Final Report

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 405

โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

รายงานฉบับสุ ดท้ าย

สารบัญ
หน้ า

บทที่ 1 ความเข้ าใจโครงการ


1.1 วัตถุประสงค์โครงการ 1-2
1.2 ขอบเขตการดาเนินโครงการ 1-2
1.3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 1-5
1.4 ระยะเวลาดาเนินงาน 1-5

บทที่ 2 ข้ อมูลทั่วไปของฟาร์ มสุ กร


2.1 การใช้พ้นื ที่ภายในฟาร์มสุกรที่ได้มาตรฐาน 2-3
2.2 วัตถุดิบที่ใช้เป็ นอาหาร และยาปฏิชีวนะสาหรับสุกร 2-4
2.3 ลักษณะน้ าเสียที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมต่างๆ ของฟาร์มสุกร 2-11
2.4 ค่ามาตรฐานควบคุมการระบายน้ าเสียจากฟาร์มเลี้ยงสุกร 2-14

บทที่ 3 การคัดเลือกฟาร์ มสุ กรเข้ าร่ วมโครงการ


3.1 การคัดเลือกฟาร์มสุกร 3-2
3.2 ข้อมูลเบื้องต้นของศรี กิจฟาร์ม 3-4
3.3 ข้อมูลเบื้องต้นของฟาร์มนายพนม จิตรใจเย็น 3-12
3.4 ข้อมูลเบื้องต้นของประชาฟาร์ม 3-18
3.5 ข้อมูลเบื้องต้นของภาวนาฟาร์ม 3-25

บทที่ 4 วิธีการเก็บตัวอย่าง และเทคนิคทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ คุณภาพนา้


4.1 การเก็บตัวอย่างน้ าจากฟาร์มสุกรที่ได้เข้าร่ วมโครงการฯ 4-1
4.2 เทคนิคที่ใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพน้ า 4-8

บทที่ 5 ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนา้


5.1 ผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าของศรี กิจฟาร์ม 5-1
5.2 ผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าของฟาร์ม นายพนม จิตรใจเย็น 5-17

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด I


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT021
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า

5.3 ผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าของประชาฟาร์ม 5-33


5.4 ผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าของภาวนาฟาร์ม 5-48
5.5 ภาพรวมของคุณภาพน้ าที่จะนามาใช้ในโครงการการเพิม่ มูลค่าฯ 5-60

บทที่ 6 แนวทางการเพิม่ มูลค่านา้ ทิง้ จากระบบบาบัดแบบผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์ มสุ กร


6.1 แนวทางที่ 1 : การนาน้ าทิ้งฯ ไปใช้เป็ นปุ๋ ยอินทรี ยน์ ้ า 6-4
(Wastewater as fertilizer and irrigation water)
6.2 แนวทางที่ 2 : การนาน้ าทิ้งฯ ไปทาปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต 6-7
(Calcium phosphate) หรื ออะพาไทท์ (Calcium hydroxyl apatite, HAP)
6.3 แนวทางที่ 3 : การนาน้ าทิ้งฯ ไปทาปุ๋ ยแมกนีเซียม แอมโมเนียม 6-10
ฟอสเฟต หรื อสตรู ไวท์ (Magnesium ammonium phosphate, MAP or Struvite)
6.4 แนวทางที่ 4 : การนาน้ าทิ้งฯ ผลิตไฟฟ้ าโดยใช้เซลเชื้อเพลิงจากจุลินทรี ย ์ 6-12
(Microbial Fuel Cell, FMC)
6.5 แนวทางที่ 5 : การนาน้ าทิ้งฯ ไปเพาะเลี้ยงสาหร่ ายและพืชน้ า 6-18
6.6 แนวทางที่ 6 : การนาน้ าทิ้งฯ ไปเลี้ยงแหน เพื่อเป็ นแหล่งโปรตีน 6-22
ในอาหารสัตว์ และแหนเป็ นพืชที่มีศกั ยภาพในการผลิตเอทานอล
6.7 แนวทางที่ 7 : การนาน้ าทิ้งฯ ไปเพาะเลี้ยงไรแดง 6-29
6.8 ข้อสรุ ปทางเลือกการเพิ่มมูลค่าน้ าทิ้งจากระบบบาบัดน้ าเสีย 6-36
แบบผลิตก๊าซชีวภาพ

บทที่ 7 การผลิตปุ๋ ยแคลเซียม-ฟอสเฟต (Calcium phosphate as Fertilizer)


7.1 หลักการ และทฤษฎี 7-1
7.2 วิธีการการศึกษาทดลองในห้องปฏิบตั ิการ การผลิตปุ๋ ยละลายช้า 7-6
แคลเซียมไฮดรอกซีอะพาไทท์ หรื อ HAP (Calcium hydroxyapatite,
Ca5(PO4)3OH))

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด II


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT021
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า

7.3 ผลการศึกษาจากห้องปฏิบตั ิการ การผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตหรื อ 7-22


ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite)

บทที่ 8 การผลิตปุ๋ ยแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต


(Magnesium ammonium Phosphate as Fertilizer)
8.1 หลักการ และทฤษฎี 8-1
8.2 วิธีการการศึกษาทดลองในห้องปฏิบตั ิการ การผลิตปุ๋ ยละลายช้า 8-17
MAP (Magnesium ammonium phosphate หรื อ Struvite)
8.3 ผลการศึกษาจากห้องปฏิบตั ิการแนวทางการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิด 8-33
ละลายช้าหรื อปุ๋ ยสตรู ไวท์ (Struvite)

บทที่ 9 การผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตและปุ๋ ยแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต จากอุปกรณ์สาธิต


9.1 ผลวิเคราะห์ปุ๋ยอะพาไทด์ และปุ๋ ยสตรู ไวท์ที่ผลิตได้ ณ ประชาฟาร์ม 9-1
9.2 ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตปุ๋ ยจากอุปกรณ์สาธิต 9-2
9.3 การประเมินทางเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นสาหรับอุปกรณ์สาธิตสาหรับผลิต 9-3
ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี
9.4 ศักยภาพในการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีในฟาร์มสุกรขนาดต่างๆ 9-5
9.5 ธาตุอาหารสาหรับพืชที่ได้จากปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรื อ ปุ๋ ยอะพาไทต์ 9-5
และวิธีการนามีไปใช้ทางการเกษตร
9.6 ธาตุอาหารสาหรับพืชที่ได้จากปุ๋ ยแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต 9-7
หรื อปุ๋ ยสตรู ไวท์ และวิธีการนามีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการเกษตร

บทที่ 10 การประเมินความเหมาะสมทางด้ าน เทคนิค เศรษฐศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม


10.1 การผลิตปุ๋ ยแคลเซียม-ฟอสเฟต 10-2
10.2 การผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า หรื อปุ๋ ยสตรู ไวท์ (Stuvite) 10-21
10.3 ข้อดีของการเพิ่มมูลค่าน้ าทิ้งฯ โดยการตกตะกอนธาตุอาหารในน้ าเสีย 10-42
กลับมาใช้ใหม่เป็ นปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด III
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT021
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

10.4 การประเมินความเหมาะสมทางเทคนิค เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม 10-45


โดยการเปรี ยบเทียบกับการใช้ประโยชน์ในรู ปแบบอื่นๆ

บทที่ 11 การนาเสนอรูปแบบการบริหารจัดการในระดับชุมชน
11.1 การบริ หารจัดการในระดับชุมชน 11-1
11.2 วัตถุประสงค์ 11-1
11.3 แนวทางการดาเนินการมีส่วนร่ วมของชุมชน 11-1
11.4 ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นกับชุมชน 11-6
11.5 ประโยชน์ที่จะได้รับจากการดาเนินงานของกลุ่มผูผ้ ลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี 11-6
จากฟาร์มสุกร
11.6 การนาเสนอแนวทางและจัดทากลยุทธ์เพื่อส่งเสริ มในการจาหน่าย 11-7
ผลิตภัณฑ์ที่ได้ในเชิงพาณิ ชย์

บทที่ 12 คู่มอื วิธีการเพิม่ มูลค่านา้ ที่ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ


12.1 รายละเอียดของปุ๋ ย 12-1
12.2 ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า หรื อปุ๋ ยสตรู ไวท์ (Struvite) 12-3
12.3 รู ปภาพแสดงขั้นตอนการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต และปุ๋ ยอะพาไทด์ 12-5
ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า หรื อสตรู ไวท์ (Struvite)
12.4 ชุดอุปกรณ์ผลิตปุ๋ ยอะพาไทด์และปุ๋ ยสตรู ไวท์ 12-8
12.5 ข้อดีของการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยอะพาไทด์ 12-10

บทที่ 13 การจัดทาแผ่นพับ และสื่อวีดีทัศน์


13.1 การจัดทาวีดีทศั น์แสดงขั้นตอนและผลการดาเนินโครงการ 13-1
13.2 การจัดทาแผ่นพับประชาสัมพันธ์โครงการ 13-6

บทที่ 14 สรุปผลการสัมมนาแถลงผลการดาเนินงาน
14.1 การรับสมัครผูเ้ ข้าร่ วมสัมมนา 14-1
14.2 การจัดเตรี ยมเอกสารประกอบการสัมมนา 14-5
14.3 การดาเนินการจัดสัมมนา 14-5
14.4 รายชื่อผูเ้ ข้าร่ วมสัมมนา 14-6
14.5 สรุ ปผลการประเมินสัมมนา 14-11

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด IV


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT021
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

14.6 ภาพบรรยากาศในงานสัมมนา 14-14

บทที่ 15 ปัญหา-อุปสรรค และข้ อเสนอแนะการดาเนินโครงการ


15.1 ปัญหา-อุปสรรคในการดาเนินโครงการ 15-1
15.2 ข้อเสนอแนะการดาเนินโครงการ 15-2

ภาคผนวก
ภาคผนวก ก.
ภาคผนวก ข.
ภาคผนวก ค.
ภาคผนวก ง.

เอกสารอ้างอิง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด V


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT021
บทที่ 1
ความเข้ าใจโครงการ
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บทที่ 1
ความเข้ าใจโครงการ

ความเป็ นมา และความสาคัญ


ระบบจัดการของเสียและน้ าเสียจากฟาร์มสุกรที่นิยมใช้มากในปัจจุบนั วิธีหนึ่ง คือ ระบบบาบัด
แบบไร้อากาศ เนื่องจากช่วยลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมทั้งในด้านแหล่งน้ าธรรมชาติเสื่ อมโทรม ปั ญหา
เรื่ องของกลิ่นเหม็นรบกวน และมีแมลงวันซึ่งเป็ นพาหะนาโรค อีกทั้งการใช้ระบบบาบัดแบบไร้อากาศ
ดังกล่าวยังสามารถช่วยลดผลกระทบในเรื่ องของการปล่อยก๊าซเรื อนกระจก หรื อลดการปล่อยก๊าซมีเทน
สู่บรรยากาศได้อีกด้วย ทั้งนี้ผลพลอยได้จากการใช้ระบบบาบัดดังกล่าว คือ ได้ก๊าซชีวภาพ (Biogas) ซึ่ง
สามารถนาไปใช้เป็ นพลังงานทดแทนในฟาร์ ม สุ ก รได้อีกทางหนึ่ ง แต่จากการสารวจของกรมพัฒนา
พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) พบว่า ฟาร์ มสุ กรจานวนมากไม่ได้มีการนาก๊าซชีวภาพที่
ผลิตได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด หรื อไม่สามารถนาไปใช้ได้อย่างเต็ม ประสิ ทธิภาพ ซึ่งฟาร์ มสุ กร
ส่ วนใหญ่น าก๊า ซชีว ภาพไปใช้เพื่อการหุ งต้ม โดยนาไปใช้ประมาณ 1-2 ลูก บาศก์เมตรต่อวันเท่านั้น
ทาให้มีก๊าซส่วนที่เหลือถูกปล่อยทิ้งหรื อไม่ได้ใช้ประโยชน์ นอกจากนี้ยงั มีกากตะกอนที่ เหลือหลังจาก
ผ่านระบบบาบัดฯ ซึ่งไม่สามารถขายได้หรื อขายได้ในราคาที่ต่ามาก ส่ งผลทาให้กากตะกอนเหล่านี้ ถูก
กองทิ้งไว้เป็ นจานวนมาก อีกทั้งน้ าหลังผ่านการบาบัดฯ แล้ว ยังคงมีค่ าความสกปรกอยู่มากก็ มกั ถูก
ปล่อยทิ้งลงสู่แหล่งน้ าธรรมชาติ เนื่องจากฟาร์มสุกรขนาดเล็กส่วนใหญ่ไม่มีระบบบาบัดขั้นหลัง และยัง
มีพ้นื ที่จากัด
ในการนาแนวคิดการส่ งเสริ มให้มีการนาก๊ าซชีวภาพที่ ผลิตได้ไปใช้อย่างมีประสิ ทธิภาพและ
เกิ ด ความยัง่ ยืน ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงนั้น เป็ นการสร้างภูมิคุ ้มกัน ให้แก่ค รอบครั ว
ชุ ม ชน สัง คม และประเทศชาติ โดยการพัฒนาแบบองค์ร วมที่ ยึด คนเป็ นศูน ย์ก ลางการพัฒ นามี
ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจในกระแสโลกาภิวตั น์ และให้ค วามสาคัญกับการนาทุนของ
ประเทศที่มีศกั ยภาพ ทั้ง “ทุนสังคม” “ทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” และ “ทุนเศรษฐกิจ” มา
ใช้ป ระโยชน์ อย่า งบู ร ณาการและเกื้ อ กูล กัน ให้เ กิ ด ความสมดุ ล ทั้ง ในมิ ติ เ ศรษฐกิ จ สัง คม และ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ดังนั้น จึงมีความจาเป็ นอย่างยิ่งที่จ ะต้องส่ งเสริ มในด้านการเพิ่ม
มูลค่าของกากตะกอน ตลอดจนน้ าหลังจากผ่านการบาบัดจากระบบควบคู่กนั ไปด้วย
ในปี พ.ศ. 2551 พพ. ได้ดาเนินโครงการศึกษาการนาก๊าซชีวภาพไปใช้เป็ นพลังงานทดแทนใน
เครื่ องผลิตปุ๋ ยชีวภาพอัดเม็ดจากกากตะกอนที่ได้จากระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสั ตว์ และเพิ่มมูลค่า
ให้กบั กากตะกอนแล้วนั้น ดังนั้นในปี พ.ศ. 2552 นี้ จึงเห็นควรให้มีการศึกษาการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผา่ นการ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 1-1


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT001
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มสุกรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อจะได้ใช้ประโยชน์อย่าง
ครบถ้วนและเพิม่ ความสามารถในการพึ่งตนเองต่อไป

1.1 วัตถุประสงค์โครงการ
(1) ศึกษาถึงแนวทางการนาน้ าที่ผา่ นการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มสุกรมาเพิ่ม
มูลค่าให้เกิดประโยชน์สูงสุดตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
(2) เพื่อสร้างแรงจูงใจในการใช้ระบบผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มสุกร

1.2 ขอบเขตการดาเนินโครงการ
เพื่อให้การดาเนิ นงานโครงการบรรลุวตั ถุป ระสงค์ของโครงการฯ ที่ปรึ กษาจะดาเนิ นการดัง
ขอบเขตงานต่อไปนี้

1.2.1 การศึกษาแนวทางการเพิ่มมูลค่าน้ าฯ

1) ที่ ป รึ กษาจะด าเนิ น การจัด หาบุ ค ลากรที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญระบบเทคโนโลยี


ก๊าซชี ว ภาพและผูเ้ ชี่ ย วชาญด้านเทคโนโลยีชีว ภาพวิศวกรสิ่ งแวดล้อมในการ
รวบรวมข้อมูล ศึก ษาสถานภาพการจัด การน้ าที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิต
ก๊าซชี ว ภาพ จากฟาร์ มสุ ก รขนาดเล็ก เพื่อประเมิน ถึงศัก ยภาพและทางเลือกที่
เหมาะสม ศึกษาราคาและตลาดการผลิตปุ๋ ยอินทรี ย ์ ปุ๋ ยน้ าอินทรี ยใ์ นปัจจุบนั
2) ที่ปรึ กษาจะดาเนินการวิเคราะห์คุณสมบัติของน้ าที่ผ่านการบาบัดจากระบบผลิต
ก๊า ซชี ว ภาพจากมูล สุ ก รจากฟาร์ มไม่น้อยกว่ า 3 แห่ ง จ านวนไม่น้อยกว่ า 10
ตัวอย่าง
3) ที่ปรึ กษาจะดาเนินการศึกษาแนวทางการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผ่านการบาบัดจากระบบ
ผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มสุกรไม่นอ้ ยกว่า 5 แนวทาง
4) ที่ปรึ กษาจะทาการคัดเลือกร่ วมกับคณะกรรมการตรวจการจ้าง ในการพิจารณา
แนวทางการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ เพื่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด จานวนไม่นอ้ ยกว่า 2 แนวทาง
5) ศึกษา เสนอรู ปแบบการทดลอง วิธีการทดลอง การวิเคราะห์คุณภาพ การเพิม่ มูลค่า
น้ าที่ผา่ นการบาบัดตามแนวทางที่ได้คดั เลือกตามข้อ4) การวิเคราะห์คุณภาพเพื่อ
เปรี ยบเทียบกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ในห้องปฏิบตั ิการ เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสม
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 1-2
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT001
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ของแต่ละแนวทาง ทั้งนี้ผลการศึกษาทดลองที่ได้จกั ต้องมีความถูกต้อง เชื่อถือได้


และสามารถพัฒนาสู่การใช้งานจริ งต่อไปได้
6) ที่ปรึ กษาจะสรุ ปผลการทดลองและวิเคราะห์คุณภาพ การเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผ่านการ
บาบัดตามแนวทางที่ได้ดาเนิ นการใน ข้อ 5) และนาเสนอผลการทดลองดังกล่าว
ต่อคณะกรรมการตรวจการจ้าง

1.2.2 การศึกษาความเหมาะสมทางด้านเทคนิคและวิธีการจัดการ
1) ที่ปรึ กษาจะทาการประเมินความเหมาะสมทางเทคนิ ค เศรษฐศาสตร์ สิ่ งแวดล้อม
โดยการเปรี ยบเทียบ กับการใช้ประโยชน์ ในรู ปแบบอื่นๆ โดยใช้เครื่ องมือทาง
เศรษฐศาสตร์และสิ่ งแวดล้อม ที่ปรึ กษาจะนาเสนอรู ปแบบการบริ หารจัดการใน
ระดับชุมชน เพื่อให้เกิดประโยชน์และการมีส่วนร่ วมของชุมชน
2) ที่ ป รึ กษาจะน าเสนอแนวทางและจัด ทากลยุท ธ์เ พื่ อ ส่ ง เสริ มในการจ าหน่ า ย
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผา่ นการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพใน
เชิงพาณิ ชย์
1.2.3 การจัดสัมมนาและสื่อประชาสัมพันธ์

1) จัดทาคู่มือวิธีการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ เพื่อให้


เกิดประโยชน์สูงสุ ด ไม่น้อยกว่า 2 แบบ แบบละ 10 เล่ม พร้อม CD แบบละ 100
แผ่น โดยเนื้อหาในคู่มือจะประกอบด้วย
 ลักษณะน้ าเสีย ที่ผา่ นการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพของฟาร์มสุกร
 ปริ มาณน้ าเสีย ซึ่งอธิบายถึงแหล่งที่มาของน้ าเสี ยฟาร์ มสุ กร จนถึงน้ าเสี ย
ที่ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ การวัดปริ มาณน้ าเสี ย และ
ปริ มาณน้ าเสียที่เปลี่ยนแปลงขึ้นอยูก่ บั เวลา และขนาดของฟาร์มสุกร
 วิธีการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผา่ นการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มสุกร
 การประมาณค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการออกแบบก่อสร้าง และการดาเนิ นงาน
วิธีการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผา่ นการบาบัด
 ประโยชน์ที่ผปู้ ระกอบการฟาร์มสุกรจะได้รับในด้านต่างๆ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 1-3


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT001
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

 การประเมินความเหมาะสมทางเทคนิ ค เศรษฐศาสตร์ สิ่ งแวดล้อม โดย


การเปรี ยบเทียบ กับการใช้ประโยชน์ในรู ปแบบอื่นๆ
 การวิเคราะห์ผลการลงทุนเบื้องต้น

2) ที่ปรึ กษาจัดทาสื่อวีดิทศั น์ แสดงวิธีการดาเนิ นงาน และสื่ อที่พร้อมจะเผยแพร่ ใน


Website ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุ รัก ษ์พลังงาน และแผ่น พับ
เผยแพร่ ผลงาน จานวนไม่นอ้ ยกว่า 1,000 แผ่น
3) ที่ ปรึ ก ษาจัด สัมมนา/อบรมเชิ ง ปฏิบัติ ก ารให้ก ับหน่ ว ยงาน บุ ค ลากรในส่ ว นที่
เกี่ยวข้องจานวนไม่นอ้ ยกว่า 100 คน เพื่อนาเสนอผลการศึกษาโครงการทั้งหมด
และขยายผลการด าเนิ น งานเพิ่ มมูล ค่ าน้ าที่ ผ่านการบ าบัด จากระบบผลิ ต ก๊า ซ
ชีวภาพ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดไปสู่กลุ่มเป้ าหมาย โดยจะดาเนินการดังนี้
 ที่ปรึ กษาจะจัดรู ปแบบการสัมมนาจานวน 1 วัน โดยมีเนื้ อหาในการสัมมนา
ดังนี้
- สรุ ปผลการศึกษาโครงการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผ่านการบาบัดจาก
ระบบผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มสุกร
- วิธี ก ารเพิ่ม มูลค่ าน้ าที่ ผ่านการบ าบัด จากระบบผลิ ต ก๊ า ซ
ชีวภาพฟาร์มสุกร
- สัมมนากลุ่มย่อย เรื่ อง ความคิดเห็นต่อวิธีการเพิ่มมูลค่าน้ าที่
ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มสุกร
 ที่ปรึ กษาจะติดต่อและจัดหาผูเ้ ข้าร่ วมสัมมนา โดยการส่ งหนังสื อเชิญ
ชวนที่ได้รับความเห็นชอบจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุ รักษ์
พลังงาน รวมถึงการจัดหาสถานที่จดั สัมมนาจะเป็ นที่ที่เหมาะสม การ
คมนาคมสะดวก พร้อมจัดหาอาหารกลางวัน อาหารว่างเครื่ องดื่มที่ มี
คุ ณ ภาพ โดยจะน าเสนอกรมพัฒนาพลังงานทดทแทนและอนุ รัก ษ์
พลังงานเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดาเนินการ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 1-4


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT001
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

1.3 ข้ อเสนอแนะเพิม่ เติม


ที่ปรึ กษาจะทาการศึกษาการนาก๊ าซชีวภาพจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพในฟาร์ มสุ กร นามาใช้
ประโยชน์ร่วมกับวิธีการนาน้ าที่ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ ตามแนวทางที่ที่ปรึ กษาได้
กาหนดไว้อย่างน้อย 1 แนวทาง

1.4 ระยะเวลาดาเนินงาน
12 เดือน หลังจากวันลงนามในสัญญา

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 1-5


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT001
บทที่ 2
ข้ อมูลทั่วไปของฟาร์ มสุ กร
บทที่ 3
การคัดเลือกฟาร์ มสุ กรเข้ าร่ วมโครงการ
บทที่ 4
วิธีการเก็บตัวอย่ าง และเทคนิคที่ใช้ ในการวิเคราะห์
คุณภาพนา้
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บทที่ 3
การคัดเลือกฟาร์ มสุ กรเข้ าร่ วมโครงการ

คานา

การคัดเลือกฟาร์มสุกรเข้าร่ วมโครงการ “การศึกษาการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผ่านการบาบัดจากระบบ


ผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มสุกร” เริ่ มจากการสัมภาษณ์ผปู้ ระกอบการฟาร์ มสุ กรที่มีสถานที่ต้ งั ของฟาร์ มอยู่
ในจังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรี และจังหวัดใกล้เคียงเป็ นหลัก เนื่ องจากเป็ นพื้นที่ซ่ึงมีฟาร์ มสุ กรทั้ง
ขนาดใหญ่ ขนาดกลางและขนาดเล็ก อยูร่ ่ วมกันเป็ นจานวนมาก ซึ่งโดยส่วนมากนั้นฟาร์มสุกรที่มีขนาด
ใหญ่และขนาดกลางล้วนมีระบบบาบัดน้ าเสียที่ดี และสามารถบาบัดน้ าเสียให้มีคุณภาพน้ าที่อยูใ่ นเกณฑ์
ไม่เกินค่ามาตรฐานการปล่อยน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกรที่ทางกรมควบคุมมลพิษกาหนด อีกทั้งเทคโนโลยีที่ใช้
ในการบาบัดน้ าเสียส่วนใหญ่เป็ นเทคโนโลยีชนิดผลิตก๊าซชีวภาพ (Biogas Technology) ซึ่งก๊าซชีวภาพ
ที่ผลิตได้น้ ีทางฟาร์มสุกรส่วนใหญ่นาไปใช้เป็ นพลังงานทดแทนพลังงานไฟฟ้ าในกิจกรรมต่ างๆ ของ
ฟาร์ม เช่น ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ า ใช้เป็ นเชื้อเพลิงหุงต้ม ใช้สาหรับเผาทาลายซากสุ กรและกิจกรรมอื่นๆ
เป็ นต้น

ทั้งนี้การสารวจของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) พบว่า เทคโนโลยีที่


ใช้ในการบาบัดน้ าเสียของฟาร์มสุกรขนาดกลางและขนาดเล็ก จะใช้เทคโนโลยีบาบัดน้ าเสี ยชนิ ดผลิต
ก๊าซชีวภาพ (Biogas Technology) ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วมักพบปัญหาในส่วนของน้ าที่ผา่ นการบาบัดจาก
ระบบบาบัดน้ าฯ กล่าวคือ น้ าหลังผ่านการบาบัดมักมีค่าความสกปรกอยู่ เนื่ องจากฟาร์ มสุ กรขนาดเล็ก
ไม่ได้ติดตั้งระบบบาบัดน้ าเสียขั้นหลัง เพราะมีพ้นื ที่จากัด ทาให้เกิดแนวคิดในการศึกษาการเพิ่มมูลค่า
น้ าที่ผา่ นการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มสุกร เพื่อเพิ่มศักยภาพของการนาน้ าส่ วนที่เหลือทิ้ง
ในฟาร์มสุกรกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุ ด และถือเป็ นแนวทางปฏิบตั ิตามเศรษฐกิจพอเพียง
ร่ วมอีกด้วย

คณะที่ปรึ กษาฯ ได้จดั ทาแบบสอบถามข้อมูลเบื้ องต้นในรายละเอียดของกิจกรรมต่างๆ ของ


ระบบฟาร์มสุกร ได้แก่ ชื่อฟาร์ม สถานที่ต้งั ขนาดของฟาร์ม จานวนสุกร แหล่งน้ าดิบที่ใช้ ประเภทของ
ระบบบาบัดน้ าเสีย ปริ มาณน้ าเสียและของเสียที่เกิดขึ้น ประเภทของระบบบาบัดน้ าเสี ยที่ใช้เทคโนโลยี
ผลิตก๊าซชีวภาพ (Biogas Technology) การนาก๊าซชีวภาพไปใช้ประโยชน์ และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
เป็ นต้น ซึ่งหลังจากได้ขอ้ มูลเบื้องต้นเกี่ยวกับฟาร์ มมาแล้ว จะนาข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการพิจารณา
คัดเลือกฟาร์มสุกรที่มีความเหมาะสมเข้าร่ วมโครงการฯ จากนั้นที่ปรึ กษาฯ จะนาข้อมูลดังกล่าวเสนอต่อ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-1


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุ รักษ์พลังงาน (พพ.) เพื่อพิจ ารณาคัด เลือกฟาร์ มสุ กรที่ มีค วาม
เหมาะสมเข้าร่ ว มโครงการฯ จ านวนไม่น้อยกว่า 3 แห่ ง และด าเนิ น การเก็บตัวอย่างน้ าจากฟาร์ ม ที่
เข้าร่ ว มโครงการฯ จากนั้น นาตัว อย่างน้ ามาวิเคราะห์คุ ณ ภาพของน้ าในห้องปฏิบัติก าร เพื่อศึก ษา
คุณภาพของน้ าที่ใช้ในกิจกรรมต่างๆ ของฟาร์มสุกรต่อไป
3.1 การคัดเลือกฟาร์ มสุ กร

ขั้นตอนการดาเนินการคัดเลือกฟาร์มสุกรเข้าร่ วมโครงการฯ เริ่ มจากการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์


