Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

ขั้นตอนงานเจาะสํารวจชั้นดิน

บริษัท เอสพีเอ็น ซอยล เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด


55/507 หมูที่ 2 ต.ศีรษะจรเขนอย อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ 10570
55/507 Moo 2, Srisa Jorakhe Noi, Bang Sao Thong, Samut Prakan 10570
Tel : 098-850-4610 E-mail : spnsoiltest@gmail.com Website : www.spnsoiltest.com
Method statement for boring test

METHOD STATEMENT
งานเจาะสํารวจชั้นดิน
วัตถุประสงค
การเจาะสํารวจขอมูลของชนิดดินจากชั้นผิวดินลึกลงไปในระดับที่ตองการ เปนการสํารวจขอมูล
ดินทั้งงานสนามและงานทดสอบหองทดลอง งานสนามจะประกอบไปดวยขั้นตอนการจัดเก็บตัวอยาง
(Soil Sampling) และ การทดสอบตอกทะลวงแบบมาตรฐาน (Standard Penetration Tests) ใน
งานวิศวกรรมปฐพีสิ่งที่จําเปนประการหนึ่งก็คือการเจาะสํารวจดิน
วัตถุประสงคในการเจาะสํารวจดินนั้นเพื่อใชเปนขอมูล
• เพื่อใชเลือกชนิดของฐานราก
• เพื่อใชหากําลังรับหนักบรรทุกของฐานรากที่เลือกใช
• เพื่อประมาณคาการทรุดตัวของฐานรากที่เลือกใช
• เพื่อหาคาระดับนํ้าใตดิน
• เพื่อหาแรงดันดินดานขางที่กระทําตอกําแพงหรือ Abutment
• ใชชวยเขียนกําหนดในการกอสรางเพื่อปองกันปญหาที่จะเกิดขึ้น
• เพื่อใหหาชนิดของดินที่เหมาะสมในงานถมและหา Degree of compaction
• เพื่อประเมินคาความปลอดภัยของโครงสรางเดิม
Method statement for boring test

อุปกรณ
เครื่องทดลองเจาะสํารวจดินแบบ Rotary Boring Machine
• เครื่องเจาะสํารวจแบบเจาะปนพรอมโครงปนจั่น
• หัวเจาะปน (Drilling Bit)
• สวานเจาะ (Auger)
• กานเจาะ
• ทอกรุหรือทอกันดิน (Casing) ขนาด 3 นิ้ว หรือ 4 นิ้วพรอมขอตอ
• เครื่องสูบนํ้าหรือปมพรอมอุปกรณไดแกหัวนํ้า (Water Swivel) สายสงนํ้าขอตอสามทาง
• ถังตกตะกอนหรืออางนํ้าเวียน
• ถังนํ้าขนาด 200 ลิตร หรือ1,000 ลิตร ชุดเครื่องมือและอุปกรณไดแก ประแจคอมาขนาด
18 นิ้ว, 24 นิ้ว ชุดประแจปากตาย ไขควง ฯลฯ
• วัสดุที่ใชในงานเจาะไดแก เบ็นโทไนตชนิดผง เชือกมะนิลา ลวดสลิงชนิดออน
นํ้าสะอาด นํ้ามันเชื้อเพลิง นํ้ามันหลอลื่น ถุงพลาสติกสําหรับเก็บรักษาตัวอยางดิน
ขวดพลาสติกสําหรับเก็บรักษาตัวอยางนํ้า
• รถยนตบรรทุก
Method statement for boring test

รูปอุปกรณและชุดเครื่องเจาะดินแบบหัวหมุน Rotary (Boring)


