเกี่ยวกับสารประกอบของคาร์บอน
1) สารประกอบของคาร์บอนทุกชนิดเป็ นสารอินทรีย์
2) สารอินทรีย์ทุกชนิดเป็ นสารประกอบโคเวเลนต์
3) สารอินทรีย์มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็ นองค์ประกอบสำคัญ
ก. ข้อ 1 และ 2
ข. ข้อ 2 และ 3
ค. ข้อ 1 และ 3
ง. ข้อ 2 เท่านัน

จ. ข้อ 3 เท่านัน

2. สารประกอบในข้อใดจัดเป็ นสารประกอบอินทรีย์
ก. หินปูน (CaCO3)
ข. เพชร และแกรไฟต์ (C)
ค. กรดคาร์บอนิก (H2CO3)
ง. น้ำส้มสายชู (CH3COOH)
จ. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
3. ข้อใดกล่าวถึงสาเหตุที่ทำให้สารอินทรีย์มีจำนวนมากไม่ถก
ู ต้อง
ก. คาร์บอนเกิดพันธะไฮโดรเจนกับคาร์บอนในโมเลกุลของสารอื่นได้
ข. คาร์บอนจะเกิดพันธะโคเวเลนต์กับคาร์บอนด้วยกัน เป็ นโซ่ยาว โซ่กิ่ง หรือ
วง
ค. คาร์บอนเกิดพันธะโคเวเลนต์กับไฮโดรเจน ได้สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
ชนิดต่างๆ
ง. คาร์บอนเกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุอ่ น
ื ๆ เช่น Cl, Br, O, N เกิดเป็ นสาร
อินทรีย์ชนิดต่างๆ
จ. คาร์บอนจะเกิดพันธะโคเวเลนต์กับคาร์บอนด้วยกันได้ทงั ้ พันธะเดี่ยว
พันธะคู่ และพันธะสาม
จากภาพจงตอบคำถามข้อ 4 – 6

1. 2. 3.

4. 5. 6.

4. ข้อใดคือ “Aliphatic Hydrocarbon Compound”


ก. 1 และ 6
ข. 2 และ 4
ค. 3 และ 5
ง. 4 และ 3
จ. 5 และ 2
5. ข้อใดคือ “Alicyclic Hydrocarbon Compound”
ก. 1 และ 2
ข. 1 และ 4
ค. 2 และ 6
ง. 1 และ 6
จ. 2 และ 4
6. ข้อใดคือ “Aromatic Hydrocarbon Compound”
ก. 1 เท่านัน

ข. 1 และ 4
ค. 2 และ 4
ง. 1 และ 6
จ. 2 และ 6
7. ข้อใดคือโครงสร้างแบบเส้นและแบบมุมของสารประกอบที่มีสูตรแบบย่อดังต่อ
ไปนี ้ (CH3)2CHCH2COOH

ก.

ข.

ค.

ง.

จ.

8. สารที่มีสูตรโครงสร้างลิวอิส ดังนี ้

เขียนสูตรแบบย่อได้ตามข้อใด
ก. (CH3)2C=C(CH3)2
ข. CH3(CH2)2CH=CHCH3
ค. (CH3)2C=CHCH2CH3
ง. CH3CH=CH(CH2)2CH3
จ. CH3CH2CH=CHCH2CH3
9. สารที่มีสูตรโครงสร้างแบบเส้น ดังนี ้
เขียนสูตรแบบเส้นและแบบมุมได้ตามข้อใด

ก.

ข.

ค.

ง.

จ.

10. โครงสร้าง 3 มิติ ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนต่อไปนีเ้ ขียนสูตรแบบเส้นได้


ตามข้อใด

ก.

ข.

ค.

ง.

จ.
11. โครงสร้างแบบจุดของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนต่อไปนีเ้ ขียนสูตรโมเลกุลได้
ตามข้อใด
ก. CH3COH
ข. CH3COOH
ค. CH3COCH3
ง. CH3COOCH3
จ. CH3COCH2CH3
12. สาร A มีสูตรโมเลกุล คือ C8H14 สาร A อาจเป็ นสารประกอบใดได้บ้างตามตัว
เลือกที่กำหนด
1) ไซโคลแอลคีน
2) ไซโคลแอลเคน
3) สารประกอบไดอีน
4) สารประกอบแอลไคน์
5) สารประกอบอะโรมาติก
ก. 1 2 และ 3
ข. 1 3 และ 4
ค. 1 2 และ 5
ง. 1 3 และ 6
จ. 1 และ 3 เท่านัน