หรื อหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวกับผูป้ ระกอบการฟาร์ มสุ กรที่มีสถานที่ต้ งั ของฟาร์ มอยู่ในจังหวัด
นครปฐม จังหวัดราชบุรี และจังหวัดใกล้เคียงเป็ นหลัก เนื่องจากเป็ นพื้นที่ดงั กล่าวมีฟาร์ มสุ กรทั้งขนาด
ใหญ่ ขนาดกลางและขนาดเล็ก อยูร่ ่ วมกันเป็ นจานวนมาก ทั้งนี้ จากการสัมภาษณ์ผปู้ ระกอบการฟาร์ ม
สุกรทางโทรศัพท์น้ นั อาศัยแบบสอบถามข้อมูลเบื้องต้นของกิจกรรมต่างๆ ของระบบฟาร์ มสุ กร เพื่อใช้
เป็ นเกณฑ์ในการได้มาซึ่งข้อมูลและรายละเอียดของกิ จกรรมต่ างๆ ของฟาร์ มสุ ก รที่ต รงตามความ
ต้องการ ซึ่งแบ่งตามหัวข้อที่สาคัญๆ ได้แก่ ข้อมูลทัว่ ไป ข้อมูลการผลิต ข้อมูลการใช้ทรัพยากร ข้อมูล
ด้านระบบการบาบัดน้ าเสีย และของเสียอื่นๆ รวมทั้งข้อมูลการนาผลพลอยได้ไปใช้ประโยชน์ เป็ นต้น
ซึ่งรายละเอียดในส่วนต่างๆ ของแบบสอบถามข้อมูลเบื้องต้นของฟาร์มสุกร มีดงั นี้
(1) ข้อมูลทัว่ ไป:
- ชื่อฟาร์ม สถานที่ต้งั ฟาร์ม ชื่อของผูป้ ระกอบการ และวัน-เวลาที่ได้รับข้อมูล
(2) ข้อมูลการผลิต:
- ระยะเวลาในการทาฟาร์มสุกรของผูป้ ระกอบการ ขนาดของฟาร์ ม จานวนสุ กรที่มี
อยูใ่ นฟาร์ม
(3) ข้อมูลการใช้ทรัพยากร:
- แหล่งน้ าที่นามาใช้ เช่น น้ าบ่อ น้ าชลประทาน และน้ าบาดาล เป็ นต้น
(4) ข้อมูลด้านระบบการบาบัดน้ าเสียและของเสียอื่นๆ
- รู ปแบบระบบบาบัดน้ าเสียด้วยเทคโนโลยีผลิตก๊าซชีวภาพ เช่น CD+UASB, Fixed
dome, Cover lagoon , แบบ พพ.1 และแบบไฟเบอร์กลาส เป็ นต้น
(5) การนาไปใช้ประโยชน์ :
- การนาก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้ไปใช้ประโยชน์ การนาน้ าหลังผ่านการบาบัดไปใช้
ประโยชน์ และ การนามูลสัตว์ไปใช้ประโยชน์ เป็ นต้น

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-2


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

นอกจากนี้ รายละเอียดของแบบสอบถามข้อมูลเบื้องต้นของฟาร์ มสุ กร ยังรวมถึงข้อมูลความ


สมัครใจในการเข้าร่ วมโครงการการเพิม่ มูลค่าน้ าฯ ความเหมาะสมในเรื่ องพื้นที่จดั สร้างแปลงสาธิตของ
โครงการศึ ก ษาฯ และความสะดวกในการเข้า เยี่ย มชมพื้ น ที่ ส าธิ ต เป็ นต้น (รายละเอี ย ดของ
แบบสอบถามข้อมูลแสดงภาคผนวก ก)
ทั้งนี้ หลังจากได้ขอ้ มูลเบื้ องต้นของฟาร์ มสุ ก รแล้ว ทางที่ปรึ กษาฯ จะดาเนิ นการออกสารวจ
ภาคสนาม ณ ฟาร์มสุกรแต่ละแห่ง เพื่อศึกษาสภาพพื้นที่ของฟาร์ ม กิจกรรมการใช้น้ าของฟาร์ ม ขนาด
และปริ มาณของระบบบาบัดน้ าเสียชนิดผลิตก๊าซชีวภาพ (Biogas Technology) ตาแหน่งของจุดที่เก็บน้ า
เพื่อน้ ามาวิเคราะห์ในห้องปฏิบตั ิการ รวมทั้งประเมินศักยภาพและความเหมาะสมในการจัดสร้างแปลง
สาธิต ซึ่งเป็ นกิจกรรมต่อเนื่องหลังจากการศึกษาหาแนวทางการเพิ่มมูลค่าน้ าฯ ต่อไป
ผลจากการรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นในกิจกรรมต่างๆ ของฟาร์ มสุ กร จานวน 4 แห่ งนี้ แสดงดัง
ตารางที่ 3-1 ดังนี้

ตารางที่ 3-1 แสดงผลการรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นของฟาร์มสุกรที่ได้จากการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์

ลาดับ ชื่อฟาร์ มสุ กร ชื่อผู้ประกอบการ แหล่ งที่อยู่ เบอร์ โทรศัพท์

1. ศรี กิจฟาร์ ม นาย ณรงค์ ศรี กจิ เกษมวัฒน์ 105 หมู่ 7 ตาบลบ่อพลับ 034-243311
อาเภอเมือง จังหวัด
นครปฐม

2. นายพนม จิตรใจเย็น นายพนม จิตรใจเย็น 75/1 หมู่ 11 ตาบลหนองงู 081-372-4468


เหลือม อาเภอเมือง จังหวัด
นครปฐม

3. ประชาฟาร์ ม นายชัยวัฒน์ ธีรานุวฒั น์ 29/1 หมู่ 2 ตาบลบ้านใหม่ 086-985-8788


อาเภอสามพราน จังหวัด
นครปฐม

4 ภาวนาฟาร์ ม นายเอื้ยง ห้วยหงษ์ทอง 73 หมู่ 7 ตาบลห้วยขวาง 089-915-3743


อาเภอกาแพงแสน จังหวัด
นครปฐม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-3


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

3.2 ข้ อมูลเบือ้ งต้นของศรีกจิ ฟาร์ ม


ข้ อมูลเบือ้ งต้นของฟาร์ มสุ กร รายละเอียด
แหล่งที่มาของข้อมูล สัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ และสารวจข้อมูลภาคสนาม
วันที่เก็บข้อมูล 17-18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

1. ข้ อมูลทั่วไป
ชื่อผูป้ ระกอบการ นาย ณรงค์ ศรี กิจเกษมวัฒน์
สถานที่ต้งั ของฟาร์ม 105 หมู่ 7 ตาบลบ่อพลับ อาเภอเมือง
จังหวัดนครปฐม
โทรศัพท์ 034-243311
โทรสาร -
2. ข้ อมูลการผลิต
ขนาดของฟาร์ มสุกร ฟาร์มขนาดกลาง
จานวนสุกรทั้งหมด (คิดเทียบสุกรขุน) 1,762 ตัว (ประมาณ)
-สุกรพ่อพันธุ์ 10 ตัว
-สุกรแม่พนั ธุ์ 240 ตัว
-สุกรขุน 800 ตัว
-ลูกสุกร 800 ตัว
3. ข้ อมูลการใช้ นา้
ประเภทของน้ าที่ใช้ในระบบฟาร์ม น้ าบาดาล
-ปริ มาณน้ าเสียที่เกิดขึ้น(คานวณ) 46.5 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
4. ข้ อมูลด้ านการผลิตก๊าซชีวภาพ
-ปริ มาณก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้ (คานวณ) 169.1 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
5. ข้ อมูลด้ านระบบบาบัดนา้ เสีย สถานการณ์ การใช้ งานในปัจจุบันและของเสียอืน่ ๆ
รู ปแบบระบบผลิตก๊าซชีวภาพ แบบบ่อโดมคงที่ (Fixed dome)
ขนาดของระบบบาบัดน้ าเสีย 100 ลูกบาศก์เมตร
สถานการณ์ใช้งานปัจจุบนั ใช้งานได้ปกติ แต่ใช้งานไม่สม่าเสมอ
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-4
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ข้ อมูลเบือ้ งต้นของฟาร์ มสุ กร รายละเอียด


ปริ มาณของเสียประเภทอื่นๆ มูลสัตว์
6. การนาไปใช้ ประโยชน์
การนาก๊าซชีวภาพไปใช้ จ่ายเครื่ องยนต์เพื่อขับเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า และ
เครื่ องผสมอาหารสัตว์
การนาน้ าหลังผ่านการบาบัดไปใช้ นาไปรถน้ าต้นไม้ในฟาร์ม และพรมบนหลังคา
โรงเลี้ยงสุกร เพื่อความระบายความร้อน
การนามูลสัตว์ไปใช้ นาไปขาย
7. ความสมัครใจในการเข้ าร่ วมโครงการฯ
ยินดีเข้าร่ วมโครงการฯ
8. ความเหมาะสมในเรื่องพืน้ ที่จดั สร้ างแปลงสาธิต ของโครงการการเพิม่ มูลค่านา้ ฯ
มีความเหมาะสม
9. ความสะดวกในการเข้ าเยีย่ มชมพืน้ ที่แปลงสาธิต ของโครงการการเพิม่ มูลค่านา้ ฯ
มีความเหมาะสม

ข้ อมูลของศรีกจิ ฟาร์ ม
ศรี กิจฟาร์ม เป็ นฟาร์มสุกรขนาดกลาง มีจานวนสุกร ประมาณ 1,762 ตัว (จากการคานวณเป็ น
ปริ มาณสุ กรขุน) ติด ตั้งระบบบาบัดน้ าเสี ยแบบบ่อโดมคงที่ (Fixed Dome) ติดตั้งมานานแล้วกว่า 5 ปี
(ระบบที่ฟาร์ มใช้เป็ นระบบบาบัดน้ าเสี ยจากฟาร์ มสุ กรแบบผลิตก๊าซชีวภาพที่ได้รับการสนับสนุ นมา
จากกรมส่งเสริ ม) น้ าที่ใช้ในกิจกรรมการเลี้ยงสุกร (น้ ากินและน้ าล้างคอก) มาจากน้ าบาดาล กิจกรรม
การใช้น้ าของฟาร์ มมีการล้างคอกวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ปริ มาณน้ าเสี ยจากการคานวณ 46.5 ลูกบาศก์
เมตรต่ อวัน ส่ ว นของระบบบาบัด น้ าเสี ย มีรางรวบรวมน้ าเสี ย และถังแยกตะกอนหนัก (มูลสุ ก ร)
ออกจากน้ าเสียก่อนจะเข้าระบบบาบัด และนามูลที่แยกจะนาไปตากไว้ยงั ลานตากตะกอนและส่ งขาย
น้ าเสี ยผ่านการแยกของแข็งจะส่ งเข้าระบบบาบัด ฯ ฝั งอยู่ใต้ดิ น (แผนผังระบบบาบัดน้ าเสี ยผลิตก๊าซ
ชีวภาพแบบบ่อโดมคงที่แสดงในรู ปที่ 1-1) มีการนาก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้นาไปใช้งาน ส่วนน้ าทิ้งที่ผา่ นการ
บาบัด แล้ว จะส่ งไปยังบ่ อพัก น้ า ที่ เป็ นบ่ อ ซี เมนต์และมีก ารเติ มอากาศ เพื่อลดปริ มาณสารอิน ทรี ย์
และกลิน่ หลังจากนั้นจะมีการสูบนาไปใช้ในการรดน้ าต้นไม้ภายในฟาร์ม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-5


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

การนาน้ าทิ้งไปใช้ประโยชน์ เนื่องจากฟาร์มตั้งอยู่บริ เวณ อาเภอเมืองนครปฐม และไม่มีพ้ืนที่


ทางการเกษตร ทางฟาร์มจึงกักเก็บน้ าไว้ในบ่อพักน้ าไม่มีการปล่อยลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะและใช้น้ าทิ้ง
ในบ่อพักน้ าการรดน้ าต้นไม้ภายในบริ เวณพื้นที่ฟาร์ ม และพรมบนหลังคาโรงเลี้ยงสุกรเพื่อระบายความร้อน
การนาก๊าซชีวภาพไปใช้ประโยชน์ เนื่องจากเป็ นฟาร์ มขนาดกลาง จึงมีการนาก๊าซธรรมชาติที่
ผลิต ได้จ ากระบบบาบัด น้ าเสี ย ไปใช้งานอย่างเป็ นรู ปธรรม ได้แก่ การนาไปใช้เป็ นเชื้อเพลิงสาหรั บ
เครื่ องยนต์เพื่อน าไปใช้ข ับเครื่ องก าเนิ ด ไฟฟ้ า และเครื่ องผสมอาหารสัต ว์ ซึ่ ง ณ ปั จ จุ บัน มีก ารใช้
ก๊าซชีวภาพจนหมด และไม่เพียงพอต่อความต้องการ

บ่อเติมมูลสุ กร
ท่อก๊าซ บ่อล้น

ไบโอก๊าซ

ตะกอนสลัดจ์

ที่มา: ปรับปรุ งจาก http://www.fao.org

รูปที่ 3-1 แผนผังแบบระบบบาบัดน้ าเสียผลิตก๊าซชีวภาพแบบบ่อโดมคงที่ (Fixed dome)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-6


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ทั้งนี้คณะที่ปรึ กษาฯ ได้ลงพื้นที่เพื่อสารวจข้อมูลภาคสนาม ณ ศรี กิจฟาร์ม เมื่อวันที่ 18


กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ดังแสดงในรู ปที่ 3-2 ถึง 3-8 ดังนี้

รูปที่ 3-2 การใช้น้ าภายในโรงเลี้ยงสุกรของศรี กิจฟาร์ม


บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-7
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 3-3 น้ าเสียที่เกิดจากการล้างคอกสุกร ของศรี กิจฟาร์ม

รูปที่ 3-4 ของแข็ง (มูลสุกร) ที่แยกออกจากน้ าเสียก่อนเข้าระบบบาบัดฯของศรี กิจฟาร์ม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-8


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(ก)

(ข)
รูปที่ 3-5 บริ เวณระบบบาบัดน้ าเสียแบบ Fixed dome ของศรี กิจฟาร์ม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-9


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 3-6 น้ าทิ้งที่ผา่ นระบบบาบัดฯ ของศรี กิจฟาร์ม

รูปที่ 3-7 บ่อพักน้ าของน้ าทิ้งที่ผา่ นระบบบาบัดฯ ของศรี กิจฟาร์ม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-10


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 3-8 การนาก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้ไปใช้กบั เครื่ องยนต์เพื่อใช้ขบั เครื่ องผสมอาหารสัตว์

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-11


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

3.3 ข้ อมูลเบือ้ งต้นของ ฟาร์ มนายพนม จิตรใจเย็น


ข้ อมูลเบือ้ งต้นของฟาร์ มสุ กร รายละเอียด
แหล่งที่มาของข้อมูล สัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ และสารวจข้อมูลภาคสนาม
วันที่เก็บข้อมูล 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 และ 6 มีนาคม พ.ศ. 2552

1. ข้ อมูลทั่วไป
ชื่อผูป้ ระกอบการ นายพนม จิตรใจเย็น
สถานที่ต้งั ของฟาร์ม 75/1 หมู่ 11 ตาบลหนองงูเหลือม อาเภอเมือง
จังหวัดนครปฐม
โทรศัพท์ 081-372-4468
โทรสาร -
2. ข้ อมูลการผลิต
ขนาดของฟาร์ มสุกร ฟาร์มขนาดเล็ก
จานวนสุกรทั้งหมด (คิดเทียบสุกรขุน) ประมาณ 274 ตัว
-สุกรพ่อพันธุ์ 1 ตัว
-สุกรแม่พนั ธุ์ 40 ตัว
-สุกรขุน 100 ตัว
-ลูกสุ กร 200 ตัว
3. ข้ อมูลการใช้ ทรัพยากร
ประเภทของน้ าที่ใช้ในระบบฟาร์ม น้ าบาดาล
-ปริ มาณน้ าเสียที่เกิดขึ้น (คานวณ) 7.2 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
4. ข้ อมูลด้ านการผลิตก๊าซชีวภาพ
-ปริ มาณก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้ (คานวณ) 26.3 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
5. ข้ อมูลด้ านระบบบาบัดนา้ เสีย สถานการณ์ การใช้ งานในปัจจุบันและของเสียอืน่ ๆ
รู ปแบบระบบผลิตก๊าซชีวภาพ แบบ พพ. 1
ปริ มาณน้ าเสียที่รองรับ (ค่าออกแบบ) 10 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-12


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ข้ อมูลเบือ้ งต้นของฟาร์ มสุ กร รายละเอียด


สถานการณ์ใช้งานปัจจุบนั ใช้งานได้ปกติ วันที่ไปสารวจภาคสนาม ณ พื้นที่
ฟาร์ม พบว่ามีรอยรั่วของระบบผลิตก๊าซชีวภาพ
ที่บางจุด รอการซ่อมแซม
ปริ มาณของเสียประเภทอื่นๆ มูลสัตว์ และ กากตะกอนสลัดจ์
6. การนาไปใช้ ประโยชน์
การนาก๊าซชีวภาพไปใช้ ใช้เป็ นก๊าซหุงต้ม และมีก๊าซชีวภาพเหลือ ซึ่ง
ผูป้ ระกอบการปล่อยก๊าซส่วนเกินทิ้งสู่บรรยากาศ
การนาน้ าหลังผ่านการบาบัดไปใช้ นาไปรดพืชไร่ ภายในฟาร์ม เช่น รดต้นข้าวโพด
รดแปลงผักสวนครัว
การนามูลสัตว์ไปใช้ นาไปขาย
7. ความสมัครใจในการเข้ าร่ วมโครงการฯ
ยินดีเข้าร่ วมโครงการฯ
8. ความเหมาะสมในเรื่องพืน้ ที่จดั สร้ างแปลงสาธิต ของโครงการการเพิม่ มูลค่านา้ ฯ
มีความเหมาะสม
9. ความสะดวกในการเข้ าเยีย่ มชมพืน้ ที่แปลงสาธิต ของโครงการการเพิม่ มูลค่านา้ ฯ
มีความเหมาะสม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-13


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ข้ อมูลของฟาร์ มนายพนม จิตใจเย็น

ฟาร์มนายพนม จิตรใจเย็น เป็ นฟาร์มสุกรขนาดเล็ก มีจานวนสุกร ประมาณ 274 ตัว (จากการ


คานวณเป็ นปริ มาณสุกรขุน) ติดตั้งระบบบาบัดน้ าเสียแบบ พพ.1 (ระบบที่ฟาร์ มใช้เป็ นระบบบาบัดน้ าเสี ย
จากฟาร์มสุกรแบบผลิตก๊าซชีวภาพที่ได้รับการสนับสนุ น จาก พพ.) น้ าที่ใช้ในกิจกรรมการเลี้ยงสุ กร
(น้ ากิน และน้ าล้างคอก) มาจากน้ าบาดาล กิจ กรรมการใช้น้ าของฟาร์ มมีก ารล้างคอกวันละ 2 ครั้ ง
เช้า-เย็น ปริ มาณน้ าเสี ยจากการคานวณ 7.2 ลูกบาศก์เมตรต่ อวัน ส่ วนของระบบบาบัดน้ าเสี ย มีราง
รวบรวมน้ าเสีย และถังแยกตะกอนหนัก (มูลสุ กร) ออกจากน้ าเสี ยก่อนจะเข้าระบบบาบัด และนามูล
สุกรที่แยกจะนาไปตากไว้ยงั ลานตากตะกอนและส่ งขาย น้ าเสี ยผ่านการแยกของแข็งจะส่ งเข้าระบบ
บาบัดฯ มีการนาก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้นาไปใช้งาน ส่วนน้ าทิ้งที่ผา่ นการบาบัดแล้ว จะส่งไปยังบ่อพักน้ า
ที่เป็ นบ่อดิน ซึ่งมีจานวน 2 บ่อ หลังจากนั้นจะนาในบ่อพักน้ าจะนาไปใช้รดพืชไร่ ภายในฟาร์ม
การน าน้ าทิ้ งไปใช้ประโยชน์ เนื่ อ งจากฟาร์ มมี พ้ืน ที่ ทางการเกษตร น้ าทิ้ ง ในบ่ อพัก น้ า จึ ง
นาไปใช้ในการรดน้ าพืชไร่ ภายในบริ เวณพื้นที่ฟาร์ม ตะกอนสลัดจ์จากระบบบาบัดน้ าเสี ยทางฟาร์ มมี
การสูบตะกอนอย่างสม่าเสมอ และนาไปตากไว้ยงั บ่อตากตะกอนเพื่อนาตะกอนแห้งที่ได้ไปขายเป็ นปุ๋ ย
ทางการเกษตร
การนาก๊าซชีวภาพไปใช้ประโยชน์ เนื่องจากเป็ นฟาร์มขนาดเล็ก การนาก๊าซธรรมชาติที่ผลิตได้
จากระบบบาบัดน้ าเสียไปใช้งานจึงมีใช้เพียงแต่การหุ งต้มภายในครัวเรื อนเท่านั้น ก๊าซที่เหลือได้มีการ
ปล่อยทิ้งสู่บรรยากาศ อย่างไรก็ดีทางฟาร์ มมีความพยายามที่จะนาก๊าซไปใช้ในรู ปพลังงานไฟฟ้ าเพื่อ
กิจการเลี้ยงสุกรและการทาการเกษตร
ทั้งนี้คณะที่ปรึ กษาฯ ได้ลงพื้นที่เพื่อสารวจข้อมูลภาคสนาม ณ ฟาร์ มนายพนม จิตรใจเย็น เมื่อ
วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2552 ดังแสดงในรู ปที่ 3-9 ถึง 3-14 ดังนี้

รูปที่ 3-9 โรงเลี้ยงสุกรของฟาร์มนายพนม จิตรใจเย็น


บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-14
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 3-10 นายพนม จิตรใจเย็น กาลังอธิบายถึงน้ าเสียที่เกิดขึ้นภายในคอกสุกร

รูปที่ 3-11 ระบบผลิตก๊าซชีวภาพของ ฟาร์มนายพนม จิตรใจเย็น

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-15


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูป 3-12 บ่อพักน้ าหลังผ่านระบบบาบัด

รูป 3-13 บ่อตากตะกอน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-16


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูป 3-14 พื้นที่เพาะปลูกภายในฟาร์ม (นาน้ าทิ้งที่ผา่ นระบบไปรดน้ าพืชทางการเกษตร)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-17


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

3.4 ข้ อมูลเบือ้ งต้นของประชาฟาร์ ม


ข้ อมูลเบือ้ งต้นของฟาร์ มสุ กร รายละเอียด
แหล่งที่มาของข้อมูล สัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ และสารวจข้อมูลภาคสนาม
วันที่เก็บข้อมูล 27 มีนาคม พ.ศ. 2552

1. ข้ อมูลทั่วไป
ชื่อผูป้ ระกอบการ นายชัยวัฒน์ ธีรานุวฒั น์
สถานที่ต้งั ของฟาร์ม 29/1 หมู่ 2 ตาบลบ้านใหม่ อาเภอสามพราน
จังหวัดนครปฐม
โทรศัพท์ 086-985-8788
โทรสาร
2. ข้ อมูลการผลิต
ขนาดของฟาร์ มสุกร ฟาร์มขนาดกลาง
จานวนสุกรทั้งหมด (คิดเทียบสุกรขุน) ประมาณ 3,817 ตัว
-สุกรพ่อพันธุ์ 28 ตัว
-สุกรแม่พนั ธุ์ 700 ตัว
-สุกรขุน 1,200 ตัว
-ลูกสุกร 1,600 ตัว
3. ข้ อมูลการใช้ ทรัพยากร
ประเภทของน้ าที่ใช้ในระบบฟาร์ม น้ าบาดาล
-ปริ มาณน้ าเสียที่เกิดขึ้น (คานวณ) 100.8 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
4. ข้ อมูลด้ านการผลิตก๊าซชีวภาพ
-ปริ มาณก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้ (คานวณ) 366.4 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
5. ข้ อมูลด้ านระบบบาบัดนา้ เสีย สถานการณ์ การใช้ งานในปัจจุบันและของเสียอืน่ ๆ
รู ปแบบระบบผลิตก๊าซชีวภาพ แบบ CD+UASB
ปริ มาตรของระบบบาบัดน้ าเสีย 1,000 ลูกบาศก์เมตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-18


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ข้ อมูลเบือ้ งต้นของฟาร์ มสุ กร รายละเอียด


สถานการณ์ใช้งานปัจจุบนั ใช้งานได้ปกติ
ปริ มาณของเสียประเภทอื่นๆ มูลสัตว์ และกากตะกอนสลัดจ์
6. การนาไปใช้ ประโยชน์
การนาก๊าซชีวภาพไปใช้ นาไปใช้ปั่นไฟฟ้ าเท่านั้น
การนาน้ าหลังผ่านการบาบัดไปใช้ ปล่อยทิ้ง และนาไปรดต้นข้าวโพด
การนามูลสัตว์ไปใช้ นาไปขาย
การนากากตะกอนไปใช้ นาไปขาย และใส่ปุ๋ยปลูกข้าวโพด
7. ความสมัครใจในการเข้ าร่ วมโครงการฯ
ยินดีเข้าร่ วมโครงการฯ
8. ความเหมาะสมในเรื่องพืน้ ที่จดั สร้ างแปลงสาธิต ของโครงการการเพิม่ มูลค่านา้ ฯ
มีความเหมาะสม
9. ความสะดวกในการเข้ าเยีย่ มชมพืน้ ที่แปลงสาธิต ของโครงการการเพิม่ มูลค่านา้ ฯ
สะดวกให้เข้าชมพื้นที่

ข้ อมูลของประชาฟาร์ ม
ฟาร์มประชา เป็ นฟาร์มสุกรขนาดกลาง มีจานวนสุกร ประมาณ 3,817 ตัว (จากการคานวณเป็ น
ปริ มาณสุกรขุน) ติดตั้งระบบบาบัดน้ าเสี ยแบบ CD+UASB (Channel Digester and Up flow Anaerobic
Sludge Blanket) ติดตั้งมาประมาณ 3 ปี (ระบบที่ฟาร์มใช้เป็ นระบบบาบัดน้ าเสียจากฟาร์ มสุ กรแบบผลิต
ก๊าซชีว ภาพที่ ได้รับการออกแบบและพัฒนาจาก มหาวิทยาลัย เชี ยงใหม่ ) เป็ นระบบที่ รองรั บน้ าเสี ย
ประมาณ 1,000 ลูกบาศก์เมตร น้ าที่ใช้ในกิจกรรมการเลี้ยงสุ กร (น้ ากิ นและน้ าล้างคอก) มาจากน้ าบ่ อ
ภายในฟาร์ม กิจกรรมการใช้น้ าของฟาร์ มมีการล้างคอกวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ปริ มาณน้ าเสี ยจากการ
คานวณ 100.8 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ส่ ว นของระบบบาบัด น้ าเสี ย มีร างรวบรวมน้ าเสี ย และบ่อแยก
ตะกอนหนัก (มูลสุกร) ออกจากน้ าเสี ยก่อนจะเข้าระบบบาบัด และนามูลที่แยกจะนาไปตากไว้ยงั ลาน
ตากตะกอนและส่ งขาย น้ าเสี ย ผ่านการแยกของแข็งจะส่ งเข้าระบบบาบัด ฯบ่ อคอนกรี ตบนผิว ดิ น
ด้านบนคลุมด้วยพลาสติกพีวีซี (PVC) ภายในบ่อจะมีท้งั บ่อหมักช้าแบบราง (Channel Digester) และบ่อ
หมักเร็ ว UASB น้ าที่ผา่ นการบาบัดแล้ว ทางด้านบนของบ่อหมัก (แผนผังระบบบาบัดน้ าเสี ยผลิตก๊าซ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-19


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ชีวภาพแบบ CD+UASB แสดงในรู ปที่ 3-15) มีการนาก๊าซชีวภาพ ที่ผลิตได้นาไปใช้งาน ส่ วนน้ าทิ้งที่


ผ่านการบาบัดแล้ว จะส่งไปยังบ่อพักเก็บน้ าที่เป็ นบ่อคอนกรี ต ซึ่งเป็ นระบบบาบัดขั้นหลัง ที่อาศัยการ
บาบัดแบบธรรมชาติ ซึ่งระบบบาบัดขั้นหลังนี้จะบาบัดน้ าที่ผา่ นการย่อยจากบ่อหมักแล้ว ให้มีคุณสมบัติ
ตามที่กฎหมายกาหนด และปล่อยทิ้งลงสู่บ่อน้ าธรรมชาติ ส่วนตะกอนสลัดจ์จะสูบมายังลานตากตะกอน
ตะกอนสลัดจ์ที่แห้งแล้วจะนาไปขาย และใส่เป็ นปุ๋ ยเพื่อปลูกพืชภายในฟาร์ม
การนาน้ าทิ้งไปใช้ประโยชน์ เนื่องจาก น้ าทิ้งมีปริ มาณมากและฟาร์ มไม่มีพ้ืนที่ทางการเกษตร
มากนัก น้ าทิ้ งจากระบบบาบัดฯ จึงปล่อยลงสู่ แหล่งน้ า ธรรมชาติ ดังนั้น ฟาร์ มจึงต้องมีร ะบบบาบัด
ขั้นหลังเพื่อทาการบาบัดน้ าต่อจากบ่อหมัก ให้มีลกั ษณะน้ าทิ้งตามที่กฎหมายกาหนด
การนาก๊าซชีวภาพไปใช้ประโยชน์ เนื่องจากเป็ นฟาร์มขนาดกลาง จึงมีการนาก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้
จากระบบบาบัดน้ าเสียไปใช้งานอย่างเป็ นรู ปธรรม ได้แก่ การนาไปใช้เป็ นเชื้อเพลิงสาหรับเครื่ องยนต์
เพื่อนาไปใช้งานกับเครื่ องจักรกลในการปั่นไฟฟ้ าไปใช้งาน กับกิจกรรมภายในฟาร์ ม ซึ่ง ณ ปั จจุบนั มี
การใช้ก๊าซชีวภาพจนหมด และไม่เพียงพอต่อความต้องการ

