Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 42

การวิเคราะห์โครงสร้างหน่วยการจัดประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

หน่วยที่ 10 โลกสวยด้วยสีสัน ชั้น อนุบาลปีที่ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1


รายการ อนุบาลปีที่ 1 อนุบาลปีที่ 2 อนุบาลปีที่ 3
สาระที่ควรเรียนรู้ 1. สีธรรมชาติรอบตัว 1. ประเภทของสี 1. แม่สีและการผสมสีจากแม่สี
2. สีธรรมชาติมาจากไหน - สีจากธรรมชาติ 2. สีผสมขั้นที่ 3
3. สีที่มนุษย์สร้างขึ้น (แม่สี 3 สี) - สีที่มนุษย์สร้างขึ้น 3. ความลับของสีดำ
4. ประโยชน์ของสี 2. แม่สี และการผสมสี 4. การทำสีผสมอาหารจากพืช
5. การทำน้ำใบเตย 3. สีแทนสัญลักษณ์ (สีของธงชาติไทย) 5. การทำหวานเย็นจากสีธรรมชาติ
4. สีที่ได้จากพืชผัก ผลไม้
5. การท้าวุ้นสีจากสีธรรมชาติ

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ มฐ 2 ตบช. 2.2 (2.2.1) (2.2.3) มฐ 2 ตบช. 2.1 (2.1.3) มฐ 2 ตบช. 2.2 (2.2.2)
สภาพที่พึงประสงค์ มฐ 3 ตบช. 3.2 (3.2.2) มฐ 1 ตบช. 2.2 (2.2.2) มฐ 3 ตบช. 3.2 (3.2.2)
มฐ 8 ตบช. 8.2 (8.2.1) มฐ 3 ตบช. 3.2 (3.2.2) มฐ 8 ตบช. 8.2 (8.2.1)
มฐ 1 ตบช. 8.3 (8.3.1) มฐ 8 ตบช. 8.2 (8.2.1) มฐ 9 ตบช. 9.1 (9.1.1)
มฐ 9 ตบช. 9.1 (9.1.1) มฐ 9 ตบช. 9.1 (9.1.1) มฐ 1 ตบช. 9.2 (9.2.1) (9.2.2)
มฐ 10 ตบช. 10.1 (10.1.1) มฐ 1 ตบช. 9.2 (9.2.1) มฐ 10 ตบช. 10.1 (10.1.1)
มฐ 10 ตบช. (10.1.2) มฐ 10 ตบช. 10.1 (10.1.1) มฐ 10 ตบช. (10.1.2) (10.1.3)
มฐ. 11 ตบช. 11.1 (11.1.1) มฐ 10 ตบช. (10.1.2) (10.1.3) มฐ 10 ตบช. (10.1.4)
มฐ 10 ตบช. 11.2 (11.2.1) มฐ 10 ตบช. (10.1.4) มฐ. 11 ตบช. 11.1 (11.1.1)
มฐ. 12 ตบช. 12.1 (12.1.2) มฐ. 11 ตบช. 11.1 (11.1.1) มฐ 10 ตบช. 11.2 (11.2.1)
มฐ 10 ตบช. 11.2 (11.2.1) มฐ. 12 ตบช. 12.1 (12.1.2)
มฐ. 12 ตบช. 12.1 (12.1.2) มฐ 10 ตบช. 12.2 (12.2.1)
มฐ 10 ตบช. 12.2 (12.2.1)
รายการ อนุบาลปีที่ 1 อนุบาลปีที่ 2 อนุบาลปีที่ 3
ประสบการณ์สำคัญ ร่างกาย ร่างกาย ร่างกาย
1.1.1 การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ 1.1.1 การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ 1.1.1 การใช้กล้ามเนื้อใหญ่
(1) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ (1) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ (1) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่
(2) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ (2) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ (2) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
(3) การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ (3) การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ (3) การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์
(5) การเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระ (5) การเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระ (5) การเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระ
1.1.2 การใช้กล้ามเนื้อเล็ก 1.1.2 การใช้กล้ามเนื้อเล็ก 1.1.2 การใช้กล้ามเนื้อเล็ก
(2) การเขียนภาพและการเล่นกับสี (1) การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและการสร้างจาก(1) การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและการสร้างจาก
(4) การประดิษฐ์สิ่งต่างๆด้วยเศษวัสดุ แท่งไม้บล็อก แท่งไม้บล็อก
(5) การหยิบจับ การใช้กรรไกร การตัด (2) การเขียนภาพและการเล่นกับสี (2) การเขียนภาพและการเล่นกับสี
การปะ และการร้อยวัสดุ 1.1.5 การตระหนักรู้เกี่ยวกับร่างกายตนเอง (4) การประดิษฐ์สิ่งต่างๆด้วยเศษวัสดุ
1.1.5 การตระหนักรู้เกี่ยวกับร่างกาย (1) การเคลื่อนไหวในการควบคุมตนเอง (5) การหยิบจับ การใช้กรรไกร การตัดและการ
ตนเอง ไปในทิศทางระดับและพื้นที่ ร้อยวัสดุ
(1) การเคลื่อนไหวในการควบคุมตนเอง (2) การเคลื่อนไหวหลบหลีกสิ่งกีดขวาง 1.1.5 การตระหนักรู้เกี่ยวกับร่างกายตนเอง
ไปในทิศทางระดับและพื้นที่ (1) การเคลื่อนไหวในการควบคุมตนเอง
ไปในทิศทางระดับและพื้นที่
อารมณ์ อารมณ์ อารมณ์
1.2.1 สุนทรียภาพ ดนตรี 1.2.1 สุนทรียภาพ ดนตรี 1.2.1 สุนทรียภาพ ดนตรี
(1) การฟังเพลง การร้องเพลง และ (1) การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดง (1) การฟัง เพลง การร้องเพลง และการแสดง
การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี ปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี ปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี
(3) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี (3) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี (3) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
1.2.2 การเล่น 1.2.2 การเล่น 1.2.2 การเล่น
(1) การเล่นอิสระ (2) การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อยกลุ่มใหญ่ (2) การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อยกลุ่มใหญ่
(3) การเล่ น ตามมุ ม ประสบการณ์ / มุ ม เล่ น (3) การเล่นตามมุมประสบการณ์/มุมเล่น (3) การเล่นตามมุมประสบการณ์/มุมเล่น
ต่างๆ ต่าง ๆ ต่าง ๆ
รายการ อนุบาลปีที่ 1 อนุบาลปีที่ 2 อนุบาลปีที่ 3
(4) การเล่นนอกห้องเรียน (4) การเล่นนอกห้องเรียน (4) การเล่นนอกห้องเรียน
1.2.4 การแสดงออกทางอารมณ์ 1.2.4 การแสดงออกทางอารมณ์ 1.2.4 การแสดงออกทางอารมณ์
(๕) การทำงานศิลปะ (๕) การทำงานศิลปะ (๕) การทำงานศิลปะ
สังคม สังคม สังคม
1.3.4 การมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ มี วิ นั ย มี ส่ ว นร่ ว ม 1.3.4 การมี ป ฏิสั มพั น ธ์ มี วินั ย มี ส่ว นร่ว ม 1.3.4 การมีปฏิสัมพันธ์ มีวินัย มีส่วน
และบทบาทสมาชิกของสังคม และบทบาทสมาชิกของสังคม ร่วมและบทบาทสมาชิกของสังคม
(2) การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน (3) การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ (3) การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม
(3) การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม กิจกรรมต่างๆ ต่างๆ
ต่างๆ 1.3.5 การเล่นและทำงานแบบร่วมมือร่วม 1.3.5 การเล่นและทำงานแบบร่วมมือร่วมใจ
1.3.5 การเล่นและทำงานแบบร่วมมือร่วมใจ ใจ (2) การเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่น
(2) การเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่น (2) การเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่น
สติปัญญา สติปัญญา สติปัญญา
1.4.1 การใช้ภาษา 1.4.1 การใช้ภาษา 1.4.1 การใช้ภาษา
(๓) การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง (2) การฟังและการปฏิบัติตามคำแนะนำ (2) การฟังและการปฏิบัติตามคำแนะนำ
บทร้อยกรองหรือเรื่องราวต่าง ๆ (๓) การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง (๓) การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง
(๔) การพู ด แสดงความคิ ดเห็ น ความรู้สึ กและ บทร้อยกรองหรือเรื่องราวต่าง ๆ บทร้อยกรองหรือเรื่องราวต่าง ๆ
ความต้องการ (๖) การพูดอธิบายเกี่ ยวกับสิ่ งของเหตุก ารณ์ (๔) การพู ด แสดงความคิ ดเห็ น ความรู้สึ กและ
(๖) การพู ด อธิบ ายเกี่ ย วกั บ สิ่ ง ของเหตุก ารณ์ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ความต้องการ
และความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ (13) การสั ง เกตทิศ ทางการอ่านตัวอั กษรคำ (13) การสัง เกตทิ ศ ทางการอ่ านตั ว อั ก ษรคำ
1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิง เหตุผล และข้อความ และข้อความ
การตัดสินใจและแก้ปัญหา (16) การสั ง เกตตั ว อั ก ษรที่ ป ระกอบเป็ น คำ (16) การสังเกตตัวอักษรที่ประกอบเป็นคำผ่าน
(1) การสั ง เกตลั ก ษณะ ส่ ว นประกอบการ ผ่านการอ่านหรือเขียนของผู้ใหญ่ การอ่านหรือเขียนของผู้ใหญ่
เปลี่ ย นแปลง และความสั ม พั น ธ์ ข องสิ่ ง ต่ างๆ (18) การเล่นเกมทางภาษา (18) การเล่นเกมทางภาษา
โดยใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม (19) การเห็นแบบอย่างการเขียนที่ถูกต้อง (19) การเห็นแบบอย่างการเขียนที่ถูกต้อง
รายการ อนุบาลปีที่ 1 อนุบาลปีที่ 2 อนุบาลปีที่ 3
(6) การต่ อ ของชิ้ น เล็ ก เติ ม ในชิ้ น ใหญ่ ใ ห้ 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การ (20) การเขียนร่วมกันตามโอกาสและการเขียน
สมบูรณ์และการแยกชิ้นส่วน ตัดสินใจและแก้ปัญหา อิสระ
(8) การนั บ และแสดงจำนวนสิ่ ง ต่ า งๆใน (1) การสั ง เกตลั ก ษณะ ส่ ว นประกอบการ 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การ
ชีวิตประจำวัน เปลี่ ยนแปลง และความสัม พัน ธ์ของสิ่ งต่ างๆ ตัดสินใจและแก้ปัญหา
(13) การจั บ คู่ การเปรี ย บเที ย บและการ โดยใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม (1) การสั ง เกตลั ก ษณะ ส่ ว นประกอบการ
เรียงลำดับ สิ่ง ต่างๆตามลักษณะความยาว/ (5) การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการจำแนก เปลี่ ย นแปลง และความสั ม พั น ธ์ข องสิ่ ง ต่ างๆ
ความสูง น้ำหนัก ปริมาตร สิ่งต่างๆตามลักษณะและรูปร่าง รูปทรง โดยใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม
1.4.3 จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ (7) การทำซ้ำ การต่อเติมและการสร้างแบบรูป (5) การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการจำแนกสิ่ง
(1) การรับ รู้ และแสดงความคิ ดความรู้สึ ก (8 ) การนั บ และแสดงจำนวนสิ่ ง ต่ า งๆใน ต่างๆตามลักษณะและรูปร่าง รูปทรง
ผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่นและชิ้นงาน ชีวิตประจำวัน (8 ) การนั บ และแสดงจำนวนสิ่ ง ต่ า งๆใน
(2) การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านภาษา (10) การรวมและการแยกสิ่งต่างๆ ชีวิตประจำวัน
ท่าทาง การเคลื่อนไหวและศิลปะ (13) การจั บ คู่ การเปรี ย บเที ย บและการ (13) การจั บ คู่ การเปรี ย บเที ย บและ การ
เรี ย งลำดั บ สิ่ ง ต่ างๆตามลัก ษณะความยาว/ เรี ย งลำดั บ สิ่ ง ต่ า งๆตามลั ก ษณะความยาว/
ความสูง น้ำ หนัก ปริมาตร(17) การคาดเดา ความสูง นำหนัก ปริมาตร
หรือ การคาดคะเนสิ่ง ที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้น อย่ างมี (17) การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งที่อาจจะ
เหตุผล เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล
(18) การมี ส่ วนร่ วมในการลงความเห็ น จาก (18) การมี ส่ ว นร่ วมในการลงความเห็ น จาก
ข้อมูลอย่างมีเหตุผล ข้อมูลอย่างมีเหตุผล
1.4.3 จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 1.4.3 จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
(1) การรับรู้ และแสดงความคิดความรู้สึกผ่าน (1) การรับรู้ และแสดงความคิดความรู้สึกผ่าน
สื่อ วัสดุ ของเล่นและชิ้นงาน สื่อ วัสดุของเล่นและชิ้นงาน
(2) การแสดงความคิ ดสร้า งสรรค์ ผ่านภาษา (2) การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่าน
ท่าทาง การเคลื่อนไหวและศิลปะ ภาษาท่าทาง การเคลื่อนไหวและศิลปะ
รายการ อนุบาลปีที่ 1 อนุบาลปีที่ 2 อนุบาลปีที่ 3
1.4.4 เจตคติ ที่ ดี ต่ อ การเรี ย นรู้ แ ละการ 1.4.4 เจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้และการแสวงหา
แสวงหาความรู้ ความรู้
(3) การสืบเสาะหาความรู้เพื่อค้น หาคำตอบ (3) การสืบเสาะหาความรู้เพื่อค้นหาคำตอบของ
ของข้อสงสัยต่างๆ ข้อสงสัยต่างๆ
(4) การมี ส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลจาก (4) การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลจากการ
การสื บ เสาะหาความรู้ในรู ป แบบต่ างๆและ สืบเสาะหาความรู้ในรูป แบบต่างๆและแผนภูมิ
แผนภูมิอย่างง่ายๆ อย่างง่ายๆ