13. ไฮโดรคาร์บอนแบบอิ่มตัวในข้อใดที่มีจำนวนโครงสร้างที่เป็ นไปได้ทงั ้ หมด
เท่ากับจำนวนโครงสร้างที่เป็ นไปได้ของ C2H6
ก. C3H8
ข. C4H10
ค. C5H12
ง. C6H14
จ. มีคำตอบที่เป็ นได้มากกว่า 1 ข้อ
14. จำนวนสูตรโครงสร้างที่เป็ นไปได้ของ “ไดคลอโรไซโคลเฮกเซน” คือข้อใด
ก. 2
ข. 4
ค. 8
ง. 12
จ. 16
15. สารประกอบใดเป็ นไอโซเมอร์กับ CH3CH2CH2OH
ก. CH3CH=CH2
ข. CH3CH=CH2

ค. CH3CHCH2CH3
ง. CH3CHCH2OH

จ. CH2CH2OCH3
16. จงบอกจำนวนสูตรโครงสร้างและชื่อของหมู่ฟังก์ชันที่เป็ นไปได้ทงั ้ หมดของสาร
อินทรีย์ที่มีสูตรโมเลกุล C4H8O
ก. 3 : แอลดีไฮด์ , คีโตน
ข. 2 : แอลดีไฮด์ , อีเทอร์
ค. 3 : แอลกอฮอล์ , คีโตน
ง. 2 : แอลกอฮอล์ , อีเทอร์
จ. 3 : แอลกอฮอล์ , แอลดีไฮด์
17. สารคู่ใดต่อไปนีไ้ ม่เป็ นไอโซเมอร์กัน
ก. CH3CHO กับ CH3COCH3
ข. CH3COOCH3 และ CH3CH2COOH

ค. CH3CH=CHCH3 กับ
ง. CH3CH2CH2CH3 กับ
จ. CH3CH2CH(CH3)2 และ CH3CHCH2CH3

18. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตรทั่วไปร่วมกัน จะมีสถานะตามลำดับตรงกับ


ข้อใด หากลดจำนวน C อะตอมลงเรื่อยๆ
ก. แก๊ส  ของเหลว  ของแข็ง
ข. ของแข็ง  แก๊ส  ของเหลว
ค. ของแข็ง  ของเหลว  แก๊ส
ง. ของเหลว  แก๊ส  ของแข็ง
จ. ของเหลว  ของแข็ง แก๊ส
19. ปริมาณออซิเจนที่ต้องใช้เมื่อนำสารประกอบไฮโดรคาร์บอน 3 ชนิด คือ C6H14,
C8H18, C10H22 อย่างละ
1 mol มาเผาไหม้ เรียงตามลำดับจากมากไปน้อย ตรงกับข้อใด
ก. C6H14  C8H18  C10H22
ข. C8H18  C6H14  C10H22
ค. C8H18  C10H22 C6H14
ง. C10H22 C8H18  C6H14
จ. C10H22 C6H14  C8H18

20. สารประกอบในตัวเลือกคู่ใดต่อไปนี ้ มีจุดเดือดต่ำที่สุด และสูงที่สุดตามลำดับ

1)

2)
3)

4)

ก. 1 และ 2
ข. 1 และ 3
ค. 2 และ 3
ง. 1 และ 4
จ. 2 และ 4
21. สารประกอบ A และ B เมื่อนำมาทดสอบสมบัติต่างๆ ได้ผลดังนี ้
การจางฟอกสี
สาร
การละลายน้ำ การเผาไหม้ สารละลาย
สมบัติ
ด่างทับทิม
A ติดไฟ และมีเขม่า
ไม่ละลาย ฟอกจางสี
เล็กน้อย
B ติดไฟ แต่ไม่มีควัน
ไม่ละลาย ไม่ฟอกจางสี
และเขม่า
สารประกอบ A และ B ควรเป็ นสารประกอบคู่ใด ตามลำดับ
ก. C6H12, C6H14
ข. C6H10, C6H14
ค. C6H10, C6H12
ง. C6H6, C6H12
จ. C6H6, C6H14
22. เมื่อสารตัง้ ต้นที่กำหนดให้ทำปฏิกิริยากับโบรมีนผลิตภัณฑ์ที่ได้ในข้อใดถูกต้อง

ข้อ สารที่ ผลิตภัณฑ์


กำหนดให้ ที่ได้

ก.

ข.

ค.

ง.

จ.

23. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนที่เล็กที่สุด
ก. ติดไฟง่าย ได้เขม่ามาก
ข. ไม่ฟอกจางสีสารละลาย KMnO4
ค. โมเลกุลที่เล็กที่สุดประกอบด้วยคาร์บอน 6 อะตอม
ง. เกิดปฏิกิริยาการเติมเช่นเดียวกับแอลคีน เนื่องจากมีพันธะคู่เหมือนกัน
จ. ความยาวพันธะระหว่างอะตอมคาร์บอนในโครงสร้างที่เป็ นวงยาวเท่ากัน
24. ไฮโดรคาร์บอน A ทำปฏิกิริยากับคลอรีนในที่มีแสงสว่าง ให้ผลิตภัณฑ์เป็ น
C5H11Cl ข้อใดถูกต้อง
ก. สาร A ฟอกสีสารละลาย KMnO4
ข. ปฏิกิริยาที่เกิดขึน
้ เรียกว่า “ปฏิกิริยารวมตัว”
ค. สูตรโครงสร้างของสาร A คือ (CH3)2CHCH2CH3
ง. จำนวนไอโซเมอร์ของสาร A ที่เป็ นไปได้ทงั ้ หมด คือ 4
จ. ปฏิกิริยาระหว่าง A กับคลอรีน ให้ผลิตภัณฑ์อีกชนิดหนึ่ง คือ HCl
25. ข้อใดเป็ นชื่อตามระบบ IUPAC ของสารที่มีสูตรโครงสร้างดังภาพ

ก. Cycloheptane
ข. Cyclohextane
ค. Methylhexane
ง. Methylcycloheptane
จ. Methylcyclohexane
26. สารเคมีที่มีสูตรโครงสร้างดังภาพ

สารดังกล่าวเรียกชื่อตามระบบ IUPAC ได้ตามข้อใด


ก. Ethyl benzoate
ข. Ethenyl benzoate
ค. Benzyl ethanoate
ง. Phenyl ethanonate
จ. Ethenyl ethanoate
27. ข้อใดเป็ นชื่อ IUPAC ของสารที่มีสูตรโครงสร้างดังภาพ

ก. 2-methyl butane
ข. 3-methyl butane
ค. 2-methylbut-3-ene
ง. 3-methylbut-1-ene
จ. 3-methylbut-2-ene

28. โครงสร้างของสารประกอบ 3-ethyl-4-methyl hexane ที่ถูกต้องคือข้อใด

ก.

ข.

ค.
ง.

จ.
29. การอ่านชื่อของสารอินทรีย์ต่อไปนี ้ ข้อใดถูกต้อง

ตัว สูตรโครงสร้างแบบ ชื่อตามระบบ


เลือก เส้น IUPAC
2,2,3,4-
1) tetramethyl
hexane

2,3-dimethylpent-
2)
3-ene

3) CH3-CH2-C-CH2- 2-ethylhex-1-ene
CH2-CH2-CH3
3–methylPent-4-
4)
yne

ก. 1 และ 2
ข. 2 และ 3
ค. 3 และ 4
ง. 1 และ 4
จ. 1 และ 3
30. สาร A และ B เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเหมือนกัน สาร A เมื่อเผาไหม้
จะให้เปลวสว่างไม่มีควันและเขม่า
ส่วนสาร B ให้เปลวสว่าง มีควันและเขม่ามาก ข้อสรุปที่อาจเป็ นไปได้เกี่ยวกับสาร
A และ B คือข้อใด
ก. อัตราส่วนระหว่างจำนวนอะตอมของคาร์บอนกับไฮโดรเจนในสาร A น้อย
กว่าในสาร B

ข. การเผาไหม้ของสาร A เกิดไม่สมบูรณ์ ส่วนการเผาไหม้ของสาร เกิดได้


อย่างสมบูรณ์

ค. สาร A เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว ส่วนสาร B เป็ น


สารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว

ง. สาร A และสาร B เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัวโดยที่สาร A มี


มวลโมเลกุลมากกว่าสาร B

จ. การเผาไหม้ของสาร A เป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน ส่วนการเผาไหม้ของ


สาร B เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน
31. จุดเดือดของสารประกอบแอลเคนที่มีโมเลกุลเป็ นโซ่ตรงควรเปลี่ยนแปลงตาม
จำนวนคาร์บอนอะตอม
(n c) ในโมเลกุลตามกราฟข้อใด