ที่มา: วรสารเทคโนโลยีกา๊ ซชีวภาพ 4. 2548

รูปที่ 3-15 แผนผังระบบ CD+UASB (Channel Digester and Up flow


Anaerobic Sludge Blanket)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-20


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ทั้งนี้ คณะที่ ปรึ ก ษาฯ ได้ลงพื้น ที่ เพื่อสารวจข้อ มูลภาคสนาม ณ ประชาฟาร์ ม เมื่อวัน ที่ 27
มีนาคม พ.ศ. 2552 ดังแสดงในรู ปที่ 3-16 ถึง 3-21 ดังนี้

รูปที่ 3-16 พื้นที่การเลี้ยงสุกรของประชาฟาร์ม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-21


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 3-17 การรวบรวมน้ าเสียลงสู่บ่อรวมน้ าเสียของประชาฟาร์ม

รูปที่ 3-18 ของแข็งที่แยกออกมาจากน้ าเสียนามาตากไว้ที่ลานตากตะกอน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-22


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 3-19 ระบบบาบัดน้ าเสียผลิตก๊าซชีวภาพแบบ CD+UASB ของประชาฟาร์มและลานตากตะกอน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-23


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 3-20 น้ าทิ้งที่ผา่ นระบบบาบัดน้ าเสียผลิตก๊าซชีวภาพแบบ CD+UASB ของประชาฟาร์ม

รูปที่ 3-21 บ่อพักน้ าทิ้งก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-24


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

3.5 ข้ อมูลเบือ้ งต้นของภาวนาฟาร์ ม


ข้ อมูลเบือ้ งต้นของฟาร์ มสุ กร รายละเอียด
แหล่งที่มาของข้อมูล สัมภาษณ์ทางโทรศัพท์และสารวจภาคสนาม
วันที่เก็บข้อมูล 27 มีนาคม พ.ศ. 2552

1. ข้ อมูลทั่วไป
ชื่อผูป้ ระกอบการ นายเอื้ยง ห้วยหงษ์ทอง
สถานที่ต้งั ของฟาร์ม 73 หมู่ 7 ตาบลห้วยขวาง อาเภอกาแพงแสน
จังหวัดนครปฐม
โทรศัพท์ 089-915-3743
โทรสาร
2. ข้ อมูลการผลิต
ขนาดของฟาร์ มสุกร ฟาร์มขนาดเล็ก
จานวนสุกรทั้งหมด ประมาณ 17 ตัว
-สุกรพ่อพันธุ์ - ตัว
-สุกรแม่พนั ธุ์ 1 ตัว
-สุกรขุน 13 ตัว
-ลูกสุกร 5 ตัว
3. ข้ อมูลการใช้ ทรัพยากร
ประเภทของน้ าที่ใช้ในระบบฟาร์ม น้ าบ่อและน้ าบาดาล
-ปริ มาณน้ าเสียที่เกิดขึ้น (คานวณ) 0.5 ลูกบาศก์เมตร/วัน
4. ข้ อมูลด้ านการผลิตก๊าซชีวภาพ
-ปริ มาณก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้ (คานวณ) 1.7 ลูกบาศก์เมตร/วัน
5. ข้ อมูลด้ านระบบบาบัดนา้ เสีย สถานการณ์ การใช้ งานในปัจจุบันและของเสียอืน่ ๆ
รู ปแบบระบบผลิตก๊าซชีวภาพ แบบไฟเบอร์กลาส
ปริ มาณน้ าเสียที่รองรับ (ค่าออกแบบ) 5 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
สถานการณ์ใช้งานปัจจุบนั ใช้งานได้ปกติ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-25


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ข้ อมูลเบือ้ งต้นของฟาร์ มสุ กร รายละเอียด


ปริ มาณของเสียประเภทอื่นๆ มูลสัตว์ และ ตะกอนสลัดจ์
6. การนาไปใช้ ประโยชน์
การนาก๊าซชีวภาพไปใช้ ใช้เป็ นก๊าซหุงต้ม
การนาน้ าหลังผ่านการบาบัดไปใช้ กักเก็บในบ่อน้ าฟาร์ม และใช้รดน้ าในนาข้าว
การนามูลสัตว์ไปใช้ นาไปขาย และใส่เป็ นปุ๋ ยในนาข้าว
การนาตะกอนสลัดจ์ไปใช้ นาไปขาย และใส่เป็ นปุ๋ ยในนาข้าว
7. ความสมัครใจในการเข้ าร่ วมโครงการฯ
ยินดีเข้าร่ วมโครงการฯ
8. ความเหมาะสมในเรื่องพืน้ ที่จดั สร้ างแปลงสาธิต ของโครงการการเพิม่ มูลค่านา้ ฯ
มีความเหมาะสม
9. ความสะดวกในการเข้ าเยีย่ มชมพืน้ ที่แปลงสาธิต ของโครงการการเพิม่ มูลค่านา้ ฯ
สะดวกในการเข้าเยีย่ มชม

ข้ อมูลเบือ้ งต้นของภาวนาฟาร์ ม

ภาวนาฟาร์ ม เป็ นฟาร์ มสุ กรขนาดเล็ก มีจ านวนสุ ก รประมาณ 17 ตัว (จากการค านวณเป็ น
ปริ มาณสุกรขุน) ติดตั้งระบบบาบัดน้ าเสียแบบไฟเบอร์ กลาส (ระบบที่ฟาร์ มใช้เป็ นระบบบาบัดน้ าเสี ย
จากฟาร์มสุกรแบบผลิตก๊าซชีวภาพที่ได้รับการสนับสนุนจาก พพ.) ซึ่งเป็ นระบบบาบัดน้ าเสียแบบผลิต
ก๊าซชีวภาพสาหรับฟาร์มสุ กรขนาดเล็ก รองรับปริ มาณน้ าเสียไม่เกิน 5 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน น้ าที่ใช้ใน
กิจกรรมการเลี้ยงสุกร (น้ ากินและน้ าล้างคอก) มาจากน้ าบาดาล กิจกรรมการใช้น้ าของฟาร์ มมีการล้าง
คอกวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ปริ มาณน้ าเสียจากการคานวณประมาณ 0.5 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ส่ วนของระบบ
บาบัดน้ าเสีย มีรางรวบรวมน้ าเสีย และถังแยกตะกอนหนัก (มูลสุ กร) ออกจากน้ าเสี ยก่อนจะเข้าระบบ
บาบัดฯ และนามูลสุกรที่แยกจะนาไปตากไว้ยงั ลานตากตะกอนและส่งขาย น้ าเสียผ่านการแยกของแข็ง
จะส่งเข้าระบบบาบัดฯ ซึ่งเป็ นบ่อหมักแบบถังกรองไร้อากาศ (Anaerobic filter tank) ซึ่งเป็ นถังวงขอบ
ซีเมนต์ทรงกลม มีการนาก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้นาไปใช้งาน ส่วนน้ าทิ้งที่ผ่านการบาบัดแล้ว จะส่ งไปยัง
บ่อน้ าธรรมชาติในพื้นที่ของฟาร์ ม ซึ่งมีจานวน 1 บ่อ หลังจากนั้นจะน้ าในบ่อพักน้ าไปใช้ รดพืชไร่ และ
นาข้าว

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-26


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

การน าน้ าทิ้ งไปใช้ประโยชน์ เนื่ อ งจากฟาร์ มมี พ้ืน ที่ ทางการเกษตร น้ าทิ้ ง ในบ่ อพัก น้ าจึ ง
นาไปใช้ในการรดน้ าพืชไร่ และนาข้าวในบริ เวณพื้นที่ฟาร์ม ทางฟาร์ มมีการสูบตะกอนอย่างสม่าเสมอ
ตะกอนสลัด จ์ที่ ได้ จะน าไปตากไว้ยงั บ่ อ ตากตะกอนเพื่อ น าตะกอนแห้งที่ ได้ไ ปขายเป็ นปุ๋ ยทาง
การเกษตรและใช้สาหรับการปลูกข้าว
การนาก๊าซชีวภาพไปใช้ประโยชน์ เนื่องจากเป็ นฟาร์มขนาดเล็ก การนาก๊าซธรรมชาติที่ผลิตได้
จากระบบบาบัดน้ าเสียไปใช้งานจึงใช้เพียงแต่การหุ งต้มภายในครัวเรื อนเท่ านั้น โดยปล่อยก๊าซที่เหลือ
ทิ้งสู่บรรยากาศ
ทั้งนี้ คณะที่ ป รึ ก ษาฯ ได้ลงพื้น ที่ เพื่ อสารวจข้อ มูลภาคสนาม ณ ภาวนาฟาร์ ม เมื่อวัน ที่ 24
มีนาคม พ.ศ. 2552 ดังแสดงในรู ปที่ 3-22 ถึง 3-28 ดังนี้

รูปที่ 3-22 การเลี้ยงสุกรของภาวนาฟาร์ม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-27


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 3-23 ระบบบาบัดน้ าเสียผลิตก๊าซชีวภาพแบบไฟเบอร์กลาส ของ ภาวนาฟาร์ม

รูปที่ 3-24 บ่อรวบรวมน้ าเสียจากฟาร์มสุกร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-28


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 3-25 บ่อตากตะกอน

รูปที่ 3-26 น้ าทิ้งที่ออกจากระบบบาบัดซึ่งปล่อยลงสู่บ่อพักน้ าทิ้งในพื้นที่ของฟาร์ม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-29


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 3-27 บ่อพักน้ าหลังระบบบาบัดของภาวนาฟาร์ม

รูปที่ 3-28 ของแข็ง (มูลสุกร) ที่แยกออกจากน้ าจะนามาตากที่ลานตากตะกอน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-30


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ทั้งนี้สามารถสรุ ปรายละเอียดข้อมูลเบื้องต้นของฟาร์ มสุ กรทั้ง 4 แห่ ง ได้ดงั แสดงในตารางที่


3-2 ซึ่งจากการพิจารณาข้อมูลเบื้องต้นของฟาร์มสุกรทั้ง 4 แห่ง พบว่า เป็ นฟาร์มสุกรที่ได้มีการใช้ระบบ
บาบัดน้ าเสียแบบไม่ใช้ออกซิเจนและผลิตก๊าซชีวภาพ โดยฟาร์ มแต่ละแห่ งจะมีความแตกต่างกัน เช่น
แบบของระบบบาบัด (ได้แก่ บ่อแบบโดมคงที่ แบบ CD+UASB แบบพพ.1 และแบบไฟเบอร์ กลาส)
ที่จะแสดงถึงประสิทธิภาพของระบบกับคุณภาพของน้ าทิ้งที่จะเป็ นตัวแทนน้ าทิ้งจากระบบบาบัดน้ าเสี ย
ผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์ มสุ กรที่นามาศึกษา ขนาดของฟาร์ มที่จะมีผลต่อปริ มาณของน้ าทิ้งที่เกิดขึ้น
จากฟาร์ มในแต่ละวัน นอกจากนี้ ลักษณะการนาก๊าซชีวภาพไปใช้งาน (เช่น หุ งต้ม และปั่ นไฟฟ้ า)
กิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในฟาร์ม ศักยภาพความพร้อมและพื้นที่ของฟาร์ ม โดยทั้งหมดนี้ ลว้ นแล้วแต่เป็ น
ปัจจัยสาคัญที่จะนาไปสู่การพิจารณาแนวทางการเพิ่มมูลค่าให้กบั น้ าทิ้งจากระบบบาบัดน้ าเสี ยผลิตก๊าซ
ชีวภาพ ด้วยลักษณะความแตกต่างจากฟาร์มดังกล่าว น้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กรทั้ง 4 แห่ ง ได้แก่ ฟาร์ มศรี กิจ
ฟาร์มพนม ฟาร์ มประชา และฟาร์ มภาวนา จึงเหมาะสมต่อการนามาศึกษาเพื่อเป็ นตัวแทนน้ าทิ้งจาก
ระบบบาบัดน้ าเสียแบบผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มสุกรขนาดเล็กและขนาดกลาง
ตารางที่ 3-2 สรุ ปรายละเอียดข้อมูลเบื้องต้นของฟาร์มสุกรทั้ง 4 แห่ง

รายละเอียด ฟาร์ ม 1 ฟาร์ ม 2 ฟาร์ ม 3 ฟาร์ ม 4


ศรีกิจฟาร์ ม พนมฟาร์ ม ประชาฟาร์ ม ภาวนาฟาร์ ม

1. ข้ อมูลทั่วไป
ชื่อผู้ประกอบการ นายณรงค์ ศรี กจิ เกษมวัฒน์ นายพนม จิตรใจเย็น นายชัยวัฒน์ ธี รานุวฒั น์ นายเอื้ยง ห้วยหงษ์ทอง

สถานทีต่ ้ังของฟาร์ ม 105 หมู่ 7 ตาบลบ่อพลับ 75/1 หมู่ 11 ตาบลหนองงู 29/1 หมู่ 2 ตาบลบ้านใหม่ 73 หมู่ 7 ตาบลห้วยขวาง
อาเภอเมือง เหลือม อาเภอเมือง จังหวัด อาเภอสามพราน อาเภอกาแพงแสน จังหวัด
จังหวัดนครปฐม นครปฐม จังหวัดนครปฐม นครปฐม
โทรศัพท์ 034-243311 081-372-4468 086-985-8788 089-915-3743

2. ข้ อมูลการผลิต
ขนาดของฟาร์ มสุ กร ฟาร์มขนาดกลาง ฟาร์มขนาดเล็ก ฟาร์มขนาดกลาง ฟาร์มขนาดเล็ก

จานวนสุ กรทั้งหมด ประมาณ 1,762 ตัว ประมาณ 274 ตัว ประมาณ 3,817 ตัว ประมาณ 17 ตัว
(เทียบสุ กรขุน)*
-สุ กรพ่ อพันธุ์ 10 ตัว 1 ตัว 28 ตัว - ตัว

-สุ กรแม่ พันธุ์ 240 ตัว 40 ตัว 700 ตัว 1 ตัว

-สุ กรขุน 800 ตัว 100 ตัว 1,200 ตัว 13 ตัว


-ลูกสุ กร 800 ตัว 200 ตัว 1,600 ตัว 5 ตัว

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-31


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 3-2 สรุ ปรายละเอียดข้อมูลเบื้องต้นของฟาร์มสุกรทั้ง 4 แห่ง (ต่อ)

รายละเอียด ฟาร์ ม 1 ฟาร์ ม 2 ฟาร์ ม 3 ฟาร์ ม 4


ศรีกิจฟาร์ ม พนมฟาร์ ม ประชาฟาร์ ม ภาวนาฟาร์ ม

3. ข้ อมูลการใช้ ทรัพยากร
ประเภทของนา้ ทีใ่ ช้ ใน น้ าบาดาล น้ าบาดาล น้ าบาดาล น้ าบ่อและน้ าบาดาล
ระบบฟาร์ ม
ปริมาณนา้ เสี ยทีเ่ กิดขึน้ 46.5 7.2 100.8 0.5
(ลบ.ม./วัน)**
4. ข้ อมูลด้ านการผลิตก๊ าซชีวภาพ
ปริมาณก๊าซชีวภาพที่ 169.1 26.3 366.4 1.7
ผลิตได้ (ลบ.ม./วัน)
5. ข้ อมูลด้ านระบบบาบัดน้าเสี ย สถานการณ์ การใช้ งานในปัจจุบันและของเสี ยอื่นๆ
รู ปแบบระบบผลิตก๊าซ แบบบ่อโดมคงที่ แบบ พพ. 1 แบบ CD+UASB แบบไฟเบอร์กลาส
ชีวภาพ (Fixed dome) UASB
ปริมาตรนา้ เสี ยทีร่ องรับ / 100 ลบ.ม. 10 ลบ.ม./วัน 1,000 ลบ.ม. 5 ลบ.ม./วัน
ขนาดรองรับนา้ เสี ย
(ค่าออกแบบ)

สถานการณ์ ใช้ งาน ใช้งานได้ปกติ แต่ใช้งานไม่ ใช้งานได้ปกติ วันที่ไป ใช้งานได้ปกติ มีการดูแล ใช้งานได้ปกติ มีการ
ปัจจุบัน สม่าเสมอ ขาดการชักตะกอน สารวจภาคสนาม ณ พื้นที่ สม่าเสมอ มีการชักตะกอน ชักตะกอนทุกวัน
ฟาร์ม พบว่ามีรอยรั่วของ ทุกวัน
ระบบผลิตก๊าซชีวภาพที่บาง
จุด รอการซ่ อมแซม
ปริมาณของเสี ยประเภท มูลสัตว์ มูลสัตว์, ตะกอนสลัดจ์ มูลสัตว์, ตะกอนสลัดจ์ มูลสัตว์, ตะกอน
อืน่ ๆ สลัดจ์
6. การนาไปใช้ ประโยชน์
การนาก๊าซชีวภาพไปใช้ จ่ายเครื่ องยนต์เพื่อขับเครื่ อง ใช้เป็ นก๊าซหุงต้ม และมีกา๊ ซ นาไปใช้ปั่นไฟฟ้ าสาหรับ ใช้เป็ นก๊าซหุงต้ม ละ
กาเนิดไฟฟ้ า และเครื่ องผสม ชีวภาพเหลือ ซึ่ ง กิจกรรมในฟาร์ม มีกา๊ ซชีวภาพเหลือ
อาหารสัตว์ ผูป้ ระกอบการปล่อยก๊าซ ซึ่ งผูป้ ระกอบการ
ส่ วนเกินทิ้งสู่บรรยากาศ ปล่อยก๊าซส่ วนเกินทิ้ง
สู่บรรยากาศ
การนานา้ หลังผ่ านการ นาไปรถน้ าต้นไม้ในฟาร์ม นาไปรดพืชไร่ ภายในฟาร์ม ปล่อยทิ้ง และนาไปรดต้น กักเก็บในบ่อน้ าฟาร์ม
บาบัดไปใช้ และพรมบนหลังคาโรงเลี้ยง เช่น รดต้นข้าวโพด รด ข้าวโพด และ ใช้รดน้ านาข้าว
สุ กรเพื่อระบายความร้อน แปลงผักสวนครัว

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-32


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 3-2 สรุ ปรายละเอียดข้อมูลเบื้องต้นของฟาร์มสุกรทั้ง 4 แห่ ง (ต่อ)

รายละเอียด ฟาร์ ม 1 ฟาร์ ม 2 ฟาร์ ม 3 ฟาร์ ม 4


ศรีกิจฟาร์ ม พนมฟาร์ ม ประชาฟาร์ ม ภาวนาฟาร์ ม
การนามูลสั ตว์ ไปใช้ นาไปขาย นาไปขาย นาไปขาย นาไปขายและใส่ ปุ๋ยใน
นาข้าว
การนาตะกอนสลัดจ์ นาไปขาย (ชักตะกอนไม่ นาไปขาย นาไปขายและใส่ ปุ๋ยใน นาไปขายและใส่ ปุ๋ยใน
สม่าเสมอ) แปลงพืช นาข้าว
7. ความสมัครใจในการเข้ าร่ วมโครงการฯ
ยินดีเข้าร่ วมโครงการฯ ยินดีเข้าร่ วมโครงการฯ ยินดีเข้าร่ วมโครงการฯ ยินดีเข้าร่ วมโครงการฯ

8. ความเหมาะสมในเรื่ องพื้นที่จัดสร้ างแปลงสาธิต ของโครงการการเพิ่มมูลค่ าน้าฯ


มีความเหมาะสม มีความเหมาะสม มีความเหมาะสม มีความเหมาะสม

9. ความสะดวกในการเข้ าเยีย่ มชมพื้นที่แปลงสาธิต ของโครงการการเพิ่มมูลค่ าน้าฯ


มีความเหมาะสม มีความเหมาะสม สะดวกให้เข้าเยี่ยมชม สะดวกให้เข้าเยี่ยมชม

หมายเหตุ :
 การคิดเทียบเป็ นจานวนสุกรขุน โดย สุกรพ่อพันธุ์ สุกรแม่พนั ธุ์ และลูกสุกร ตามตาราง 3-3

ตารางที่ 3-3 วิธีการคานวณน้ าหนักหน่วยปศุสตั ว์


ชนิดสุ กร น้าหนักเฉลี่ย (กิโลกรัม) หน่ วย
สุ กรพ่อพันธุ์ 250 จานวนสุกร(ตัว)  250 นปส.
500
สุ กรแม่พนั ธุ์ 180 จานวนสุกร(ตัว) 180 นปส.
500
สุ กรขุน 60 จานวนสุกร(ตัว)  60 นปส.
500
ลูกสุ กร 15 จานวนสุกร(ตัว) 15 นปส.
500

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-33


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

การคานวณหน่วยปศุสตั ว์น้ าเสียและปริ มาณก๊าซที่เกิดขึ้น (ข้อมูลจากมูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม


http://www.efe.or.th)

ปริ มาณน้ าเสี ยที่เกิดขึ้น = จานวนหน่วยปศุสัตว์ของสุ กร (นปส.) x อัตราการเกิดน้ าเสี ย (ลบ.ม./วัน)


ปริ มาณน้ าเสี ยที่เกิดขึ้น = จานวนหน่วยปศุสัตว์ของสุ กร (นปส.) x อัตราการเกิดก๊าซชีวภาพ (ลบ.ม./วัน)

โดยมีเกณฑ์การคานวณดังนี้
จานวนสุกร 1 หน่วยปศุสตั ว์ (นปส.) หรื อเทียบเท่ าน้ าหนักสุ กรขุน (60 กิโลกรัม) = 8.3 ตัว มี
อัตราการเกิดน้ าเสียและก๊าซชีวภาพ ดังนี้
 ปริ มาณน้ าเสียที่เกิดขึ้น เท่ากับ 0.22 ลบ.ม./วัน หรื อ 220 ลิตร/วัน
 ปริ มาณก๊าซที่เกิดขึ้น เท่ากับ 0.8 ลบ.ม./วัน หรื อ 800 ลิตร/วัน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 3-34


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT003
บทที่ 5
ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนา้
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บทที่ 5
ผลการวิเคราะห์ คุณภาพน้า

5.1 ผลวิเคราะห์ คุณภาพนา้ ของศรีกจิ ฟาร์ ม

5.1.1 ข้ อมูลเบือ้ งต้น


ผูป้ ระกอบกิจการฟาร์มสุกร “ศรี กิจฟาร์ ม” คือ นายณรงค์ ศรี กิจเกษมวัฒน์ โดยฟาร์ มตั้งอยู่ที่
บ้านเลขที่ 105 หมู่ 7 ตาบลบ่อพลับ อาเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ฟาร์มสุ กรเป็ นฟาร์มขนาดกลาง มีสุกร
ทั้งหมดประมาณ 800 ตัว มีแม่พนั ธ์ 240 ตัว
ระบบบาบัดน้ าเสียของฟาร์ ม คือ ระบบผลิตก๊าซชีวภาพแบบบ่อโดมคงที่ (Fixed Dome) ซึ่งมี
อายุการใช้งานมา 5 ปี แล้ว และใช้งานได้ตามปกติ แต่ใช้งานไม่สม่าเสมอ จากการคานวนปริ มาณน้ าเสี ย
ที่เกิดขึ้นในฟาร์ ม พบว่า มีน้ าเสีย 46.5 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน

5.1.2 ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนา้ ตัวอย่าง มีดงั นี้


(1) น้ าดิบ
ผลการวิเคราะห์ พบว่า น้ าดิบของศรี กิจฟาร์มมีลกั ษณะใส ไม่มีสี มีค่า pH 7.47 ซึ่งถือ
ว่าน้ ามีค่า pH เป็ นกลาง มีค่าบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand, BOD) ซีโอดี (Chemical Oxygen
Demand, COD) ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) และมีปริ มาณสาร
แขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) น้อยมาก ส่ ว นปริ มาณโลหะโดยส่ วนใหญ่ มีค่ า
ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ าบาดาลที่ใช้บริ โภค (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก ง) ยกเว้นปริ มาณ
ของเหล็กและสังกะสี มีค่ามากกว่าเกณฑ์มาตรฐานนิดหน่อย และไม่พบการปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย
ชนิด E. Coli. ซึ่งภาพรวมของคุณภาพน้ าดิบของศรี กิจฟาร์ ม ถือว่าไม่เป็ นอันตรายต่อการนาไปใช้ใน
กิจกรรมต่างๆ ภายในฟาร์ม โดยมีผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าดิบดังแสดงในตารางที่ 5-1

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-1


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-1 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าดิบของศรี กิจฟาร์ม


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ หน่ วย
คุณภาพน้าดิบ

1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า ใส ไม่มีสี -
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 7.47 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 5.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 2.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) 4 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 255 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals)
แคลเซี ยม (Ca) 197.513 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) - มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียม (Cr) 0.777 มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) 0.294 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 5.213 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 57.828 มิลลิกรัมต่อลิตร
ฟอสฟอรัส (P) - มิลลิกรัมต่อลิตร
แมกนีเซี ยม (Mg) 152.538 มิลลิกรัมต่อลิตร
ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร
สังกะสี (Zn) 8.546 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli ไม่พบ MPN/100 มิลลิลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-2


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(2) น้ าเสียก่อนการบาบัด
ผลการวิเคราะห์น้ าเสี ย ก่ อนการบาบัด พบว่า น้ าเสี ย ก่อนการบาบัด มีสีน้ าตาลเข้ม
ลักษณะข้น เนื่องจากมีปริ มาณแข็งกึ่งเหลวอยูม่ าก ซึ่งเกิดจากการมีมูลสุ กรปนอยู่ในน้ าเสี ยเป็ นจานวน
มาก มีค่า pH 7.00 ซึ่งถือว่าน้ ามีค่า pH เป็ นกลาง มีค่า BOD เท่ากับ 1,695 มิลลิกรัมต่อลิตร มีค่า COD
เท่ากับ 3,330 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า เท่ากับ 295 มิลลิกรัมต่อลิตร มีปริ มาณสาร
แขวนลอย เท่ ากับ 1,093 มิลลิกรั มต่อลิต ร และค่าความเป็ นด่ าง 900 มิลลิกรัมต่อลิตรของแคลเซียม
คาร์บอเนต ซึ่งถือว่าน้ าเสียก่อนการบาบัด มีปริ มาณอินทรี ยส์ ารอยูเ่ ป็ นจานวนมาก และมีความสกปรกสูง
ส่ วนปริ มาณโลหะที่พบในน้ าเสี ย ก่อนการบาบัด พบว่า มีแคลเซี ยม ทองแดง เหล็ก
โพแทสเซี ยม ฟอสฟอรัส แมกนี เซีย มและสังกะสี ปนอยู่ในน้ าในปริ มาณมาก ซึ่ งปริ มาณโลหะที่พบ
เหล่านี้ ส่ว นใหญ่ มาจากอาหารที่ให้สุก รกิ น และยาปฏิชีวนะที่ ใช้ในการป้ องกัน โรคให้แก่ สุกร เช่ น
วัตถุดิบที่ใช้ผสมในการทาอาหารสัตว์มีส่วนประกอบของเปลือกหอยป่ น กระดูกป่ น และแร่ ธาตุ ดังนั้น
ในการวิเคราะห์คุณภาพน้ าจึงมีโลหะพวกแคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม ปนอยู่ในน้ าในปริ มาณมาก
นอกจากนี้ยงั มีการใช้สารเคมีบางชนิ ด เช่น สารประกอบออกไซด์ของ Zinc oxide (ZnO) และ Copper
sulfate (CuSO4) ผสมในอาหารสุกร เพื่อช่วยกระตุน้ การเจริ ญเติ บโตของสุ กร และเพิ่มระดับภูมิคุม้ กัน
ต่อเชื้อแบคทีเรี ย ชนิ ด E. coli ในลูกสุ กร ดังนั้นด้วยเหตุผลต่างๆ ดังที่ได้กล่าวมาทาให้สามารถตรวจ
วิเคราะห์พบปริ มาณโลหะต่างๆ ในน้ าเสีย เนื่องจากโลหะเหล่านี้ จะถูกขับออกมาทางเป็ นน้ าเสี ยและมูล
ของสุกร ซึ่งรายละเอียดของผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าเสียก่อนการบาบัด แสดงในตารางที่ 5-2

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-3


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-2 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าเสียก่อนการบาบัดของศรี กิจฟาร์ม


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าเสี ย ก่ อน หน่ วย
การบาบัด