คณิตศาสตร์ • นับและแสดงจำนวน 1 – 4 • นับและแสดงจำนวน 1 – 9 • นับและแสดงจำนวน


• จำแนก จั ด กลุ่ ม สิ่ ง ต่ า งๆ ตามลั ก ษณะ • จำแนก จัดกลุ่มสิ่งต่างๆ ตามลักษณะรูปร่าง • จำแนก จัดกลุ่ มสิ่ง ต่างๆ ตามลักษณะขนาด
รูปร่าง รูปทรง และสี รูปทรง และสี รูปร่าง รูปทรง และสีโดยใช้เกณฑ์การจำแนก
• จั บ คู่ สี เปรี ย บเที ย บความเหมื อ นความ • เรียงลำดับสีอ่อน – แก่ 2 ลักษณะขึ้นไป
แตกต่างของสิ่งต่างๆ ในเรื่องสี • หยิบและแสดงสิ่งต่างๆ ตามสีและจำนวนที่ • เรียงลำดับสีอ่อน – แก่
• จับคู่สัญลักษณ์ตัวเลขกับสิ่งของ กำหนด ไม่เกิน 9 • หยิบ และแสดงสิ่ง ต่างๆ ตามสีแ ละจำนวนที่
จำนวนไม่เกิน 4 • จับคู่สัญ ลักษณ์ตัวเลขกับ สิ่ง ของจำนวนไม่ กำหนดไม่เกิน 15
เกิน 9 • จับคู่สัญลักษณ์ตัวเลขกับสิ่งของจำนวนไม่เกิน
15
รายการ อนุบาลปีที่ 1 อนุบาลปีที่ 2 อนุบาลปีที่ 3
วิทยาศาสตร์ - ทักษะการสังเกต 1. ทักษะการสังเกต 1. ทักษะการสังเกต
2. การสื บ เสาะหาความรู้เพื่ อ ค้ น หาคำตอบ 2. การสืบเสาะหาความรู้เพื่อค้นหาคำตอบของ
ของข้อสงสัยต่างๆ ข้อสงสัยต่างๆ
3. การรวบรวมข้ อ มู ล และนำเสนอข้ อ มู ล ด้ ว ย
แผนภูมิอย่างง่ายๆ
พั ฒ นาการทางภาษา 1. การฟังและปฏิบัติตามคำสั่งคำแนะนำ 1. การฟังและปฏิบัติตามคำสั่งคำแนะนำ 1. การฟังและปฏิบัติตามคำสั่งคำแนะนำ
และการรู้หนังสือ 2. การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง 2. การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง 2. การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง
บทร้อยกรองหรือเรื่องราวต่าง ๆ บทร้อยกรองหรือเรื่องราวต่าง ๆ บทร้อยกรองหรือเรื่องราวต่าง ๆ
3. การพูดแสดงความคิดเห็นความรู้สึก 3. การพู ด แสดงความคิ ด เห็ นความรู้สึก และ 3. การพูดแสดงความคิดเห็นความรู้สึกและความ
และความต้องการ ความต้องการ ต้องการ
4. การพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่ง ของเหตุการณ์ 4. การพู ด อธิบ ายเกี่ ยวกั บ สิ่ ง ของเหตุ การณ์ 4. การพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของเหตุการณ์ และ
และความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
5. การสังเกตทิศทางการอ่านตัวอักษรคำและ 5. การสัง เกตทิ ศ ทางการอ่ านตั ว อั ก ษรคำและ
ข้อความ ข้อความ
6. การสังเกตตัวอักษรที่ประกอบเป็นคำ 6. การสังเกตตัวอักษรที่ประกอบเป็นคำผ่านการ
ผ่านการอ่านหรือเขียนของผู้ใหญ่ อ่านหรือเขียนของผู้ใหญ่
7. การเห็นแบบอย่างการเขียนที่ถูกต้อง 7. การเห็นแบบอย่างการเขียนที่ถูกต้อง
8. การเขี ย นร่ ว มกั น ตามโอกาสและการเขี ย น
อิสระ
หน่วยการจัดประสบการณ์ที่ 10 โลกสวยด้วยสีสัน ชั้นอนุบาลปีที่ 3

แนวคิด
สีมีมากมาย มีทั้งสีที่ได้มาจากธรรมชาติและสีที่มนุษย์สร้างขึ้น แม่สีมีทั้งหมด 3 สี คือสีแดง สีเหลือง สีน้ำเงิน และยังมีสีอื่นๆ ที่เกิดจากการ
ผสมกันของแม่สีธรรมชาติได้มาจากพืชผัก ผลไม้ เช่น สีเขียวจากใบเตย สีน้ำ เงินจากดอกอัญชัน สีเหลืองจากขมิ้นหรื อสีแดงจากแตงโม เป็นต้น
สามารถน้ำผสมใส่ในอาหารเพื่อให้มีสีสันสวยงามน่ารับประทานมากยิ่งขึ้น เช่น วุ้นสี ขนมชั้น ขนมบัวลอย และหวานเย็น เป็นต้น
มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
มาตรฐานที่ 2 2.2 ใช้มือ – ตา 2.2.2. เขียนรูป 1. เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบ 1.4.1 การใช้ภาษา 1. แม่สีและการผสมสีจากแม่สี
กล้ามเนื้อใหญ่และ ประสานสัมพันธ์กัน สามเหลีย่ มตามแบบ ได้อย่างมีมุมชัดเจน (19) การเห็นแบบอย่างการ 2. สีผสมขั้นที่ 3
กล้ามเนื้อเล็ก ได้อย่างมีมุมชัดเจน เขียนที่ถูกต้อง 3. ความลับของสีดำ
แข็งแรง ใช้ได้อย่าง 4. การทำสีผสมอาหารจากพืช
คล่องแคล่วและ 5. การทำหวานเย็ น จากสี
ประสานสัมพันธ์ ธรรมชาติ
กัน 6. การนับและแสดงจำนวน
1 - 15
7. จำแนก จัดกลุ่ม
มาตรฐานที่ 3 3.2 มีความรู้สึกที่ดี 3.2.2 แสดงความ 2. แสดงความพอใจในผลงานและ 1.2.4 การแสดงออกทาง 8. เรียงลำดับสีอ่อนและแก่
มีสุขภาพจิตและ ต่อตนเองและผู้อื่น พอใจในผลงานและ ความสามารถของตนเองและผู้อื่น อารมณ์
มีความสุข ความสามารถของ (5) การทำงานศิลปะ
ตนเองและผู้อื่น
มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
มาตรฐานที่ 8 8.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ 8.2.1 เล่นหรือทำงาน 3. เล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนอย่างมี 1.1.1 การใช้กล้ามเนื้อใหญ่
อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ดีกับผู้อื่น ร่วมกับเพื่อนอย่างมี เป้าหมายได้ (2) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
อ ย่ างมี ค ว าม สุ ข เป้าหมาย (5) การเล่นเครื่องเล่นสนามอย่าง
และปฏิ บั ติต นเป็ น อิสระ
ส ม า ชิ ก ที่ ดี ข อ ง 1.1.2 การใช้กล้ามเนื้อเล็ก
สังคมในระบอบ (1) การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและ
ประชาธิปไตยอันมี การสร้างจากแท่งไม้บล็อก
พระมหากษั ต ริ ย์ 1.1.5 การตระหนักรู้เกี่ยวกับ
ทรงเป็นประมุข ร่างกายตนเอง
(1) การเคลื่อนไหวในการควบคุม
ตนเองไปในทิศทาง ระดับ และ
พื้นที่
1.2.2 การเล่น
(2) การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย
กลุ่มใหญ่
(3) การเล่นตามมุมระสบการณ์/
มุมเล่นต่าง ๆ
(4) การเล่นนอกห้องเรียน
1.3.5 การเล่นและทำงานแบบ
ร่วมมือร่วมใจ
(2) การเล่นและทำงานร่วมกับอื่น
มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
มาตรฐานที่ 9 9.1 สนทนาโต้ตอบ 9.1.1 ฟั ง ผู้ อื่ น พู ด จน 4. ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนา 1.4.1 การใช้ภาษา
ใช้ภาษาสื่อสารได้ และเล่าเรื่องให้ผู้อื่น จบและสนทนาโต้ตอบ โต้ตอบอย่างต่อเนื่องเชื่อมโยงกับ (2) การฟังและการปฏิบัติตาม
เหมาะสมกับวัย เข้าใจ อย่างต่อเนื่องเชื่อมโยง เรื่องทีฟ่ ังได้ คำแนะนำ
กับเรื่องที่ฟัง (๓) การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง
บทร้อยกรองหรือเรื่องราวต่าง ๆ
(๔) การพูดแสดงความคิดเห็น
ความรู้สึกและความต้องการ

9.2 อ่านเขียนภาพ 9.2.1 อ่านภาพ 5. อ่านภาพสัญลักษณ์คำ ด้วยการชี้ 1.4.1 การใช้ภาษา


และสัญลักษณ์ได้ สัญ ลักษณ์ ค ำ ด้วยการ หรือกวาดตามองจุดเริ่มต้นและจุดจบ (13) การสังเกตทิศทางการอ่าน
ชี้หรือกวาดตามอง ของข้อความได้ ตัวอักษร คำ และข้อความ
จุดเริ่มต้นและจุดจบ (16) การสังเกตตัวอักษรที่ประกอบ
ของข้อความ เป็นคำผ่านการอ่านหรือเขียนของ
ผู้ใหญ่
(18) การเล่นเกมทางภาษา

9.2.2 เขียนชื่อของ 6. เขียนชื่อสีตามแบบในบัตรคำ 1.4.1 การใช้ภาษา


ตนเองตามแบบเขียน (19) การเห็นแบบอบ่างการเขียน
ข้อความด้วยวิธีที่คิดขึ้น ที่ถูกต้อง
เอง (20) การเขียนร่วมกันตามโอกาส
และการเขียนอิสระ
มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
มาตรฐานที่ 10 10.1 มี 10.1.1 บอกลักษณะ 7. บอกลักษณะส่วนประกอบการ 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิง
มีความสามารถ ความสามารถ ส่วนประกอบการ เปลี่ยนแปลงของสีจากการสังเกตโดย เหตุผล การตัดสินใจและแก้ปัญหา
ในการคิดที่เป็น ในการคิดรวบยอด เปลี่ยนแปลงหรือ ใช้ประสาทสัมผัสได้ (1) การสังเกตลักษณะส่วนประกอบ
พื้นฐานในการ ความสัมพันธ์ของสิ่ง การเปลี่ยนแปลง และความสัมพันธ์ของ
เรียนรู้ ต่างๆจากการสังเกต สิ่งต่างๆโดยใช้ประสาทสัมผัสอย่าง
โดยใช้ประสาทสัมผัส เหมาะสม

10.1.2 จับคู่และ 8. จับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่าง 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิด


เปรียบเทียบความ และความเหมือนของสีภาพและจำนวน เชิงเหตุผล การตัดสินใจและแก้ปัญหา
แตกต่างและความ ได้ (8) การนับและแสดงจำนวนสิ่งต่างๆใน
เหมือนของสิ่งต่างๆ ชีวิตประจำวัน
โดยใช้ลักษณะที่สังเกต (๑๓) การจับคู่ การเปรียบเทียบและ
พบสองลักษณะขึ้นไป การเรียงลำดับสิ่งต่าง ๆ ตามกษณะ
ความยาว/ความสูง น้ำหนัก ปริมาตร
10.1.3 จำแนกและจัด 9. จำแนกและจัดกลุ่มสีได้ 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิง
กลุ่มสิ่งต่างๆ โดยใช้ เหตุผล การตัดสินใจและแก้ปัญหา
ตั้ ง แต่ ส องลั ก ษณะขึ้ น (5) การคัดแยก การจัดกลุ่ม และ
ไปเป็นเกณฑ์ การจำแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะและ
รูปร่าง รูปทรง
10.1.4 เรียงลำดับ 10. เรียงลำดับสีอ่อนและแก่ อย่าง 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิง
สิ่งของและเหตุการณ์ น้อย 5 ลำดับได้ เหตุผล การตัดสินใจและแก้ปัญหา
อย่างน้อย 5 ล้าดับ (๑๓) การจับคู่ การเปรียบเทียบและ
การเรียงลำดับสิ่งต่าง ๆ ตามลักษณะ
ความยาว/ความสูง น้ำหนัก ปริมาตร
มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
มาตรฐานที่ 11 11.1 ทำงานศิลปะ 11.1.1 สร้างผลงาน 11. สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสาร 1.1.2 การใช้กล้ามเนื้อเล็ก
มีจินตนาการและ ตามจินตนาการ ศิลปะเพื่อสื่อสาร ความคิดความรู้สึกของตนเองโดยมี (2) การเขียนภาพและการเล่นกับสี
ความคิดสร้างสรรค์ และความคิด ความคิดความรู้สึกของ การดัดแปลงแปลกใหม่จากเดิมและ (4) การประดิษฐ์สิ่งต่างๆด้วยเศษวัสดุ
สร้างสรรค์ ตนเองโดยมีการ มีรายละเอียดเพิ่มขึ้นได้ (5) การหยิบจับ การใช้กรรไกร การตัด
ดัดแปลงแปลกใหม่ และการร้อยวัสดุ
จากเดิมและมี 1.4.3จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
รายละเอียดเพิ่มขึ้น (1) การรับรู้ และแสดงความคิดความรู้สึก
ผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่น และชิ้นงาน
(2) การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่าน
ภาษาท่าทาง การเคลื่อนไหว และศิลปะ
11.2 แสดง 11.2.1 เคลื่อนไหว 12. เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสาร 1.1.1 การใช้กล้ามเนื้อใหญ่
ท่าทาง/เคลื่อนไหว ท่าทางเพื่อสื่อสาร ความคิดความรู้สึกของตนเองอย่าง (1) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่
ตามจินตนาการ ความคิดความรู้สึก หลากหลายและแปลกใหม่ได้ (2) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
อย่างสร้างสรรค์ ของตนเองอย่าง (3) การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์
หลากหลายและ 1.2.1 สุนทรียภาพ ดนตรี
แปลกใหม่ (1) การฟังเพลง การร้องเพลง และ
การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี
(3) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
1.4.3จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
(2) การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่าน
ภาษาท่าทาง การเคลื่อนไหว และศิลปะ
มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
มาตรฐานที่ 12 12.1 มี เจตคติ ที่ ดี 12.1.2 กระตือรือร้น 13. กระตือรือร้นในการร่วม 1.3.4 การมีปฏิสัมพันธ์ มีวินัยมีส่วนร่วม
มีเจตคติที่ดีต่อ ต่อการเรียนรู้ ในการร่วมกิจกรรม กิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบ และบทบาทสมาชิกของสังคม
การเรียนรู้ และ ตั้งแต่ต้นจนจบ (3) การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ
มีความสามารถ กิจกรรมต่างๆ
ในการแสวงหา
ความรู้ได้เหมาะสม
กับวัย 12.2 มี 12.2.1 ค้นหาคำตอบ 14. ค้นหาคำตอบของข้อสงสัย 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล
ความสามารถ ของข้ อสงสัยต่ างๆโดย ต่างๆโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย การตัดสินใจและแก้ปัญหา
ในการแสวงหา ใช้วิธีการที่หลากหลาย ด้วยตนเองได้ (17) การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งที่
ความรู้ ด้วยตนเอง อาจจะเกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล
(18) การมีส่วนร่วมในการลงความเห็น
จากข้อมูลอย่างมีเหตุผล
1.4.4 เจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้และ
การแสวงหาความรู้
(3) การสืบเสาะหาความรู้เพื่อค้นหา
คำตอบของข้อสงสัยต่างๆ
(4) การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูล
และนำเสนอข้อมูลจากการสืบเสาะหา
ความรู้ในรูปแบบต่างๆและแผนภูมิอย่าง
ง่ายๆ
ผังความคิดแผนการจัดประสบการณ์หน่วยที่ 10 โลกสวยด้วยสีสัน ชั้นอนุบาลปีที่ 3