Machine)
Method statement for boring test

ขั้นตอนการทํางาน
ขั้นตอนการเจาะสํารวจชั้นดิน สําหรับเครื่องเจาะแบบหัวหมุน Rotary Boring Machine มี
รายละเอียด ดังนี้
1. เลือกหลุมเจาะใหอยูในบริเวณกอสรางโดยกําหนดคาระดับหลุมเจาะใหชัดเจน
2. นํารถบรรถทุกอุปกรณเขาตําแหนงที่ทําการเจาะถาไมสามารถเขาถึงไดตองทําทางชั่วคราว
(จัดเตรียมโดยผูวาจาง)
3. ปดกั้นบริเวณขอบเขตพื้นที่ทํางานดวย Soft Barricade เชือก ขาวแดง (จัดเตรียมโดยผูว าจาง)
4. นําเครื่องลงจากรถโดยการใชรางเหล็กรองและเลื่อนลงจากรถ พรอมนําเครือ่ งเขาตําแหนงเจาะ
5. ประกอบโครงสามขาใหมั่นคงและยึดใหแนนโดยใหจุดศูนยกลางตรงกับบริเวณหลุมเจาะ ติดตั้ง
เครื่องมือที่ตองใช เชน เครือ่ งทดรอก รอกแขวนปมนํ้า กานหัวเจาะ ทอนํ้า หัวเจาะ ทอเหล็ก
สามทาง
6. ติดตั้งรอกทีต่ ําแหนงแขวนอยูดานบนของสามขา สอดรอยเชือกมะนิลากับรอกโดยที่ดานหนึ่งผูก
ยึดติดกับหูหิ้วทีห่ วงคลองปลายบนของกานเจาะอีกดานดึงไปที่เครื่องทดรอกเพื่อใหเครือ่ งทด
รอกหมุนเชือกเพื่อยกกานเจาะเหล็กขึ้นและลงได
7. สวมสายยางทอนํ้าจากปมนํ้าเขาปลายกานเจาะตรงขอตอแบบหมุนรอบตัวได เดินเครื่องสูบนํ้า
เพื่อปมนํ้าผานกานเจาะลงไปที่หัวเจาะพรอมๆกับยกกานเจาะขึน้ ลง เพื่อใหหัวเจาะดินกระแทก
ดินใหแตกในหลุมเจาะ ซึ่งนําที่สูบจากปมลงไปจะนําหรือละลายดินในหลุมเจาะขึ้นมาที่ปากหลุม
แลวใหไหลไปที่บอตกตะกอนที่เตรียมไว
8. การเจาะในชัน้ ดินออนและแข็งปานกลางใหใชสวานหมุนเจาะลึก 0.50-1.0 เมตร ใชสวานหมุน
เมือ่ เริ่มการเจาะหรือในระหวางการเจาะหลุมเพื่อการขยายขนาดหลุมหรือเพื่อติดตัง้ ปลอกเหล็ก
ในขณะเจาะควรตอกทอเหล็กปลอกกันดินพังเพื่อเจาะกระแทกใหไดความลึกตามกําหนดไว
Method statement for boring test

9. รายละเอียดการทํางานแตละขั้นตอนประกอบดวยการเจาะนําหลุม , การปองกันหลุมเจาะพัง และ


การทดสอบ SPT (Standard Penetration Test) และการเก็บตัวอยางดิน
9.1 วิธีการเจาะหลุม
• ใชแรงดันฉีดเจาะพรอมการหมุนปนดวยเครือ่ งเจาะโรตารี่เพื่อทําลายโครงสรางดิน
เพื่อใหเกิดหลุม
• เริ่มการเจาะดินโดยการสูบนํ้าผานกานเจาะลงไปที่หัวฉีดที่กนหลุมพรอมๆกับปน
หัวเจาะ (กานเจาะ)
• ทําใหดินกนหลุมหลุดไหลตามนํ้าขึ้นมาบนผิวดินลงในอางตกตะกอน
• หมุนเวียนนํ้าที่ตะกอนตกแลวไปใชในการเจาะลึกลงไป
9.2 การปองกันหลุมเจาะพังระหวางบริเวณปากหลุมถึงความลึกประมาณซึ่ง 1.0 – 1.5 เมตร
ดินหลวมหรือดินออน ถูกรบกวนจากการปฏิบัติงานและภายในหลุมซึง่ เปนชั้นทรายหลวมหรือรอยแตก
ของชัน้ หินหรือโพรง (สังเกตไดจากนํ้าที่ใชในการเจาะหายไป) โดยการปองกันทําไดดังนี้