1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า น้ าสี น้ าตาลเข้ม -


2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 7.00 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 1695 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 3330 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 295 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) 1,093 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 900 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals)
แคลเซี ยม (Ca) 259.992 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) - มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียม (Cr) 0.391 มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) 13.269 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 128.939 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 506.928 มิลลิกรัมต่อลิตร
ฟอสฟอรัส (P) 46.000 มิลลิกรัมต่อลิตร
แมกนีเซี ยม (Mg) 361.286 มิลลิกรัมต่อลิตร
ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร
สังกะสี (Zn) 114.895 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 4.6 x 107 MPN/100 มิลลิลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-4


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(3) น้ าหลังผ่านการบาบัด
ผลการวิเคราะห์ คุณ ภาพน้ าหลังผ่านการบาบัด พบว่า น้ าหลัง ผ่านการบาบัดมีสี ด า
มีตะกอนปนอยูค่ ่อนข้างมาก มีค่า pH 7.01 ซึ่งถือว่าน้ ามีค่า pH เป็ นกลาง มีค่า BOD ลดลง เท่ากับ 795
มิลลิกรัมต่อลิตร มีค่า COD ลดลง เท่ากับ 2,255 มิลลิกรัมต่อลิตร มีค่าไนโตรเจนทั้งหมดในน้ าลดลง
เท่ากับ 435 มิลลิกรัมต่อลิตร และมีปริ มาณสารแขวนลอย ลดลงเท่ากับ 835 มิลลิกรัมต่อลิตร แต่มีค่า
ความเป็ นด่างเพิ่มขึ้น ในส่วนของปริ มาณโลหะ พบว่า โลหะบางชนิด อาทิ แคลเซียม เหล็ก ฟอสฟอรัส
แมกนีเซียมและสังกะสีมีปริ มาณลดลง นอกจากนี้ยงั พบว่าปริ มาณการปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิ ด
E. Coli ก็ลดลง เนื่ องจากภายในของระบบบาบัดน้ าเสี ย มีความร้อนเกิดขึ้นทาให้เชื้อแบคทีเรี ยตายลง
บางส่วน ดังแสดงผลคุณภาพน้ าหลังผ่านการบาบัดในตารางที่ 5-3
ตารางที่ 5-3 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าหลังผ่านการบาบัดของศรี กิจฟาร์ม
ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าหลังผ่ าน หน่ วย
การบาบัด

1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า น้ าสี ดา มีตะกอนมาก -


2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 7.01 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 795 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 2255 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 435 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) 835 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 1600 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals)
แคลเซี ยม (Ca) 245.809 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) 0.008 มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียม (Cr) - มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) 19.468 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 102.576 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 1470.454 มิลลิกรัมต่อลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-5


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-3 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าหลังผ่านการบาบัดของศรี กิจฟาร์ม (ต่อ)


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าหลังผ่ าน หน่ วย
การบาบัด

ฟอสฟอรัส (P) 45.000 มิลลิกรัมต่อลิตร


แมกนีเซี ยม (Mg) 356.570 มิลลิกรัมต่อลิตร
ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร
สังกะสี (Zn) 70.157 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 9.6 x 106 MPN/100 มิลลิลิตร

เมื่อพิจารณาถึงประสิทธิภาพของระบบบาบัดน้ าเสียชนิดผลิตก๊าซชีวภาพแบบบ่อโดม
คงที่ (Fixed Dome) ของศรี กิจฟาร์ม พบว่า มีอายุการใช้งานมานาน 5 ปี แล้ว เป็ นระบบใช้งานได้ดี แต่ใช้งาน
ไม่สม่าเสมอ ดังนั้นในช่วงเวลาที่ทาการเก็บตัวอย่างมาวิเคราะห์ผลในห้องปฏิบตั ิการจึงพบว่า ระบบ
บาบัดน้ าเสียของศรี กิจฟาร์ม สามารถลดปริ มาณสารอินทรี ยท์ ี่มีอยู่ในน้ าเสี ยได้ในระดับปานกลาง โดย
ผลของการคานวณเพื่อเปรี ยบเทียบการเปลี่ยนแปลงของค่ าพารามิเตอร์ ต่างๆ ระหว่างน้ าเสี ยก่อนการ
บาบัด และน้ าหลังผ่านการบาบัด ดังสมการ

ประสิทธิ ภา พของระบบบาบัดน้ าเสีย 


พารามิเตอร ์์ของน้ าเสียก่อนการบาบัด - พารามิเตอร์์ของน้ าหลังผ่านการบาบัด  x 100
พารามิเตอร ์์ของน้ าเสี
ยก่อนการบาบัด

ซึ่งจากการคานวณประสิทธิภาพของระบบบาบัดน้ าเสียของศรี กิจฟาร์ม พบว่า สามารถ


ทาให้ BOD COD และ TSS ลดลงร้อยละ 53 32 และ 23 ตามลาดับ แต่ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า
และความเป็ นด่างเพิม่ ขึ้น ส่วนการเปลี่ยนแปลงของปริ มาณโลหะ พบว่า โลหะบางชนิ ด อาทิ แคลเซียม
โครเมียม เหล็ก ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม และสังกะสี ลดลง อีกทั้งปริ มาณการปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย
ก็พบว่าลดลงเช่นเดียวกัน รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 5-4 ดังนี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-6


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-4 ผลการคานวนประสิทธิภาพของระบบบาบัดน้ าเสียของศรี กิจฟาร์ม


ประสิ ทธิภาพ
ผลการวิเคราะห์ คุณภาพน้า
ของระบบ
“ศรีกิจฟาร์ ม”
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ บาบัดน้าเสี ย
น้าเสี ยก่ อนการ น้าหลังผ่ านการ
(ร้ อยละ)
บาบัด บาบัด
1 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 1695 795 53.1
2 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 3330 2255 32.3
ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl
3 295 435 -47.5
Nitrogen, TKN)
ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid
4 1,093 835 23.6
Suspension , TSS)
5 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 900 1600 -77.8
6 ปริ มาณโลหะ
แคลเซี ยม (Ca) 259.992 245.809 5.5
แคดเมียม (Cd) - 0.008 -
โครเมียม (Cr) 0.391 - 100.0
ทองแดง (Cu) 13.269 19.468 -46.7
เหล็ก (Fe) 128.939 102.576 20.4
โพแทสเซี ยม (K) 506.928 1470.454 -190.1
ฟอสฟอรัส (P) 46.000 45.000 2.2
แมกนีเซี ยม (Mg) 361.286 356.570 1.3
ตะกัว่ (Pb) - - -
สังกะสี (Zn) 114.895 70.157 38.9
7 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 4.6 x 107 9.6 x 106 79.1

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-7


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(4) น้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้าย


ผลการวิเคราะห์น้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้าย พบว่า ลักษณะโดยทัว่ ไปของน้ า มีสีเหลือง
มีค วามขุ่ น เพี ย งเล็ก น้อ ย และเมื่ อ น าผลวิ เ คราะห์ คุ ณ ภาพน้ าทิ้ ง ในบ่ อ พัก น้ าสุ ด ท้า ย มาพิ จ ารณา
เปรี ยบเทียบระหว่าง “มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร สาหรับฟาร์ มประเภท ข และ ค” (รายละเอียด
แสดงในภาคผนวก ง) ซึ่งพิจารณาพารามิเตอร์ 5 ชนิ ด คือ (1) ค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) (2) ค่าบีโอดี
(Biochemical Oxygen Demand, BOD) (3) ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) (4) ปริ มาณ
ไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) และ (5) ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด
(Total Solid Suspension, TSS) พบว่า น้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายของศรี กิจฟาร์ ม มีค่า pH 8.05 ซึ่งถือว่า
น้ ามีค่า pH เป็ นด่างเล็กน้อย มีค่า BOD เท่ากับ 25 มิลลิกรัมต่อลิตร มีค่า COD เท่ากับ 175 มิลลิกรัมต่อลิตร
มีปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า เท่ากับ 185 มิลลิกรัมต่อลิตร และมีปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด
เท่ากับ 13 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งจากผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายของศรี กิจฟาร์ มมี
ค่าอยูใ่ นเกณฑ์ไม่เกินค่ามาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกร ที่กรมควบคุมมลพิษกาหนด
และเมื่อพิจารณาถึงผลวิเคราะห์คุณ ภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้าย พบว่า มีปริ มาณ
โลหะที่ปนเปื้ อนอยูใ่ นน้ าทิ้งดังกล่าว ซึ่ง “มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร สาหรับฟาร์ มประเภท ข และ
ค” ไม่ได้กาหนดหรื อควบคุมพารามิเตอร์ดงั กล่าว แต่ในด้านของการนาน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายไปใช้
ในกิจการอื่นๆ อาจต้องคานึงถึงความเหมาะสม ซึ่งในการนี้ที่ปรึ กษาได้นา “มาตรฐานการระบายน้ าลง
ทางน้ าชลประทาน และทางน้ าที่ต่ อเชื่ อมกับทางน้ าชลประทานในเขตพื้น ที่ โครงการชลประทาน”
(รายละเอียดแสดงในภาคผนวก ง) มาพิจารณาเปรี ยบเทียบกับผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ า
สุ ด ท้าย พบว่ า ไม่พบโลหะที่ เป็ นอัน ตรายต่ อสิ่ ง แวดล้อม กล่ าวคื อ ไม่พ บปริ มาณโลหะโครเมีย ม
แคดเมียม และตะกัว่ ในน้ าทิ้งฯ แต่พบปริ มาณสังกะสี จานวน 9.8 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งถือว่ามีค่าเกินกว่า
ค่าที่มาตรฐานฯ กาหนด รายละเอียดคุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้ายแสดงดังตารางที่ 5-5

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-8


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-5 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้ายของศรี กิจฟาร์ม


ผลการวิเคราะห์ คุณภาพ
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ น้าทิ้งในบ่ อพักน้า หน่ วย
สุ ดท้ าย

1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า น้ าสี เหลือง ขุ่นเล็กน้อย -


2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 8.05 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 25 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 175 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 185 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) 13 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 885 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals)
แคลเซี ยม (Ca) 149.744 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) - มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียม (Cr) - มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) 0.947 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 10.447 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 495.954 มิลลิกรัมต่อลิตร
ฟอสฟอรัส (P) 10.500 มิลลิกรัมต่อลิตร
แมกนีเซี ยม (Mg) 368.888 มิลลิกรัมต่อลิตร
ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร
สังกะสี (Zn) 9.892 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 2.1 x 105 MPN/100 มิลลิลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-9


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ทั้งนี้ สามารถสรุ ป ผลวิเคราะห์คุ ณ ภาพน้ าทั้ง 4 ประเภท ของศรี กิ จ ฟาร์ ม คื อ ผลวิเคราะห์


คุณภาพน้ าดิบ น้ าเสียก่อนการบาบัด น้ าหลังผ่านการบาบัด และน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้าย ได้ดงั แสดง
ในตารางที่ 5-6
และเมื่อนาผลวิเคราะห์น้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้าย ซึ่งถือเป็ นน้ าที่จะมีการนามาใช้ประโยชน์ต่อ
ในการเพิ่ ม มูล ค่ าน้ าฯ นั้น โดยน าผลวิ เคราะห์ คุ ณ ภาพน้ า มาท าการวิ เ คราะห์ ผ ลเปรี ยบเที ย บกับ
“มาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกร” และ “มาตรฐานการระบายนาทิ้งลงทางชลประทานและทางน้ า
ที่เชื่อมต่อกับทางน้ าชลประทานในเขตพื้นที่ชลประทาน” พบว่า คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายของ
ศรี กิจฟาร์ม มีค่า pH BOD COD ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า และปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด
อยู่ในเกณฑ์ไม่เกิ น มาตรฐานคุ ณ ภาพน้ าทิ้ งจากฟาร์ มสุ ก ร ประเภท ข และ ค ก าหนด ส่ ว นผลการ
วิเคราะห์การปนเปื้ อนของโลหะ พบว่า มีปริ มาณสังกะสี เท่ากับ 9.8 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งเป็ นค่าที่เกินค่า
มาตรฐานการระบายน้ าทิ้งลงทางชลประทานและทางน้ าที่เชื่อมต่อกับทางน้ าชลประทานในเขตพื้นที่
ชลประทาน โดยมีปริ มาณสังกะสี เกิ น ค่ ามาตรฐานก าหนด 1.97 เท่ า (ค่ ามาตรฐานควบคุ มปริ มาณ
สังกะสี ต้องไม่เกิน 5.0 มิลลิกรั มต่อลิตร) นอกจากนี้ ยงั พบว่าปริ มาณการปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย
ชนิ ด E. Coli ก็ลดลง เนื่ องจากภายในของระบบบาบัดน้ าเสี ย มีความร้อนเกิดขึ้นทาให้เชื้อแบคทีเรี ย
ตายลงบางส่วน ดังแสดงในตารางที่ 5-6 และรู ปที่ 5-1

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-10


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-6 สรุ ปผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าตามค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของศรี กิจฟาร์ม


*มาตรฐานน้าทิ้ง
จากฟาร์ มสุกร
สาหรับฟาร์ม เปรียบเทียบผลการ
ประเภท ข และ ค วิเคราะห์ คุณภาพนา้ กับ
ลาดับ พารามิเตอร์ ทวี่ ิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนา้ หน่ วย / ค่ ามาตรฐานนา้ ทิง้ จาก
** มาตรฐานการ ฟาร์ มสุ กร
ระบายน้าลงทาง
ชลประทาน

ประเภทของนา้

นา้ ทิง้ ในบ่อ


นา้ เสียก่ อน นา้ หลังผ่าน
นา้ ดิบ พักนา้
การบาบัด การบาบัด
สุ ดท้ าย

น้ าสี น้ าตาล
เข้ม มี
ลักษณะข้น น้ าสี ดา น้ าสี เหลือง
1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า ใส ไม่มีสี ไม่ระบุค่า -
เนื่องจากมูล มีตะกอน ขุ่นเล็กน้อย
สัตว์ปนอยู่
มาก

- น้ าทิ้งฯ มีค่าความ
เป็ นกรดและด่าง (pH)
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 7.47 7.00 7.01 8.05 5.5-9* ไม่เกินเกณฑ์
มาตรฐานน้ าทิ้งจาก
ฟาร์ มสุ กร

- น้ าทิ้งฯ มีค่า BOD ไม่


บีโอดี (Biochemical Oxygen
3 0.2 1695 795 25 มิลลิกรัมต่อลิตร 100* เกินมาตรฐานน้ าทิ้ง
Demand , BOD)
จากฟาร์ มสุ กร

- น้ าทิ้งฯ มีค่า COD ไม่


ซีโอดี (Chemical Oxygen
4 5.5 3330 2255 175 มิลลิกรัมต่อลิตร 400* เกินมาตรฐานน้ าทิ้ง
Demand , COD)
จากฟาร์ มสุ กร

ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดใน - น้ าทิ้งฯ มีค่า TKN ไม่


5 น้ า (Total Kjeldahl Nitrogen 2.5 295 435 185 มิลลิกรัมต่อลิตร 200* เกินมาตรฐานน้ าทิ้ง
, TKN) จากฟาร์ มสุ กร

ปริ มาณสารแขวนลอย - น้ าทิ้งฯ มีค่า TSS ไม่


6 ทั้งหมด (Total Solid 4 1,093 835 13 มิลลิกรัมต่อลิตร 200* เกินมาตรฐานน้ าทิ้ง
Suspension , TSS) จากฟาร์ มสุ กร

7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 255 900 1600 885 255 ไม่ระบุค่า -

8 ปริ มาณโลหะ (Metals)

แคลเซียม (Ca) 197.513 259.992 245.809 149.744 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า -

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-11


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-6 สรุ ปผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าตามค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของศรี กิจฟาร์ม (ต่อ)


*มาตรฐานน้าทิ้ง
จากฟาร์ มสุกร
สาหรับฟาร์ม เปรียบเทียบผลการ
ประเภท ข และ ค วิเคราะห์ คุณภาพนา้ กับ
ลาดับ พารามิเตอร์ ทวี่ ิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนา้ หน่ วย / ค่ ามาตรฐานนา้ ทิง้ จาก
** มาตรฐานการ ฟาร์ มสุ กร
ระบายน้าลงทาง
ชลประทาน

ประเภทของนา้

นา้ ทิง้ ในบ่อ


นา้ เสียก่ อน นา้ หลังผ่าน
นา้ ดิบ พักนา้
การบาบัด การบาบัด
สุ ดท้ าย

- น้ าทิ้งฯ ไม่พบ
แคดเมียม (Cd) - - 0.008 - มิลลิกรัมต่อลิตร 0.03**
แคดเมียม

- น้ าทิ้งฯ ไม่พบ
โครเมียม (Cr) 0.777 0.391 - - มิลลิกรัมต่อลิตร 0.3*
โครเมียม

- น้ าทิ้งฯ มีค่า
ทองแดง (Cu) 0.294 13.269 19.468 0.947 มิลลิกรัมต่อลิตร 1.0** ทองแดง ไม่เกิน
เกณฑ์มาตรฐาน

เหล็ก (Fe) 5.213 128.939 102.576 10.447 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า -

โพแทสเซียม (K) 57.828 506.928 1470.454 495.954 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า -

ฟอสฟอรัส (P) - 46.000 45.000 10.500 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า -

แมกนีเซียม (Mg) 152.538 361.286 356.570 368.888 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า -


- น้ าทิ้งฯ ไม่พบ
ตะกวั่ (Pb) - - - - มิลลิกรัมต่อลิตร 0.1**
ตะกวั่

- น้ าทิ้งฯ มีค่า สังกะสี


สังกะสี (Zn) 8.546 114.895 70.157 9.892 มิลลิกรัมต่อลิตร 5.0** มากเกินเกณฑ์
มาตรฐาน 1.97 เท่า

การปนเปื้ อนของเชื้อ MPN/100


9 ไม่พบ 4.6 x 107 9.6 x 106 2.1 x 105 ไม่ระบุค่า -
แบคทีเรี ย มิลลิลิตร

หมายเหตุ : * มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุ กร สาหรับฟาร์มประเภท ข และ ค


** มาตรฐานการระบายน้ าลงทางชลประทาน และทางน้ าที่ต่อเชื่อมกับทางน้ าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการ
ชลประทาน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-12


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 5-1 ผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าทั้ง 4 ประเภทของศรี กิจฟาร์ม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-13


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

เมื่อทาการวิเคราะห์ผลเฉพาะค่ าของ BOD COD ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (N)


ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) ในน้ าหลังผ่านการบาบัด และน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้าย พบว่า
ค่าของ BOD COD ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) ลดลงใน
อัตราส่ วนร้อยละ 96 92 57 76 และ 66 ตามลาดับ ซึ่งหมายความว่า การที่น้ าในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายมี
ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ลดลง เนื่ องจากตะกอนส่ วนใหญ่ถูกแยกส่ วนไปในขั้นตอนการบาบัดน้ าเสี ยแล้ว
เพื่อนากากตะกอนไปใช้ทาเป็ นปุ๋ ย ดังนั้นน้ าหลังผ่านการบาบัดจึงมีปริ มาณสารอินทรี ย ์ และสารอนิ นทรี ย ์
ลดลง อีกทั้งด้วยระยะเวลาการปล่อยน้ าไว้ในบ่อพักน้ าสุดท้าย ทาให้ตะกอนส่วนมากเกิดการตกตะกอน
ลงสู่ส่วนล่างของบ่อพักน้ า ทาให้น้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายมีลกั ษณะค่อนข้างใส อีกทั้งมีปริ มาณ BOD
COD ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) ลดลงร้อยละ 57-96
ดังแสดงในตารางที่ 5-7 และ ในรู ปที่ 5-2
ตารางที่ 5-7 ผลการเปลี่ยนแปลงของน้ าหลังผ่านการบาบัด และน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้าย เฉพาะ
พารามิเตอร์ BOD COD ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (N) ฟอสฟอรัส (P) และ
โพแทสเซียม (K) ของ “ศรี กิจฟาร์ม”

ผลการวิเคราะห์ คุณภาพน้า ร้ อยละของการ


“ศรีกิจฟาร์ ม” เปลี่ยนแปลง
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์
น้าหลังผ่ านการ น้าทิ้งในบ่ อพัก
บาบัด น้าสุ ดท้ าย

1 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand, BOD) 795 25 96.86


2 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) 2255 175 92.24
ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl
3 435.000 185.000 57.47
Nitrogen, TKN)
4 ฟอสฟอรัส (P) 45.000 10.500 76.67
5 โพแทสเซี ยม (K) 1470.454 495.954 66.27

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-14


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 5-2 การเปรี ยบเทียบผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ า เฉพาะพารามิเตอร์ BOD COD TKN P และ K


ของ “ศรี กิจฟาร์ม”

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-15


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

5.1.3 สรุปผลวิเคราะห์ คุณภาพนา้ ของศรีกจิ ฟาร์ ม

ตัวอย่ างน้า ผลการวิเคราะห์ คุณภาพน้า ความเหมาะสม


ในการนาไปใช้ ประโยชน์

1. น้าดิบ - น้ าดิบ มีค่า เหล็กและสังกะสี มากเกิน - สามารถนาไปใช้ในกิจกรรมต่างๆ


เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ าบาดาลที่ใช้ ของฟาร์ มได้ และไม่เป็ นอันตรายต่อ
บริ โภค 10.42 และ 1.70 เท่า ตามลาดับ การบริ โภค
- ปริ มาณ สังกะสี ในน้ าดิบ ถือว่าอยู่
ในเกณฑ์อนุโลมสู งสุ ด

2. น้าเสี ยก่ อนบาบัด - น้ ามีความสกปรกสู งมาก ต้องนาไปผ่าน - ไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ แหล่งน้ า


ระบบบาบัดน้ าเสี ยก่อนปล่อยลงสู่ แหล่งน้ า สาธารณะได้
สาธารณะ

3. น้าหลังผ่ านการบาบัด - น้ ายังคงมีความสกปรกอยูบ่ า้ ง - ไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ แหล่งน้ า


- ระบบบาบัดน้ าเสี ย สามารถลดค่า BOD สาธารณะได้
และ COD ได้เพียงร้อยละ 53 และ 32
ตามลาดับ

4. น้าทิ้งในบ่ อพักน้าสุ ดท้ าย - ผลการวิเคราะห์ พบว่า มีค่าอยูใ่ นเกณฑ์ - สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ แหล่งน้ า


มาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร สาธารณะได้
- มีธาตุอาหารที่มีประโยชน์ต่อพืช คือ มีค่า - มีปริ มาณสังกะสี มากเกินเกณฑ์
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซี ยม มาตรฐานน้ าทิ้งลงทางชลประทาน
เป็ นสัดส่ วน 1.97 เท่า
N:P:K = 18:1:48
- ไม่พบปริ มาณโลหะที่เป็ นอันตรายต่อ
สิ่ งแวดล้อม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-16


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

5.2 ผลวิเคราะห์ คุณภาพนา้ ของฟาร์ ม นายพนม จิตรใจเย็น

5.2.1 ข้ อมูลเบือ้ งต้น


ผูป้ ระกอบกิ จ การฟาร์ มสุ ก ร คื อ นายพนม จิ ตรใจเย็น ซึ่ ง ที่ ต้ งั ของฟาร์ ม อยู่ที่ 75/1 หมู่ 11
ตาบลหนองงูเหลือม อาเภอเมือง จังหวัดนครปฐม เป็ นฟาร์ มขนาดเล็ก มีสุกรทั้งหมดประมาณ 350 ตัว
มีแม่พนั ธุ์ 40 ตัว
ระบบบาบัดน้ าเสี ยของฟาร์ ม คือ ระบบผลิตก๊าซชีวภาพแบบพพ. 1 มีอายุการใช้งาน 4 ปี มีการ
ใช้งานได้ตามปกติ และใช้งานสม่าเสมอ มีการชักตะกอนออกจากระบบบาบัดน้ าสม่าเสมอ 2 วันต่อครั้ง
จากการคานวณปริ มาณน้ าเสี ยที่เกิดขึ้นในฟาร์ มของนายพนม จิตรใจเย็น พบว่า มีปริ มาณน้ าเสี ย 7.2
ลูกบาศก์เมตรต่อวัน

5.2.2 ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนา้ ตัวอย่าง มีดงั นี้


(1) น้ าดิบ
ผลการวิเคราะห์ พบว่า น้ าดิบของฟาร์ ม นายพนม จิตรใจเย็น พบว่า น้ ามีลกั ษณะใส
ไม่มีสี มีค่า pH 7.31 ซึ่งถือว่าน้ ามีค่า pH เป็ นกลาง มีค่าบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand, BOD)
ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen,
TKN) และมีปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) น้อยมาก ส่วนปริ มาณโลหะ
โดยส่ ว นใหญ่ มีค่ าไม่เกิ นเกณฑ์มาตรฐานคุ ณภาพน้ าบาดาลที่ใช้บริ โภค ยกเว้นมีปริ มาณเหล็ก (Fe)
เท่ากับ 0.605 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ าบาดาลที่ใช้บริ โภค (รายละเอียดแสดง
ในภาคผนวก ง) ที่ ก าหนดให้ มี เ หล็ ก ในน้ าบาดาลที่ ใ ช้บ ริ โภค ไม่ เ กิ น 0.5 มิ ล ลิ ก รั ม ต่ อ ลิ ต ร
โดยรายละเอียดของผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าดิบของฟาร์ม นายพนม จิตรใจเย็น แสดงในตารางที่ 5-8
ซึ่งจากผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าดิบ แสดงให้เห็นว่า สามารถนาน้ าดิบไปใช้เพื่อการบริ โภค
หรื อใช้ในกิจกรรมต่างๆ ของฟาร์มได้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-17


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-8 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าดิบของฟาร์ม นายพนม จิตรใจเย็น


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ หน่ วย
คุณภาพน้าดิบ

1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า ใส ไม่มีสี -
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 7.31 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 0.35 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 5.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 1 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) 1 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 175 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals)
แคลเซี ยม (Ca) 163.715 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) - มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียม (Cr) - มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) 0.379 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 0.605 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 39.238 มิลลิกรัมต่อลิตร
ฟอสฟอรัส (P) - มิลลิกรัมต่อลิตร
แมกนีเซี ยม (Mg) 133.021 มิลลิกรัมต่อลิตร
ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร
สังกะสี (Zn) 1.515 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli ไม่พบ MPN/100 มิลลิลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-18


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(2) น้ าเสียก่อนการบาบัด
ผลการวิเคราะห์น้ าเสียก่อนการบาบัด พบว่า น้ าเสี ยก่อนการบาบัดมีลกั ษณะเป็ นน้ าสี
น้ าตาลเทา ลักษณะข้นไปด้วยของแข็งกึ่งเหลว ซึ่งเกิดจากมีมลู สุกรปนอยูใ่ นน้ าเสียเป็ นจานวนมาก มีค่า
pH 8.15 ซึ่งถือว่าน้ ามีค่า pH ค่อนข้างเป็ นด่าง มีค่า BOD เท่ากับ 200 มิลลิกรัมต่อลิตร มีค่า COD เท่ากับ
1,680 มิลลิ ก รั ม ต่ อลิ ต ร ค่ าไนโตรเจนทั้ง หมดในน้ า เท่ า กับ 505 มิล ลิก รั มต่ อ ลิต ร มีป ริ มาณสาร
แขวนลอย เท่ ากับ 335 มิลลิกรั มต่ อลิต ร และค่าความเป็ นด่ าง 2,695 มิลลิกรัมต่อลิตรของแคลเซียม
คาร์บอเนต ซึ่งถือว่าน้ าเสียก่อนการบาบัด มีอินทรี ยส์ ารอยูเ่ ป็ นจานวนมาก และมีความสกปรกสูง
ส่ วนปริ มาณโลหะที่พบในน้ าเสี ยก่ อนการบาบัด พบว่า มีโ ลหะแคลเซียม โครเมียม
ทองแดง เหล็ก โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียมและสังกะสี ปนอยู่ในน้ าในปริ มาณมาก แต่ ไม่พบ
โลหะแคดเมียมและตะกัว่ ซึ่งปริ มาณโลหะที่พบเหล่านี้ ส่วนใหญ่เกิดขึ้นเนื่ องจากอาหารที่ให้สุกรกิน
และยาปฏิชีวนะที่ ใช้ในการป้ องกัน โรคให้แก่ สุก ร เช่น วัตถุดิ บที่ ใช้ผสมในการทาอาหารสัต ว์ ซึ่งมี
ส่วนประกอบของเปลือกหอยป่ น กระดูกป่ น และแร่ ธาตุ ดังนั้นในการวิเคราะห์คุณภาพน้ าจึงมีโลหะ
พวก แคลเซียม แมกนี เซียม ปนอยู่ในน้ าในปริ มาณมาก นอกจากนี้ ย งั มีก ารใช้สารเคมีบางชนิ ด เช่ น
สารประกอบออกไซด์ของ Zinc oxide (ZnO) และ Copper sulfate (CuSO4) ผสมในอาหารสุกร เพื่อช่วย
กระตุ ้นการเจริ ญเติ บโตของสุ กร และเพิ่มระดับภูมิคุม้ กันต่ อเชื้อแบคทีเรี ย ชนิ ด E. coli ในลูกสุ ก ร
ดังนั้นด้วยเหตุผลต่างๆ ดังที่ได้กล่าวมาทาให้สามารถตรวจวิเคราะห์พบปริ มาณโลหะต่างๆ ในน้ าเสี ย
เนื่ องจากโลหะเหล่ านี้ จะถูก ขับออกมาทางเป็ นน้ าเสี ย และมูลของสุ ก ร ซึ่ งรายละเอีย ดของผลการ
วิเคราะห์คุณภาพน้ าเสียก่อนการบาบัดแสดงดังตารางที่ 5-9