๑. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ๓. กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
๒. กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบคำสั่ง 1. ระบายสีจานกระดาษด้วยสีที่ผสมจากแม่สี 1 คู่
2. เคลื่อนไหวตามจินตนาการประกอบเพลงเจ็ดวันเจ็ดสี 1. แม่สีและการผสมสีจากแม่สี
2. สีผสม และประดับตกแต่งจานกระดาษด้วยเศษวัสดุ
3. เคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบริบบิ้นสีดำ 2. หยดสีและพับสี
4. เคลื่อนไหวร่างกายตามข้อตกลง 3. ความลับของสีดำ
4. การทำหวานเย็นจากสีธรรมชาติ 3. วาดรูปสามเหลี่ยมตามแบบและขูดสี
5. เคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลงรุ้งกินน้ำ 4. วาดภาพตามจินตนาการด้วยสีจากธรรมชาติและ
5 การทำสีผสมอาหารจากพืช
5. เป่าสี
5. วาดภาพหวานเย็นตามจินตนาการด้วยสีน้ำและ
ทำโมบายรูปสามเหลี่ยม

หน่วย
๔. กิจกรรมเล่นตามมุม โลกสวยด้วยสีสัน
๖. กิจกรรมเกมการศึกษา
- การเล่นตามมุมประสบการณ์
1. เกมจำแนกและจัดกลุ่มสี
๕. กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง 2. เกมจับคู่บัตรภาพคำกับสัญลักษณ์ตัวอักษร
3. เกมตารางสัมพันธ์ของสีกับกลุ่มสีที่กำหนด
1. เกมวิ่งเปี้ยวธงสี 4. เกมจับคู่ภาพจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละหนึ่ง
2. เล่นน้ำเล่นทราย 5. เกมเรียงลำดับหวานเย็นสีอ่อนและแก่
3. เล่นเครื่องเล่นสนาม
4. เกมโยนบอลสีลงตะกร้า
5. เกมวิ่งเก็บของ
แผนการจัดประสบการณ์รายสัปดาห์
หน่วยที่ 10 โลกสวยด้วยสีสัน ชั้นอนุบาลปีที่ 3

กิจกรรม
วันที่
เคลื่อนไหวและจังหวะ เสริมประสบการณ์ ศิลปะสร้างสรรค์ การเล่นตามมุม การเล่นกลางแจ้ง เกมการศึกษา
1 - เคลื่อนไหวพื้นฐาน - แม่สีและการผสมสี - ระบายสีจานกระดาษด้วยสี เล่นมุมประสบการณ์ เกมวิ่งเปี้ยวธงสี เกมจำแนกและ
- เคลื่อนไหวร่างกายตาม จากแม่สี ที่ผสมจากแม่สี 1 คู่ ในห้องเรียน จัดกลุ่มสี
จินตนาการประกอบคำสั่ง - ประดับตกแต่งจานกระดาษ
ด้วยเศษวัสดุ
2 - เคลื่อนไหวพื้นฐาน - สีผสมขั้นที่ 3 - หยดสี เล่นมุมประสบการณ์ เล่นน้ำเล่นทราย เกมจับคู่บัตรภาพคำ
- เคลื่อนไหวตามจินตนาการ - พับสี ในห้องเรียน กับสัญลักษณ์ตัวอักษร
ประกอบเพลงเจ็ดวันเจ็ดสี
3 - เคลื่อนไหวพื้นฐาน - ความลับของสีดำ - วาดรูปสามเหลี่ยมตามแบบ เล่นมุมประสบการณ์ เล่นเครื่องเล่นสนาม เกมตารางสัมพันธ์ของ
- เคลื่อนไหวร่างกายตาม - ขูดสี ในห้องเรียน สีกับกลุ่มสีที่กำหนด
จินตนาการประกอบริบบิ้น
สีดำ
4 - เคลื่อนไหวพื้นฐาน - การทำหวานเย็น - วาดภาพตามจินตนาการ เล่นมุมประสบการณ์ เกมโยนบอลสี เกมจับคู่ภาพจำนวน
- เคลื่อนไหวร่างกายตาม จากสีธรรมชาติ ด้วยสีจากธรรมชาติ ในห้องเรียน ลงตะกร้า ที่เพิ่มขึ้นทีละหนึ่ง
ข้อตกลง - ทำโมบายรูปสามเหลี่ยม
5 - เคลื่อนไหวพื้นฐาน - การทำสีผสมอาหาร - วาดภาพหวานเย็นตาม เล่นมุมประสบการณ์ เกมวิ่งเก็บของ เกมเรียงลำดับหวาน
- เคลื่อนไหวตามจินตนาการ จากพืช จินตนาการด้วยสีน้ำ ในห้องเรียน เย็นสีอ่อนและแก่
ประกอบเพลงรุ้งกินน้ำ - เป่าสี
แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ 1 หน่วยที่ 10 โลกสวยด้วยสีสัน ชั้นอนุบาลปีที่ 3

จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน


ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเคลื่อนไหว (1) การเคลื่อนไหว 1. กิ จ กรรมพื้ น ฐานเด็ก เคลื่ อ นไหวส่ วนต่ าง ๆของ 1. เครื่องเคาะจังหวะ สังเกต
และจังหวะ อยู่กับที่ ร่างกายอย่างอิสระตามจังหวะเมื่อได้ยินสัญญาณหยุด 2. ป้ายแขวนคอ การเคลื่อนไหวท่าทาง
เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อ (2) การเคลื่อนไหว ให้หยุดเคลื่อนที่ในท่านั้นทันที สีต่างๆ เพื่อสื่อสารความคิด
สื่อสารความคิด เคลื่อนที่ 2. ครูแบ่งเด็กเป็น 6 กลุ่มคือสีแดง สีเหลือง สีน้ำเงิน 3. นกหวีด ความรู้สึกของตนเอง
ความรู้สึกของตนเอง (3) การเคลื่อนไหว สีเขียว สีส้ม และสีม่วง โดยมีป้ายแขวนคอสีเดียวกัน อย่างหลากหลายและ
อย่างหลากหลายและ พร้อมวัสดุอุปกรณ์ กับกลุ่มที่เด็กอยู่ แปลกใหม่
แปลกใหม่ได้ (3) การเคลื่อนไหว 3. ครูอธิบายและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมโดยเด็กต้อง
ตามเสียงเพลง/ดนตรี ปฏิบัติตามข้อตกลง ด้วยการให้เด็กจับกลุ่มกับเพื่อน
(2) การแสดงความคิด ต่างสี เพื่อให้เกิดสีใหม่ เช่นเมื่อครูสั่งว่า สีแดงรวมกับ
สร้ า งสรรค์ ผ่ า นภาษา สีน้ำเงินเป็นสีม่วงให้เด็กที่อยู่กลุ่มสีแดง กลุ่มสีน้ำเงิน
ท่าทางการเคลื่อนไหว และสีม่วงจับกลุ่มรวมกัน ใครมีกลุ่มแล้วให้นั่งลง
และศิลปะ 4. ทำกิ จกรรมซ้ำ กับ ข้อ 3 ใหม่อีก แต่เปลี่ยนเป็ นสี
ใหม่บ้าง เช่น สีเหลืองรวมกับสีแดงเป็นสีส้ม สีน้ำเงิน
รวมกับสีเหลืองเป็นสีเขียว เป็นต้น
5. หลั ง ปฏิ บั ติ กิ จ กรรมเสร็ จ แล้ ว ให้ เ ด็ ก พั ก ผ่ อ น
อิ ริ ย าบถโดยนอนราบกั บ พื้ น เพื่ อ เตรี ย มปฏิ บั ติ
กิจกรรมต่อไป
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเสริม (1) การสังเกตลักษณะ แม่สีและการผสมสี 1. ครูเปิดนิทานจากยูทูบเรื่องจุดสีกระจัดกระจายให้เด็กดู 1. นิทานเรื่องจุดสี สังเกต
ประสบการณ์ ส่วนประกอบการ จากแม่สี 2. เมื่อดูนิท านจบแล้วครูสนทนาซักถามเกี่ยวกับเรื่องใน กระจัดกระจาย 1. การบอกลักษณะ
1. บอกลักษณะ เปลี่ยนแปลงและ แม่สี คือ สีที่เมื่อเรา นิทาน ดังนี้ 2 . สี โ ป สเตอ ร์ สี ส่วนประกอบ การ
ส่วนประกอบ ความสัมพันธ์ของสิ่ง นำมาผสมกันแล้ว - นิทานเรื่องนี้ชื่อเรื่องอะไร แดง เปลี่ยนแปลงของสี
การเปลี่ยนแปลงของสี ต่างๆ โดยใช้ประสาท เกิดสีใหม่ขึ้นมา แม่สี - ในนิทานมีตัวละครอะไรบ้าง สีเหลือง สีนำเงิน จากการสังเกตโดย
จากการสังเกตโดยใช้ สัมผัสอย่างเหมาะสม มี อ ยู่ 3 สี คื อ สี แ ดง - คุณยายแก้วนำอะไรออกมาซักและทำไมถึงต้องซัก 3. พู่กัน ใช้ประสาทสัมผัส
ประสาทสัมผัสได้ (18) การมีส่วนร่วม สีเหลือง และสีน้ำเงิน - ทำไมจุดสีจึงปลิวหายไปหมด 4. กระดาษ 100 2. การค้นหาคำตอบ
2. ค้นหาคำตอบของ ในการลงความเห็นจาก สีที่เกิดจากการผสม - คุณยายแก้วตามหาจุดสีเจอหรือไม่ เจอที่ไหนบ้าง ปอนด์ ของข้อสงสัยต่างๆ
ข้อสงสัยต่างๆโดยใช้ ข้อมูลอย่างมีเหตุผล ของแม่สี - ถ้าเด็กๆเป็นคุณยายแก้วเด็ก ๆ จะนำจุดสีคืนมา 5. ฟองน้ำ โดยใช้วิธีการที่
วิธีการที่หลากหลาย (3) การสืบเสาะหา สีแดง + สีเหลือง หรือไม่เพราะอะไร หลากหลายด้วย
ด้วยตนเองได้ ความรู้เพื่อค้นหา = สีส้ม - ถ้าหากเด็กๆ อยากจะให้มีจุดสีหลายๆสีเด็กรู้ไหม ตนเอง
คำตอบของข้อสงสัย สีเหลือง + สีน้ำเงิน ต้องทำอย่างไร
ต่างๆ = สีเขียว 3. ครู น ำแม่ สี 3 สี ม าให้ เด็ ก ดู แล้ ว ถามเด็ ก ว่ า หากเรา
สีน้ำเงิน + สีแดง อยากจะได้สีเพิ่มใหม่ โดยการนำสี 3 สี นี้มาผสมกัน เด็กๆ
= สีม่วง คิดว่าจะเกิดสีใหม่อะไรขึ้นบ้าง
5. ครูแบ่งเด็กออกเป็น 3 กลุ่ม แต่ละกลุ่มครูจะแจกแม่สี
ให้กลุ่มละ 3 ขวด กระดาษ 100 ปอนด์กลุ่มละ 3 แผ่น
และฟองน้ำ 1 ชิ้น
6. ครูให้เด็กน้าฟองน้ำชุบน้ำพอหมาด ทาไปบน
กระดาษให้เปียก
- กระดาษแผ่นที่ 1 ให้หยดสีแดงและสีน้ำเงินลงไป ให้
เด็กสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสีที่เกิดขึ้นว่าเกิดเป็นสีใหม่
อะไร (เฉลยสีส้ม)
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
- กระดาษแผ่นที่ 2 ให้หยดสีเหลืองและสีน้ำเงิน
ลงไป ให้เด็กสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสีที่เกิดขึ้นว่า
เกิดเป็นสีใหม่อะไร (เฉลยสีเขียว)
- กระดาษแผ่นที่ 3 ให้หยดสีน้ำเงินและสีแดงลง
ไป ให้เด็ กสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสีที่ เกิดขึ้น ว่า
เกิดเป็นสีใหม่อะไร (เฉลยสีม่วง)
7. ครูแ ละเด็ก ร่วมกันสรุป ว่าเมื่อนำแม่สีแต่ ละสีม า
ผสมกันแล้วเกิดสีใหม่ดังนี้
- สีแดง ผสม สีเหลือง = ได้สีส้ม
- สีเหลือง ผสม สีน้ำเงิน = ได้สีเขียว
- สีน้ำเงิน ผสม สีแดง = ได้สีม่วง
กิจกรรมศิลปะ (2) การเขียนภาพและ 1. ครู เตรี ย มอุ ป กรณ์ กิ จ กรรม 2 กิ จ กรรม ได้ แ ก่ 1. จานกระดาษ สังเกต
สร้างสรรค์ การเล่นกับสี ระบายสีจานกระดาษด้วยสีที่ผสมจากแม่สี 1 คู่และ 2. สีโปสเตอร์สีแดง 1. การสร้างผลงาน
1. สร้างผลงานศิลปะ (4) การประดิษฐ์สิ่ง ประดับตกแต่งจานกระดาษด้วยเศษวัสดุ สีเหลือง และสีน้ำเงิน ศิลปะเพื่อสื่อสาร
เพื่อสื่อสารความคิด ต่างๆ ด้วยเศษวัสดุ 2. ครูแนะนำอุปกรณ์ วิธีการปฏิบัติและข้อตกลงใน 3. จานสี ความคิดความรู้สึก
ความรู้สึกของตนเอง (1) การรับรู้ และแสดง การปฏิ บัติกิจกรรม พร้อมสาธิตการทำงานประดั บ 4. พู่กัน ของตนเองโดยมีการ
โดยมีการดัดแปลง ความคิดความรู้สึกผ่าน ตกแต่งจานกระดาษจากเศษวัสดุ 5. เศษวัสดุจาก ดัดแปลงแปลกใหม่
แปลกใหม่จากเดิมและ สื่อวัสดุ ของเล่น และ 3. เด็กทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ทั้ง 2 กิจกรรม ธรรมชาติ เช่น เมล็ด จากเดิมและมี
มีรายละเอียดเพิ่มขึ้นได้ ชิ้นงาน 4. เด็กร่วมกันเก็บอุปกรณ์และนำเสนอผลงาน ถั่วเขียว ถั่วดำ เมล็ด รายละเอียดเพิ่มขึ้น
2. แสดงความพอใจใน (2) การแสดงความคิด 5. ครู น ำผลงานของเด็ ก ทุ ก คนแสดงหน้ าชั้ น เรี ย น ข้าวโพด ข้าวเปลือก 2. การแสดงความ
ผลงานและความ สร้างสรรค์ผ่านภาษา เพื่ อ ให้ เ ด็ ก ๆได้ ชื่ น ชมผลงานของตนเองและของ พอใจในผลงาน
สามารถของตนเอง ท่าทางการเคลื่อนไหว เพื่อนๆ และความสามารถ
และผู้อื่น และศิลปะ ของตนเองและผู้อื่น
(5) การทำงานศิลปะ
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเล่นตามมุม (1) การเล่นเครื่องเล่น 1. ครูแนะนำการเล่นการปฏิบัติตนในการเล่นตามมุม มุมประสบการณ์ใน สังเกต
เล่นหรือทำงานร่วมกับ สัมผัสและการสร้าง ต่างๆตามข้อตกลง ห้องเรียน การเล่นหรือทำงาน
เพื่อนอย่างมีเป้าหมาย จากแท่งไม้บล็อก 2. เด็กเลือกกิจกรรมตามมุมประสบการณ์ตามความ ร่วมกับเพื่อนอย่างมี
ได้ (2) การเล่นรายบุ คคล สนใจ ซึ่งควรจัดไว้ อย่างน้อย ๔ มุม เช่น เป้าหมาย
กลุ่มย่อย กลุม่ ใหญ่ - มุมธรรมชาติศึกษา - มุมหนังสือ
(3) การเล่นตาม - มุมบล็อก - มุมเกมการศึกษา
มุมประสบการณ์/ - มุมบทบาทสมมติ - มุมเครื่องเล่นสัมผัส
มุมเล่นต่าง ๆ 3. เด็กเล่นตามมุมอย่างอิสระ
(๒) การเล่นและการ 4. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
ทำงานร่วมกับผู้อื่น
กิจกรรมกลางแจ้ง (2) การเคลื่อนไหว 1. เด็ก เตรี ยมความพร้ อมร่า งกายโดยการเดิ น การ 1. ธงสีเขียว สีส้ม สังเกต
1. เล่นหรือทำงาน เคลื่อนที่ กระโดด การวิ่ง การคลานและก้มตัวลงแตะข้อเท้ า และสีม่วง 1. การเล่นหรือทำงาน
ร่วมกับเพื่อนอย่างมี (4) การเล่นนอก สลับซ้ายขวา 10 ครั้ง 2. นกหวีด ร่วมกับเพื่อนอย่างมี
เป้าหมายได้ ห้องเรียน 2. เด็กและครูสนทนา ร่วมกันเกี่ยวกับการเล่นเกม 3. เสาหลัก เป้าหมาย
(2) การเล่นและทำงาน วิ่งเปี้ยวธงสีโดยครูอธิบายวิธีการเล่น ให้เด็กฟัง ดังนี้ 2. ความกระตือรือร้น
ร่วมกับผู้อื่น ๒.1 แบ่งเด็กเป็น 3 ทีม ให้เด็กยืนเป็นแถวตอน ในการเข้ าร่ว มกิ จกรรม
(5) การเคลื่ อ นไหวใน ครูแจกธงสีให้เด็กคนที่ยืนหัวแถวแต่ละทีมถือไว้แล้ว ตั้งแต่ต้นจนจบ
การควบคุมตนเองไปใน น้าเสาหลักไปตั้งฝั่งตรงข้ามให้ตรงกับแถวของแต่ละ
ทิศทางระดับและพื้นที่ ทีม
2. กระตือรือร้นในการ (3) การให้ความร่วมมือ ๒.2 ครูให้สัญญาณเริ่มเล่น ให้เด็กคนที่ยืนอยู่หัว
เข้าร่วมกิจกรรมตั้งแต่ ในการปฏิบัติกิจกรรม แถวของแต่ละทีม วิ่งถือธงไปอ้อมหลักแล้ววิ่งกลับมา
ต้นจนจบ ต่างๆ ส่งธงสีให้กับเพื่อนคนที่ยืนถัดมา เมื่อส่งธงแล้วก็วิ่งไป
ต่อท้ายแถว คนต่อไปเมื่อได้ธงแล้วก็ปฏิบัติเช่นเดียว
กับคนแรก ทำเช่นนี้เรื่อยไปจนครบทุกคน
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
๒.3 ทีมใดที่เล่นครบทุกคนแล้วให้นั่งลงพร้อมกับ
พูดค้าว่าเฮดังๆพร้อมกัน ทีมที่เล่นครบทุกคนและนั่ง
ลงเป็นทีมแรกถือว่าเป็นผู้ชนะ
3. เมื่อหมดเวลา เด็ก ๆ เก็บอุปกรณ์และเข้าแถวทำ
ความสะอาดร่างกายก่อนเข้าชั้นเรียน

