ประต ระบายอากาศ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

ประตูระบายอากาศ

01 บทนํา
ก่อนอื่นต้องทราบว่าชื่ อของ Air-release valve แต่ละบริ ษทั ต่างตั้งชื่อกันจนคนใช้มึนทั้งไทยและเทศ การหา
ความรู ้ผา่ นอากู๋ก็สามารถทําได้แต่มกั จะพาสับสนเนื่ องจากชื่อและคําอธิ บายที่แสนสั้นจากผูผ้ ลิต
เพื่อให้ง่ายจึงใช้ AWWA M 51 เป็ นแนวทางอธิ บาย ที่บอกถึง
รายละเอียดทั้งหลาย รวมไปถึงการคํานวณขนาดใช้งานพร้อมทั้ง
ประเภท เป็ นเล่มหนึ่งที่ควรมีเก็บไว้อา้ งอิง หาได้ที่ ม เกษตร แต่ใช้งาน
น้อยแน่ๆเพราะเรามี กปภ ช่วยกําหนดไว้แล้ว (ดูเพิ่ม AWWA C 512)

01.1 Air-release valve


สามารถเรี ยกได้วา่ Small orifice valve ใช้เพื่อการระบายอากาศเม็ดเล็ก
ในเส้นท่อ(small pocket) ขณะที่ระบบทํางานโดยในท่อจะมีแรงดัน
ภายในสู งกว่าบรรยากาศ รู ปร่ างพื้นฐานแสดงดังรู ป

พิจารณาที่รูระบายอากาศ(Orifice)ที่เล็กกว่าขนาดข้อต่อ(inlet) โดยขนาดรู จะมีขนาดราว 1.6 mm – 25 mm


แต่ขอ้ ต่อจะโตราว 13 mm – 150 mm
เมื่อทํางาน-นํ้าจะไหลเข้าไปทําให้ลูกลอยยกขึ้นจนลูกหมู(seat)ไปอุดรู ระบาย พอเม็ดอากาศขนาดเล็กเข้ามา
ก็จะสะสมจนดันลูกลอยลง เปิ ดลูกหมูทาํ ให้อากาศไหลออกผ่านรู ระบาย

01.2 Air / Vacuum valve


สามารถเรี ยกได้วา่ large orifice valve ออกแบบเพื่อการระบายอากาศปริ มาณมากทั้งเข้าและออกในขณะที่
ท่อเริ่ มเติมนํ้าเข้าท่อหรื อระบายนํ้าออกจากท่อ จึงนิยมติดเพื่อแก้ไข column separation หรื อท่อแตกจาก
สุ ญญากาศ แสดงในรู ป

ขนาดรู ระบาย (Orifice) 12 mm – 500 mm ขนาดพอๆกับข้อต่อท่อ(inlet)


ทํางานโดยระบายอากาศออกอย่างเพื่อป้ องกัน surge ขณะเติมนํ้าเข้าท่อ และทําหน้าที่ดูดอากาศเข้าเส้นท่อ
ขณะระบายนํ้าออกจากท่อเพื่อป้ องกันสุ ญญากาศในเส้นท่อเมื่อในเส้นท่อแรงดันตํ่ากว่าบรรยากาศ
การทํางานจะคล้ายกับ Air-release valve มากกล่าวคือเมื่อนํ้าไหลในเส้นท่อก็จะระบายอากาศออกจนเมื่อนํ้า
ไหลเข้าวาล์วจนลูกลอยดันตัวเองไปปิ ดรู ระบายไว้ ข้อแตกต่าง ที่สาํ คัญคือวาล์วจะไม่เปิ ดระบายอากาศอีก -
NOT REOPEN TO VENT AIR ถ้าแรงดันในท่อสู งกว่าบรรยากาศ เพราะพื้นที่ผวิ ของลูกลอย(Float)ได้รับ
การออกแบบให้รับแรงดันนํ้าในท่อยกตัวจนไปปิ ดรู ระบาย แรงที่กระทํานี้จะมากกว่าบรรยากาศกดพื้นที่
ด้านเรี ยบของลูกลอย

01.3 Combination Air valve


เป็ นวาล์วที่ถูกออกแบบมาทําหน้าที่คล้ายกับ Air / Vacuum valve แต่แตกต่างที่ยงั ยอมให้มีการระบายอากาศ
เม็ดเล็กออกขณะที่ท่อใช้งานเหมือน Air-release valve กล่าวโดยรวมคือเอาวาล์ว 01.1 + 01.2 มารวมกัน
รู ปร่ างของวาล์วอาจทําเป็ น Single หรื อ Dual ก็ได้