การใชปลอกเหล็ก (Casing) ปองกันหลุมพัง ปองกันบริเวณปากหลุมถึงความลึกประมาณ


1.0– 1.5 เมตร ซึ่งดินหลวมหรือดินออนมาก หรือภายในหลุมซึง่ เปนชั้นทรายหลวมหรือรอยแตกของชั้น
หินหรือโพรงหิน (นํ้าหายและไมสามารถใชเบนโทไนตได)
Method statement for boring test

การใชนํ้าโคลน หรือ สารเบนโทไนต( Drilling Mud หรือSlurry)


นํ้าโคลน (Drilling Mud) คือ สารผสมระหวางสารเบนโทไนตกับนํ้าเพื่อใหเกิดสารที่มีความหนืดสงจะ
ชวยนําดินทราย และเศษหินขึ้นมาจากกนหลุมเจาะไดงายและชวยปองกันหลุมเจาะพัง (เบนโทไนตเปน
แรดนิ (Clay Mineral) ซึ่งก็คอื ดินเหนียวประเภทหนึ่งที่ไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม มีความสามารถใน
การดูดนํ้าดีและพองตัวไดมาก ทําใหไดนํ้าโคลนที่มีความหนาแนนมากกวานํ้า จึงชวยปองกันนํ้าในชั้น
ทรายไหลเขาในหลุมเจาะเปนการปองกันหลุมพัง
Method statement for boring test

9.3 การตอกทดสอบมาตราฐาน SPT-N (Standard Pretention)


การทดสอบการทะลุทะลวงแบบมาตรฐาน Standard Penetration Test (SPT) ทําการทดสอบ
ที่ระยะทุกๆ 0.50 เมตรในระยะ 3.00 เมตรแรก หลังจากนัน้ ทดสอบอีกทีท่ กุ ๆระยะ1.5 เมตร เมื่อเจาะ
ถึงระดับที่ตอ งการทดสอบประกอบกระบอกผาเขากับกานเจาะ แลวหยอนกานเจาะลงหลุมเจาะตอกาน
เจาะตามความจําเปน ประกอบแปนรองรับแรงกระแทก (Anvil) เขากับหัวกานเจาะวางตุมนํ้าหนักบน
Anvil แลวตอกเบาๆเพื่อใหกานเจาะและกระบอกผาตัง้ เขาที่ในแนวดิง่ ขีดเสนแสดงตําแหนงความลึก
ของกานเจาะออกเปน3 ชวงๆ ละ 15 เซ็นติเมตร (รวมเปน 45เซ็นติเมตร) ตามรูปดานลาง
Method statement for boring test

9.4 การเก็บตัวอยางดินแบบ Disturb Sample จากกระบอกผา SPT (Standard Pretention)


หลังจากยกกานเจาะออกจากหลุมเจาะแลวถอดกระบอกผาออกจากกานเจาะ ถอดกระบอกผาแลวเปด
กระบอกผาแยกออกวัดความยาวของตัวอยางดินที่เก็บไดในกระบอกผาพรอมเก็บตัวอยางดินใสลง
ถุงพลาสติกเก็บตัวอยาง เมือ่ เก็บตัวอยางดินเรียบรอยใหทําความสะอาดกระบอกผาดวยแปรงหรือผาให
ปราศจากเศษดินตกคาง ตามรูปดานลาง