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-19


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-9 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าเสียก่อนการบาบัดฯ ของฟาร์ม นายพนม จิตรใจเย็น


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าเสี ยก่ อน หน่ วย
การบาบัด

น้ าสี น้ าตาลเทา มี
1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า -
ลักษณะข้น
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 8.15 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 200 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 1680 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 505 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) 335 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 2695 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals)
แคลเซี ยม (Ca) 108.983 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) - มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียม (Cr) 1.029 มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) 7.972 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 49.033 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 497.761 มิลลิกรัมต่อลิตร
ฟอสฟอรัส (P) 24.000 มิลลิกรัมต่อลิตร
แมกนีเซี ยม (Mg) 295.814 มิลลิกรัมต่อลิตร
ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร
สังกะสี (Zn) 65.508 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 1.5 x 107 MPN/100 มิลลิลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-20


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(3) น้ าหลังผ่านการบาบัด
ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าหลังผ่านการบาบัด พบว่า น้ าหลังผ่านการบาบัดมีลกั ษณะ
เป็ นน้ าสี น้ าตาลเข้ม มีตะกอนปนอยู่ค่อนข้างมาก มีค่า pH 8.07 ซึ่งถือว่าน้ ามีค่า pH ค่อนข้างเป็ นด่าง
มีค่า BOD เท่ากับ 235 มิลลิกรัมต่อลิตร มีค่า COD ลดลง เท่ากับ 1,445 มิลลิกรัมต่อลิตร มีค่าไนโตรเจน
ทั้งหมดในน้ าลดลง เท่ า กับ 405 มิล ลิก รั ม ต่ อลิ ต ร และมีปริ ม าณสารแขวนลอยลดลง เท่ ากับ 168
มิลลิกรัมต่อลิตร แต่มีค่าความเป็ นด่างเพิ่มขึ้น ในส่ วนของปริ มาณโลหะ พบว่า โลหะบางชนิ ด อาทิ
แคลเซียม ทองแดง เหล็ก ฟอสฟอรัส แมกนี เซียมและสังกะสี มีปริ มาณลดลง ดังแสดงผลคุณภาพน้ า
หลังผ่านการบาบัดในตารางที่ 5-10

ตารางที่ 5-10 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าหลังผ่านการบาบัดของฟาร์ม นายพนม จิตรใจเย็น


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าหลัง หน่ วย
ผ่ านการบาบัด

น้ าสี น้ าตาลเข้ม มี
1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า -
ตะกอน
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 8.07 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 235 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 1445 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 405 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) 168 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 2,270 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals)
แคลเซี ยม (Ca) 90.550 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) - มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียม (Cr) - มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) 2.510 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 13.359 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 483.410 มิลลิกรัมต่อลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-21


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-10 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าหลังผ่านการบาบัดของฟาร์ม นายพนม จิตรใจเย็น (ต่อ)


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าหลัง หน่ วย
ผ่ านการบาบัด

ฟอสฟอรัส (P) 16.500 มิลลิกรัมต่อลิตร


แมกนีเซี ยม (Mg) 270.666 มิลลิกรัมต่อลิตร
ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร
สังกะสี (Zn) 16.352 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 2.1 x 105 MPN/100 มิลลิลิตร

เมื่อพิจารณาถึงประสิ ทธิภาพของระบบบาบัดน้ าเสี ยชนิ ดผลิตก๊าซชี วภาพแบบ พพ.1


พบว่า ระบบบาบัดน้ าเสี ยมีอายุการใช้งานมานาน 4 ปี เป็ นระบบใช้งานได้ ตามปกติ และมีการใช้งาน
สม่าเสมอ ซึ่งในวันที่ไปเก็บตัวอย่างเกิดการรั่วซึมของระบบบาบัดน้ าเสียเล็กน้อย อีกทั้งมีการชักตะกอน
ออกจากระบบบาบัดน้ าเสียสม่าเสมอ ประมาณ 2 วันต่อครั้ง
ซึ่งผลของการคานวนประสิทธิภาพของระบบบาบัดน้ าเสียของฟาร์ม นายพนม จิตรใจเย็น
ทาได้โดยการเปรี ยบเทียบผลวิเคราะห์ของค่าการเปลี่ยนแปลงของค่าพารามิเตอร์ ต่างๆ ระหว่างน้ าเสี ย
ก่อนการบาบัด และน้ าหลังผ่านการบาบัด ดังสมการ

ประสิทธิ ภา พของระบบบาบัดน้ าเสีย 


พารามิเตอร ์์ของน้ าเสียก่อนการบาบัด - พารามิเตอร์์ของน้ าหลังผ่านการบาบัด  x 100
พารามิเตอร ์์ของน้ าเสี
ยก่อนการบาบัด

พบว่า ระบบบาบัดน้ าเสียของฟาร์มนายพนม จิตรใจเย็น มีประสิ ทธิภาพในการบาบัด


น้ าเสียไม่ค่อยสมบูรณ์ โดยพิจารณาจาก ค่า BOD และ COD ของน้ าเสี ยก่อนการบาบัดและน้ าเสี ยหลัง
การบาบัด มีค่าความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการชักตะกอนภายในระบบบาบัดน้ าเสีย
ออกมาบ่อยเกิน ไป ทาให้จุลินทรี ย ย์ งั ย่อยสลายสารอินทรี ยไ์ ม่หมด อีกทั้งทาให้ปริ มาณจุ ลิน ทรี ยใ์ น
ระบบลดลงด้วย ซึ่งเหตุดงั กล่าวทาให้มีปริ มาณ BOD และ COD ของน้ าเสี ยก่อนการบาบัดและน้ าเสี ย
หลังการบาบัด แทบไม่มีค วามแตกต่างกัน ส่ ว นปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า และปริ มาณสาร
แขวนลอยทั้งหมด ลดลงร้อยละ 19 และ 50 ตามลาดับ ส่ วนปริ มาณโลหะ พบว่า ปริ มาณโลหะในน้ า
หลังการบาบัดมีค่าลดลงทุกชนิด รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 5-11 ดังนี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-22


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-11 ผลการคานวนประสิทธิภาพของระบบบาบัดน้ าเสียของฟาร์มนายพนม จิตรใจเย็น


ประสิ ทธิภาพ
ผลการวิเคราะห์ คุณภาพน้า
ของระบบ
“ฟาร์ มนายพนม จิตรใจเย็น”
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ บาบัดน้าเสี ย
น้าเสี ยก่ อนการ น้าหลังผ่ านการ
(ร้ อยละ)
บาบัด บาบัด
1 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 200 235 -17.5
2 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 1680 1445 14.0
ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl
3 505 405 19.8
Nitrogen, TKN)
ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid
4 335 168 49.9
Suspension , TSS)
5 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 2695 2270 15.8
6 ปริ มาณโลหะ
แคลเซี ยม (Ca) 108.983 90.55 16.9
แคดเมียม (Cd) - - -
โครเมียม (Cr) 1.029 - 100.0
ทองแดง (Cu) 7.972 2.51 68.5
เหล็ก (Fe) 49.033 13.359 72.8
โพแทสเซี ยม (K) 497.761 483.41 2.9
ฟอสฟอรัส (P) 24 16.5 31.3
แมกนีเซี ยม (Mg) 295.814 270.666 8.5
ตะกัว่ (Pb) - - -
สังกะสี (Zn) 65.508 16.352 75.0
7 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 1.5 x 107 2.1 x 105 98.6

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-23


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(4) น้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้าย


ผลการวิเคราะห์น้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้าย พบว่า ลักษณะโดยทัว่ ไปของน้ า มีสีเหลืองเหลือง
มีความขุ่น เพียงเล็กน้อย มีค่า pH 8.53 ซึ่งถือว่าน้ ามีค่า pH เป็ นด่ างเล็กน้อย มีค่า BOD เท่ากับ 215
มิลลิกรัมต่อลิตร มีค่า COD เท่ากับ 1,395 มิลลิกรัมต่อลิตร มีปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า เท่ากับ
395 มิลลิกรัมต่อลิตร และมีปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด เท่ากับ 75 มิลลิกรัมต่อลิตร รายละเอียดแสดง
ดังตารางที่ 5-12
ซึ่งจากผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายของฟาร์ มนายพนม จิตรใจเย็น
มีค่า pH และปริ มาณสารแขวนลอย ไม่เกินเกณฑ์ค่ามาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกร ที่กรมควบคุมมลพิษ
กาหนด แต่มีค่า BOD COD และปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า มีค่า เกินเกณฑ์ค่ามาตรฐานน้ าทิ้งจาก
ฟาร์มสุกร ที่กรมควบคุมมลพิษกาหนด ทั้งนี้เนื่องมาจากระบบบาบัดน้ าเสียของฟาร์ มนายพนม จิตรใจเย็น
ด้อยประสิทธิภาพในการบาบัดน้ าเสีย ซึ่งส่งผลทาให้น้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้ายมีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐาน
น้ าทิ้งของฟาร์มสุกร
ตารางที่ 5-12 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้ายของฟาร์ม นายพนม จิตรใจเย็น
ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าหลัง หน่ วย
ผ่ านการบาบัด

น้ าสี น้ าตาลเหลือง
1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า -
ขุ่นเล็กน้อย
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 8.53 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 215 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 1395 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 395 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) 75 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 1785 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals)
แคลเซี ยม (Ca) 112.685 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) - มิลลิกรัมต่อลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-24


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-12 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้ายของฟาร์ม นายพนม จิตรใจเย็น (ต่อ)


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าหลัง หน่ วย
ผ่ านการบาบัด

โครเมียม (Cr) - มิลลิกรัมต่อลิตร


ทองแดง (Cu) 2.059 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 270.666 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 489.057 มิลลิกรัมต่อลิตร
ฟอสฟอรัส (P) 13.500 มิลลิกรัมต่อลิตร
แมกนีเซี ยม (Mg) 307.338 มิลลิกรัมต่อลิตร
ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร
สังกะสี (Zn) 10.918 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 1.5 x 105 MPN/100 มิลลิลิตร

ทั้งนี้สามารถสรุ ปผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าทั้ง 4 ประเภท คือ ผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าดิบน้ าเสี ย


ก่อนการบาบัด น้ าหลังผ่านการบาบัด และน้ าทิ้ งในบ่ อพักน้ าสุ ดท้าย ของฟาร์ มนายพนม จิตรใจเย็น
ดังแสดงในตารางที่ 5-13 และรู ปที่ 5-2
รวมทั้งเมื่อนาผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้าย มาพิจารณาเปรี ยบเทียบระหว่าง
“มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกร สาหรับฟาร์มประเภท ข และ ค” (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก ง) ซึ่ง
พิจารณาพารามิเตอร์ 5 ชนิด คือ (1) ค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) (2) ค่าบีโอดี (Biochemical Oxygen
Demand, BOD) (3) ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) (4) ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า
(Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) และ (5) ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS)
พบว่า น้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายของฟาร์ มนายพนม จิตรใจเย็น มีค่า pH และปริ มาณสารแขวนลอย
ไม่เกินเกณฑ์ค่ามาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร ที่กรมควบคุมมลพิษกาหนด แต่มีค่า BOD COD และ
ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า มีค่าเกินเกณฑ์ค่ามาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร ที่กรมควบคุมมลพิษ
กาหนด 2.15 3.48 และ 1.97 เท่า ตามลาดับ ซึ่งโดยภาพรวมแล้วไม่สามารถนาน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าของ
ฟาร์มนายพนม จิตรใจเย็น ปล่อยลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะได้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-25


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

และเมื่อพิจารณาถึงผลวิเคราะห์คุ ณภาพน้ าทิ้ งในบ่อพัก น้ าสุ ดท้าย พบว่า มีปริ มาณโลหะที่


ปนเปื้ อนอยูใ่ นน้ าทิ้งดังกล่าว ซึ่ง “มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกร สาหรับฟาร์มประเภท ข และ ค” ไม่ได้
กาหนดหรื อควบคุมพารามิเตอร์ดงั กล่าว แต่ในด้านของการนาน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้ายไปใช้ในกิจการ
อื่น ๆ อาจต้องค านึ งถึงความเหมาะสม ซึ่งในการนี้ ที่ ปรึ ก ษาได้น า “มาตรฐานการระบายน้ าลงทาง
น้ า ชลประทาน และทางน้ า ที่ ต่ อเชื่ อ มกับ ทางน้ าชลประทานในเขตพื้น ที่ โ ครงการชลประทาน”
(รายละเอียดแสดงในภาคผนวก ง) มาพิจารณาเปรี ย บเทียบกับผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่ อพัก
น้ าสุดท้าย พบว่า น้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้ายของฟาร์ มนายพนม จิตรใจเย็น ไม่พบโลหะที่เป็ นอันตราย
ต่อสิ่งแวดล้อม กล่าวคือ ไม่พบปริ มาณโลหะโครเมียม แคดเมียม และตะกัว่ ในน้ าทิ้งฯ แต่พบปริ มาณ
ทองแดง จานวน 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร และพบปริ มาณ สังกะสี จานวน 10.9 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งถือว่ามี
ค่าเกินกว่าค่าที่มาตรฐานฯ กาหนด 2.00 และ 2.18 เท่า ตามลาดับ (ค่ามาตรฐานควบคุมปริ มาณทองแดง
ต้องไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร และปริ มาณสังกะสี ต้องไม่เกิน 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร) นอกจากนี้ ย งั
พบว่าปริ มาณการปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli ก็ลดลง เนื่ องจากภายในของระบบบาบัดน้ าเสี ย
มีความร้อนเกิดขึ้นทาให้เชื้อแบคทีเรี ยตายลงบางส่วน ดังแสดงในตารางที่ 5-13

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-26


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-13 สรุ ปผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าตามค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของฟาร์มนายพนม จิตรใจเย็น


*มาตรฐานน้าทิ้ง
จากฟาร์ มสุกร
สาหรับฟาร์ม เปรียบเทียบผลการ
ประเภท ข และ ค วิเคราะห์ คุณภาพนา้ กับ
ลาดับ พารามิเตอร์ ทวี่ ิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนา้ หน่ วย / ค่ ามาตรฐานนา้ ทิง้ จาก
** มาตรฐานการ ฟาร์ มสุ กร
ระบายน้าลงทาง
ชลประทาน

ประเภทของนา้

นา้ ทิง้ ในบ่อ


นา้ เสียก่ อน นา้ หลังการ
นา้ ดิบ พักนา้
การบาบัด บาบัด
สุ ดท้ าย

น้ าสี น้ าตาล
น้ าสี น้ าตาล น้ าสี น้ าตาล
เทา มี
1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า ใส ไม่มีสี เข้ม เหลือง ไม่ระบุค่า -
ลักษณะข้น
มีตะกอน ขุ่นเล็กน้อย
จากมูลสัตว์

- น้ าทิ้งฯ มีค่า pH อยู่ใน


2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 7.31 8.15 8.07 8.53 5.5-9*
เกณฑ์มาตรฐาน

- น้ าทิ้งฯ มีค่า BOD เกิน


บีโอดี (Biochemical Oxygen
3 0.35 200 235 215 มิลลิกรัมต่อลิตร 100* มาตรฐานน้ าทิ้งจาก
Demand , BOD)
ฟาร์ มสุ กร 2.15 เท่า

- น้ าทิ้งฯ มีค่า COD เกิน


ซีโอดี (Chemical Oxygen
4 5.5 1680 1445 1395 มิลลิกรัมต่อลิตร 400* มาตรฐานน้ าทิ้งจาก
Demand , COD)
ฟาร์ มสุ กร 3.48 เท่า

ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดใน - น้ าทิ้งฯ มีค่า TKN เกิน


5 น้ า (Total Kjeldahl Nitrogen 1 505 405 395 มิลลิกรัมต่อลิตร 200* มาตรฐานน้ าทิ้งจาก
, TKN) ฟาร์ มสุ กร 1.97 เท่า

ปริ มาณสารแขวนลอย - น้ าทิ้งฯ มีค่า TSS ไม่


6 ทั้งหมด (Total Solid 1 335 168 75 มิลลิกรัมต่อลิตร 200* เกินมาตรฐานน้ าทิ้ง
Suspension , TSS) จากฟาร์ มสุ กร

7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 175 2695 2270 1785 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า -

8 ปริ มาณโลหะ (Metals)

แคลเซียม (Ca) 163.715 108.983 90.550 112.685 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า -


แคดเมียม (Cd) - - - - มิลลิกรัมต่อลิตร 0.03** -

โครเมียม (Cr) - 1.029 - - มิลลิกรัมต่อลิตร 0.3*


- น้ าทิ้งฯ มีค่า ทองแดง
ทองแดง (Cu) 0.379 7.972 2.510 2.059 มิลลิกรัมต่อลิตร 1.0**
เกินมาตรฐาน 2.00 เท่า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-27


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-13 สรุ ปผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าตามค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของฟาร์มนายพนม จิตรใจเย็น


*มาตรฐานน้าทิ้ง
จากฟาร์ มสุกร
สาหรับฟาร์ม เปรียบเทียบผลการ
ประเภท ข และ ค วิเคราะห์ คุณภาพนา้ กับ
ลาดับ พารามิเตอร์ ทวี่ ิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนา้ หน่ วย / ค่ ามาตรฐานนา้ ทิง้ จาก
** มาตรฐานการ ฟาร์ มสุ กร
ระบายน้าลงทาง
ชลประทาน

ประเภทของนา้

นา้ ทิง้ ในบ่อ


นา้ เสียก่ อน นา้ หลังการ
นา้ ดิบ พักนา้
การบาบัด บาบัด
สุ ดท้ าย

เหล็ก (Fe) 0.605 49.033 13.359 270.666 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า -


โพแทสเซียม (K) 39.238 497.761 483.410 489.057 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า -

ฟอสฟอรัส (P) - 24.000 16.500 13.500 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า -

แมกนีเซียม (Mg) 133.021 295.814 270.666 307.338 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า -


ตะกวั่ (Pb) - - - - มิลลิกรัมต่อลิตร 0.1** -

- น้ าทิ้งฯ มีค่า สังกะสี


สังกะสี (Zn) 1.515 65.508 16.352 10.918 มิลลิกรัมต่อลิตร 5.0** เกินเกณฑ์มาตรฐาน
2.18 เท่า

การปนเปื้ อนของเชื้อ MPN/100


9 ไม่พบ 1.5x107 2.1x105 1.5x105
แบคทีเรี ย มิลลิลิตร

หมายเหตุ : * มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุ กร สาหรับฟาร์มประเภท ข และ ค


** มาตรฐานการระบายน้ าลงทางชลประทาน และทางน้ าที่ต่อเชื่อมกับทางน้ าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการ
ชลประทาน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-28


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 5-3 ผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าทั้ง 4 ประเภทของฟาร์มนายพนม จิตรใจเย็น

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-29


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

เมื่อทาการวิเคราะห์ผลเฉพาะค่ าของ BOD COD ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (N)


ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) ในน้ าหลังผ่านการบาบัด และน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้าย พบว่า
ค่าของ BOD COD ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (N) และฟอสฟอรัส (P) ลดลงในอัตราส่ วนร้อยละ
8.51 3.46 2.47 และ 18.18 ตามลาดับ ส่วนโพแทสเซียม (K) พบว่ามีปริ มาณเพิ่มขึ้น ซึ่งหมายความว่า
การที่น้ าในบ่อพักน้ าสุดท้ายมีค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ลดลงไม่มาก หรื อกล่าวได้ว่า น้ าหลังผ่านการบาบัด
และน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้ายมีสมบัติทางเคมีใกล้เคียงกัน และเมื่อนาไปเปรี ยบเทียบกับมาตรฐานน้ าทิ้ง
จากฟาร์ มสุ กร พบว่า น้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายของฟาร์ ม นายพนม จิตรใจเย็น ไม่สามารถปล่อยทิ้ง
ลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะได้ ดังแสดงในตารางที่ 5-14 และ ในรู ปที่ 5-4

ตารางที่ 5-14 ผลการเปลี่ยนแปลงของน้ าหลังผ่านการบาบัด และน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้าย เฉพาะ


พารามิเตอร์ BOD COD ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (N) ฟอสฟอรัส (P) และ
โพแทสเซียม (K) ของ ฟาร์มนายพนม จิตรใจเย็น

ผลการวิเคราะห์ คุณภาพน้า ร้ อยละของการ


“ฟาร์ มนายพนม จิตรใจเย็น” เปลี่ยนแปลง
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์
น้าหลังผ่ านการ น้าทิ้งในบ่ อพัก
บาบัด น้าสุ ดท้ าย

1 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 235 215 8.51


2 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 1445 1395 3.46
ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl
3 405 395 2.47
Nitrogen, TKN)
4 ฟอสฟอรัส (P) 16.5 13.5 18.18
5 โพแทสเซี ยม (K) 483.41 489.057 -1.17

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-30


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 5-4 การเปรี ยบเทียบผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ า เฉพาะพารามิเตอร์ BOD COD TKN P


และ K ของฟาร์มนายพนม จิตรใจเย็น

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-31


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

5.2.3 สรุปผลวิเคราะห์ คุณภาพนา้ ของฟาร์ ม นายพนม จิตรใจเย็น

ตัวอย่ างน้า ผลการวิเคราะห์ คุณภาพน้า ความเหมาะสม


ในการนาไปใช้ ประโยชน์

1. น้าดิบ - มีค่าอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ า - สามารถนาไปใช้ในกิจกรรมต่างๆ


บาดาลที่ใช้บริ โภค ของฟาร์ มได้ และไม่เป็ นอันตรายต่อ
- แต่มีปริ มาณ เหล็ก มากกว่ า เกณฑ์ การบริ โภค
มาตรฐานคุณภาพน้ าบาดาลที่ใช้บริ โภค - ถือว่า ปริ มาณเหล็กในน้ าดิบ อยูใ่ น
1.21 เกณฑ์อนุโลมสู งสุ ดที่ยอมให้มีได้

2. น้าเสี ยก่ อนบาบัด - น้ ามีความสกปรกสู งมาก ต้องนาไปผ่าน - ไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ แหล่งน้ า


ระบบบาบัดน้ าเสี ยก่อนปล่อยลงสู่ แหล่งน้ า สาธารณะได้
สาธารณะ

3. น้าหลังผ่ านการบาบัด - น้ ายังคงมีความสกปรกมาก - ไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ แหล่งน้ า


- ระบบบาบัดน้ าเสี ย สามารถลดค่า BOD สาธารณะได้
และ COD น้อยมาก คือ ลงลงได้เพียงร้อยละ
0-14

4. น้าทิ้งในบ่ อพักน้าสุ ดท้ าย - ผลการวิเคราะห์ พบว่า มีค่า BOD COD - ไม่ สามารถปล่ อยทิ้งลงสู่ แหล่ งน้า
และ TKN มากกว่ า เกณฑ์มาตรฐาน สาธารณะได้
คุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร 2.15 3.48 - มีปริ มาณ ทองแดง และ สังกะสี
และ 1.97 เท่า ตามลาดับ มากกว่ า เกณฑ์มาตรฐานน้ าทิ้งลง
- มีธาตุอาหารที่มีประโยชน์ต่อพืช คือ มีค่า ทางชลประทาน 2.00 และ 2.18 เท่า
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซี ยม ตามลาดับ
เป็ นสัดส่ วน
N:P:K = 30:1:26
- มีปริ มาณ ทองแดง และสังกะสี มากกว่ าค่า
มาตรฐานน้ าทิง้ ลงทางชลประทาน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-32


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

5.3 ผลวิเคราะห์ คุณภาพนา้ ของประชาฟาร์ ม

5.3.1 ข้ อมูลเบือ้ งต้น


ผูป้ ระกอบกิจการประชาฟาร์ ม คือ นายชัยวัฒน์ ธีรานุ ว ฒั น์ ที่ ต้ งั ของฟาร์ มอยู่ที่ 29/1 หมู่ 2
ตาบลบ้านใหม่ อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ทั้งนี้ประชาฟาร์มเป็ นฟาร์มขนาดกลาง มีสุกรทั้งหมด
ประมาณ 3,000 ตัว มีแม่พนั ธุ์ 700 ตัว
ระบบบาบัดน้ าเสี ยของฟาร์ ม คือ ระบบผลิตก๊าซชีวภาพแบบ CD+UASB (Channel Digester
and Up flow Anaerobic Sludge Blanket) ติดตั้งมาประมาณ 3 ปี น้ าที่ใช้ในกิจกรรมการเลี้ยงสุ กร (น้ ากิน
และน้ าล้างคอก) มาจากน้ าบ่อภายในฟาร์ม กิจกรรมการใช้น้ าของฟาร์มมีการล้างคอกวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น
ปริ มาณน้ าเสียจากการคานวณ 101 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน

5.3.2 ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนา้ ตัวอย่าง มีดงั นี้


(1) น้ าดิบ
ผลการวิเคราะห์ พบว่า น้ าดิบของประชาฟาร์มมีลกั ษณะใส มีตะกอน มีค่า pH 7.24 ซึ่ง
ถือว่าน้ ามีค่า pH เป็ นกลาง มีค่าบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand, BOD) 6 มิลลิกรัมต่อลิตร ซีโอดี
(Chemical Oxygen Demand, COD) 19 มิลลิก รัม ต่ อลิต ร ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total
Kjeldahl Nitrogen, TKN) 2.5 มิลลิก รัมต่ อลิต ร และมีปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid
Suspension, TSS) 7 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งถือว่าพารามิเตอร์ ดงั กล่าวมีค่าต่ามาก นอกจากนี้ ในส่ วนของ
ปริ มาณโลหะ พบว่า ไม่มีโลหะที่เป็ นอันตรายต่อการบริ โภค เช่น ไม่มีโลหะ แคดเมียม โครเมีย ม และ
ตะกั่ว เป็ นต้น แต่ พ บว่ ามี ปริ มาณเหล็ ก และสัง กะสี ม ากเกิ น เกณฑ์คุ ณ ภาพน้ า บาดาลที่ ใช้บริ โภค
(รายละเอียดแสดงในภาคผนวก ง) รายละเอียดผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าดิบ แสดงในตารางที่ 5-15

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-33


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-15 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าดิบของประชาฟาร์ม


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ หน่ วย
คุณภาพน้าดิบ

น้ าใส
1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า -
มีตะกอน
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 7.24 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 6 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 19 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 2.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) 7 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 102 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals)
แคลเซี ยม (Ca) 105.858 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) - มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียม (Cr) - มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) 0.215 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 3.575 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 61.943 มิลลิกรัมต่อลิตร
ฟอสฟอรัส (P) - มิลลิกรัมต่อลิตร
แมกนีเซี ยม (Mg) 130.708 มิลลิกรัมต่อลิตร
ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร
สังกะสี (Zn) 6.057 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 4.3 x 102 MPN/100 มิลลิลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-34


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(2) น้ าเสียก่อนการบาบัด
ผลการวิเคราะห์น้ าเสียก่อนการบาบัด พบว่า น้ าเสียก่อนการบาบัดมีสีดา มีลกั ษณะข้น
เนื่องจากมีปริ มาณแข็งกึ่งเหลวอยูม่ าก ซึ่งเกิดจากการมีมลู สุกรปนอยูใ่ นน้ าเสี ยเป็ นจานวนมาก มีค่า pH
7.10 ซึ่งถือว่าน้ ามีค่า pH เป็ นกลาง มีค่า BOD เท่ากับ 715 มิลลิกรัมต่อลิตร มีค่า COD เท่ากับ 1,630
มิลลิกรั มต่ อลิตร ค่าไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า เท่ ากับ 155 มิลลิกรั มต่ อลิต ร มีปริ มาณสารแขวนลอย
เท่ากับ 500 มิลลิกรัมต่อลิตร และค่าความเป็ นด่าง 710 มิลลิกรัมต่อลิตรของแคลเซียมคาร์ บอเนต ซึ่งถือว่า
น้ าเสียก่อนการบาบัด มีปริ มาณอินทรี ยส์ ารอยูเ่ ป็ นจานวนมาก และมีความสกปรกสูง
ส่ วนปริ มาณโลหะที่พบในน้ าเสี ย ก่อนการบาบัด พบว่า มีแคลเซี ยม ทองแดง เหล็ก
โพแทสเซี ย ม แมกนี เซี ย มและสังกะสี ปนอยู่ใ นน้ าในปริ มาณมาก ซึ่ ง ปริ ม าณโลหะที่ พ บเหล่ า นี้
ส่วนใหญ่มาจากอาหารที่ให้สุกรกิน และยาปฏิชีวนะที่ใช้ในการป้ องกันโรคให้แก่สุกร เช่น วัตถุดิบที่ใช้ผสม
ในการทาอาหารสัตว์มีส่วนประกอบของเปลือกหอยป่ น กระดูกป่ น และแร่ ธาตุ ดังนั้นในการวิเคราะห์
คุณภาพน้ าจึงมีโลหะพวกแคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม ปนอยูใ่ นน้ าในปริ มาณมาก นอกจากนี้ ยงั
มีก ารใช้สารเคมีบางชนิ ด เช่น สารประกอบออกไซด์ข อง Zinc oxide (ZnO) และ Copper sulfate
(CuSO4) ผสมในอาหารสุกร เพื่อช่วยกระตุน้ การเจริ ญเติบโตของสุ กร และเพิ่มระดับภูมิคุม้ กันต่อเชื้อ
แบคทีเรี ย ชนิด E. coli ในลูกสุกร ดังนั้นด้วยเหตุผลต่างๆ ดังที่ได้กล่าวมาทาให้สามารถตรวจวิเคราะห์
พบปริ มาณโลหะต่างๆ ในน้ าเสีย เนื่องจากโลหะเหล่านี้ จะถูกขับออกมาทางเป็ นน้ าเสี ยและมูลของสุ กร
ซึ่งรายละเอียดของผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าเสียก่อนการบาบัด แสดงในตารางที่ 5-16