การติดตั้งวาล์วเหล่านี้ 01.1+01.2+01.3 ถ้าต้องการละเอียด สามารถไปหา software ออกแบบที่ผผู ้ ลิตแจกได้


และสามารถดูหลักการใช้งานอย่างง่ายได้จากรู ป
รู ปดังกล่าวนี้เป็ นการใช้งานส่ งนํ้าอย่างต่อเนื่ อง ไม่ได้พิจารณาถึง surge ใดๆที่ส่งผลกระทบต่อระบบท่อ
ดังนั้นวาล์วที่ระบุจึงเป็ นเพียงวาล์วปกติใช้งานเท่านั้น
ที่กล่าวข้างบนมานี้ เป็ นพื้นฐานเบื้องต้นของ Air-release valve แต่ในการใช้งานจริ งกับท่อที่วาง ทําให้
รู ปแบบเบื้องต้นนี้ไม่เพียงพอกับสถานการณ์หลายแบบ ผูผ้ ลิตทั้งหลายจึงพัฒนาเช่นเอาก้านออก ขยายรู
ระบาย เพิ่มชุดควบคุมความเร็ วเป็ นต้น
ก่อนจะก้าวต่อ อย่าลืมว่าในการส่ งนํ้าดิบหรื อนํ้าประปา เป็ น single phase / medium ถ้ามีอากาศเข้าก็จะเป็ น
Two phase / medium ทําให้สมการและสู ตรหาเฮดลอสไม่สามารถใช้งานได้ จึงจําเป็ นที่จะต้องระบายอากาศ
ออกจากเส้นท่อให้ได้ มาทําความเข้าใจว่าการใช้งานเหล่าแอร์ วาล์วและสหายเป็ นไปเพื่อ

• ลดแรงเสี ยดทานและการอุดตันจากก้อนอากาศในเส้นท่อ – เกิดได้เสมอทั้งไหลโดยแรงดึงดูดของ


โลกและจากเครื่ องสู บ เมื่อก้อนอากาศรวมตัวทําให้พ้ืนที่หน้าตัดท่อลดลง

• ป้องกันท่อแตกจาก Surge หรื อยุบตัว จาก Column separator

• แก้ไขให้ระบบสู บ ชุดวัด ชุดปรับการไหลทั้งหลายทํางานได้แม่นยํา เมื่อไม่มีอากาศในท่อ


อากาศในนํ้าทัว่ ไปจะมีราว 2% ที่ 1 atm. อีกทั้งยังเข้าท่อหรื อระบบผ่านด้านดูดของเครื่ องสู บ หรื อท่อที่วา่ ง
หรื อเมื่อเกิดสุ ญญากาศ ปั ญหาอากาศในเส้นท่อจึงพร้อมเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
02 การใช้งาน
ถ้าได้เข้าไปในอากู๋ เราก็จะเจอชื่ออาทิ เช่น Air and Vacuum valve, Super high capacity compound lever
Air release valve, Simple Lever Air release valve, Compact Kinetic combination Air valve, Negative
Pressure valve, Hydraulically Controlled Air/Vacuum valve, Combination Vacuum breaking and Air
release valve และ อีกแยะ ถ้าในไทยก็ง่ายขึ้น คือ แอร์วาล์วชนิดลูกลอยเดี่ยว (Single Air valve), แอร์ วาล์ว
ชนิดลูกคู่(Double Air valve), แอร์ วาล์วชนิดระบายเร็ ว(High-speed valve) ตามลําดับในภาพข้างล่าง
บางที่ก็เรี ยกประตูระบายอากาศตามมาตรฐานที่ใช้งานในประเทศไทย มอก. 1368-2539 ประตูระบายอากาศ
สําหรับงานประปา