กิจกรรมเกมการศึกษา (5) การคัดแยกการจัด ความสัมพันธ์ของ 1. ครูแนะน้ าอุปกรณ์ พร้อมทั้ง สาธิตวิธีการเล่นเกม 1. เกมจำแนกจัดกลุ่มสี สังเกต
จำแนกและจัดกลุ่มสีได้ กลุ่ ม และการจำแนก แม่สีและสีผสมกับ จำแนกและจัดกลุ่มสี 2. เกมการศึกษาชุดเดิม การจำแนกและ
สิ่ ง ต่ า งๆตามลั ก ษณะ ภาพสี 2. แบ่งเด็กเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม ให้เด็ก จัดกลุ่มสี
และรูปร่าง รูปทรง 1 กลุ่มรับเกมที่แนะนำใหม่ไปเล่น กลุ่มอื่นๆเล่นเกม
การศึกษาชุดเดิม
3. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวียนสลับเปลี่ยนกันในแต่ละ
กลุ่มโดยทุกกลุ่มต้องได้เล่นเกมจำแนกและจัดกลุ่มสี
4. หมดเวลาเด็กเก็บเกมการศึกษาเข้าที่หลังเลิกเล่น
แล้ว
แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ 2 หน่วยที่ 10 โลกสวยด้วยสีสัน ชั้นอนุบาลปีที่ 3

จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน


ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเคลื่อนไหว (1) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ 1. กิ จ กรรมพื้ น ฐาน ให้ เด็ ก เคลื่ อ นไหวแบบไม่ 1. เครื่องเคาะจังหวะ สังเกต
และจังหวะ (2) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ เคลื่อนที่ เช่น ก้มตัวไปด้านล่าง เงยหน้าขึ้นข้างบน 2. เพลงเจ็ดวันเจ็ดสี การเคลื่อนไหวท่าทาง
เคลื่อนไหวท่าทาง (1) การฟั ง เพลงการร้ อ ง ยืด ตั วให้ สู ง ย่ อตั ว ให้ ต่ำ ฯลฯ และแบบเคลื่อ นที่ 3. เพลงบรรเลง เพื่อสื่อสารความคิด
เพื่อสื่อสารความคิด เพลง และการแสดง เช่ น วิ่ ง ทางซ้ า ย - ขวา เดิ น ด้ ว ยปลายเท้ า ไป ความรู้สึกของตนเอง
ความรู้สึกของตนเอง ปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี ข้างหน้า - ข้างหลัง ฯลฯ ประกอบจังหวะที่ครูเคาะ อย่างหลากหลาย
อย่างหลากหลายและ (3) การเคลื่อนไหวตาม และเมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวในท่า และแปลกใหม่
แปลกใหม่ได้ เสียงเพลง/ดนตรี นั้นทันที
(2) การแสดงความคิด 2. ครูสนทนาแนะน้าเพลงเจ็ดวันเจ็ดสี เด็กและ
สร้างสรรค์ผ่านสื่อวัสดุต่างๆ ครูร่วมกันร้องเพลงเจ็ดวันเจ็ดสี และปรบมือ
ผ่านภาษาท่าทางการ ประกอบจังหวะเพลง
เคลื่อนไหวและศิลปะ 3. จัดกลุ่มเด็กตามความเหมาะสม ให้แต่ละกลุ่ม
ออกแบบท่าทางเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลง
ตามจินตนาการโดยครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด
ดังนี้
- เด็กๆใช้ท่าทางการเคลื่อนไหวแบบใดแทนสี
ในเนื้อเพลง
- เด็กๆจะออกแบบท่าทางอย่างไรที่สามารถใช้
การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
ประกอบเพลง
4. เด็กแต่ละกลุ่มน้าเสนอผลงานแต่ละกลุ่ม
5. หลั ง ปฏิ บั ติ กิ จ กรรมเสร็ จ แล้ ว เด็ ก พั ก ผ่ อ น
อิริยาบถ เพื่อเตรียมปฏิบัติกิจกรรมต่อไป
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเสริม (18) การมีส่วนร่วมใน สีผสมขั้นที่ 3 1. ครูสนทนาซักถามทบทวนเรื่องการผสมสีจากแม่สี 1. สีโปสเตอร์สีแดง สังเกต
ประสบการณ์ การลงความเห็นจาก สีผสมขั้นที่ 3 คือ ที่ได้ทำเมื่อวาน ดังนี้ สีเหลือง และสีน้ำเงิน 1. การค้นหาคำตอบ
1. ค้นหาคำตอบของ ข้อมูลอย่างมีเหตุผล การผสมสีระหว่าง - สีแดง ผสม สีเหลือง เกิดเป็นสีอะไร 2. สีผสมขั้นที่ 2 สี ของข้อสงสัยต่างๆโดยใช้
ข้อสงสัยต่างๆโดยใช้ (3) การสืบเสาะหา แม่สีกับสีผสมขั้นที่ - สีเหลือง ผสม สีน้ำเงิน เกิดเป็นสีอะไร ส้ม สีเขียวและสีม่วง วิธีการที่หลากหลายด้วย
วิธีการที่หลากหลาย ความรู้เพื่อค้นหา 2 แล้ วเกิดเป็ นสีใหม่ - สีน้ำเงิน ผสม สีแดง เกิดเป็นสีอะไร 3. กระดาษ 100 ตนเอง
ด้วยตนเองได้ คำตอบของข้ อ สงสั ย เช่น 2. ครูเตรียมแม่สีมา 3 สีและสีผสมมาอีก 3 สีแจกให้ ปอนด์ 2. การเขี ย นชื่ อ สี ต าม
ต่างๆ สีแดง + สีส้ม ทุกกลุ่มๆละ 1 ชุด 4. พู่กัน บัตรคำที่กำหนด
2. เขี ยนชื่ อสี ตามบั ต ร (19) การเห็นแบบ = สีส้มแดง 3. ให้เด็กแต่ละกลุ่มน้าแม่สีและสีผสมมาผสมเป็นสี 5. จานสี
คำที่กำหนดได้ อย่างการเขียนที่ถูกต้อง สีเหลือง + สีเขียว ขั้นที่ 3 ตามค้าสั่งของครูดังนี้ 6. แก้วน้ำ
(20) การเขียนร่วมกัน = สีเขียวเหลือง ๓.๑ ผสมสีแดง สีส้ม แล้วหาค้าตอบว่าเกิดสีอะไร 7. บัตรคำ
ตามโอกาสและการ สีน้ำเงิน + สีม่วง โดยระบายสีที่ผสมได้ลงในกระดาษ 100 ปอนด์ครู - สีส้มแดง
เขียนอิสระ = สีม่วงน้ำเงิน ให้บัตรคำ สีส้มแดง แล้วให้เด็กลอกชื่อสี ตามแบบลง - สีเขียวเหลือง
ในมุมกระดาษด้านขวา - สีม่วงน้ำเงิน
๓.2 ผสมสีเหลือง สีเขียว แล้วหาคำตอบว่า เกิดสี
อะไร โดยระบายสี ที่ ผ สมได้ ล งในกระดาษ 100
ปอนด์ ครูให้บัตรคำ สีเขียวเหลือง แล้วให้เด็กลอกชื่อ
สีตามแบบลงในมุมกระดาษด้านขวา
3.๓ ผสมสีน้ำเงิน สีม่วง แล้วหาคำตอบว่าเกิดสีอะไร
โดยระบายสีที่ผสมได้ลงในกระดาษ 100 ปอนด์ ครู
ให้บัตรคำ สีม่วงน้ำเงิน แล้วให้เด็กลอกชื่อสีตามแบบ
ลงในมุมกระดาษด้านขวา
4. ครู แ ละเด็ ก ร่ วมกั น สรุป ว่ าเมื่ อน้ าแม่ สีผ สมกั บ สี
ผสมขั้นที่ 2 แล้วเกิดสีใหม่เรียกว่าสีผสมขั้นที่ 3 ดังนี้
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
- สีแดง ผสม สีส้ม = ได้สีส้มแดง
- สีเหลือง ผสม สีเขียว= ได้สีเขียวเหลือง
- สีน้ำเงิน ผสม สีม่วง = ได้สีม่วงน้ำเงิน
กิจกรรมศิลปะ (2) การเขียนภาพและ 1. ครูเตรียมอุปกรณ์กิจกรรม 2 กิจกรรม ได้แก่ 1. กระดาษ เอ 4 สังเกต
สร้างสรรค์ การเล่นกับสี หยดสีและพับสี สำหรับ 2 กิจกรรม 1. การสร้างผลงาน
1. สร้างผลงานศิลปะ (1) การรับรู้ และแสดง 2. ครูแนะนำอุปกรณ์ วิธีการปฏิบัติและข้อตกลงใน 2. สีผสมขั้นที่ 2 ศิลปะเพื่อสื่อสาร
เพื่อสื่อสารความคิด ความคิดความรู้สึกผ่าน การปฏิบั ติกิจกรรมพร้อมสาธิตการหยดสีและพับ สี และขั้นที่ 3 ความคิดความรู้สึก
ความรู้สึกของตนเอง สื่อวัสดุ ของเล่น และ ด้วยสีผสมขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 3. หลอดหยด ของตนเองโดยมีการ
โดยมีการดัดแปลง ชิ้นงาน 3. เด็ ก ทำกิ จ กรรมสร้ างสรรค์ ทั้ ง 2 กิ จ กรรมตาม 4. จานสี ดัดแปลงแปลกใหม่
แปลกใหม่จากเดิมและ (2) การแสดงความคิด ความสนใจ จากเดิมและมี
มีรายละเอียดเพิ่มขึ้นได้ สร้ า งสรรค์ ผ่ า นภาษา 4. เด็กร่วมกันเก็บอุปกรณ์และน้าเสนอผลงานพร้อม รายละเอียดเพิ่มขึ้น
2. แสดงความพอใจใน ท่าทางการเคลื่อนไหว เล่าผลงาน 2. การแสดงความ
ผลงานและความ และศิลปะ 5. ครูนำผลงานของเด็กทุกคนแสดงหน้าชั้นเรียนเพื่อ พอใจในผลงานและ
สามารถของตนเอง (5) การทำงานศิลปะ ให้เด็กๆได้ชื่นชมผลงานของตนเองและของเพื่อนๆ ความสามารถของ
และผู้อื่น ตนเองและผู้อื่น
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเล่นตามมุม (1) การเล่นเครื่องเล่น 1. ครูแนะน้าการเล่นการปฏิบัติตนในการเล่นตามมุม มุมประสบการณ์ สังเกต
เล่นหรือท้างานร่วมกับ สัมผัสและการสร้าง ต่างๆตามข้อตกลง ในห้องเรียน เล่นหรือทำงานร่วมกับ
เพื่อนอย่างมีเป้าหมาย จากแท่งไม้บล็อก 2. เด็กเลือกกิจกรรมตามมุมประสบการณ์ตามความ เพื่อนอย่างมีเป้าหมาย
ได้ (2) การเล่นรายบุ คคล สนใจ ซึ่งควรจัดไว้ อย่างน้อย ๔ มุม เช่น
กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ - มุมธรรมชาติศึกษา - มุมหนังสือ
(3) การเล่นตามมุม - มุมบล็อก - มุมเกมการศึกษา
ประสบการณ์/ - มุมบทบาทสมมติ - มุมเครื่องเล่นสัมผัส
มุมเล่นต่าง ๆ 3. เด็กเล่นตามมุมอย่างอิสระ
(๒) การเล่ น และการ 4. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
ทำงานร่วมกับผู้อื่น
กิจกรรมกลางแจ้ง (2) การเคลื่อนไหว 1. เด็ กและครูยืน เป็น รูปวงกลมแล้วอบอุ่ นร่างกาย 1. อุปกรณ์การเล่น สังเกต
เล่นหรือท้างานร่วมกับ เคลื่อนที่ ด้ ว ยท่ า ต่ า งๆ ดั ง นี้ กระโดดตบ แตะสลั บ หมุ น เอว น้ำ เช่น ขวด การเล่นหรือทำงาน
เพื่อนอย่างมีเป้าหมาย (2) การเล่นรายบุ คคล หมุนไหล่ สลัดมือ วิ่งอยู่กับที่ พลาสติก เรือยาง ร่วมกับเพื่อนอย่างมี
ได้ กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ 2. ครูสร้างข้อตกลงข้อควรระวังในการเล่นน้ำ กรวย ช้อน ฯลฯ เป้าหมาย
(4) การเล่นนอก เล่นทราย แนะน้าการเล่นน้ำเล่นทรายอย่างถูกวิธี 2. อุปกรณ์เล่นทราย
ห้องเรียน ให้เด็กทราบ เช่น แบบพิมพ์ทราย
(2) การเล่นและ 3. เด็กเล่นน้ำเล่นทราย ตามความสนใจ ที่ตักทราย รถขน
ทำงานร่วมกับผู้อื่น 4. เมื่อหมดเวลาเด็กทำความสะอาด เก็บอุปกรณ์ ทราย ช้อนตักทราย
ในการแล่น และท้าความสะอาดร่างกายก่อนเข้าชั้น ฯลฯ
เรียน 3. นกหวีด
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเกมการศึกษา (13) การสังเกตทิศ ความสัมพันธ์ของ 1. ครูแนะนำอุปกรณ์ พร้อมทั้ง สาธิตวิธีการเล่น เกม 1. เกมจับคู่บัตรภาพ สังเกต
อ่านภาพสัญลักษณ์ ทางการอ่าน ตัวอักษร บัตรภาพค้ากับ จับคู่บัตรภาพคำกับสัญลักษณ์ตัวอักษร คำกับสัญลักษณ์ การอ่านภาพสัญ ลักษณ์
คำ ด้วยการชี้หรือกวาด คำ และข้อความ สัญลักษณ์ตัวอักษร 2. แบ่ ง เด็ ก เป็ นกลุ่ม ตามความเหมาะสม ให้ เด็ ก 1 ตัวอักษร ค้ าด้ ว ยการชี้ ห รือ กวาด
ตามองจุดเริ่มต้นและ (16) การสังเกต กลุ่มรับเกมที่ แนะน้ าใหม่ ไปเล่น กลุ่มอื่น ๆ เล่นเกม 2. เกมการศึกษาชุด ตามองจุดเริ่มต้นและ
จุดจบของข้อความได้ ตัวอักษรที่ประกอบ การศึกษาชุดเดิม เดิม จุดจบของข้อความ
เป็นคำ ผ่านการอ่าน 3. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวียนสลับเปลี่ยนกันในแต่ละ
หรือเขียนของผู้ใหญ่ กลุ่มโดยทุ กกลุ่มต้องได้เล่นเกมจับคู่บัตรภาพคำกับ
(18) การเล่นเกม สัญลักษณ์ตัวอักษร
ทางภาษา 4. หมดเวลาเด็กเก็บเกมการศึกษาเข้าที่หลังเลิก
เล่นแล้ว
แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ 3 หน่วยที่10 โลกสวยด้วยสีสัน ชั้นอนุบาลปีที่ 3

จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน


ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเคลื่อนไหว (1) การเคลื่อนไหวอยู่ 1. กิจกรรมพื้นฐานให้เด็กเคลื่อนไหวแบบไม่เคลื่อนที่ 1. เครื่องเคาะจังหวะ สังเกต
และจังหวะ กับที่ เช่น เหยียดเท้า บิดตัวไปมาส่ายสะโพก นั่งลง ลุกขึ้น 2. เพลงบรรเลง เคลื่อนไหวท่าทาง
เคลื่อนไหวท่าทาง (2) การเคลื่อนไหว ฯลฯ และแบบเคลื่ อ นที่ เช่ น เดิ น ด้ ว ยส้ น เท้ า ไป 3. ริบบิ้นสีดำ เพื่อสื่อสารความคิด
เพื่อสื่อสารความคิด เคลื่อนที่ ข้างหน้า-ข้างหลัง กระโดดไปทางซ้าย-ทางขวา ฯลฯ ความรู้สึกของตนเอง
ความรู้สึกของตนเอง (3) การเคลื่อนไหว 2. ครูสนทนาแนะนำกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกาย อย่างหลากหลายและ
อย่างหลากหลาย พร้อมอุปกรณ์ ประกอบอุปกรณ์ ริบบิ้นสีดำให้เด็กฟัง โดยให้เด็กยืน แปลกใหม่
และแปลกใหม่ได้ (1) การฟังเพลงการ อิสระรอบๆห้องเรียน เมื่อได้ยินเสียงเพลงบรรเลงให้
ร้องเพลง และการ เด็ ก เคลื่ อ นไหวร่ า งกายตามจิ น ตนาการประกอบ
แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ ริบบิ้นสีดำไปรอบๆห้องตามจังหวะช้า – เร็ว และเมื่อ
เสียงดนตรี ได้ยินเสียงนกหวีดให้เด็กหยุดเคลื่อนไหวทันที และฟัง
(3) การเคลื่อนไหวตาม คำสั่งจากครูดังนี้
เสียงเพลง/ดนตรี - รวมกลุ่ม 3 คนและชูริบบิ้นสีดำเหนือศีรษะ
(2) การแสดงความคิ ด - รวมกลุ่ม 4 คนและนั่งลง
สร้ า งสรรค์ ผ่ า นภาษา - รวมกลุ่ม 5 คนและสะบัดริบบิ้นสีดำไปมา
ท่าทางการเคลื่อนไหว - รวมกลุ่ม 6 คนและวางริบบิ้นสีดำลงที่พื้น
และศิลปะ ฯลฯ
3. หลังปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้ว ให้เด็กพักผ่อน
กล้ามเนื้อในท่าที่สบาย ก่อนปฏิบัติกิจกรรมต่อไป
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเสริม (1) การสังเกตลักษณะ ความลับของสีดำ 1. ครูน ำน้ำสีดำมาให้เด็กดูแล้วถามเด็กว่ านี้ คือ น้ำ 1. แก้วน้ำ สังเกต
ประสบการณ์ ส่วนประกอบการ สีดำเกิดจากการรวม อะไรเอ่ย เด็กๆตอบคำถาม ครูยังไม่เฉลยคำตอบว่า 2. สีน้ำ 1. การบอกลักษณะ
1. บอกลักษณะ เปลี่ยนแปลงและ กันของสีหลายๆ สี คือน้ำอะไร 3. พู่กัน ส่วนประกอบการเปลี่ยน
ส่วนประกอบ ความสัมพันธ์ของสิ่ง ซึ่งสังเกตได้จากการ 2. เด็กวาดภาพคนละ 1 ภาพ แล้วระบายสีภาพด้วย 4. กระดาษ เอ 4 แปลงหรือความสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงของสี ต่างๆโดยใช้ประสาท ทดลองทีใ่ ช้น้ำเป็นตัว สีน้ำและให้เด็กล้างพู่กันก่อนเปลี่ยนสีทุกครั้ง 5. ปากกาเมจิก ของสิ่งต่างๆจากการ
จากการสังเกตโดยใช้ สัมผัสอย่างเหมาะสม ละลายแยกสีต่าง ๆ 3. เมื่อเด็กระบายสีเสร็จแล้ว ครูให้เด็กสัง เกตน้ำใน 6. กระดาษกรองรูป สังเกตโดยใช้ประสาท
ประสาทสัมผัสได้ (18) การมีส่วนร่วมใน บนกระดาษกรอง แก้วที่ใช้ล้างพู่กันว่าน้ำในแก้วเป็นสีอะไรและทำไมจึง วงกลม สัมผัส
2. ค้นหาคำตอบของ การลงความเห็นจาก โดยสีที่สามารถ เป็นเช่นนั้น เด็กอยากรู้หรือไม่หากอยากรู้ว่าทำไมเรา 7. ฝาขวดแก้ว 2. การค้นหาคำตอบ
ข้อสงสัยต่างๆโดยใช้ ข้อมูลอย่างมีเหตุผล ละลายน้ำได้ดีจะซึม ต้องไปทดลองทำดู 8. หลอดหยด ของข้อสงสัยต่างๆโดยใช้
วิธีการที่หลากหลาย (3) การสืบเสาะหา ไปได้ไกลจนถึงขอบ 4. ครูบอกเด็กว่า วันนี้เราจะทำการทดลองว่าสีแต่ละ วิธีการที่หลากหลายด้วย
ด้วยตนเองได้ ความรู้เพื่อค้นหา กระดาษกรองส่วนสีที่ สีที่ เรามองเห็ น อยู่ นั้ น แท้ จริ ง มี สี อะไรซ่ อ นอยู่ ในสี ตนเอง
คำตอบของข้อ ละลายน้ำได้ไม่ดีจะ เหล่านั้นบ้าง ครูแนะนำวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆพร้อมทั้ง
สงสัยต่างๆ ซึมอยู่บริเวณตรง อธิบายวิธีใช้งาน
(4) การมีส่วนร่วมใน กลางเท่านั้น 5. ครูอธิบายและสาธิตวิธีการทดลองร่วมกันกับ เด็ก
การรวบรวมข้อมูลและ ตามลำดับขั้นตอนดังนี้
นำเสนอข้อมูลจากการ 5.1 เตรียมกระดาษกรองคนละ 1 แผ่น ใช้ปากกาเม
สืบเสาะหาความรู้ใน จิกสีดำวาดภาพหรือระบายสีตรงกลางแผ่น หงายฝา
รูปแบบต่างๆและ ขวดขึ้ น นำกระดาษกรองที่ ร ะบายสี แ ล้ ว วางไว้
แผนภูมิอย่างง่ายๆ ด้านบนต่อจากนั้นให้ใช้หลอดหยด หยดน้ำทีละหยด
ตรงกลางกระดาษกรองกระดาษกรองจะดูดซึมและ
แพร่สีออกไปเป็นรูป วงกลมเมื่อน้ำซึมไปหาภาพวาด
จะพาน้ำหมึกไปด้วย ทำให้สีดำของปากกาเมจิกถูก
แยกเป็นสีต่างๆ จนเกิดเป็นวงกลมหลากสี
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
5.2 ครูแจกกระดาษกรองแผ่นใหม่ให้เด็กลองเปลี่ยน
เป็นสีอื่นๆมาทดลองดูบ้าง ว่าในสีต่างๆเหล่านั้นจะมี
สีอะไรซ่อนอยู่บ้าง
5.3 ครูถามเด็กว่าเห็นอะไรบ้างและสนทนากับเด็ก
ถึงการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ แล้วให้เด็กแสดงความ
คิดเห็น
6. ครู แ ละเด็ ก ร่ ว มกั น สรุป ผลที่ ไ ด้ จ ากการทดลอง
เรื่อง ความลับของสีดำ สีดำเกิดจากการรวมกันของสี
หลาย ๆ สี ซึ่งสังเกต ได้จากการทดลองที่ใช้ น้ำเป็ น
ตั ว ละลายแยกสี ต่ า ง ๆ บนกระดาษกรองโดยสี ที่
สามารถละลายน้ ำได้ ดี จ ะ ซึ ม ไปได้ ไ ก ลจน ถึ ง
ขอบกระดาษกรอง ส่วนสีที่ละลายน้ำได้ไม่ดีจะซึมอยู่
บริเวณตรงกลางเท่านั้น
7. ให้เด็กวาดภาพระบายสีบันทึกผลการทดลองแล้ว
ออกมาเล่าให้เพื่อนๆและครูฟัง
8. เด็กช่วยกันจัดเก็บสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ การเรียน
ต่างๆ เข้าที่ให้เรียบร้อย
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมศิลปะ (19) การเห็นแบบ 1. ครูเตรียมอุปกรณ์กิจกรรม 2 กิจกรรม ได้แก่ วาด 1. กระดาษแบบรูป สังเกต
สร้างสรรค์ อย่างการเขียนที่ถูกต้อง รูปสามเหลี่ยมตามแบบและขูดสี สามเหลี่ยม 1. การเขียนรูป
1. เขียนรูปสามเหลี่ยม (2) การเขียนภาพและ 2. ครูแนะนำอุปกรณ์ วิธีการปฏิบัติและข้อตกลงใน 2. ดินสอ สามเหลี่ยมตามแบบ
ตามแบบได้อย่างมีมุม การเล่นกับสี การปฏิบัติกิจกรรมพร้อมสาธิตการเขียนรูปสามเหลี่ยม 3. สีไม้ ได้อย่างมีมุมชัดเจน
ชัดเจน (1) การรับรู้ และแสดง ตามแบบ ดังนี้ 4. กระดาษ A4 2. การสร้างผลงาน
2. สร้างผลงานศิลปะ ความคิดความรู้สึกผ่าน ๒.1 ครูแจกกระดาษแบบรูปสามเหลี่ยมที่มีขนาด 5. สีเทียน ศิลปะเพื่อสื่อสาร
เพื่อสื่อสารความคิด สื่อวัสดุ ของเล่น และ เล็ก กลาง ใหญ่ ให้เด็กทุกคน 6. สีโปสเตอร์สีดำ ความคิดความรู้สึก
ความรู้สึกของตนเอง ชิ้นงาน ๒.2 เด็กเขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบที่กำหนด 7. พู่กัน ของตนเองโดยมีการ
โดยมีการดัดแปลง (2) การแสดงความคิด และระบายสีให้สวยงาม 8. จานสี ดัดแปลงแปลกใหม่
แปลกใหม่จากเดิมและ สร้างสรรค์ผ่านภาษา 3. ครูสาธิตการขูดสี ตามขั้นตอนดังนี้ 9. ไม้เสียบลูกชิ้น จากเดิมและมี
มีรายละเอียดเพิ่มขึ้นได้ ท่าทางการเคลื่อนไหว ๓.๑ ระบายสีเทียนหลายๆสีไปให้เต็มหน้ากระดาษ รายละเอียดเพิ่มขึ้น
และศิลปะ ๓.2 แล้วน้าสีโปสเตอร์สีดำมาระบายทับไปให้ทั่ว
กระดาษ
๓.3 ทิ้งให้สีดำแห้ง(อย่าทิ้งไว้นานจนเกินไปเพราะสี
ดำจะขูดไม่ออก) เมื่อสีดำแห้งแล้วให้นำไม้เสียบลูกชิ้น
มาขูดหรือวาดภาพลงไปบนสีดำตามจินตนาการ
4. เด็กทำกิจกรรมสร้างสรรค์ทั้ง 2 กิจกรรมตามความ
สนใจ
5. เด็กร่วมกันเก็บอุปกรณ์และน้าเสนอผลงานพร้อม
เล่าผลงาน
6. ครูนำผลงานของเด็กทุกคนแสดงหน้าชั้นเรียน
เพื่อให้เด็กได้ชื่นชมผลงานของตนเองและเพื่อนๆ
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเล่นตามมุม (1) การเล่ นเครื่องเล่ น 1. ครูแนะนำการเล่นการปฏิบัติตนในการเล่นตามมุม - มุมประสบการณ์ใน สังเกต
เล่นหรือท้างานร่วมกับ สัมผัสและการสร้าง ต่างๆตามข้อตกลง ห้องเรียน การเล่นหรือทำงาน
เพื่อนอย่างมีเป้าหมาย จากแท่งไม้บล็อก 2. เด็กเลือกกิจกรรมตามมุมประสบการณ์ตามความ ร่วมกับเพื่อนอย่างมี
ได้ (2) การเล่นรายบุ คคล สนใจ ซึ่งควรจัดไว้ อย่างน้อย ๔ มุมเช่น เป้าหมาย
กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ 3. เด็กเล่นตามมุมอย่างอิสระ
(3) การเล่นตาม 4. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
มุมประสบการณ์/
มุมเล่นต่าง ๆ
(๒) การเล่ น และการ
ทำงานร่วมกับผู้อื่น
กิจกรรมกลางแจ้ง (2) การเคลื่อนไหว 1. เด็กยืนเป็นรูปวงกลมแล้วเตรียมความพร้อม 1. เครื่องเล่นสนาม สังเกต
เล่นหรือทำงานร่วมกับ เคลื่อนที่ ร่างกายด้วยท่าต่างๆ ดังนี้ วิ่งอยู่กับที่ วิ่งสไลด์ 2. นกหวีด การเล่นหรือทำงาน
เพื่อนอย่างมีเป้าหมาย (5) การเล่ นเครื่องเล่ น ซ้าย - ขวา กระโดดกบไปข้างหน้า-หลัง ร่วมกับเพื่อนอย่างมี
ได้ สนามอย่างอิสระ 2. ครูสร้างข้อตกลงข้อควรระวังในการเล่นเครื่อง เป้าหมาย
(4) การเล่นนอก เล่นสนาม แนะนำการเล่นเครื่องเล่นสนามอย่าง
ห้องเรียน ถูกวิธีให้เด็กทราบ
(2) การเล่นและ 3. เด็กเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระ
ทำงานร่วมกับผู้อื่น 4. เมื่อหมดเวลาเด็กเข้าแถวท้าความสะอาดร่างกาย
ก่อนเข้าชั้นเรียน
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเกมการศึกษา (13) การจับคู่ ความสัมพันธ์ของสี 1. ครูแนะนำอุปกรณ์ พร้อมทั้ง สาธิตวิธีการเล่นเกม 1. เกมตารางสัมพันธ์ สังเกต
จับคู่และเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบ กับกลุ่มสีที่กำหนด ตารางสัมพันธ์ของสีกับกลุ่มสีที่กำหนด ของสีกับกลุ่มสีที่ การจับคู่และ
ความแตกต่างและ และการเรียงลำดับ 2. แบ่ ง เด็ ก เป็ นกลุ่ม ตามความเหมาะสม ให้ เด็ ก 1 กำหนด เปรียบเทียบ
ความเหมือนของสีได้ สิ่ ง ต่ า งๆตามลั ก ษณะ กลุ่ ม รับ เกมที่ แนะน้ าใหม่ ไ ปเล่ น กลุ่ม อื่ น ๆเล่ น เกม 2. เกมการศึกษา ความแตกต่างและ
ความ ยาว/ความ สู ง การศึกษาชุดเดิม ชุดเดิม ความเหมือนของสี
น้ำหนัก ปริมาตร 3. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวียนสลับเปลี่ยนกันในแต่ละ
กลุ่มโดยทุกกลุ่มต้องได้เล่นเกมตารางสัมพันธ์ของสี
กับกลุ่มสีที่กำหนด
4. หมดเวลาเด็กเก็บเกมการศึกษาเข้าที่หลังเลิก
เล่นแล้ว
แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ 5 หน่วยที่ 10 โลกสวยด้วยสีสัน ชั้นอนุบาลปีที่ 3

จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน


ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเคลื่อนไหว (1) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ 1. กิจกรรมพื้นฐานให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปทั่วๆ 1. เครื่องเคาะจังหวะ สังเกต
และจังหวะ (2) การเคลื่อนไหว บริเวณอย่างอิสระตามจังหวะเมื่อได้ยินสัญญาณหยุด 2. ป้ายภาพใบเตย การเคลื่อนไหวท่าทาง
เคลื่อนไหวท่าทาง เคลื่อนที่ ให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที ดอกอัญชัน ขมิ้น เพื่อสื่อสารความคิด
เพื่อสื่อสารความคิด (3) การเคลื่ อนไหวพร้อ ม 2. ครูแบ่งเด็กเป็น 4 กลุ่ม คือกลุ่มใบเตย กลุ่มดอก และแตงโม ความรู้สึกของตนเอง
ความรู้สึกของตนเอง วัสดุอุปกรณ์ อัญชัน กลุ่มขมิ้น และกลุ่มแตงโม ครูแจกภาพให้เด็ก 3. นกหวีด อย่างหลากหลายและ
อย่างหลากหลาย (1) การฟังเพลงการร้อง คนละ 1 แผ่นตามชื่อกลุ่มที่เด็กอยู่ แปลกใหม่
และแปลกใหม่ได้ เพลง และการแสดง 3. ครูอธิบายและสาธิตวิธีการทำกิจกรรม โดยให้เด็ก
ปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี เคลื่ อ นไหวร่า งกายตามจิน ตนาการประกอบเพลง
(3) การเคลื่อนไหวตาม บรรเลง เมื่อ เพลงหยุดเด็ กต้ องปฏิ บั ติตามข้อตกลง
เสียงเพลง/ดนตรี ด้วยการมาจับกลุ่มรวมกันตามภาพใครมีกลุ่มแล้วให้
(2) การแสดงความคิด นั่งลง
สร้างสรรค์ผ่านภาษา 4. ทำกิจกรรมซ้ำข้อ 3 ใหม่อีกซ้ำ 2 - 3 ครั้ง
ท่าทางการเคลื่อนไหว 5. หลังปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้วให้เด็กพักผ่อน
และศิลปะ อิริยาบถโดยนอนราบกับพื้น เพื่อเตรียมปฏิบัติ
กิจกรรมต่อไป
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเสริม (1) การสังเกตลักษณะ การทำสีผสมอาหาร 1. ครูน ำบั ต รภาพปริ ษ นา ขนมไทย เช่ น ขนมต้ ม
ประสบการณ์ ส่วนประกอบการ จากพืช ขนมชั้น ขนมลูกชุบ ขนมบัวลอย ฯลฯ โดยข้างหน้า
1. บอกลักษณะส่วน เปลี่ยนแปลงและ สีผสมอาหารจากพืช บัตรภาพมีคำถาม การบวก และการอ่านง่าย ๆ
ประกอบการเปลี่ยน ความสัมพันธ์ของสิ่ง คือ สีที่เราสามารถ 2. ให้เด็กร่วมกันหาคำตอบ เด็กที่สามารถหาคำตอบ
แปลงของสีจากการ ต่ า งๆโดยใช้ ป ระสาท สกัดได้จากพืชหลายสี ได้ จะได้เป็นตัว แทนมาเปิดบั ตรภาพปริษนา เพื่ อดู
สังเกตโดยใช้ประสาท สัมผัสอย่างเหมาะสม เป็นสีที่ปลอดภัยและ ข้างในบัตรภาพมีอะไรซ่อนอยู่
สัมผัสได้ (17) การคาดเดาหรือ ไม่เป็นอันตรายต่อ 3. ให้เพื่อนๆช่วยกันทายว่าภาพข้างหลังบัตรตัวเลข
2. ค้นหาคำตอบของ การคาดคะเนสิ่งที่ สุขภาพ ได้แก่ คือภาพอะไร
ข้อสงสัยต่างๆโดยใช้ อาจจะเกิดขึ้นอย่าง 1. สีเขียวจากใบเตย 4. ครูสนทนาซักถามเกี่ยวกับภาพ ดังนี้
วิธีการที่หลากหลาย มีเหตุผล 2. สีน้ำเงินจาก - ขนมแต่ละชนิดมีสีอะไรบ้าง
ด้วยตนเองได้ (18) การมีส่วนร่วมใน ดอกอัญชัน - สีที่นำมาใส่ในขนมน่าจะเป็นสีชนิดใด
การลงความเห็นจาก 3. สีเหลืองจาก - สีเหล่านี้คิดว่าน่าจะได้มาจากวัสดุอะไรบ้าง
ข้อมูลอย่างมีเหตุผล ขมิ้น หรือฟักทอง 5. ครูสนทนากับ เด็กๆว่าสีที่ใส่ในขนมต่างๆเหล่านี้
(3) การสืบเสาะหา 4. สีแดงจากแตงโม เป็นสีที่ได้มาจากธรรมชาติ โดยการได้มาจากพืช
ความรู้เพื่อค้นหา 6. ครูนำตะกร้าที่ใส่พืช ต่างๆ ดังนี้ 1. ใบเตย 2.
คำตอบของข้อสงสัย ดอกอัญชัน 3. ขมิ้น 4 แตงโม มาวางไว้หน้าห้อง
ต่างๆ และหยิบพืชเหล่านั้นให้เด็กดูว่าสิ่งเหล่านั้นมีชื่อ
(4) การมีส่วนร่วมใน ว่าอะไร
การรวบรวมข้อมูลและ 7. ให้เด็กแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5 คน และให้แต่ละกลุ่ม
นำเสนอข้อมูลจากการ ส่งตัวแทนออกมาหยิบตะกร้าที่อยู่หน้าห้องไปกลุ่มละ
สืบเสาะหาความรู้ใน 1 ตะกร้า
รูปแบบต่างๆและ
แผนภูมิอย่างง่ายๆ
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
8. ครูบอกเด็ก ว่าวันนี้ ครูจะให้เด็กทำสีผสมอาหารจากพื ช
เหล่านี้ โดยให้เด็กในกลุ่มช่วยกันหาวิธีการสกัดสีออกมาตาม
ความคิ ดของกลุ่ม ครูให้แต่ละกลุ่มลองคาดคะเนสี ที่จะได้
จากพืชที่ได้ไป
9. เด็กทดลองทำสีผสมอาหารจากพืชดังนี้
กลุ่ม 1 หั่นใบเตยเป็นฝอย ปั่นกับน้ำสะอาดจากนั้นแล้วกรอง
เอาแต่น้ำ
กลุ่ ม 2 น้ ำ ดอกอั ญ ชั น มาล้ างให้ ส ะอาดขย้ ำเบา ๆกั บ น้ ำ
เล็กน้อยแล้วกรอง
กลุ่ม 3 น้ ำขมิ้น มาปอกเปลือก แล้วน้ำ ไปตำ จากนั้นนำมา
ผสมน้ำ
กลุ่ม 4 ปอกแตงโมเอาเมล็ดออกหั่น เป็ นชิ้น เล็ก แล้วนำไป
ขยำ
10. ให้ตัวกลุ่มออกมาสรุปเกี่ยวกับวิธีการในการสกัดสี และ
อธิบายสีที่เกิดขึ้น จากนั้นให้เลือกบั ตรภาพสี ให้ตรงกับสีที่
เด็กๆ สกัดได้ ติดลง ตารางในช่อง สีที่ได้