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-35


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-16 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าเสียก่อนการบาบัดของประชาฟาร์ม


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าเสี ย หน่ วย
ก่ อนการบาบัด

1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า สี ดา ลักษณะข้น -
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 7.10 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 715 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 1630 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 155 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) 500 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 710 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals)
แคลเซี ยม (Ca) 175.440 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) - มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียม (Cr) - มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) 18.681 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 50.350 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 483.777 มิลลิกรัมต่อลิตร
ฟอสฟอรัส (P) 54.500 มิลลิกรัมต่อลิตร
แมกนีเซี ยม (Mg) 294.495 มิลลิกรัมต่อลิตร
ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร
สังกะสี (Zn) 71.221 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 9.3 x 106 MPN/100 มิลลิลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-36


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(3) น้ าหลังผ่านการบาบัด
ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าหลังผ่านการบาบัด พบว่า น้ าหลังผ่านการบาบัดมีสีน้ าตาลเหลือง
มีตะกอนปนอยู่ค่อนข้างมาก มีค่า pH 7.35 ซึ่งถือว่าน้ ามีค่า pH เป็ นกลาง มีค่า BOD ลดลง เท่ากับ 46
มิลลิก รัมต่ อลิตร มีค่ า COD ลดลง เท่ ากับ 240 มิลลิกรั มต่อลิตร มีค่าไนโตรเจนทั้งหมดในน้ าลดลง
เท่ากับ 195 มิลลิกรัมต่อลิตร และมีปริ มาณสารแขวนลอย ลดลง เท่ากับ 76 มิลลิกรัมต่อลิตร แต่มีค่า
ความเป็ นด่างเพิ่มขึ้น ในส่วนของปริ มาณโลหะ พบว่า ไม่มีโลหะชนิ ด แคดเมียม โครเมียม และตะกัว่
ปนเปื้ อนอยู่ในน้ าหลังผ่านการบาบัด ส่ ว นโลหะบางชนิ ด อาทิ แคลเซียม ทองแดง เหล็ก ฟอสฟอรั ส
และสังกะสีมีปริ มาณลดลง ดังแสดงผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าหลังผ่านการบาบัดในตารางที่ 5-17
ตารางที่ 5-17 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าหลังผ่านการบาบัดของประชาฟาร์ม
ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าหลังผ่ าน หน่ วย
การบาบัด

1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า สี น้ าตาลเหลือง -
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 7.35 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 46 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 240 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 195 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) 76 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 1100 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals)
แคลเซี ยม (Ca) 194.913 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) - มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียม (Cr) - มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) 5.102 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 17.766 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 253.981 มิลลิกรัมต่อลิตร
ฟอสฟอรัส (P) 31.000 มิลลิกรัมต่อลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-37


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-17 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าหลังผ่านการบาบัดของประชาฟาร์ม (ต่อ)


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าหลังผ่ าน หน่ วย
การบาบัด

แมกนีเซี ยม (Mg) 320.746 มิลลิกรัมต่อลิตร


ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร
สังกะสี (Zn) 18.656 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 9.3 x 105 MPN/100 มิลลิลิตร

เมื่อพิจารณาถึงประสิ ทธิภาพของระบบบาบัดน้ าเสี ยชนิ ดผลิตก๊าซชีวภาพ แบบ MC-


UASB (Medium Farm Channel Digester-Up flow Anaerobic Sludge Blanket) ซึ่งติดตั้งมาประมาณ 3
ปี ของประชาฟาร์ ม โดยการคานวณผลวิเคราะห์เพื่อเปรี ยบเทียบการเปลี่ยนแปลงของค่าพารามิเตอร์
ต่างๆ ระหว่างน้ าเสียก่อนการบาบัด และน้ าหลังผ่านการบาบัด ดังสมการ

ประสิทธิ ภา พของระบบบาบัดน้ าเสีย 


พารามิเตอร ์์ของน้ าเสียก่อนการบาบัด - พารามิเตอร์์ของน้ าหลังผ่านการบาบัด  x 100
พารามิเตอร ์์ของน้ าเสี
ยก่อนการบาบัด

ซึ่ งจากการค านวณประสิ ทธิ ภ าพของระบบบ าบัด น้ าเสี ย ของประชาฟาร์ ม พบว่ า


สามารถทาให้ BOD COD และ TSS ลดลงร้อยละ 93 85 และ 84 ตามลาดับ แต่ปริ มาณไนโตรเจน
ทั้งหมดในน้ าและความเป็ นด่างเพิ่มขึ้น ส่วนการเปลี่ยนแปลงของปริ มาณโลหะ พบว่า โลหะบางชนิ ด
อาทิ ทองแดง เหล็ก โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส และสังกะสี ลดลง รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 5-18
ดังนี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-38


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-18 ผลการคานวนประสิทธิภาพของระบบบาบัดน้ าเสียของประชาฟาร์ม


ประสิ ทธิภาพ
ผลการวิเคราะห์ คุณภาพน้า
ของระบบ
“ประชาฟาร์ ม”
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ บาบัดน้าเสี ย
น้าเสี ยก่ อนการ น้าหลังผ่ านการ
(ร้ อยละ)
บาบัด บาบัด
1 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 715 46 93.6
2 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 1630 240 85.3
ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl
3 155 195 -25.8
Nitrogen, TKN)
ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid
4 500 76 84.8
Suspension , TSS)
5 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 710 1100 -54.9
6 ปริ มาณโลหะ
แคลเซี ยม (Ca) 175.440 194.913 -11.1
แคดเมียม (Cd) - - -
โครเมียม (Cr) - - -
ทองแดง (Cu) 18.681 5.102 72.7
เหล็ก (Fe) 50.350 17.766 64.7
โพแทสเซี ยม (K) 483.777 253.981 47.5
ฟอสฟอรัส (P) 54.500 31.000 43.1
แมกนีเซี ยม (Mg) 294.495 320.746 -8.9
ตะกัว่ (Pb) - - -
สังกะสี (Zn) 71.221 18.656 73.8
7 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 9.3 x 106 9.3 x 105 90

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-39


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(4) น้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้าย


ผลการวิเคราะห์น้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้าย พบว่า ลักษณะโดยทัว่ ไปของน้ าใสมีสีเหลือง
มีความขุ่นเพียงเล็กน้อย มีค่า pH 7.47 ซึ่งถือว่าน้ ามีค่า pH เป็ นกลาง มีค่า BOD เท่ากับ 36.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
มีค่า COD เท่ากับ 320 มิลลิกรัมต่อลิตร มีปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า เท่ากับ 225 มิลลิกรัมต่อลิตร
และมีปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด เท่ากับ 295 มิลลิกรัมต่อลิตร รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 5-19
ตารางที่ 5-19 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้ายของประชาฟาร์ม
ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าหลัง หน่ วย
ผ่ านการบาบัด

น้ าใส สี เหลือง มี
1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า -
ตะกอน
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 7.47 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 36.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 320 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 225 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) 295 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 1115 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals) 163.216

แคลเซี ยม (Ca) - มิลลิกรัมต่อลิตร


แคดเมียม (Cd) - มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียม (Cr) - มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) 14.350 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 60.146 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 490.769 มิลลิกรัมต่อลิตร
ฟอสฟอรัส (P) 29.000 มิลลิกรัมต่อลิตร
แมกนีเซี ยม (Mg) 311.218 มิลลิกรัมต่อลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-40


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-19 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้ายของประชาฟาร์ม (ต่อ)


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าหลัง หน่ วย
ผ่ านการบาบัด

ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร


สังกะสี (Zn) 34.997 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 1.5 x 106 MPN/100 มิลลิลิตร

ซึ่ งเมื่อน าผลวิเคราะห์คุ ณ ภาพน้ าทิ้ ง ในบ่ อพัก น้ าสุ ด ท้า ย มาพิจ ารณาเปรี ย บเที ย บระหว่า ง
“มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกร สาหรับฟาร์มประเภท ข และ ค” (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก ง) ซึ่ง
พิจารณาพารามิเตอร์ 5 ชนิด คือ (1) ค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) (2) ค่าบีโอดี (Biochemical Oxygen
Demand, BOD) (3) ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) (4) ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า
(Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) และ (5) ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS)
พบว่า น้ าทิ้งในบ่ อพักน้ าสุ ด ท้ายของประชาฟาร์ ม พบว่า มีค่ า pH BOD และCOD ไม่เกิ นเกณฑ์ค่ า
มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกร ที่กรมควบคุมมลพิษกาหนด แต่มีปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ าและ
ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด เกินเกณฑ์ค่ามาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกร ที่กรมควบคุมมลพิษกาหนด
และเมื่อพิจารณาถึงผลวิเคราะห์ ปริ มาณโลหะในน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้าย พบว่า มีปริ มาณ
โลหะที่ปนเปื้ อนอยูใ่ นน้ าทิ้งดังกล่าว ซึ่ง “มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร สาหรับฟาร์ มประเภท ข และ ค”
ไม่ได้กาหนดหรื อควบคุมพารามิเตอร์ดงั กล่าว แต่ในด้านของการนาน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายไปใช้ใน
กิจการอื่นๆ อาจต้องคานึงถึงความเหมาะสม ซึ่งในการนี้ที่ปรึ กษาได้นา “มาตรฐานการระบายน้ าลงทาง
น้ า ชลประทาน และทางน้ า ที่ ต่ อเชื่ อ มกับ ทางน้ าชลประทานในเขตพื้น ที่ โ ครงการชลประทาน”
(รายละเอียดแสดงในภาคผนวก ง) มาพิจารณาเปรี ย บเทียบกับผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่ อพัก
น้ าสุดท้าย พบว่า น้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้ายของประชาฟาร์ม ไม่พบโลหะที่เป็ นอันตรายต่อสิ่ งแวดล้อม
กล่าวคือ ไม่พบปริ มาณโลหะโครเมียม แคดเมียม และตะกัว่ ในน้ าทิ้งฯ แต่พบปริ มาณทองแดง จานวน
14.35 มิลลิกรัมต่อลิตร และพบปริ มาณ สังกะสี จานวน 34.99 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งถือว่ามีค่าเกินกว่า
ค่าที่มาตรฐานฯ กาหนด 14 และ 7 เท่า ตามลาดับ (ค่ามาตรฐานควบคุมปริ มาณทองแดง ต้องไม่เกิน 1.0
มิลลิกรัมต่อลิตร และปริ มาณสังกะสี ต้องไม่เกิน 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-41


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ทั้ง นี้ สามารถสรุ ปผลวิ เ คราะห์คุ ณ ภาพน้ า ทั้ง 4 ประเภท คื อ ผลวิ เคราะห์ คุ ณ ภาพน้ าดิ บ
น้ าเสียก่อนการบาบัด น้ าหลังผ่านการบาบัด และน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้าย ของประชาฟาร์ ม ดังแสดง
ในตารางที่ 5-20 และรู ปที่ 5-5
ตารางที่ 5-20 สรุ ปผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าตามค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของประชาฟาร์ม
*มาตรฐานน้าทิ้ง
จากฟาร์ มสุกร
สาหรับฟาร์ม เปรียบเทียบผลการ
ประเภท ข และ ค วิเคราะห์ คุณภาพนา้ กับค่ า
ลาดับ พารามิเตอร์ ทวี่ ิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนา้ หน่ วย / มาตรฐานนา้ ทิง้ จากฟาร์ ม
** มาตรฐานการ สุ กร
ระบายน้าลงทาง
ชลประทาน

ประเภทของนา้

นา้ ทิง้ ในบ่อ


นา้ เสียก่ อน นา้ หลังผ่าน
นา้ ดิบ พักนา้
การบาบัด การบาบัด
สุ ดท้ าย

น้ าใส น้ าใส สี
สี ดา สี น้ าตาล
1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า เหลือง มี ไม่ระบุค่า -
มีตะกอน ลักษณะข้น เหลือง
ตะกอน

- น้ าทิ้งฯ มีค่าความเป็ น
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 7.24 7.10 7.35 7.47 5.5-9* กรดและด่าง (pH) อยู่
ในเกณฑ์มาตรฐาน

- น้ าทิ้งฯ มีค่า BOD ไม่


บีโอดี (Biochemical Oxygen
3 6 715 46 36.5 มิลลิกรัมต่อลิตร 100* เกินมาตรฐานน้ าทิ้งจาก
Demand , BOD)
ฟาร์ มสุ กร

- น้ าทิ้งฯ มีค่า COD ไม่


ซีโอดี (Chemical Oxygen
4 19 1630 240 320 มิลลิกรัมต่อลิตร 400* เกินมาตรฐานน้ าทิ้งจาก
Demand , COD)
ฟาร์ มสุ กร

ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดใน - น้ าทิ้งฯ มีค่า TKN เกิน


5 น้ า (Total Kjeldahl Nitrogen 2.5 155 195 225 มิลลิกรัมต่อลิตร 200* มาตรฐานน้ าทิ้งจาก
, TKN) ฟาร์ มสุ กร 1.12 เท่า

ปริ มาณสารแขวนลอย - น้ าทิ้งฯ มีค่า TSS เกิน


6 ทั้งหมด (Total Solid 7 500 76 295 มิลลิกรัมต่อลิตร 200* มาตรฐานน้ าทิ้งจาก
Suspension , TSS) ฟาร์ มสุ กร 1.47 เท่า

7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 102 710 1100 1115 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า

8 ปริ มาณโลหะ (Metals)

แคลเซียม (Ca) 105.858 175.440 194.913 163.216 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-42


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-20 สรุ ปผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าตามค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของประชาฟาร์ม (ต่อ)


*มาตรฐานน้าทิ้ง
จากฟาร์ มสุกร
สาหรับฟาร์ม เปรียบเทียบผลการ
ประเภท ข และ ค วิเคราะห์ คุณภาพนา้ กับค่ า
ลาดับ พารามิเตอร์ ทวี่ ิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนา้ หน่ วย
/ มาตรฐานนา้ ทิง้ จากฟาร์ ม
** มาตรฐานการ สุ กร
ระบายน้าลงทาง
ชลประทาน

ประเภทของนา้

นา้ ทิง้ ในบ่อ


นา้ เสียก่ อน นา้ หลังผ่าน
นา้ ดิบ พักนา้
การบาบัด การบาบัด
สุ ดท้ าย

- น้ าทิ้งฯ ไม่พบ
แคดเมียม (Cd) - - - - มิลลิกรัมต่อลิตร 0.03**
แคดเมียม
- น้ าทิ้งฯ ไม่พบ
โครเมียม (Cr) - - - - มิลลิกรัมต่อลิตร 0.3*
โครเมียม
- น้ าทิ้งฯ มีค่า ทองแดง
ทองแดง (Cu) 0.215 18.681 5.102 14.350 มิลลิกรัมต่อลิตร 1.0** เกินเกณฑ์มาตรฐาน
14.35 เท่า
เหล็ก (Fe) 3.575 50.350 17.766 60.146 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า
โพแทสเซียม (K) 61.943 483.777 253.981 490.769 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า
ฟอสฟอรัส (P) - 54.500 31.000 29.000 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า
แมกนีเซียม (Mg) 130.708 294.495 320.746 311.218 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า
ตะกวั่ (Pb) - - - - มิลลิกรัมต่อลิตร 0.1** - น้ าทิ้งฯ ไม่พบ ตะกวั่
- น้ าทิ้งฯ มีค่า สังกะสี
สังกะสี (Zn) 6.057 71.221 18.656 34.997 มิลลิกรัมต่อลิตร 5.0** เกินเกณฑ์มาตรฐาน
6.99 เท่า
การปนเปื้ อนของเชื้อ MPN/100
9 4.3 x 102 9.3 x 106 9.3 x 105 1.5 x 106 ไม่ระบุค่า
แบคทีเรี ย มิลลิลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-43


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 5-5 ผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าทั้ง 4 ประเภทของประชาฟาร์ม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-44


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

เมื่อทาการวิเคราะห์ผลเฉพาะค่าของ BOD และ ฟอสฟอรัส (P) เท่านั้นที่ลดลง ในอัตราส่ วน


ร้อยละ 20 และ 6 ตามลาดับ ส่วนค่าของ COD ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (N) และโพแทสเซียม
(K) เพิ่มขึ้น ซึ่งหมายความว่า การที่น้ าในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายมีค่าพารามิเตรอ์ต่างๆ ลดลงไม่มากนัก หรื อ
แทบไม่มีความแตกต่างระหว่างน้ าหลังผ่านการบาบัด และน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้าย เนื่ องจากระบบ
บาบัดน้ าเสียของประชาฟาร์ม เป็ นระบบบาบัด ฯ ที่มีประสิทธิภาพในการบาบัดน้ าเสียสูง ซึ่งคุณภาพน้ า
หลังผ่านการบาบัดมีค่าพารามิเตอร์ โดยเฉพาะค่า BOD และ COD และมีค่าอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานน้ าทิ้ง
จากฟาร์มสุกรได้เลย ดังแสดงในตารางที่ 5-21 และ.ในรู ปที่ 5-6

ตารางที่ 5-21 ผลการเปลี่ยนแปลงของน้ าหลังผ่านการบาบัด และน้ าทิ้งในบ่ อพักน้ าสุ ดท้าย เฉพาะ
พารามิเตอร์ BOD COD ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (N) ฟอสฟอรัส (P) และ
โพแทสเซียม (K) ของ “ประชาฟาร์ม”
ผลการวิเคราะห์ คุณภาพน้า ร้ อยละของการ
“ประชาฟาร์ ม” เปลี่ยนแปลง
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์
น้าหลังผ่ านการ น้าทิ้งในบ่ อพัก
บาบัด น้าสุ ดท้ าย

1 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 46 36.5 20.65


2 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 240 320 -33.33
ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl
3 195 225 -15.38
Nitrogen, TKN)
4 ฟอสฟอรัส (P) 31 29 6.45
5 โพแทสเซี ยม (K) 253.981 490.769 -93.23

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-45


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 5-6 การเปรี ยบเทียบผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ า เฉพาะพารามิเตอร์ BOD COD TKN P และ K


ของประชาฟาร์ม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-46


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

5.3.4 สรุปผลวิเคราะห์ คุณภาพนา้ ของประชาฟาร์ ม

ตัวอย่ างน้า ผลการวิเคราะห์ คุณภาพน้า ความเหมาะสม


ในการนาไปใช้ ประโยชน์

1 น้าดิบ - น้ าดิบ มีปริ มาณ เหล็ก และสังกะสี - สามารถนาไปใช้ในกิจกรรมต่างๆ


มากกว่ า เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ าบาดาล ของฟาร์ มได้
ที่ใช้บริ โภค 7.14 และ 1.21 เท่า

2 น้าเสี ยก่ อนบาบัด - น้ ามีความสกปรกมาก ต้องนาไปผ่าน - ไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ แหล่งน้ า


ระบบบาบัดน้ าเสี ยก่อนปล่อยลงสู่ แหล่งน้ า สาธารณะได้
สาธารณะ

3 น้าหลังผ่ านการบาบัด - มีค่าอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้ง - สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ แหล่งน้ า


จากฟาร์ มสุ กรระบบบาบัดน้ าเสี ย สาธารณะได้

4 น้าทิ้งในบ่ อพักน้าสุ ดท้ าย - มีค่า pH BOD และ COD อยูใ่ นเกณฑ์ - ไม่ สามารถปล่ อยทิ้งลงสู่ แหล่ งน้า
มาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร สาธารณะได้
ระบบบาบัดน้ าเสี ย - มีปริ มาณ ทองแดง และ สังกะสี
- TKN และ TSS มีค่า มากกว่ า เกณฑ์ มากกว่ า เกณฑ์มาตรฐานน้ าทิ้งลง
มาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร ทางชลประทาน 14.35 และ 6.99
(มากกว่าร้อยละ 1.12 และ 1.47 เท่า เท่า ตามลาดับ
ตามลาดับ)
- มีธาตุอาหารที่มีประโยชน์ต่อพืช คือ มีค่า
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซี ยม
เป็ นสัดส่ วน
N:P:K = 7:1:16
- มีปริ มาณ ทองแดง และสังกะสี เกินค่า
มาตรฐานน้ าทิ้งลงทางชลประทาน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-47


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

5.4 ผลวิเคราะห์ คุณภาพนา้ ของภาวนาฟาร์ ม

5.4.1 ข้ อมูลเบือ้ งต้น


ผูป้ ระกอบกิ จ การภาวนาฟาร์ ม คื อ นายเอื้ ย ง ห้ว ยหงษ์ท อง ที่ ต้ งั ของฟาร์ มอยู่ที่ 73 หมู่ 7
ตาบลห้วยขวาง อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม ทั้งนี้ภาวนาฟาร์มเป็ นฟาร์มขนาดเล็ก มีสุกรทั้งหมด
ประมาณ 20 ตัว มีแม่พนั ธุ์ 13 ตัว
ระบบบ าบัด น้ าเสี ย ของฟาร์ ม คื อ ระบบผลิต ก๊ าซชี วภาพแบบไฟเบอร์ กลาส มี ก ารใช้งาน
ได้ตามปกติ ใช้งานสม่าเสมอ ซึ่งเป็ นระบบบาบัดน้ าเสี ยสาหรับฟาร์ มสุ กรขนาดเล็ก น้ าที่ใช้ในกิจกรรม
การเลี้ยงสุกร (น้ ากินและน้ าล้างคอก) มาจากน้ าบาดาล กิจกรรมการใช้น้ าของฟาร์มมีการล้างคอกวันละ
2 ครั้ง เช้า-เย็น ปริ มาณน้ าเสียจากการคานวณประมาณ 0.5 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน

5.4.2 ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนา้ ตัวอย่าง มีดงั นี้


(1) น้ าดิบ
ผลการวิเคราะห์ พบว่า น้ าดิบของภาวนาฟาร์ม มีลกั ษณะใส ไม่มีสี มีค่า pH 7.73 ซึ่งถือ
ว่าน้ ามีค่า pH เป็ นกลาง มีค่าบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand, BOD) ซีโอดี (Chemical Oxygen
Demand, COD) ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) และมีปริ มาณสาร
แขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) น้อยมาก ส่ ว นปริ มาณโลหะโดยส่ วนใหญ่ มีค่ า
ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ าบาดาลที่ใช้บริ โภค (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก ง) ยกเว้นมีค่าของ
เหล็กมากกว่าเกณฑ์มาตรฐานนิ ดหน่ อย ซึ่งภาพรวมของคุณภาพน้ าดิบของภาวนาฟาร์ ม ถือว่าไม่เป็ น
อันตรายต่อการนาไปใช้ในกิจกรรมต่างๆ ภายในฟาร์ม โดยมีผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าดิบดังแสดงใน
ตารางที่ 5-22

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-48


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-22 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าดิบของภาวนาฟาร์ม


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ หน่ วย
คุณภาพน้าดิบ

1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า ใส ไม่มีสี -
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 7.73 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 1 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 20 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 3.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) - มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 200 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals)
แคลเซี ยม (Ca) 132.838 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) - มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียม (Cr) - มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) 0.279 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 2.206 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 113.071 มิลลิกรัมต่อลิตร
ฟอสฟอรัส (P) - มิลลิกรัมต่อลิตร
แมกนีเซี ยม (Mg) 150.548 มิลลิกรัมต่อลิตร
ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร
สังกะสี (Zn) 1.208 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 43 MPN/100 มิลลิลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-49


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(2) น้ าเสียก่อนการบาบัด
ผลการวิเคราะห์น้ าเสียก่อนการบาบัด พบว่า น้ าเสียก่อนการบาบัดมีสีเทาดา ลักษณะข้น
มีตะกอนมาก เนื่องจากมีปริ มาณแข็งกึ่งเหลวอยูม่ าก ซึ่งเกิดจากการมีมลู สุกรปนอยูใ่ นน้ าเสียเป็ นจานวนมาก
มีค่า pH 6.29 ซึ่งถือว่าน้ ามีค่า pH เป็ นกลาง มีค่า BOD เท่ากับ 1,070 มิลลิกรัมต่อลิตร มีค่า COD เท่ากับ
2,395 มิ ลลิ ก รั ม ต่ อ ลิต ร ค่ า ไนโตรเจนทั้ง หมดในน้ า เท่ ากับ 120 มิ ล ลิก รั ม ต่ อ ลิต ร มี ปริ มาณสาร
แขวนลอย เท่ ากับ 780 มิลลิก รั มต่ อลิต ร และค่ าความเป็ นด่ าง 590 มิลลิก รั มต่ อลิต รของแคลเซี ยม
คาร์บอเนต ซึ่งถือว่าน้ าเสียก่อนการบาบัด มีปริ มาณอินทรี ยส์ ารอยูเ่ ป็ นจานวนมาก และมีความสกปรกสูง
ส่ ว นปริ มาณโลหะที่พบในน้ าเสี ย ก่อนการบาบัด พบว่า ไม่พบโลหะที่เป็ นพิษ เช่ น
ไม่พบแคดเมียม โครเมียม และตะกัว่ เป็ นต้น ส่วนปริ มาณโลหะชนิ ดอื่นๆ พบว่า มีแคลเซียม ทองแดง
เหล็ก โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียมและสังกะสี ปนอยู่ในน้ าในปริ มาณมาก ซึ่งปริ มาณโลหะที่
พบเหล่านี้ส่วนใหญ่มาจากอาหารที่ให้สุกรกิน และยาปฏิชีวนะที่ใช้ในการป้ องกันโรคให้แก่สุกร เช่น
วัตถุดิบที่ใช้ผสมในการทาอาหารสัตว์มีส่วนประกอบของเปลือกหอยป่ น กระดูกป่ น และแร่ ธาตุ ดังนั้น
ในการวิเคราะห์คุณภาพน้ าจึงมีโลหะพวกแคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม ปนอยู่ในน้ าในปริ มาณมาก
นอกจากนี้ยงั มีการใช้สารเคมีบางชนิ ด เช่น สารประกอบออกไซด์ของ Zinc oxide (ZnO) และ Copper
sulfate (CuSO4) ผสมในอาหารสุกร เพื่อช่วยกระตุน้ การเจริ ญเติบโตของสุ กร และเพิ่มระดับภูมิคุม้ กัน
ต่อเชื้อแบคทีเรี ย ชนิ ด E. coli ในลูกสุ กร ดังนั้นด้วยเหตุผลต่างๆ ดังที่ได้กล่าวมาทาให้สามารถตรวจ
วิเคราะห์พบปริ มาณโลหะต่างๆ ในน้ าเสีย เนื่องจากโลหะเหล่านี้จะถูกขับออกมาทางเป็ นน้ าเสี ยและมูล
ของสุกร ซึ่งรายละเอียดของผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าเสียก่อนการบาบัด แสดงในตารางที่ 5-23

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-50


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-23 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าเสียก่อนการบาบัดของภาวนาฟาร์ม


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าเสี ย หน่ วย
ก่ อนการบาบัด

สี เทาดา มีตะกอน
1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า -
มาก
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 6.29 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 1070 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 2395 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 120 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) 780 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 590 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals)
แคลเซี ยม (Ca) 166.309 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) - มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียม (Cr) - มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) 2.887 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 7.926 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 344.082 มิลลิกรัมต่อลิตร
ฟอสฟอรัส (P) 31.000 มิลลิกรัมต่อลิตร
แมกนีเซี ยม (Mg) 307.433 มิลลิกรัมต่อลิตร
ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร
สังกะสี (Zn) 5.186 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 2.4 x 107 MPN/100 มิลลิลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-51