3 1

รู ปจาก SCI
แอร์ วาล์วลูกลอยเดี่ยวที่ปรกติรูระบายจะเล็ก(Single small Orifice-1) การทํางานเป็ น Air-release valve มี
แอร์ วาล์ว รู ระบายใหญ่(Single large Orifice-2) การทํางานเป็ น Air/Vacuum valve
สําหรับแอร์ วาล์วลูกลอยคู่ (Double orifice without integral valve-3) มีท้ งั รู ระบายอากาศใหญ่และรู อากาศ
เล็กอยูภ่ ายในตัวเดียวกัน รู อากาศใหญ่น้ ีทาํ หน้าที่ระบายอากาศที่อยูใ่ นเส้นท่อออกในขณะที่น้ าํ ไหลเข้าท่อ
และทําหน้าที่ดูดอากาศเข้าเส้นท่อในขณะที่น้ าํ ไหลออกจากท่อ (รู อากาศใหญ่เป็ น Air/Vacuum valve) ส่ วน
รู อากาศเล็กจะระบายเม็ดอากาศเล็กในท่อ(รู อากาศเล็กเป็ น Air-release valve) หรื ออาจกล่าวได้วา่ เป็ น
Combination air valve -ดูรูปแสดงข้างในวาล์วประกอบ
กรณี เอาไปใช้งานก็ตอ้ งติด isolate valve เพิ่มเพื่อให้สามารถเปิ ด/ปิ ด ทําการซ่อมได้
มาตรฐาน กปภ ห้ามไม่ให้ใช้แบบ Double orifice without integral valve

รู ปแสดงภายใน Double orifice with integral valve


แอร์ วาล์วลูกลอยคู่พร้อมวาล์ว (Double orifice with integral valve - 4) ทํางานเหมือนแอร์ วาล์วลูกลอยคู่
(Double orifice without integral valve)ที่กล่าวมาแต่เพิ่ม isolate valve ในตัว(ตรงกลาง) ทําให้ซ่อมง่ายและ
ไม่ตอ้ งติด isolate valve เพิม่ เติม

รู ปการบํารุ งรักษา Double orifice with integral valve -กปภ


แอร์ วาล์วแบบ High speed(Quick type - 5) ทําหน้าที่เหมือน Air/Vacuum valve – ปรกติติดตั้งที่หน้าเครื่ อง
สู บนํ้า
ในทางวิชาการได้แยกแอร์ วาล์วทัว่ ไปซึ่ งมีชื่อแตกต่างในท้องตลาดได้เป็ น
a) Small orifice air valve or Automatic air valve
b) Large Orifice Air valve
Non kinetic air valve – นึกถึงลูกปิ งปองลอยขึ้นไปปิ ดรู ระบาย-ห้ามใช้งานเพราะจะเกิด
dynamic closure หรื อ premature closure หรื อก็คือลูกบอลหรื อลูกหมูปิดรู ระบายอากาศใน
ขณะที่แรงดันในเส้นท่อตํ่ามาก (3 – 5 ม.)ก่อนที่อากาศจะถูกระบายออกหมด และปิ ดค้าง
Kinetic air valve or Anti vacuum valve – เราใช้แบบนี้
Three stage air valve – ตัวนี้พฒั นาเพื่อใช้กบั ความดันในท่อสู งถึงสู งมาก
c) Double orifice air release valve – Triple function air valve
คล้ายกับที่กล่าวมาแล้ว นอกจากนั้นก็จะเป็ น Air valve ที่ทาํ หน้าที่เฉพาะ โดยส่ วนใหญ่เพื่อป้ องกัน Surge
และ column separation ในสภาพแรงดันสูงหรื อ two / three phase ซึ่งจะไม่กล่าวถึงในรายละเอียด ได้แก่ Hydraulically
controlled air valve ,Non return air valve, Air/Vacuum surge valve เป็ นต้น ผูส้ นใจถ้ามีเวลาก็ลองหาอ่าน
เพิ่มเติม
รู ปแสดงแอร์ วาล์วพลาสติกที่ใช้ในการส่ งนํ้าเพื่อการเกษตร
สําหรับนํ้าเสี ยก็จะมีวาล์วระบายอากาศรู ปแบบเฉพาะ ห้ามใช้
ปนกัน