9.5 การเก็บตัวอยางดินแบบ Un-Disturb Sample ตัวอยางคงสภาพดวยกระบอกบาง


(Thin Walled Tubes) เก็บในกรณีที่เปนดินเหนียวออนมาก-เหนียวปานกลางเทานั้น (ซึ่งถาเก็บดวย
กระบอกบาง ไมตองทําการทดสอบ SPT-N) ทําความสะอาดหลุม เจาะโดยตองไมทําใหดินที่จะเก็บ
ตัวอยางกระทบกระเทือน ถาระดับที่จะเก็บตัวอยางอยูตํ่ากวาระดับดินใหรักษาระดับนํ้าใตดินในหลุม
เจาะไมใหตํ่ากวาระดับนํ้าใตดิน วางกระบอกบางเก็บตัวอยางลงกนหลุมแลวกดกระบอกเก็บตัวอยาง
อยางรวดเร็ว หามหมุนกระบอกเก็บตัวอยางในระหวางที่กดกระบอก ระยะความลึกของการกดกระบอก
ขึ้นอยูกับความแข็งของดินไมมากกวา10 – 15 เทาของเสนผาศูนยกลางกระบอกสําหรับดินเหนียว ถอน
กระบอกเก็บตัวอยางขึ้นดวยความระมัดระวัง เพื่อปองกันดินตัวอยางเสียสภาพ
Method statement for boring test

รูปการเก็บตัวอยางดินแบบ Un-Disturb Sample

10. การวัดระดับนํ้าใตดินจะทําหลังเจาะหลุมเจาะเรียบรอย 24 ชม. โดยการใชเทปวัดระยะ


หรือแทงเหล็กวัดระยะ
11. การทดสอบตัวอยางดินที่เก็บจากสนามจะทําการทดสอบตัวอยางในหองทดลองดังตอไปนี้

ดินประเภท Cohesive soil ดินประเภท Cohesion lesssoil


 ทดสอบการรอนตะแกรง (Sieve analysis)  ทดสอบการรอนตะแกรง (Sieve analysis)
 ทดสอบ Atterberg Limits  ทดสอบ Atterberg Limits
 ทดสอบหนวยนํ้าหนัก  ทดสอบหนวยนํ้าหนัก
 ปริมาณความชื้น  ปริมาณความชื้น
 ทดสอบ Unconfined ( สําหรับดินเหนียวที่
ตองการทดสอบ-option)
Method statement for boring test

สรุปผลรายงาน
 วิธีการและขั้นตอนการเจาะการเก็บตัวอยางสนามและการทดสอบในหองทดลอง
 กราฟแสดงชั้นดินและคุณสมบัติตางๆ (Boring Log)
 สรุปผลขอแนะนํากําลังตานทานของดินในโครงสรางของฐานรากตื้น, เสาเข็มตอกและ
เสาเข็มเจาะ
 สรุปผลการทดสอบในหองทดลองตางๆ
 ตําแหนงที่ตั้งสําหรับเจาะสํารวจดิน
 รายการคํานวณและทฤษฎี

บุคลากร
 ชางเจาะสํารวจ 1 คน
 ผูช วยชางเจาะสํารวจ 1 คน
 คนงานเจาะสํารวจ 2 คน
Method statement for boring test

มาตราฐานอางอิง
FIELD SOIL INVESTIGATION
• ASTM D 1586: Standard Test Method for Penetration Test and Split-Barrel
Sampling of Soils
• ASTM D 1587: Standard Practice for Thin-Walled Tube Sampling of Soils for
Geotechnical Purposes

LABORATORY TESTS
• ASTM : Standard Test Method for Particle-Size Analysis of Soils D422
• ASTM : Standard Test Methods for Laboratory Determination of D2216
Water (Moisture) Content of Soil and Rock by Mass
• ASTM D 1587 : Standard Practice for Thin-Walled Tube Sampling of Soils for
Geotechnical Purposes
• ASTM D4318 - Standard Test Methods for Liquid Limit, Plastic Limit, and
Plasticity Index of Soils
• ASTM D2166 - Standard Test Method for Unconfined Compressive Strength of
Cohesive Soil

You might also like