ก.
จุดเดื
อด

nc

ข.
จุดเดื
อด

nc

ค.
จุดเดื
อด

nc

ง.
จุดเดื
อด
nc

จ. จุดเดื
อด nc

32. X และ Y เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน เมื่อทำปฏิกิริยากับ Br2 และ O2 ได้


ผลิตภัณฑ์ ดังนี ้
X + Br2  C5H9Br + HBr
Y + 8O2  5CO2 + 6H2O
สาร X และ Y ควรเป็ นสารประเภทใดตามลำดับ
ก. แอลคีน และ แอลเคน
ข. แอลคีน และ แอลคีน
ค. ไซโคลแอลเคน และ แอลเคน
ง. ไซโคลแอลคีน และ แอลเคน
จ. ไซโคลแอลเคน และ ไซโคลแอลคีน
33. สาร B เป็ นของเหลวที่มีสูตรโมเลกุลเป็ น C6H14 ถ้านำสาร B ทำปฏิกิริยากับ
HNO3 ที่อุณหภูมิสูง จะได้ผลิตภัณฑ์ที่มีสมบัติตรงกับข้อใด
ก. เป็ นของแข็งที่มีมวลโมเลกุลสูง และมีเสถียรภาพสูง
ข. เป็ นแก๊สพิษ และไม่นิยมใช้ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรม
ค. เป็ นแก๊สที่มีเสถียรภาพต่ำ ว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ง. เป็ นของเหลวมีเสถียรภาพสูงและไม่เป็ นพิษ นิยมใช้เป็ นเชื้อเพลิง
จ. เป็ นของเหลวที่มีฤทธิก์ ัดกร่อน นิยมใช้เป็ นตัวทำละลายในโรงงาน
อุตสาหกรรม

34. ข้อใดอธิบายสมบัติของสารประกอบแอลคีนไม่ถก
ู ต้อง
ก. สารประกอบแอลคีนแต่ละชนิดมีกลิ่นเฉพาะตัว
ข. เกิดปฏิกิริยาการรวมตัวได้ดีกว่าปฏิกิริยาการแทนที่
ค. จุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูงขึน
้ เมื่อมวลโมเลกุลเพิ่มขึน

ง. ในโมเลกุลของแอลคีนประกอบด้วยพันธะเดี่ยวและพันธะคู่เสมอ
จ. ฟองจากสีสารละลายโบรมีนได้เฉพาะในที่สว่างเพราะเกิดปฏิกิริยาการ
แทนที่
35. สารประกอบต่อไปนี ้
1) เฮกเซน
2) เฮกซีน
3) ไซโคลเฮกซีน
4) เบนซีน
สารประกอบข้อใดที่มีสมบัติฟอกจางสีสารละลายโบรมีนในทัง้ ในที่มืด ที่สว่าง และ
ฟอกจางสีสารละลาย KMnO4
ก. ข้อ 1 และ 2
ข. ข้อ 2 และ 3
ค. ข้อ 3 และ 4
ง. ข้อ 1 2 และ 3
จ. ข้อ 1 2 และ 4
36. พิจารณาสมบัติของสารประกอบที่มีสูตรโครงสร้างต่อไปนี ้
H H H
H
C C C O
H C C C
H
H H
H H O

1) ฟอกสีสารละลายโบรมีน
2) ฟอกสีสารละลาย KMnO4
3) เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงิน เป็ นสีแดง
4) ทำปฏิกิริยากับโลหะโซเดียมได้แก๊สไม่มีสี
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. 1 และ 2
ข. 3 และ 4
ค. 1 , 2 และ 3
ง. 1 , 2 และ 4
จ. 1 , 2 , 3 และ 4

37. สารประกอบ X ทำปฏิกิริยาหลายขัน


้ ตอนกับ O3, Zn และ H2O ได้ผลิตภัณฑ์
สุดท้ายเป็ นสารประกอบแอลดีไฮด์ หรือคีโตน ซึง่ สามารถเขียนสมการการเกิด
ปฏิกิริยาได้ดังนี ้

สารประ

สารประกอบ X เป็ นสารข้อใด

ก.

ข.

ค.

ง.
จ.
38. สารประกอบแอลไคน์เ2+กิดปฏิกิริยารวมตัวกับน้ำ ดังสมการ
Hg ,
+ H2O + สาร A
H

ข้อความต่อไปนี ้ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. สาร A มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 58
ข. หมูฟ
่ ั งก์ชันของสาร A คือ –COOH
ค. สาร A มีสูตรแบบย่อ คือ CH3CH2COH
ง. ชื่อสาร A ตามระบบ IUPAC คือ Propanal
จ. สาร A เป็ นสารประเภทเดียวกับสารผลิตภัณฑ์หนึ่งที่เกิดจากปฏิกิริยา
Ozonolysis ของแอลไคน์

39. สารประกอบที่มีโครงสร้างตามข้อใดที่สามารถเกิดปฏิกิริยาไฮเดรชันและได้
ผลิตภัณฑ์มากกว่า 1 แบบ

ก.