ควรอ่านเพิ่มเติม Air valve technology review – VENT-O-


MAT
03 ประตูน้ าํ ระบายอากาศ มาตรฐาน กปภ
การคํานวณหาขนาดแอร์ วาล์วนั้นเรี ยบง่าย ใช้ตารางช่วยในการออกแบบ ผูส้ นใจสามารถหาได้ในอากู๋ซ่ ึ งก็
เป็ นตารางเดียวกันกับ AWWA manual 51 เพียงแต่ไม่มีตวั อย่าง ขอแนะว่าผูส้ นใจคํานวณผิดแน่ๆถ้าไม่มี M
51 นี้ โปรดไปอ่านได้ที่ห้องสมุด ม เกษตร
กรณี ยงั คํานวณไม่ได้แต่ตอ้ งใช้เลยก็ใช้ตามมาตรฐานงานก่อสร้าง กปภ – 02-2550 หาได้ในอากู๋ แต่ได้ข่าวว่า
ปี นี้มีการปรับปรุ งหลายจุด ก็ควรหาตัวใหม่มาใช้กนั อย่างไรก็ตามผูเ้ ขียนยังคงยืนยันให้ผสู ้ นใจหาวิธีการ
คํานวณมาใช้งานให้ได้ เพราะบางครั้งการออกแบบความเร็ วในเส้นท่อที่จาํ เป็ นต้องใช้ค่าสู ง(ปรับปรุ งแนว
ท่อเดิม) จะทําให้ขนาดประตูระบายอากาศโตขึ้น
ผูใ้ ช้งานควรยึด มอก 1368- 2539 ก่อนเป็ นสําคัญ ก็จะทําให้ได้ประตูระบายอากาศที่ใช้งานได้ 10 บาร์16
บาร์ และ 25 บาร์ จากนั้นจะใช้ประเภทหรื อยีห่ ้ออะไรก็ได้แล้วแต่ความต้องการของสถานการณ์ โดยมี
หลักการการให้ขนาดดังนี้ (ลอก กปภ มาใช้งานเลยครับ)
หากมิได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่น ประตูระบายอากาศขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มม.หรื อเล็กกว่าให้ใช้เป็ น
แบบลูกลอยเดี่ยว และขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 50 มม.ขึ้นไปให้ใช้แบบลูกลอยคู่
ส่ วนประกอบของประตูระบายอากาศทุกชุดต้องมี Stop Cock หรื อ Isolating Valve อยูใ่ นตัว (ยกเว้นขนาด
25 มม.หรื อเล็กกว่า อนุ ญาตให้นาํ มาติดตั้งประกอบภายนอกได้)
ขนาดระบุของท่อเส้น ขนาดระบุของประตูระบาย ชนิดของข้อต่อของ
ผ่าศูนย์กลาง (มม.) อากาศ (มม.) ประตูระบายอากาศ
100 -150 20 ต่อด้วยเกลียว
200 25 ต่อด้วยหน้าจาน
300 50 ต่อด้วยหน้าจาน
400 - 600 80 ต่อด้วยหน้าจาน

สําหรับ กปน มาตรฐานการผลิตจะเป็ น JIS B 2063 “ Air Vent Valve for Waterworks” หรื อ มอก. 1386
ฉบับล่าสุ ด – สรุ ปเอาอันที่ดีกว่า อันนี้ ตอนซื้อก็เพียงหาบริ ษทั ที่ข้ ึนทะเบียนไว้แล้วก็บอกว่าใช้ของ กปน ก็
ได้แล้ว เพราะต้องมีคาํ ว่า “MWA” หรื อ”กปน” แปะที่ตวั วาล์ว โดยประตูระบายอากาศขนาด 25 มม. เป็ น
ลูกลอยเดี่ยว ประตูระบายอากาศขนาด 50 75 100 และ150 มม.เป็ นลูกลอยคู่ การติดตั้งทั้งหมดให้ใช้หน้า
จานและยึดคุณสมบัติเฉพาะตาม กองมาตรฐานวิศวกรรม การประปานครหลวง
04 ความเสี ยหาย
แอร์ วาล์วเป็ นอุปกรณ์ที่สาํ คัญชิ้นหนึ่งในระบบส่ งหรื อจ่ายนํ้าประปา(รวมไปถึงการส่ งนํ้าเสี ย) ที่ไม่ค่อยได้ดู
กันเพราะมีการกําหนดขนาดที่ใช้ไว้แล้ว ดังแสดงในข้อ 03
อย่างไรก็ตามก็ตอ้ งเน้นว่าที่กล่าวมาทั้งหมด ใช้งานในสภาพปกติ(Normal) กรณี ที่มีการทํา Water Hammer
Analysis หรื อ Surge Analysis จะส่ งผลต่อชนิดหรื อประเภท รวมไปถึงขนาดของแอร์ วาล์วทุกครั้ง

ภาพจาก ARI
ภาพแสดงถึงความเสี ยหายที่เกิดต่อระบบท่อที่พบปั ญหา Surge อันเนื่ องมาจากส่ วนหนึ่ งของการจัดการแอร์
วาล์วที่ผดิ พลาด ทั้งในช่วง fill ช่วง Refill Shutdownและ Emergency Shutdown
หวังว่าผูส้ นใจจะใช้เวลาหันมามองแอร์ วาล์วกันบ้าง

You might also like