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(3) น้ าหลังผ่านการบาบัด
ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าหลังผ่านการบาบัด พบว่า น้ าหลังผ่านการบาบัดมีสีเหลือง
น้ าตาล มีตะกอนปนอยูค่ ่อนข้างมาก มีค่า pH 7.59 ซึ่งถือว่าน้ ามีค่า pH เป็ นกลาง มีค่า BOD ลดลง
เท่ากับ 100 มิลลิกรัมต่อลิตร มีค่า COD ลดลง เท่ากับ 410 มิลลิกรัมต่อลิตร มีค่าไนโตรเจนทั้งหมด
ในน้ าลดลง เท่ากับ 99 มิลลิกรัมต่อลิตร และมีปริ มาณสารแขวนลอย ลดลง เท่ากับ 185 มิลลิกรัมต่อลิตร
แต่มีค่าความเป็ นด่างเพิ่มขึ้น ในส่วนของปริ มาณโลหะ พบว่า โลหะบางชนิด อาทิ แคลเซียม แคดเมียม
เหล็ก ฟอสฟอรัส และสังกะสีมีปริ มาณลดลง ยกเว้นโพแทสเซียมและแมกนีเซียม มีปริ มาณเพิม่ ขึ้น
เมื่อเปรี ยบเทียบกับน้ าเสียก่อนการบาบัด ดังแสดงผลคุณภาพน้ าหลังผ่านการบาบัดในตารางที่ 5-24
ตารางที่ 4-24 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าหลังผ่านการบาบัดของภาวนาฟาร์ม
ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าหลังผ่ าน หน่ วย
การบาบัด

มีสีเหลืองน้ าตาล มี
1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า -
ตะกอน
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 7.59 -
3 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 100 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 410 มิลลิกรัมต่อลิตร
5 ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) 99 มิลลิกรัมต่อลิตร
6 ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS) 185 มิลลิกรัมต่อลิตร
7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 960 มิลลิกรัมต่อลิตร
8 ปริ มาณโลหะ (Metals)
แคลเซี ยม (Ca) 145.338 มิลลิกรัมต่อลิตร
แคดเมียม (Cd) 0.002 มิลลิกรัมต่อลิตร
โครเมียม (Cr) - มิลลิกรัมต่อลิตร
ทองแดง (Cu) 0.737 มิลลิกรัมต่อลิตร
เหล็ก (Fe) 1.853 มิลลิกรัมต่อลิตร
โพแทสเซี ยม (K) 499.052 มิลลิกรัมต่อลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-52


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-24 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าหลังผ่านการบาบัดของภาวนาฟาร์ม (ต่อ)


ผลการวิเคราะห์
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ คุณภาพน้าหลังผ่ าน หน่ วย
การบาบัด

ฟอสฟอรัส (P) 13.500 มิลลิกรัมต่อลิตร


แมกนีเซี ยม (Mg) 374.603 มิลลิกรัมต่อลิตร
ตะกัว่ (Pb) - มิลลิกรัมต่อลิตร
สังกะสี (Zn) 1.816 มิลลิกรัมต่อลิตร
9 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 9.3 x 104 MPN/100 มิลลิลิตร

เมื่อพิจารณาถึงประสิ ทธิภาพของระบบบาบัดน้ าเสี ยชนิ ดผลิตก๊าซชีวภาพแบบไฟเบอร์ กลาส


ของภาวนาฟาร์ ม พบว่า มีอายุการใช้งานมานาน 4 ปี เป็ นระบบใช้งานได้ดี แต่ ใช้งานไม่สม่าเสมอ
ดังนั้นในช่วงเวลาที่ทาการเก็บตัวอย่างมาวิเคราะห์ผลในห้องปฏิบตั ิการจึงพบว่า ระบบบาบัดน้ าเสี ยของ
ภาวนาฟาร์ ม สามารถลดปริ มาณสารอิน ทรี ยท์ ี่ มีอยู่ในน้ าเสี ยได้เป็ นจ านวนมาก โดยการคานวณผล
วิเคราะห์เพื่อเปรี ยบเทียบการเปลี่ยนแปลงของค่าพารามิเตอร์ ต่างๆ ระหว่างน้ าเสี ยก่อนการบาบัด และ
น้ าหลังผ่านการบาบัด ดังสมการ

ประสิทธิ ภา พของระบบบาบัดน้ าเสีย 


พารามิเตอร ์์ของน้ าเสียก่อนการบาบัด - พารามิเตอร์์ของน้ าหลังผ่านการบาบัด  x 100
พารามิเตอร ์์ของน้ าเสี
ยก่อนการบาบัด

ซึ่งจากการคานวณประสิทธิภาพของระบบบาบัดน้ าเสียของภาวนาฟาร์ ม พบว่า สามารถทาให้


BOD COD TKN และ TSS ลดลงร้อยละ 90 82 17 และ 76 ตามลาดับ ยกเว้นค่าความเป็ นด่างเพิ่มขึ้น
ส่ ว นการเปลี่ ย นแปลงของปริ มาณโลหะ พบว่ า โลหะบางชนิ ด อาทิ แคลเซี ย ม ทองแดง เหล็ก
ฟอสฟอรัส และสังกะสี ลดลง รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 5-25 ดังนี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-53


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-25 ผลการคานวนประสิทธิภาพของระบบบาบัดน้ าเสียของภาวนาฟาร์ม


ประสิ ทธิภาพ
ผลการวิเคราะห์ คุณภาพน้า
ของระบบ
“ภาวนาฟาร์ ม”
ลาดับ พารามิเตอร์ ที่วิเคราะห์ บาบัดน้าเสี ย
น้าเสี ยก่ อนการ น้าหลังผ่ านการ
(ร้ อยละ)
บาบัด บาบัด
1 บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand , BOD) 1070 100 90.7
2 ซี โอดี (Chemical Oxygen Demand , COD) 2395 410 82.9
ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl
3 120 99 17.5
Nitrogen, TKN)
ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid
4 780 185 76.3
Suspension , TSS)
5 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 590 960 -62.7
6 ปริ มาณโลหะ
แคลเซี ยม (Ca) 166.309 145.338 12.6
แคดเมียม (Cd) - 0.002 -
โครเมียม (Cr) - - -
ทองแดง (Cu) 2.887 0.737 74.5
เหล็ก (Fe) 7.926 1.853 76.6
โพแทสเซี ยม (K) 344.082 499.052 -45.0
ฟอสฟอรัส (P) 31 13.5 56.5
แมกนีเซี ยม (Mg) 307.433 374.603 -21.8
ตะกัว่ (Pb) - - -
สังกะสี (Zn) 5.186 1.816 65.0
7 การปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิด E. Coli 2.4 x 107 9.3 x 104 99.6

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-54


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ทั้งนี้ สามารถสรุ ปผลวิเคราะห์คุ ณภาพน้ าทั้ง 3 ประเภท ของภาวนาฟาร์ ม คื อ ผลวิเคราะห์


คุณภาพน้ าดิบ น้ าเสียก่อนการบาบัด และน้ าหลังผ่านการบาบัด ได้ดงั แสดงในตารางที่ 5-26
และเมื่อนาผลวิเคราะห์น้ าหลังผ่านการบาบัด ซึ่งถือเป็ นน้ าที่จะมีการนามาใช้ประโยชน์ต่อใน
การเพิ่มมูลค่าน้ าฯ นั้น โดยนาผลวิเคราะห์คุณภาพน้ ามาทาการวิเคราะห์ผลเปรี ยบเทียบกับ “มาตรฐาน
คุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกร” และ “มาตรฐานการระบายนาทิ้งลงทางชลประทานและทางน้ าที่เชื่อมต่อ
กับทางน้ าชลประทานในเขตพื้นที่ชลประทาน” (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก ง) พบว่า คุณภาพน้ า
หลังผ่านการบาบัดของภาวนาฟาร์ ม มีค่า pH BOD ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า และปริ มาณสาร
แขวนลอยทั้งหมด อยูใ่ นเกณฑ์ไม่เกินมาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกร ประเภท ข และ ค กาหนด
ยกเว้น มีค่า COD เกิ นมาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้ งจากฟาร์ มสุ กรอยู่นิดหน่ อยส่ วนผลการวิเคราะห์การ
ปนเปื้ อนของโลหะ พบว่า ไม่มีปริ มาณโลหะเกินค่ามาตรฐานการระบายน้ าทิ้งลงทางชลประทานและ
ทางน้ าที่เชื่อมต่อกับทางน้ าชลประทานในเขตพื้นที่ชลประทานกาหนด นอกจากนี้ ยงั พบว่าปริ มาณการ
ปนเปื้ อนของเชื้อแบคทีเรี ย ชนิ ด E. Coli ก็ลดลง เนื่ องจากภายในของระบบบาบัดน้ าเสี ย มีความร้อน
เกิดขึ้นทาให้เชื้อแบคทีเรี ยตายลงบางส่วน ดังแสดงในตารางที่ 5-26 และรู ปที่ 5-7

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-55


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-26 สรุ ปผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าตามค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของภาวนาฟาร์ม


*มาตรฐานน้าทิ้ง
จากฟาร์ มสุกร
สาหรับฟาร์ม เปรียบเทียบผลการ
ประเภท ข และ ค วิเคราะห์ คุณภาพนา้ กับ
ลาดับ พารามิเตอร์ ทวี่ ิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนา้ หน่ วย
/ ค่ ามาตรฐานนา้ ทิง้ จาก
** มาตรฐานการ ฟาร์ มสุ กร
ระบายน้าลงทาง
ชลประทาน

ประเภทของนา้

นา้ ทิง้ ในบ่อ


นา้ เสียก่ อน นา้ หลังผ่าน
นา้ ดิบ พักนา้
การบาบัด การบาบัด
สุ ดท้ าย

มีสีเหลือง
สี เทาดา มี
1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า ใส ไม่มีสี น้ าตาล มี - ไม่ระบุค่า -
ตะกอนมาก
ตะกอน

- น้ าทั้ง 4 ประเภท มีค่า


ความเป็ นกรดและด่าง
2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 7.73 6.29 7.59 - 5.5-9*
(pH) อยู่ในเกณฑ์
มาตรฐาน

บีโอดี (Biochemical Oxygen - น้ าทิ้งมีค่า BOD อยู่ใน


3 1 1070 100 - มิลลิกรัมต่อลิตร 100*
Demand , BOD) เกณฑ์มาตรฐาน

- น้ าทิ้งมีค่า COD มากเกิน


ซีโอดี (Chemical Oxygen
4 20 2395 410 - มิลลิกรัมต่อลิตร 400* เกณฑ์มาตรฐาน 1.02
Demand , COD)
เท่า

ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดใน
น้ าทิ้งมี ค่า TKN อยู่ใน
5 น้ า (Total Kjeldahl Nitrogen 3.5 120 99 - มิลลิกรัมต่อลิตร 200*
เกณฑ์มาตรฐาน
, TKN)

ปริ มาณสารแขวนลอย
- ค่า TSS มีค่าอยู่ใน
6 ทั้งหมด (Total Solid - 780 185 - มิลลิกรัมต่อลิตร 200*
เกณฑ์มาตรฐาน
Suspension , TSS)

7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 200 590 960 - ไม่ระบุค่า

8 ปริ มาณโลหะ (Metals)

แคลเซียม (Ca) 132.838 166.309 145.338 - มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า

มีค่าอยู่ในเกณฑ์
แคดเมียม (Cd) - - 0.002 - มิลลิกรัมต่อลิตร 0.03**
มาตรฐาน

มีค่าอยู่ในเกณฑ์
โครเมียม (Cr) - - - - มิลลิกรัมต่อลิตร 0.3**
มาตรฐาน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-56


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-26 สรุ ปผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าตามค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของภาวนาฟาร์ม (ต่อ)


*มาตรฐานน้าทิ้ง
จากฟาร์ มสุกร
สาหรับฟาร์ม เปรียบเทียบผลการ
ประเภท ข และ ค วิเคราะห์ คุณภาพนา้ กับ
ลาดับ พารามิเตอร์ ทวี่ ิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนา้ หน่ วย
/ ค่ ามาตรฐานนา้ ทิง้ จาก
** มาตรฐานการ ฟาร์ มสุ กร
ระบายน้าลงทาง
ชลประทาน

ประเภทของนา้

นา้ ทิง้ ในบ่อ


นา้ เสียก่ อน นา้ หลังผ่าน
นา้ ดิบ พักนา้
การบาบัด การบาบัด
สุ ดท้ าย

มีค่าอยู่ในเกณฑ์
ทองแดง (Cu) 0.279 2.887 0.737 - มิลลิกรัมต่อลิตร 1.0**
มาตรฐาน

เหล็ก (Fe) 2.206 7.926 1.853 - มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า

โพแทสเซียม (K) 113.071 344.082 499.052 - มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า

ฟอสฟอรัส (P) - 31.000 13.500 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า

แมกนีเซียม (Mg) 150.548 307.433 374.603 - มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า

มีค่าอยู่ในเกณฑ์
ตะกวั่ (Pb) - - - - มิลลิกรัมต่อลิตร 0.1**
มาตรฐาน

มีค่าอยู่ในเกณฑ์
สังกะสี (Zn) 1.208 5.186 1.816 - มิลลิกรัมต่อลิตร 5.0**
มาตรฐาน

การปนเปื้ อนของเชื้อ MPN/100


9 43 2.4 x 107 9.3 x 104 ไม่ระบุค่า
แบคทีเรี ย มิลลิลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-57


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 5-7 ผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าทั้ง 3 ประเภทของภาวนาฟาร์ม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-58


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

5.4.3 สรุปผลวิเคราะห์ คุณภาพนา้ ของภาวนาฟาร์ ม

ตัวอย่ างน้า ผลการวิเคราะห์ คุณภาพน้า ความเหมาะสม


ในการนาไปใช้ ประโยชน์

1 น้าดิบ - น้ าดิบ มีปริ มาณ เหล็ก มากกว่ า เกณฑ์ - สามารถนาไปใช้ในกิจกรรมต่างๆ


มาตรฐานคุณภาพน้ าบาดาลที่ใช้บริ โภค ของฟาร์ มได้ เนื่องจากปกติ ฟาร์ ม
4.41 เท่า สุ กรมีการให้แร่ เหล็กแก่สุกร เพื่อ
ป้ องกันโรคโลหิตจางอยูแ่ ล้ว

2 น้าเสี ยก่ อนบาบัด - น้ ามีความสกปรกมาก ต้องนาไปผ่าน - ไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ แหล่งน้ า


ระบบบาบัดน้ าเสี ยก่อนปล่อยลงสู่ แหล่งน้ า สาธารณะได้
สาธารณะ

3 น้าหลังผ่ านการบาบัด - มีค่า pH BOD TKN และ TSS อยูใ่ น - สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ แหล่งน้ า
เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์ ม สาธารณะได้
สุ กร ยกเว้น มีค่า COD มากกว่ าเกณฑ์
มาตรฐานฯ 1.02 เท่า
- มีธาตุอาหารที่มีประโยชน์ต่อพืช คือ มีค่า
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซี ยม
เป็ นสัดส่ วน
N:P:K = 7:1:37
- ไม่มีปริ มาณโลหะ เกินค่ามาตรฐานน้ าทิง้
ลงทางชลประทาน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-59


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

5.5 ภาพรวมของคุณภาพนา้ ที่จะนามาใช้ ในโครงการการเพิม่ มูลค่าฯ


การนาน้ าจากฟาร์มสุกรมาใช้ในโครงการการเพิ่มมูลค่าน้ าฯ คือ นาน้ าทิ้งในบ่อพักสุ ดท้าย ของ
“ศรี กิจฟาร์ม” “ฟาร์มของนายพนม จิตรใจเย็น” และ “ประชาฟาร์ม” มาใช้ ยกเว้นในกรณี ของ “ภาวนา
ฟาร์ม” ซึ่งจะนาน้ าหลังผ่านระบบบบัดมาใช้ในโครงการเพิ่มมูลค่าฯ เท่านั้น เนื่ องจากภาวนาฟาร์ มไม่มี
บ่อพักน้ าทิ้งสุดท้าย
ซึ่งเมื่อนาผลวิเคราะห์คุณภาพน้ าที่จะนามาใช้ในโครงการเพิ่มมูลค่าฯ จากฟาร์ มทั้ง 4 ฟาร์ ม
มาทาการวิเคราะห์ผลเปรี ยบเทียบกับ “มาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร” และ “มาตรฐานการ
ระบายนาทิ้งลงทางชลประทานและทางน้ าที่เชื่อมต่อกับทางน้ าชลประทานในเขตพื้นที่ชลประทาน”
พบว่า มีรายละเอียดแสดงดังตารางที่ 5-27 และรู ปที่ 5-8
ตารางที่ 5-27 ภาพรวมของคุณภาพน้ าที่จะนามาใช้ในโครงการการเพิ่มมูลค่าฯ
*มาตรฐานน้าทิ้ง
จากฟาร์ มสุกร
สาหรับฟาร์ม เปรียบเทียบผลการ
ประเภท ข และ ค วิเคราะห์ คุณภาพนา้ กับค่ า
ลาดับ พารามิเตอร์ ทวี่ ิเคราะห์ คุณภาพนา้ ที่จะนามาใช้ ในโครงการฯ หน่ วย
/ มาตรฐานนา้ ทิง้ จากฟาร์ ม
** มาตรฐานการ สุ กร
ระบายน้าลงทาง
ชลประทาน

ศรีกิจ ฟาร์ ม ประชา ภาวนา


ฟาร์ ม นายพนม ฟาร์ ม ฟาร์ ม

สี น้ าตาล ใส มีสี สี เหลือง


สี เหลือง
1 ลักษณะของตัวอย่างน้ า เหลือง ขุ่น เหลือง น้ าตาล ไม่ระบุค่า -
ขุ่นเล็กน้อย
เล็กน้อย มีตะกอน มีตะกอน

ทุกฟาร์ มมีค่า pH อยู่ใน


2 ความเป็ นกรดและด่าง (pH) 8.05 8.53 7.47 7.59 5.5-9*
เกณฑ์มาตรฐานฯ

- ฟาร์ มนายพนม มีค่า


บีโอดี (Biochemical Oxygen
3 25 215 36.5 100 มิลลิกรัมต่อลิตร 100* BOD เกินเกณฑ์
Demand , BOD)
มาตรฐาน 2.15 เท่า

- ฟาร์ มนายพนม มีค่า


COD เกินเกณฑ์
ซีโอดี (Chemical Oxygen มาตรฐาน 3.48 เท่า
4 175 1395 320 410 มิลลิกรัมต่อลิตร 400*
Demand , COD) - ภาวนาฟาร์ ม มีค่า COD
เกินเกณฑ์มาตรฐาน 1.02
เท่า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-60


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-27 ภาพรวมของคุณภาพน้ าที่จะนามาใช้ในโครงการการเพิ่มมูลค่าฯ (ต่อ)


*มาตรฐานน้าทิ้ง
จากฟาร์ มสุกร
สาหรับฟาร์ม เปรียบเทียบผลการ
ประเภท ข และ ค วิเคราะห์ คุณภาพนา้ กับค่ า
ลาดับ พารามิเตอร์ ทวี่ ิเคราะห์ คุณภาพนา้ ที่จะนามาใช้ ในโครงการฯ หน่ วย
/ มาตรฐานนา้ ทิง้ จากฟาร์ ม
** มาตรฐานการ สุ กร
ระบายน้าลงทาง
ชลประทาน

ศรีกิจ ฟาร์ ม ประชา ภาวนา


ฟาร์ ม นายพนม ฟาร์ ม ฟาร์ ม

- ฟาร์ มนายพนม มีค่า


TKN เกินเกณฑ์
ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดใน มาตรฐาน 1.97 เท่า
5 น้ า (Total Kjeldahl Nitrogen 185 395 225 99 มิลลิกรัมต่อลิตร 200*
, TKN) - ประชาฟาร์ ม มีค่า TKN
เกินเกณฑ์มาตรฐาน
1.12 เท่า

ปริ มาณสารแขวนลอย - ประชาฟาร์ ม มีค่า TSS


6 ทั้งหมด (Total Solid 13 75 295 - มิลลิกรัมต่อลิตร 200* เกินเกณฑ์มาตรฐาน
Suspension , TSS) 1.47 เท่า

7 ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) 885 1785 1115 960 ไม่ระบุค่า


8 ปริ มาณโลหะ (Metals)

แคลเซียม (Ca) 149.744 112.685 163.216 145.338 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า

แคดเมียม (Cd) - - - 0.002 มิลลิกรัมต่อลิตร 0.03**

โครเมียม (Cr) - - - - มิลลิกรัมต่อลิตร 0.3**

- ฟาร์ มนายพนม มีค่า


ทองแดง เกินเกณฑ์
มาตรฐาน 2.05 เท่า
ทองแดง (Cu) 0.947 2.059 14.350 0.737 มิลลิกรัมต่อลิตร 1.0**
- ประชาฟาร์ ม มีค่า
ทองแดง เกินเกณฑ์
มาตรฐาน 14.35 เท่า
0.5** ทุกฟาร์ มมีเหล็กเกินเกณฑ์
เหล็ก (Fe) 10.447 270.666 60.146 1.853 มิลลิกรัมต่อลิตร
มาตรฐาน

โพแทสเซียม (K) 495.954 489.057 490.769 499.052 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า

ฟอสฟอรัส (P) 10.500 13.500 29.000 13.500 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า

แมกนีเซียม (Mg) 368.888 307.338 311.218 374.603 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่ระบุค่า

ตะกวั่ (Pb) - - - - มิลลิกรัมต่อลิตร 0.1**

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-61


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 5-27 ภาพรวมของคุณภาพน้ าที่จะนามาใช้ในโครงการการเพิ่มมูลค่าฯ (ต่อ)


*มาตรฐานน้าทิ้ง
จากฟาร์ มสุกร
สาหรับฟาร์ม เปรียบเทียบผลการ
ประเภท ข และ ค วิเคราะห์ คุณภาพนา้ กับค่ า
ลาดับ พารามิเตอร์ ทวี่ ิเคราะห์ คุณภาพนา้ ที่จะนามาใช้ ในโครงการฯ หน่ วย
/ มาตรฐานนา้ ทิง้ จากฟาร์ ม
** มาตรฐานการ สุ กร
ระบายน้าลงทาง
ชลประทาน

ศรีกิจ ฟาร์ ม ประชา ภาวนา


ฟาร์ ม นายพนม ฟาร์ ม ฟาร์ ม

- ศรี กจิ ฟาร์ ม มีค่าสังกะสี


เกินมาตรฐานกาหนด
1.97 เท่า
- ฟาร์ มนายพนม มีค่า
สังกะสี (Zn) 9.892 10.918 34.997 1.816 มิลลิกรัมต่อลิตร 5.0** สังกะสี เกินมาตรฐาน
กาหนด 2.18 เท่า
- ประชาฟาร์ มมีค่าสังกะสี
เกินมาตรฐานกาหนด
6.99 เท่า

การปนเปื้ อนของเชื้อ MPN/100


9 2.1 x 105 1.5 x 105 1.5 x 106 9.3 x 104 ไม่ระบุค่า
แบคทีเรี ย มิลลิลิตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-62


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 5-8 เปรี ยบเทียบคุณภาพน้ าตัวอย่างในบ่อพักน้ าสุดท้าย ของฟาร์มทั้ง 4 แห่ง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-63


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

สรุปผลภาพรวมของคุณภาพนา้ ที่จะนามาใช้ ในโครงการการเพิม่ มูลค่าฯ ดังนี้

ตัวอย่ างน้าที่จะนาไปใช้ ผลการวิเคราะห์ คุณภาพน้า ความเหมาะสม


ในการนาไปใช้ ประโยชน์

1. ศรีกิจฟาร์ ม - ผลการวิเคราะห์ พบว่า มีค่าอยูใ่ นเกณฑ์ - สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ แหล่งน้ า


มาตรฐานคุณภาพน้ าทิง้ จากฟาร์ มสุ กร สาธารณะได้
น้าทิ้งในบ่ อพักน้าสุ ดท้ าย
- มีธาตุอาหารที่มีประโยชน์ต่อพืช คือ มีค่า - มีปริ มาณสังกะสี มากเกินเกณฑ์
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซี ยม มาตรฐานน้ าทิ้งลงทางชลประทาน
เป็ นสัดส่ วน 1.97 เท่า
N:P:K = 18:1:48 - น้าไปใช้ ในการปลูกพืชได้
- ไม่พบปริ มาณโลหะที่เป็ นอันตรายต่อ
สิ่ งแวดล้อม

2. ฟาร์ มนายพนม จิตรใจเย็น - ผลการวิเคราะห์ พบว่า มีค่า BOD COD และ - ไม่ สามารถปล่ อยทิ้งลงสู่ แหล่ งน้า
น้าทิ้งในบ่ อพักน้าสุ ดท้ าย TKN มากกว่ า เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้ง สาธารณะได้ เนื่องจากมีค่า BOD
จากฟาร์ มสุ กร 2.15 3.48 และ 1.97 เท่า COD และ TKN มากกว่ า เกณฑ์
ตามลาดับ มาตรฐานคุณภาพน้าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร
- มีธาตุอาหารที่มีประโยชน์ต่อพืช คือ มีค่า - มีปริ มาณ ทองแดง และ สังกะสี
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซี ยม มากกว่ า เกณฑ์มาตรฐานน้ าทิ้งลงทาง
เป็ นสัดส่ วน ชลประทาน 2.00 และ2.18 เท่า
N:P:K = 30:1:26 ตามลาดับ

- มีปริ มาณ ทองแดง และสังกะสี มากกว่ าค่า - นาไปใช้ เป็ นแหล่ งพลังงานสาหรับ
มาตรฐานน้ าทิ้งลงทางชลประทาน สิ่ งมีชีวิตเซลเดียว เช่ น แบคทีเรีย ใน
การผลิตพลังงานได้

3 ประชาฟาร์ ม - มีคา่ pH BOD และ COD อยูใ่ นเกณฑ์ - ไม่ สามารถปล่ อยทิ้งลงสู่ แหล่ งน้า
น้าทิ้งในบ่ อพักน้าสุ ดท้ าย มาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กรระบบ สาธารณะได้ TKN และ TSS มีค่า
บาบัดน้ าเสี ย มากกว่ า เกณฑ์ มาตรฐานคุณภาพน้า
- TKN และ TSS มีค่า มากกว่ า เกณฑ์ ทิ้งจากฟาร์ มสุ กร
มาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร - มีปริ มาณ ทองแดง และ สังกะสี
(มากกว่าร้อยละ 1.12 และ 1.47 เท่า มากกว่ า เกณฑ์มาตรฐานน้ าทิ้งลงทาง
ตามลาดับ) ชลประทาน 14.35 และ 6.99 เท่า
- มีธาตุอาหารที่มีประโยชน์ต่อพืช คือ มีค่า ตามลาดับ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-64


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตัวอย่ างน้าที่จะนาไปใช้ ผลการวิเคราะห์ คุณภาพน้า ความเหมาะสม


ในการนาไปใช้ ประโยชน์
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซี ยม - ไม่สามารถนาไปใช้ในการปลูกพืชได้
เป็ นสัดส่ วน เนื่องจากอาจมีการสะสมทองแดงและ
N:P:K = 7:1:16 สังกะสี ในดน และในพืช ซึ่ งอาจส่ งผล
กระทบต่อมนุษย์ได้ในภายหลัง
- มีปริ มาณ ทองแดง และสังกะสี เกินค่า
มาตรฐานน้ าทิ้งลงทางชลประทาน - นาไปใช้ เป็ นแหล่ งพลังงานสาหรับ
สิ่ งมีชีวิตเซลเดียว เช่ น แบคทีเรีย ใน
การผลิตพลังงานได้

4 ภาวนาฟาร์ ม - มีค่า pH BOD TKN และ TSS อยูใ่ นเกณฑ์ - สามารถปล่อยทิง้ ลงสู่ แหล่งน้ า
น้าหลังผ่ านการบาบัด มาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร ยกเว้น สาธารณะได้
มีค่า COD มากกว่ าเกณฑ์มาตรฐานฯ 1.02 - นาไปใช้ ในการปลูกพืชได้
เท่า
- มีธาตุอาหารที่มีประโยชน์ต่อพืช คือ มีค่า
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซี ยม
เป็ นสัดส่ วน
N:P:K = 7:1:37
- ไม่มีปริ มาณโลหะ เกินค่ามาตรฐานน้ าทิ้งลง
ทางชลประทาน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 5-65


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT005
บทที่ 6
แนวทางการเพิม่ มูลค่ าน้าทิง้ จากระบบบาบัดแบบ
ผลิตก๊ าซชีวภาพจากฟาร์ มสุ กร
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บทที่ 6
แนวทางการเพิม่ มูลค่ าน้าทิง้ จากระบบบาบัดแบบผลิตก๊ าซชีวภาพ
จากฟาร์ มสุ กร

บทนา
แนวทางการจัดการของเสียจากฟาร์มสุกร แบ่งออกได้หลายแนวทางแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์
และความต้องการของผูจ้ ดั การฟาร์ม แนวทางการจัดการของเสี ยจากฟาร์มปศุสตั ว์ แสดงในรู ปที่ 6-1
ทางเลือกหนึ่งที่ให้ความสนใจอย่างกว้างขวางทั้งในประเทศ และต่างประเทศ คือการการนาน้ าเสียจาก
ฟาร์มสุกรไปผ่านการบาบัดน้ าเสียแบบผลิตก๊าซชีวภาพได้ (Biogas) วิธีการดังกล่าวจะทาให้ได้น้ าทิ้งที่มี
ค่าความสกปรกลดลง และพลังงานเป็ นผลพลอยได้จากการบาบัดน้ าเสียหมุนเวียนกลับไปใช้ในกิจกรรม
ต่างๆ ภายในฟาร์ม จะช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงานกับเจ้าของฟาร์มสุกรอย่างเป็ นรู ปธรรม