11. เด็กและครูร่วมกันสรุปผลการทำสีผสมอาหารที่ได้จาก
พืชเป็นสีตามธรรมชาติ
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมศิลปะ (2) การเขียนภาพและ 1. ครูเตรียมอุปกรณ์กิจกรรม 2 กิจกรรม ได้แก่วาด 1. กระดาษ เอ 4 สังเกต
สร้างสรรค์ การเล่นกับสี ภาพตามจินตนาการด้วยสีจากสีธรรมชาติและเป่าสี สำหรับ 2 กิจกรรม 1. การสร้างผลงาน
1. สร้างผลงานศิลปะ (1) การรับรู้ และแสดง 2. ครูแนะนำอุปกรณ์ วิธีการปฏิบัติและข้อตกลงใน 2. สีจากธรรมชาติ ศิลปะเพื่อสื่อสาร
เพื่อสื่อสารความคิด ความคิดความรู้สึกผ่าน การปฏิบัติกิจกรรม 3. พู่กัน ความคิดความรู้สึก
ความรู้สึกของตนเอง สื่อวัสดุ ของเล่น และ 3. เด็ ก ทำกิ จ กรรมสร้ างสรรค์ ทั้ ง 2 กิ จ กรรมตาม 4. จานสี ของตนเองโดยมี
โดยมีการดัดแปลง ชิ้นงาน ความสนใจ 5. แก้วน้ำ การดัดแปลงแปลก
แปลกใหม่จากเดิมและ (2) การแสดงความคิด 4. เด็กร่วมกันเก็บอุปกรณ์และนำเสนอผลงานพร้อม 6. สีโปสเตอร์ ใหม่จากเดิมและมี
มีรายละเอียดเพิ่มขึ้นได้ สร้ า งสรรค์ ผ่ า นภาษา เล่าผลงาน 7. หลอดกาแฟ รายละเอียดเพิ่มขึ้น
2. แสดงความพอใจ ท่าทางการเคลื่อนไหว 5. ครูนำผลงานของเด็กทุกคนแสดงหน้าชั้นเรียนเพื่อ 2. การแสดงความ
ในผลงานและ และศิลปะ ให้เด็กๆได้ชื่นชมผลงานของตนเองและของเพื่อน พอใจในผลงานและ
ความสามารถของ (๕) การทำงานศิลปะ ความสามารถของ
ตนเองและผู้อื่น ตนเองและผู้อื่น
กิจกรรมเล่นตามมุม (1) การเล่ นเครื่องเล่ น 1. ครูแนะนำการเล่นการปฏิบัติตนในการเล่นตามมุม มุมประสบการณ์ สังเกต
เล่นหรือทำงานร่วมกับ สัมผัสและการสร้าง ต่างๆตามข้อตกลง ในห้องเรียน การเล่นหรือทำงาน
เพื่อนอย่างมีเป้าหมาย จากแท่งไม้บล็อก 2. เด็กเลือกกิจกรรมตามมุมประสบการณ์ตามความ ร่วมกับเพื่อนอย่างมี
ได้ (2) การเล่นรายบุคคล สนใจ ซึ่งควรจัดไว้ อย่างน้อย ๔ มุม เช่น เป้าหมาย
กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ 3. เด็กเล่นตามมุมอย่างอิสระ
(3) การเล่นตามมุม 4. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
ประสบการณ์/มุมเล่น
ต่าง ๆ
(๒) การเล่นและการ
ทำงานร่วมกับผู้อื่น
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมกลางแจ้ง (2 ) ก า ร เค ลื่ อ น ไห ว 1. เด็กยืนเป็นรูปวงกลมแล้วเตรียมความพร้อมร่างกายด้วยท่า 1. บอลสีหลายๆสี สังเกต
1. เล่นหรือทำงาน เคลื่อนที่ ต่างๆดังนี้ ย่ำเท้า หมุนไหล่ หมุนแขน แกว่งแขน ตามจำนวนกลุ่ม 1. การเล่นหรือ
ร่วมกับเพื่อนอย่างมี (1) การเคลื่อนไหวในการ 2. ครู แ บ่ ง เด็ ก ออกเป็ น กลุ่ ม กลุ่ ม ละเท่ า ๆกั น ตามความ และเท่ากับจำนวน ทำงานร่ ว มกั บ เพื่ อ น
เป้าหมายได้ ค ว บ คุ ม ต น เอ ง ไ ป ใน เหมาะสม เด็ก อย่างมีเป้าหมาย
2. กระตือรือร้น ทิศทางระดับ และพื้นที่ 3. ครูแนะนำวิธีการเล่นเกมโยนบอลสีลงตะกร้าที่ถูกต้องดังนี้ 2. ตะกร้า 2. ความกระตือรือร้น
ในการเข้าร่วม (2) การเล่ น รายบุ ค คล ๓.1 เด็กแต่ละกลุ่มเข้าแถวตอน 2. นกหวีด ในการเข้าร่วม
กิจกรรมตั้งแต่ต้น กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ ๓.2 ครูแจกบอลสีให้เด็กทุกคนตามสีที่เด็กอยู่ กิจกรรมตั้งแต่ต้น
จนจบ (4) การเล่นนอก 3.๓ ครูนำตะกร้าไปตั้งไว้ฝั่งตรงข้ามแถวของเด็กแต่ละกลุ่ม จนจบ
ห้องเรียน ๓.4 ให้เด็กคนที่ยืนหัวแถวของแต่ละสีโยนบอลสีไปให้ลง
(2) การเล่ น และทำงาน ตะกร้าที่อยู่หน้าของแถวตนเมื่อโยนบอลสีไปแล้วให้ไปต่อท้าย
ร่วมกับผู้อื่น แถว
(3) การให้ ค วามร่ ว มมื อ ๓.5 เด็กคนต่อมาปฏิบัติเช่นเดียวกับเด็ก คนแรก ทำเช่นนี้จน
ในการปฏิบัติกิจกรรม ครบทุก คน เสร็จแล้วนั บ จำนวนบอลสีก ลุ่ม ใดมีบ อลสีอ ยู่ใน
ต่างๆ ตะกร้ามากที่สุดเป็นฝ่ายชนะ
๔. เมื่ อ หมดเวลาเด็ ก เก็ บ อุ ป กรณ์ เข้ า แถวทำความสะอาด
ร่างกายก่อนเข้าชั้นเรียน
กิจกรรมเกม (๑๓) การจับคู่การ ความคิดรวบยอด 1. ครูแนะนำอุปกรณ์พร้อมทั้งสาธิตวิธีการเล่นเกมจับคู่ภาพ 1. เกมจับคู่ภาพ สังเกต
การศึกษา เปรี ย บ เที ยบ และก าร เรื่องจำนวนและ จำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละหนึ่ง จำนวนที่เพิ่มขึ้น การจับคู่และ
จับคู่และ เรียงลำดับสิ่งต่างๆ ตาม การเพิ่ม 2. แบ่งเด็กเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมให้เด็ก 1 กลุ่มรับเกม ทีละหนึ่ง เปรียบเทียบ
เปรียบเทียบความ ลักษณะความยาว/ความ ที่แนะนำใหม่ไปเล่นกลุ่มอื่นๆ เล่นเกมการศึกษาชุดเดิม 2. เกมการศึกษา ความแตกต่างและ
แตกต่างและความ สูง น้ำหนักปริมาตร 3. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวียนสลับเปลี่ยนกันในแต่ละกลุ่มโดย ชุดเดิม ความเหมือนของสี
เหมือนของสีภาพ (8) การนั บ และแสดง ทุกกลุ่มต้องได้เล่นเกมจับคู่ภาพจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละหนึ่ง ภาพและจำนวน
และจำนวนได้ จำนวนสิ่งต่างๆในชีวิต 4. หมดเวลาเด็กเก็บเกมการศึกษาเข้าที่หลังเลิกเล่นแล้ว
ประจำวัน
แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ 4 หน่วยที่ 10 โลกสวยด้วยสีสัน ชั้นอนุบาลปีที่ 3

จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน


ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเคลื่อนไหว (1) การเคลื่อนไหว 1. กิจกรรมพื้นฐานให้ เด็กเคลื่อนไหวร่างกายในท่ า 1. เครื่องเคาะจังหวะ สังเกต
และจังหวะ อยู่กับที่ พื้ น ฐาน เช่น ก้า วชิ ดก้ าว และเขย่ง ก้ าวกระโดดไป 2. เพลงรุ้งกินน้ำ การเคลื่อนไหวท่าทาง
เคลื่อนไหวท่าทาง (2) การเคลื่อนไหว รอบๆ บริเวณอย่างอิสระตามจังหวะที่ครูเคาะโดยไม่ 3. ริบบิ้นสี 7 สี เพื่อสื่อสารความคิด
เพื่อสื่อสารความคิด เคลื่อนที่ ชนกันเมื่อได้ยินสัญ ญาณหยุดให้เด็กหยุดเคลื่อนไหว ความรู้สึกของตนเอง
ความรู้สึกของตนเอง (3) การเคลื่อนไหว ในท่านั้นทันที อย่างหลากหลายและ
อย่างหลากหลายและ พร้อมวัสดุอุปกรณ์ 2. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลงรุ้งกินน้ำ และปรบมือ แปลกใหม่
แปลกใหม่ได้ (1) การฟังเพลง ประกอบจังหวะเพลง
การร้องเพลง และ 3. ให้เด็กร้องเพลงรุ้งกินน้ำ ตามครูทีละวรรค 2 – 3
การแสดงปฏิกิริยา ครั้ง หรือจนเด็กส่วนใหญ่จำได้
โต้ตอบเสียงดนตรี 4. แบ่งกลุ่มเด็กให้ได้ 7 กลุ่มๆละ 1 สีแจกริบบิ้นให้
(3) การเคลื่อนไหว เด็กคนละ 1 เส้น (กระจายให้ครบ 7 สี)
ตามเสียงเพลง/ดนตรี 5. ให้ เ ด็ ก เคลื่ อ นไหวร่ า งกายพร้ อ มริ บ บิ้ น สี ต าม
(2) การแสดงความคิด จินตนาการประกอบเพลงรุ้ง กินน้ ำ เมื่อ เพลงจบให้
สร้างสรรค์ผ่านภาษา เด็กรวมกลุ่มกันตามสีของสายรุ้ง พร้อมกับ นำริบบิ้น
ท่าทางการเคลื่อนไหว สีมาเรียงโค้งเป็นสายรุ้งโดยเรียงล้าดับตามเนื้อเพลง
และศิลปะ 6. หลังปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้ว เด็กพักผ่อนอิริยาบถ
เพื่อเตรียมปฏิบัติกิจกรรมต่อไป
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเสริม (2) การฟั ง และการ การท าหวานเย็น 1. ครูน้ าหวานเย็น ใส่ ภาชนะมี ผ้ าคลุม ไว้ แล้ วให้ เด็ กทุ ก คน 1. ภาชนะมีผ้าคลุม สังเกต
ประสบการณ์ ปฏิบัติตามคำแนะนำ จากสีธรรมชาติ ออกมาคลำสิ่งของที่อยู่ในภาชนะว่าคืออะไร รู้สึกอย่างไร โดย 2. น้ำใบเตย 1. การฟังผู้อื่นพูดจน
1. ฟังผู้อื่นพูดจนจบ (๓) การฟังเพลง สีธรรมชาติสามารถ มีข้อตกลงว่าเมื่อเด็กคลำแล้วให้กลับไปนั่งที่และห้ามพูดอะไร น้ำดอกอัญชัน จบ และสน ทน า
และสนทนาโต้ตอบ นิทานคำคล้องจอง นำมารับประทานได้ จนกว่าเพื่อนทุกคนจะคลำเรียบร้อยแล้ว น้ำเก๊กฮวยและ โต้ตอบอย่าง
อย่างต่อเนื่อง บทร้อยกรองหรือ เช่น สีเขียวจาก 2. เมื่ อเด็ กทุ กคนคล้าสิ่ ง ที่อ ยู่ในภาชนะเสร็จ แล้ว ครูถามค้ า น้ำแตงโม ต่อเนื่องเชื่อมโยงกับ
เชื่อมโยงกับเรื่อง เรื่องราวต่าง ๆ ใบเตย สี น้ ำ เงิ น จาก ถามดังนี้ 3. กะละมัง เรื่องที่ฟังได้
ที่ฟังได้ (๔) การพูดแสดง ดอกอัญชันสีแดงจาก - ของที่อยู่ในภาชนะมีลักษณะอย่างไรรู้สึกอย่างไร 4. น้ำแข็ง 2. ความ
ความคิดเห็นความ แตงโมและสี เหลื อ ง - เด็กๆคิดว่าคืออะไร 5. เกลือเม็ด กระตือรือร้น
รู้สึกและความต้อง จากน้ ำเก๊ ก ฮวย โดย 3. ครูนำสิ่งของที่อยู่ในภาชนะขึ้นมาให้เด็กดูว่าคืออะไร พร้อม 6. ถุงพลาสติก ในการเข้าร่วม
การ การนำมาผสมใส่ ล ง กับบอกว่าวันนี้ครูจะให้เด็กท้าหวานเย็นสีสวยๆจากน้ำสีที่ได้ 7. ยางหนังสติ๊ก กิจกรรมตั้งแต่ต้น
2. กระตื อ รื อ ร้ น ใน (3) การให้ความ ไปในอาหารทำให้ จากธรรมชาติ จนจบ
การเข้าร่วมกิจกรรม ร่วมมือในการ อาหารมีสีสันสวยงาม 4. ครูแนะนำอุปกรณ์และขั้นตอนในการทำหวานเย็น ดังนี้
ตั้งแต่ต้นจนจบ ปฏิบัติกิจกรรม และน่ารับประทาน 4.1 ครูแบ่งเด็กออกเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม ให้แต่ละ
ต่างๆ มากยิ่งขึ้น เช่น กลุ่มออกมารับอุปกรณ์การทำหวานเย็น
ขนมชั้น วุ้นสีและ 4.2 ครูให้เด็กนำน้ำใบเตย น้ำดอกอัญชัน น้ำเก๊กฮวย และ
ท้าหวานเย็น เป็นต้น น้ำแตงโม ใส่ลงไปในถุง และมัดปากถุงให้เรียบร้อย
4.3 นำน้ำแข็งมาเทใส่กะละมัง ใส่เกลือเม็ดลงไป เอาถุง
หวานเย็นใส่ลงไปในกะละมังเอาน้ำแข็งและเกลือใส่เพิ่มลงไป
อีก
4.4 ให้เด็กผลัดกันหมุนกะละมังเร็วๆไปเรื่อยจนกว่าหวาน
เย็นจะแข็งตัว
๕. ครู ใ ห้ เด็ ก สั ง เกตลั ก ษณะของหวานเย็ น ว่ า เป็ น อย่ า งไร
เหมือนตอนแรกหรือไม่
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
6. ครูและเด็กสนทนารวมกันเกี่ยวกับหวานเย็นแต่ละ
สีที่ได้จากธรรมชาติ ดังนี้
- หวานเย็นสีเขียวได้จากน้ำใบเตย
- หวานเย็นสีน้ำเงินได้จากน้ำดอกอัญชัน
- หวานเย็นสีแดงได้จากน้ำแตงโม
- หวานเย็นสีเหลืองได้จากน้ำเก๊กฮวยและให้เด็กๆ
ชิมรสชาติของหวานเย็นแต่ละสีว่ามีรสชาติแตกต่าง
กันอย่างไร และชอบหวานเย็นสีอะไรมากที่สุด
กิจกรรมศิลปะ (2) การเขียนภาพ 1. ครูเตรียมอุปกรณ์กิจกรรม 2 กิจกรรม ได้แก่ 1. กระดาษสี สังเกต
สร้างสรรค์ และการเล่นกับสี วาดภาพหวานเย็นตามจินตนาการด้วยสีน้ำและทำ 2. ดินสอ 1. สร้างผลงานศิลปะ
1. สร้างผลงานศิลปะ (5) การหยิบจับการใช้ โมบายรูปสามเหลี่ยม 3. กรรไกร เพื่อสื่อสารความคิด
เพื่อสื่อสารความคิด การตั ด และการร้ อ ย 2. ครูแนะนำอุปกรณ์ วิธีการปฏิบัติและข้อตกลงใน 4. เชือก ความรู้สึกของตนเอง
ความรู้สึกของตนเอง วัสดุ การปฏิ บั ติ กิ จ กรรมพร้ อ มสาธิ ต การท้ า โมบายรู ป 5. แก้วพลาสติก โดยมีการดัดแปลง
โดยมีการดัดแปลง (2) การแสดงความคิด สามเหลี่ยม 6. กระดาษ เอ 4 แปลกใหม่จากเดิม
แปลกใหม่จากเดิมและ สร้ า งสรรค์ ผ่ า นภาษา 3. เด็ ก ทำกิ จ กรรมสร้ างสรรค์ ทั้ ง 2 กิ จ กรรมตาม 7. สีน้ำ และมีรายละเอียด
มีรายละเอียดเพิ่มขึ้นได้ ท่าทางการเคลื่อนไหว ความสนใจ 8. พู่กัน เพิ่มขึ้น
2. เขียนรูปสามเหลี่ยม และศิลปะ 4. เด็กร่วมกันเก็บอุปกรณ์และน้าเสนอผลงานพร้อม 9. จานสี 2. การเขียนรูป
ตามแบบได้อย่างมีมุม (1 9 ) ก ารเห็ น แ บ บ เล่าผลงาน 10. แก้วน้ำ สามเหลี่ยมตามแบบ
ชัดเจนได้ อย่างการเขียนที่ถูกต้อง 5. ครู น ำผลงานของเด็ ก ทุ ก คนแสดงหน้ าชั้ น เรี ย น ได้อย่างมีมุมชัดเจน
เพื่ อ ให้ เ ด็ ก ๆได้ ชื่ น ชมผลงานของตนเองและของ
เพื่อนๆ
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
กิจกรรมเล่นตามมุม (1) การเล่นเครื่องเล่น 1. ครูแนะน้าการเล่นการปฏิบัติตนในการเล่นตามมุม มุมประสบการณ์ สังเกต
เล่นหรือท้างานร่วมกับ สัมผัสและการสร้าง ต่างๆตามข้อตกลง ในห้องเรียน การเล่นหรือทำงาน
เพื่อนอย่างมีเป้าหมาย จากแท่งไม้บล็อก 2. เด็กเลือกกิจกรรมตามมุมประสบการณ์ตามความ ร่วมกับเพื่อนอย่างมี
ได้ (2) การเล่นรายบุคคล สนใจ ซึ่งควรจัดไว้ อย่างน้อย ๔ มุม เช่น เป้าหมาย
กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ - มุมธรรมชาติศึกษา - มุมหนังสือ
(3) การเล่นตามมุม - มุมบล็อก - มุมเกมการศึกษา
ประสบการณ์/มุมเล่น - มุมบทบาทสมมติ - มุมเครื่องเล่นสัมผัส
ต่าง ๆ 3. เด็กเล่นตามมุมอย่างอิสระ
(๒) การเล่นและการ 4. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
ทำงานร่วมกับผู้อื่น
กิจกรรมกลางแจ้ง (2) การเคลื่อนไหว 1. เด็กยืนเป็นรูปวงกลมแล้วเตรียมความพร้อมร่างกาย 1. ไม้บล็อก สังเกต
1. เล่นหรือทำงาน เคลื่อนที่ ด้วยการวิ่งเหยาะอยู่กับที่ และหมุนแขนพร้อมกัน 10 2. ตะกร้า 1. การเล่นหรือทำงาน
ร่วมกับเพื่อนอย่างมี (4) การเคลื่อนไหวที่ใช้ ครั้ง โดยครูเป็นผู้นำให้เด็กปฏิบัติตาม 3. นกหวีด ร่วมกับเพื่อนอย่างมี
เป้าหมายได้ การประสานสัมพันธ์ 2. เด็กอาสาสมัครออกมาเป็นผู้น้าในการทำท่าทาง เป้าหมาย
2. กระตือรือร้นในการ ของการใช้กล้ามเนื้อ ประมาณ 3-4 คน โดยท้าท่าละ 10 ครั้ง 2. ความกระตือรือร้น
เข้าร่วมกิจกรรมตั้งแต่ ใหญ่ในการจับ การโยน 3. ครูเตรียมไม้บล็อกสีต่างๆจำนวน 20 ชิ้นตะกร้า4ใบ ในการเข้าร่วมกิจกรรม
ต้นจนจบ (3) การให้ความร่วมมือ 4. ขีดเส้นเริ่ม และเส้นชัยห่างกันประมาณ 5เมตร ตั้งแต่ต้นจนจบ
ในการปฏิบัติกิจกรรม 5. วางไม้บล็อกเป็นระยะๆ ห่างกันพอสมควร
ต่างๆ จำนวน 4 แถว
6. ครูให้เด็กยืนหลังเส้นเริ่มแถวละ 1 คน และวาง
ตะกร้าไว้ข้างหลังเด็กที่ยืนแถวละ 1 ใบ
7. ครูให้สัญญาณเด็กวิ่งไปเก็บของที่วางไว้ในแถวของ
ตนเองมาใส่ตะกร้าโดยเก็บได้เที่ยวละ 1 ชิ้น
จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ การประเมิน
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
8. เมื่อเก็บของใส่ตะกร้าจนครบแล้วให้เอาตะกร้าไปที่
เส้นชัยใครถึงก่อนคนนั้นชนะ
9. ให้เด็กสลับสับเปลี่ยนกันออกมาทำกิจกรรมจนครบ
ทุกคน
10. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บอุปกรณ์และเข้าแถวทำความ
สะอาดร่างกายก่อนเข้าชั้นเรียน
กิจกรรมเกมการศึกษา (๑๓) การจับคู่การ สีมีความแตกต่าง 1. ครูแนะนำอุปกรณ์พร้อมทั้งสาธิตวิธีการเล่นเกม 1. เกมเรียงลำดับ สังเกต
เรียงลำดับสีอ่อนและ เปรียบเทียบและการ กันเรียงจากสีอ่อน เรียงลำดับหวานเย็นสีอ่อน - แก่ หวานเย็นสีอ่อน การเรียงลำดับสีอ่อน
แก่อย่างน้อย 5 ลำดับ เรียงลำดับสิ่งต่างๆตาม ไปจนถึงสีแก่ 2. แบ่งเด็กเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม ให้เด็ก 1 กลุ่ม และสีแก่ และแก่อย่างน้อย
ได้ ลักษณะความยาว/ รับเกมที่แนะนำใหม่ไปเล่น กลุ่มอื่นๆเล่นเกมการศึกษา 2. เกมการศึกษา 5 ลำดับ
ความสูง น้ำหนัก ชุดเดิม ชุดเดิม
ปริมาตร 3. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวียนสลับเปลี่ยนกันในแต่ละ
กลุ่มโดยทุกกลุ่มต้องได้เล่นเกมเรียงลำดับหวานเย็นสี
อ่อน - แก่
4. หมดเวลาเด็กเก็บเกมการศึกษาเข้าที่หลังเลิกเล่น
แล้ว
9
8
7
6
5
4
3
2
1

10
เลขที่
ชื่อ – สกุล
1.การเขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้อย่างมีมุม
ชัดเจน
2. การแสดงความพอใจในผลงานและความสามารถ
ของตนเองและผู้อื่น
3. การเล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนอย่างมีเป้าหมาย
ด้าน ด้าน ด้าน
ร่างกาย อารมณ์ สังคม

4. การฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบอย่าง
ต่อเนื่องเชื่อมโยงกับเรื่องที่ฟัง
5. การอ่านภาพสัญลักษณ์คำ ด้วยการชี้หรือกวาดตา
มองจุดเริ่มต้นและจุดจบของข้อความ
6. การเขียนชื่อสีตามบัตรค้าที่กำหนด
7. การบอกลักษณะส่วนประกอบการเปลี่ยนแปลง
ของสีจากการสังเกตโดยใช้ประสาทสัมผัส
8. การจับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างและ
ความเหมือนของสี
ประเมินพัฒนาการ

9. การจำแนกและการจัดกลุ่มสี
10.การเรียงลำดับสีอ่อนและแก่ อย่างน้อย 5 ลำดับ
ด้านสติปัญญา

11. การสร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด
ความรู้สึกของตนเองโดยมีการดัดแปลงแปลกใหม่
แบบสังเกตพฤติกรรมเด็ก หน่วยการจัดประสบการณ์ที่ 10 โลกสวยด้วยสีสัน ชั้นอนุบาลปีที่ 3

จากเดิมและมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น
12. การเคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสารความคิดความ
รู้สึกของตนเองอย่างหลากหลายและแปลกใหม่
13.ความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมตั้งแต่ตน้
จนจบ
14. การค้นหาค้าตอบของข้อสงสัยต่างๆโดยใช้
วิธีการที่หลากหลายด้วยตนเอง
เหตุ
หมาย
16
15
14
13
12
11
เลขที่
ชื่อ – สกุล
1.การเขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้อย่างมีมุม
ชัดเจน
2. การแสดงความพอใจในผลงานและความสามารถ
ของตนเองและผู้อื่น
3. การเล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนอย่างมีเป้าหมาย
ด้าน ด้าน ด้าน
ร่างกาย อารมณ์ สังคม

คำอธิบาย
4. การฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบอย่าง
ต่อเนื่องเชื่อมโยงกับเรื่องที่ฟัง
5. การอ่านภาพสัญลักษณ์คำ ด้วยการชี้หรือกวาดตา
มองจุดเริ่มต้นและจุดจบของข้อความ
6. การเขียนชื่อสีตามบัตรค้าที่กำหนด
7. การบอกลักษณะส่วนประกอบการเปลี่ยนแปลง
ของสีจากการสังเกตโดยใช้ประสาทสัมผัส
ระดับ ๓ ดี
8. การจับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างและ
ความเหมือนของสี
ประเมินพัฒนาการ

9. การจำแนกและการจัดกลุ่มสี
10.การเรียงลำดับสีอ่อนและแก่ อย่างน้อย 5 ลำดับ
ด้านสติปัญญา

11. การสร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด
ระดับ ๒ ปานกลาง

ความรู้สึกของตนเองโดยมีการดัดแปลงแปลกใหม่
จากเดิมและมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น
12. การเคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสารความคิดความ
รู้สึกของตนเองอย่างหลากหลายและแปลกใหม่
13.ความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมตั้งแต่ตน้
จนจบ
14. การค้นหาค้าตอบของข้อสงสัยต่างๆโดยใช้
ระดับ ๑ ควรส่งเสริม
ครูสังเกตพฤติกรรมเด็กรายบุคคล จดบันทึกสรุปเป็นรายสัปดาห์ระบุระดับคุณภาพเป็น ๓ ระดับ คือ

วิธีการที่หลากหลายด้วยตนเอง
เหตุ
หมาย

You might also like