ข.

ค.

ง.
จ. มีคำตอบมากกว่า 1 ข้อ

40. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่งมีสูตรโมเลกุล C6H10 เมื่อทดสอบทางเคมี


โดยปฏิกิริยาดังสมการต่อไปนี ้
C6H10 + 2Br2  C6H10Br4
3C6H10 + 8KMnO4 + 4H2O  3C5H10O2 + 3CO2 + 8MnO2 +
8KOH
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดดังกล่าวมีสูตรโครงสร้างแบบใด

ก.

ข.

ค.

ง.

จ.

----------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------

ตอนที่ 2 คำชีแ
้ จง : ให้นักเรียนพิจารณาคำถามต่อไปนีแ
้ ละเขียนอธิบายคำตอบให้
ถูกต้อง (10 คะแนน)

1. จากภาพโครงสร้าง 3 มิติของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนต่อไปนี ้ สารดังกล่าว


เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทใด (แอลเคน/แอลคีน/แอลไคน์/อะโร
มาติก) และเขียนสูตรแบบย่อได้อย่างไร

ตอบ
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
(แนวคำตอบ : แอลเคน, สูตรแบบย่อ คือ (CH3)2CHCH2CH3)

2. พิจารณาโครงสร้างของสารประกอบต่อไปนี ้ และตอบคำถาม
H2 O O H2
C OH C
H2C
H3C C C C CH3 CH2
H2
HC
H3C H H3C O C
H

สารประกอบดังภาพจัดเป็ นสารประเภทใดตามลำดับ
ตอบ
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
(แนวคำตอบ : แอลกอฮอล์, แอลดีไฮด์, เอสเทอร์, แอลคีน)

3. ให้นักเรียนอ่านชื่อสามัญ และชื่อตามระบบ IUPAC ของสารที่มีสูตรโครงสร้าง


ดังภาพให้ถูกต้อง

ตอบ
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
(แนวคำตอบ : ชื่อสามัญ คือ Isononane/Neononane และชื่อตามระบบ IUPAC
คือ 3-ethyl-2-methylhexane)
4. สารประกอบแอลไคน์ทำปฏิกิริยากับสารละลายด่างทับทิม (KMnO4) ดังสมการ

3CH3-CH2-C≡CH + 8KMnO4 + 4(สาร A)  3(สาร B) + 3CO2 +


8MnO2 + 8KOH

ให้นักเรียนระบุชนิดของสาร A และสาร B ตามลำดับให้ถก


ู ต้อง
ตอบ
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
(แนวคำตอบ : สาร A คือ H2O (น้ำ) และสาร B คือ CH3CH2COOH (กรดคาร์บอนิ
ก/Propanoic acid))
5. จากข้อมูลในตารางต่อไปนี ้

จำนวน C แอลเคน
จุดหลอมเหลว จุดเดือด
อะตอม ใน ชื่อ สูตร
(°C) (°C)
โมเลกุล โมเลกุล
1 มีเทน CH4 -182.0 -164.0
2 อีเทน C2H6 -183.3 -88.6
จำนวน C แอลเคน
จุดหลอมเหลว จุดเดือด
อะตอม ใน ชื่อ สูตร
(°C) (°C)
โมเลกุล โมเลกุล
3 โพรเพน C3H8 -189.7 -42.1
4 บิวเทน C4H10 -138.4 -0.5
5 เพนเทน C5H12 -130.0 36.1
6 เฮกเซน C6H14 -95.0 69.0
7 เฮปเซน C7H16 -90.6 98.4
8 ออกเทน C8H18 -56.8 125.7

นักเรียนสามารถทำนายแนวโน้มจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอน 9 อะตอมได้อย่างไร เพราะเหตุใด
ตอบ
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
(แนวคำตอบ : จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มี
คาร์บอน 9 อะตอมจะมากกว่า 125.7 °C เพราะจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของ
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนจะเพิ่มขึน
้ ตามจำนวนอะตอมของคาร์บอนในโมเลกุล)

----------------------------------------------------------Good Luck
---------------------------------------------------------------

You might also like