รูปที่ 6-1 แนวทางการจัดการของเสียจากฟาร์มปศุสตั ว์

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-1


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

จากการศึกษาส่วนใหญ่พบว่าน้ าทิ้งจากระบบบาบัดน้ าเสียแบบผลิตก๊าซชีวภาพ (Biogas)


พบว่ายังมีค่าความสกปรก เช่น บีโอดี (BOD) ไนโตรเจน (N) และฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K)
เป็ นต้น ซึ่งน้ าทิ้งดังกล่าวจะต้องทาการบาบัดต่อไปเพือ่ ให้มีค่าได้ตามมาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกร
(กรมควบคุมมลพิษ) ก่อนทาการปล่อยลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะ จากรายงานการศึกษา Panichsakpatana
(2005) พบว่าลักษณะน้ าทิ้งที่ผา่ นระบบบาบัดแบบผลิตก๊าซชีวภาพ มีลกั ษณะทางทางเคมีโดยทัว่ ไป
ดังนี้ (ค่าเฉลี่ย) พีเอช (pH) ประมาณ 7.5 ค่านาไฟฟ้ า (Conductivity) เท่ากับ 1.6 mS/cm บีโอดี (BOD)
เท่ากับ 23 มิลลิกรัม/ลิตร และสารอาหารของพืช ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม เท่ากับ
68 - 69, 21 และ 50 มิลลิกรัม/ลิตร ตามลาดับ จากค่าความสกปรกในน้ าทิ้งฯ จะเห็นได้ว่า มีปริ มาณ
สารอินทรี ย ์ และสารอาหารของพืช ละลายเจือปนอยูใ่ นน้ า ถ้าปล่อยลงสู่แหล่งน้ าธรรมชาติจะทาให้เกิดการ
เน่าเสียในแม่น้ าลาคลอง และปรากฏการณ์พืชน้ าเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ ว เรี ยกว่า ยูโทรฟิ เคชัน
(Eutrophication) ที่เกิดจากการเจริ ญเติบโตของพืชน้ าจากสารอาหารของพืชที่ปนเปื้ อนอยูใ่ นแหล่งน้ า
จนทาให้เกิดการเน่าเสียของแม่น้ าลาคลอง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศทางน้ า
แผ่ขยายในวงกว้าง และยังส่ งผลต่ออาชีพประมง และชุมชนที่อาศัยอยูโ่ ดยรอบพื้นที่
แนวทางการจัดการน้ าทิ้งจากระบบบาบัดแบบผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มสุกรในประเทศไทย ส่วน
ใหญ่จะเป็ นการกักเก็บน้ าไว้ในบ่อพักน้ าภายในบริ เวณพื้นที่ของฟาร์ม ฟาร์มสุกรบางแห่งได้มีความ
พยายามที่จะใช้จะนาจากน้ าทิ้งฯกลับมาใช้ประโยชน์ เช่น การนาน้ าทิ้งฯกลับมาใช้ลา้ งทาความสะอาดคอก
สัตว์ การนาไปรดน้ าต้นไม้ เป็ นต้น แต่อย่างไรก็ดีจากลักษณะน้ าทิ้งจากระบบบาบัดน้ าเสียแบบผลิตก๊าซ
ชีวภาพ มีองค์ประกอบของสารอาหารที่จาเป็ นต่อการเจริ ญเติบโตของพืช ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
และโพแทสเซียม ด้วยลักษณะน้ าทิ้งดังกล่าวสามารถนาไปประยุกต์ใช้โดยวิธีการต่างๆ เพื่อเป็ น สร้าง
รายได้และลดรายจ่ายให้กบั เจ้าของฟาร์มสุกรหรื อเกษตรกร และยังเป็ นการช่วยลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม
จากการนาน้ าทิ้งฯกลับมาใช้ประโยชน์แทนการปล่อยลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-2


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

จากลักษณะของน้ าทิ้งและเทคโนโลยีการบาบัดน้ าเสียในปัจจุบนั แนวทางในการเพิ่มมูลค่าน้ าทิ้ง


แบ่งออกได้เป็ น 7 แนวทาง ดังนี้

แนวทางการเพิม่ มูลค่านา้ ทีผ่ ่านการบาบัดแบบผลิตก๊าซชีวภาพ มีดังนี้

(1) การนาน้ าทิ้งฯไปใช้เป็ นปุ๋ ยอินทรี ยน์ ้ า – เพื่อเป็ นปุ๋ ยบารุ งดินสาหรับการปลูกพืช
พลังงาน (อาทิเช่น อ้อย ข้าวโพด และ มันสาปะหลัง) และ พืชเศรษฐกิจ (ข้าว)
(2) การนาน้ าทิ้งฯ ไปผลิตเป็ น ปุ๋ ยแคลเซียม-ฟอสเฟต (Calcium phosphate) หรื ออะพาไทท์
(Calcium hydroxyl apatite, HAP) – เป็ นปุ๋ ยที่ใช้ในการเพาะปลูกพืช หรื อเป็ นวัตถุดิบ
ตั้งต้นในการอุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ ย
(3) การนาน้ าทิ้งฯไปผลิตเป็ น ปุ๋ ยแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต (Magnesium
ammonium phosphate, MAP) หรื อ สตรู ไวท์ (Struvite) – เป็ นปุ๋ ยละลายช้า (Slow
release fertilizer) ใช้ในเพาะปลูกพืช หรื อเป็ นวัตถุดิบตั้งต้นในการอุตสาหกรรมการ
ผลิตปุ๋ ย
(4) การนาน้ าทิ้งฯไปผ่านระบบเซลล์ชีวภาพ (Microbial Fuel Cell, MFC) – เพื่อบาบัดน้ า
เพื่อผลิตพลังงาน
(5) การนาน้ าทิ้งฯไปเพาะเลี้ยงสาหร่ าย – เพื่อบาบัดน้ าทิ้งขั้นหลังและได้สาหร่ ายเป็ น
ผลิตภัณฑ์
(6) การนาน้ าทิ้งฯไปเลี้ยงแหน – เพื่อบาบัดน้ าทิ้งขั้นหลังและได้แหนเป็ นผลิตภัณฑ์ที่
สามารถเป็ นแหล่งโปรตีนสาหรับอาหารสัตว์ และแหนเป็ นพืชที่มีศกั ยภาพในการผลิต
เอทานอล
(7) การนาน้ าทิ้งฯไปเลี้ยงไรแดง – ได้ผลิตภัณฑ์เป็ นไรแดง เป็ นแหล่งโปรตีนในการเลี้ยง
ปลา และสามารถจัดจาหน่ายทางการค้า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-3


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

6.1 แนวทางที่ 1 : การนานา้ ทิง้ ฯไปใช้ เป็ นปุ๋ ยอินทรีย์นา้ (Wastewater as fertilizer and irrigation
water)

6.1.1 หลักการ และวิธีการ


น้ าทิ้งจากระบบบาบัดน้ าเสียแบบผลิตก๊าซชีวภาพ สามารถนาไปใช้เป็ นปุ๋ ยอินทรี ยแ์ บบน้ า เพื่อ
การเพาะปลูกพืชพลังงาน เช่น ข้าวโพด มันสาปะหลัง อ้อย และ ปาล์มน้ ามัน และพืชเศรษฐกิจเช่น ข้าว
เนื่องจากน้ าทิ้งฯ นั้นมีค่าสารอินทรี ยแ์ ละสารอาหารและแร่ ธาตุพืชต้องการในละลายอยูใ่ นรู ปที่พืชสามารถ
นาไปใช้ได้โดยตรง เช่น ฟอสเฟต (PO43-) ไนเตรด (NO32-) แอมโมเนีย (NH4+) โพแทสเซียม (K+)
แคลเซียม (Ca2+) และแมกนีเซียม (Mg+) เป็ นต้น ซึ่งทดแทนปริ มาณการใช้ปุ๋ยเคมีที่ใช้ในการเพาะปลูก
เป็ นการช่วยลดต้นทุนจากรายจ่ายค่าปุ๋ ยให้กบั เกษตรกร
สารอาหาร และแร่ ธาตุที่จาเป็ นต่อพืชที่พบในน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกร แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ ธาตุ
อาหารหลัก (N-P-K) ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ในรู ปของ ไนเตรด (NO32-) และแอมโมเนีย (NH4),
ฟอสฟอรัส (P) ที่อยูใ่ นรู ปของ ฟอสเฟต (PO43-) และโพแทสเซียม (K+) และธาตุอาหารรอง ได้แก่
แร่ ธาตุต่างๆ เช่น แคลเซียม (Ca2+) แมกนีเซียม (Mg2+) และซัลเฟอร์ เป็ นต้น ธาตุอาหารเหล่านี้ เป็ นธาตุ
อาหารที่เหมาะต่อการเพาะปลูกพืช ตารางที่ 5-1 ถึง 5-3 แสดงแหล่งปุ๋ ยเคมีที่ใช้ในการเกษตร ซึ่งจะมี
ธาตุอาหารหลัก ได้แก่ ฟอสฟอรัส ไนโตรเจน และ โพแทสเซียม และธาตุอาหารรอง เช่น แมกนีเซียม
เป็ นต้น ซึ่งสารอาหารและแร่ ธาตุเหล่านี้ลว้ นเจือปนอยูใ่ นน้ าทิ้งที่ผา่ นระบบบาบัดน้ าเสียแบบก๊าซชีวภาพ
จากฟาร์มสุกรทั้งสิ้น
กลุ่มพืชทางการเกษตรที่น่าสนใจในการนาปุ๋ ยน้ าจากน้ าทิ้งจากระบบบาบัดน้ าเสียแบบผลิตก๊าซ
ชีวภาพจากฟาร์มสุกร คือ พืชพลังงาน ในที่น้ ีแบ่งเป็ นเป็ นกลุ่มพืชที่ให้น้ ามันเพื่อใช้ผลิตไบโอดีเซล
(Biodiesel) ได้แก่ ปาล์มน้ ามัน และกลุ่มพืชที่นาไปผลิตเอทานอล ซึ่งได้แก่ อ้อย ข้าวโพด และ
มันสาปะหลัง พืชในกลุ่มนี้จะมีแป้ ง และน้ าตาลเป็ นองค์ประกอบอยูส่ ูง เมื่อนาไปผ่านกระบวนการหมัก
(Fermentation) จะสามารถเปลี่ยนแป้ ง และน้ าตาลให้กลายเป็ นแอลกอฮอล์ได้ และเมื่อนาแอลกอฮอล์
ที่ได้จากการหมักนี้ไปผ่านกระบวนการกลัน่ จะได้แอลกอฮอล์ที่มีความบริ สุทธิ์สูง ที่ไปใช้เป็ นเชื้อเพลิง
ได้ต่อไป พืชเหล่านี้นอกจากจะนาไปใช้วตั ถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารแล้ว ยังนาไปใช้ในการผลิตเป็ น
พลังงานทดแทนได้อีกด้วย
จากการส่งเสริ ม และสนับสนุนปลูกพืชพลังงานจากทางภาครัฐฯ ไม่ว่าจะเป็ นการส่งเสริ มการ
ปลูกปาล์มน้ ามัน อ้อย ข้าวโพด และมันสาปะหลัง การเพิ่มพื้นที่ทางการเกษตรจะส่งผลกระทบต่อการ
ใช้ประโยชน์ที่ดิน และยังรวมไปถึงตลาดของอุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ ย การหาแหล่งปุ๋ ยให้เกษตรเพื่อ
ส่งเสริ มการเพาะปลูกพืชพลังงานจึงเป็ นเรื่ องที่ควรคานึงถึง น้ าทิ้งที่ผา่ นกระบวนการบาบัดนาเสียแบบ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-4


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มสุกรสามารถเป็ นแหล่งปุ๋ ยน้ าอินทรี ยเ์ พื่อทดแทนปุ๋ ยเคมี และลดภาระรายจ่าย


ค่าปุ๋ ยเพื่อการเพาะปลูกของเกษตรกร

6.1.2 ข้ อจากัดของการนานา้ ทิง้ ฯ ไปใช้ เป็ นปุ๋ ยนา้


การนาน้ าทิ้งฯ ไปใช้เป็ นปุ๋ ยน้ าโดยตรง มีขอ้ จากัดบางประการที่ควรคานึงถึง ได้แก่ สิ่งปนเปื้ อน
ในน้ าเสีย โลหะหนัก (Heavy metals) เชื้อโรคและพยาธิ (Human pathogens) และสารพิษ เนื่องจาก
กิจกรรมซึ่งเป็ นที่มาของน้ าเสียมาจากการล้างทาความสะอาดคอกสัตว์และขับถ่ายของเสีย อาจมีโลหะหนัก
เชื้อโรคหรื อพยาธิที่เป็ นอันตรายต่อมนุษย์ปะปนมากับน้ าทิ้งฯ และสามารถเข้าสู่ร่างกายของมนุษย์ผา่ น
ทางการสัมผัส หรื อการรับประทาน และเกิดการสะสมอยูใ่ นร่ างกายของมนุษย์ แต่อย่างไรก็ดีการ
เพาะปลูกพืชพลังงาน จะได้รับผลกระทบจากสารปนเปื้ อนเหล่านี้สู่ห่วงโซ่อาหารของมนุษย์นอ้ ยกว่า
เมื่อเทียบกับพืชหรื อผักที่ใช้บริ โภคโดยตรง
การนาน้ าทิ้งฯ ไปใช้เป็ นปุ๋ ยน้ าอินทรี ยโ์ ดยตรง เมื่อมีการให้ปุ๋ยที่เกินความจาเป็ นต่อความ
ต้องการของพืช ทาให้ธาตุอาหารละลายไปกับน้ า และซึมผ่านชั้นดินไปยังแหล่งน้ าธรรมชาติหรื อแหล่ง
น้ าใต้ดิน ส่งผลให้พืชน้ าในแหล่งน้ าลาคลองเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ วผิดปกติ ที่เรี ยกว่า ยูโทรฟิ เคชัน
(Eutrophication) และเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของระบบนิเวศจากการเน่าเสียของแหล่งน้ า
นอกจากนี้ ยงั มีรายงานการศึกษาจากต่างประเทศถึงผลกระทบต่อระบบนิ เวศต่อการนาน้ าทิ้ง
จากระบบบาบัดน้ าเสียแบบไร้อากาศไปใช้ในการเกษตร เนื่องจากในน้ าทิ้งจะมีจุลินทรี ยช์ นิดที่ไม่ใช้
อากาศ (Anaerobic bacteria) ปะปนอยู่ เมื่อนาไปสะสมอยูใ่ นบริ เวณเป็ นระยะเวลานาน จะทาให้เกิด
สภาพไร้อากาศ ซึ่งอาจมีผลต่อสิ่งมีชีวิตเดิมที่อาศัยอยู่
การขนส่งในระยะไกลทาได้ไม่สะดวก เนื่องจากปุ๋ ยประเภทนี้มีน้ าเป็ นส่วนประกอบอยูเ่ ป็ น
จานวนมากเมื่อเทียบกับปุ๋ ยเม็ดหรื อปุ๋ ยอัดแห้ง วิธีการนาน้ าทิ้งที่ผา่ นระบบบาบัดน้ าเสี ยแบบก๊าซชีวภาพ
ไปใช้เป็ นปุ๋ ยน้ าอินทรี ย ์ อาจเหมาะสมกับฟาร์มสุกรที่มีพ้นื ที่ทาการเกษตรอยูบ่ ริ เวณใกล้เคียงที่เกษตรกร
สามารถใช้ได้โดยไม่ตอ้ งทาการขนส่งในระยะไกล และเกษตรกรสามารถนาก๊าซชีวภาพที่เป็ นผลพลอยได้
จากระบบบาบัดน้ าเสียไปใช้ในรู ปพลังงานให้กบั เครื่ องสูบน้ า เพื่อสูบน้ าเสียเหล่านี้ไปยังแปลงเกษตร

6.1.3 ข้ อดีและข้อจากัดของการนานา้ ทิง้ ฯไปใช้ เป็ นปุ๋ ยอินทรีย์นา้ สรุปได้ดังนี้


ข้ อดี
1) การนาไปใช้งานทาได้สะดวก
2) พืชสามารถนาแร่ ธาตุอาหารไปใช้ได้โดยตรง เหมือนการใช้ปุ๋ยน้ า
3) ลดภาระรายจ่ายเรื่ องปุ๋ ยให้เกษตรกร
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-5
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ข้ อจากัด
1) การขนส่งปุ๋ ยน้ าในระยะไกลทาได้ไม่สะดวก เนื่องจากเป็ นการขนส่งน้ าปริ มาณมาก
2) สิ่งเจือปนในน้ าเสียที่เป็ นอันตรายต่อมนุษย์ เช่น โลหะหนัก เชื้อโรค และพยาธิ
3) การปนเปื้ อนของธาตุอาหารลงสู่แหล่งน้ าใต้ดิน และแหล่งน้ าธรรมชาติ เนื่องจากธาตุ
อาหารอยูใ่ นรู ปละลายน้ า

6.1.4 แนวทางการประยุกต์ใช้ พลังงาน


นาก๊าซชีวภาพเป็ นเชื้อเพลิงสาหรับเครื่ องสูบน้ า เพื่อสูบน้ าทิ้งที่ใช้ไปสาหรับรดน้ าพืชไร และ
แปลงเกษตร เพื่อทดแทนพลังงานไฟฟ้ า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-6


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

6.2 แนวทางที่ 2 : การนานา้ ทิง้ ฯไปทาปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต (Calcium phosphate) หรืออะพาไทท์


(Calcium hydroxyl apatite, HAP)

6.2.1 หลักการและวิธกี าร
น้ าทิ้งจากระบบบาบัดทางชีวภาพของฟาร์มสุกร ทั้งระบบบาบัดน้ าเสียแบบใช้ออกซิเจน และ
แบบไม่ใช้ออกซิเจน ยังมีสิ่งเจือปนในน้ าทิ้งที่ไม่สามารถทาการบาบัดได้ดว้ ยวิธีการดังกล่าว เช่น
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส ที่มีปริ มาณสูงหรื อเกินค่ามาตรฐานน้ าทิ้ง จึงต้องทาการบาบัดน้ าเสียต่อในขั้นที่
สาม (Tertiary treatment) หรื อ ขั้นหลัง (Post treatment) หรื อ การบาบัดเฉพาะด้าน (Advance
treatment) เพื่อกาจัดสารเจือปนที่เฉพาะเจาะจง เช่น การกาจัดไนโตรเจน และฟอสฟอรัส เป็ นต้น จาก
เทคโนโลยีการบาบัดน้ าเสียในปัจจุบนั พบว่าน้ าทิ้งเหล่านี้สามารถนาไปเพิ่มมูลค่าได้ โดยการแยกธาตุ
อาหารที่เป็ นประโยชน์ต่อพืชออกมาใช้ประโยชน์ (Nutrient recovery) ได้แก่ การแยกเอาฟอสฟอรัสที่
ละลายอยูใ่ นน้ าเสียออกมา (Phosphorus removal)
น้ าเสียที่ออกจากระบบบาบัดทางชีวภาพจากฟาร์มสุกร ที่มีฟอสเฟตปนเปื้ อนอยูใ่ นน้ า สามารถ
นามาแยกฟอสเฟตที่ละลายอยูใ่ นน้ าทิ้งให้กลับมาอยูใ่ นรู ปที่ใช้ประโยชน์ได้ โดยการตกตะกอนด้วย
แคลเซียม เช่น ปูนขาว ให้อยูใ่ นรู ปแคลเซียมฟอสเฟต (Calcium phosphate) (House et al., 1999;
Piekema, 2004; Bauer et al., 2007; van der Houwen and Valsami-Jones, 2007; Cao and Harris, 2008)
และกระบวนการนี้สามารถฆ่าเชื้อโรคในน้ าเสียได้ เนื่องจากการเกิดปฏิกิริยาต้องการค่าพีเอชสูง หรื อมี
สภาพความเป็ นด่างสูงจึงเป็ นการฆ่าเชื้อโรค (Disinfection) ในน้ าเสียไปพร้อมกัน
การตกตะกอนของ แคลเซียม (Ca2+) และ ฟอสเฟต (PO43-) สามารถตกตะกอนได้หลายรู ปแบบ
โดยปัจจัยการเกิดผลึกฟอสเฟตในรู ปแบบต่างๆจะขึ้นอยูก่ บั ค่าพีเอชของน้ า และ สภาวะการอิ่มตัว
(Supersaturation) สิ่งเจือปนในน้ าเสีย เป็ นต้น โดยผลึกไฮดรอกซีอะพาไทท์ (hydroxyapatite,
Ca5(PO4)3(OH)) เป็ นผลึกฟอสเฟตที่มีความเสถียร และเป็ นรู ปแบบผลึกที่นิยมใช้ในการกาจัด
ฟอสฟอรัสจากระบบบาบัดน้ าเสีย การตกผลึกแคลเซียมฟอสเฟต สามารถทาโดยการเติมปูนขาว หรื อ
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Calclium hydroxide, [Ca(OH)2]) ซึ่งเป็ นวิธีนิยมใช้กนั ในระบบบาบัดน้ าเสีย
เพื่อการกาจัดฟอสฟอรัส
ดังนั้นการบาบัดน้ าเสียที่มีฟอสฟอรัสด้วยแคลเซียม จะทาให้ได้ตะกอนผลึกแคลเซียมฟอสเฟต
หรื ออะพาไทท์ ซึ่งเป็ นผลพลอยได้ที่มีมลู ค่าสาหรับใช้เป็ นปุ๋ ยในการทาเกษตรกรรม หรื อเป็ นวัตถุดิบใน
การผลิตเป็ นปุ๋ ย รู ปที่ 6-2 แสดงตะกอนแคลเซียมฟอสเฟตที่ได้จากระบบบาบัดน้ าเสียจากโรงบาบัดน้ า
เสียจากฟาร์มปศุสตั ว์ มลรัฐ นอร์ทคาโรไลน่า ประเทศสหรัฐอเมริ กา (Full-scale liquid manure
treatment facility, 4360-head finisher swine production unit in Duplin County, North Carolina, USA)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-7


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

การตกผลึกแคลเซียมฟอสเฟต จึงเป็ นเทคโนโลยีในการแยกฟอสเฟตที่อยูใ่ นน้ าเสียกลับมาใช้


ประโยชน์ เนื่องฟอสเฟตที่แยกออกมาจากการตกผลึกนั้นมีลกั ษณะพื้นฐานเหมือนกับหินฟอสฟอรัส
ดังนั้นการนาไปใช้จึงเหมือนการใช้หินฟอสฟอรัสสาหรับภาคการเกษตรและการเพาะปลูก (Hosni et al.,
2007) หรื อนาไปใช้เป็ นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตการใช้โดยนาไปผสมกับกรดเพื่อแยกฟอสเฟต
ออกมาให้อยูใ่ นรู ปปุ๋ ยละลายน้ า นอกจากนี้ยงั เป็ นการช่วยลดปัญหามลภาวะทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดจาก
การปนเปื้ อนของธาตุอาหารของพืชในแหล่งน้ าผิวดินและแหล่งน้ าใต้ดิน จนก่อให้เกิดปรากฏการณ์
ยูโทรฟิ เคชัน (Eutrophication)

ที่มา: Blue lagoon on pig farm (2005), www.nps.ars.usda.gov.

รูปที่ 6-2 ตะกอนแคลเซียมฟอสเฟตที่ได้จากระบบบาบัดน้ าเสีย


6.2.2 ข้ อดีและข้ อจากัดของการนานา้ เสียไปผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตหรืออะพาไทท์ สามารถสรุปได้
ดังนี้
ข้ อดี
1) กาจัดฟอสเฟตในน้ าเสีย
2) ผลิตภัณฑ์ที่ได้แคลเซียมฟอสเฟตหรื ออะพาไทท์สามารถนาไปใช้เป็ นปุ๋ ยละลายและ
เป็ นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ ย
3) ไม่ตอ้ งคานึงถึงสิ่งเจือปนและโลหะหนักในน้ าเสีย
4) การขนส่งทาได้สะดวก เนื่องจากอยูใ่ นรู ปตะกอนผลึก
5) ลดการปนเปื้ อนของธาตุอาหารลงสู่แหล่งน้ าใต้ดิน และ แหล่งน้ าธรรมชาติ
ข้ อจากัด
1) เหมาะสาหรับน้ าเสียที่มีแคลเซียม และฟอสเฟต
2) ค่าใช้จ่ายจากการเติมสารเคมี

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-8


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

3) ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบ และถังปฏิกรณ์
4) ต้องการการควบคุมการเกิดปฏิกิริยาที่เหมาะสมต่อการตกผลึก
5) ต้องการการเติมตัวประสารตะกอน เช่น Bentonite
6.2.3 แนวทางการประยุกต์ใช้ พลังงาน
นาก๊าซชีวภาพเป็ นเชื้อเพลิงสาหรับอุปกรณ์ในถังปฏิกิริยา ได้แก่ เครื่ องสูบน้ าต่างๆ และเครื่ อง
กวนตะกอน เพื่อทดแทนพลังงานไฟฟ้ า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-9


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

6.3 แนวทางที่ 3 : การนานา้ ทิง้ ฯ ไปทาปุ๋ ยแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต หรือ สตรูไวท์
(Magnesium ammonium phosphate, MAP or Struvite)

6.3.1 หลักการและวิธกี าร
จากในอดีตที่ผา่ นมาวิธีการกาจัดฟอสฟอรัสออกจากน้ าเสียมีอยูห่ ลายวิธีดว้ ยกัน ทั้งวิธีทาง
ชีวภาพ (Biological treatment) – การใช้จุลินทรี ยใ์ นการย่อยสลายฟอสฟอรัส และวิธีทางเคมี (Chemical
treatment) – การใช้สารเคมีเพื่อช่วยในแยกหรื อตกตะกอนฟอสฟอรัสออกจากน้ าเสีย อาทิเช่น การ
ตกตะกอนเคมี (Chemical precipitation) จะใช้สารเคมีที่ช่วยในการตกตะกอน (Precipitant) จับ
ฟอสฟอรัสที่อยูใ่ นรู ปละลายน้ าในน้ าเสียให้ตกตะกอนแยกออกจากน้ า เช่น การตกตะกอนด้วยเหล็ก-
แคลเซียม- หรื อ อลูมิเนียม- ฟอสเฟต (Iron-, Calcium- or Aluminium- phosphate) อย่างไรตามวิธีการ
ดังกล่าวไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายสูงจากการเติมสารเคมีจานวนมากเพื่อการ
กาจัดฟอสฟอรัส และตะกอนเคมีที่เกิดขึ้นไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผา่ นมา
เทคโนโลยีการแยกฟอสฟอรัสออกจากน้ าเสียที่เป็ นที่ให้ความสนใจและทาศึกษาวิจยั กันอย่างกว้างขวาง
คือ การกาจัดฟอสฟอรัสด้วยการตกตะกอนผลึก (Phosphorus precipitation or crystallization) .ผลึกที่ได้
เรี ยกว่า แมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต (Magnesium ammonium phosphate, MAP) หรือ สตรู
ไวท์ (Struvite) (Miles and Ellis, 2001; Burns et al., 2002; Jaffer and Pearce, 2004; Battistoni et al.,
2005; Suzuki et al., 2006) รายละเอียดแสดงในบทที่ 10
การตกตะกอนผลึก แมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต หรื อ สตรู ไวท์ เป็ นการควบคุม
แมกนีเซียม (Magnesium, Mg2+) แอมโมเนีย (Ammonium, NH4+) และ ฟอสเฟต (Phosphate, PO43-) ที่
ละลายอยูใ่ นน้ าเสีย ให้รวมตัวเกิดเป็ นผลึกของแข็งและตกตะกอนแยกออกมา โดยทาความควบคุม
อัตราส่วนโมลของสารต่างๆ ค่าพีเอช หรื อ ค่าความเป็ นกรด-ด่างของน้ า และปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้องให้มี
สภาพที่เหมาะสมต่อการตกผลึก วิธีการดังกล่าวกาลังเป็ นที่ให้ความสนใจทั้งในระดับห้องปฏิบตั ิการ
(Laboratory scale) ถังปฏิกรณ์ตน้ แบบ (Pilot scale) และโรงงานต้นแบบ (Full scale) ทั้งนี้เนื่องจากผลึก
สตรู ไวท์ที่แยกตกตะกอนลงมาหรื ออาจเรี ยกได้ว่าเป็ นผลพลอยได้ที่สร้างมูลค่าจากการน้ าเสีย สามารถ
นาไปใช้เป็ นปุ๋ ยละลายช้า (Slow release fertilizer) ในการทาการเกษตร หรื อ นาไปใช้เป็ นวัตถุดิบใน
อุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ ยแทนแร่ หินฟอสเฟต (Phosphate rock) นอกจากนี้วิธีการนี้ยงั สามารถกาจัด
ฟอสฟอรัสและแอมโมเนียออกจากน้ าเสียได้ในขั้นตอนเดียวอีกด้วย

นา้ ทิง้ จากฟาร์ มสุกรและเทคโนโลยีสตรูไวท์


เนื่องจากน้ าเสียจากฟาร์มปศุสตั ว์รวมไปถึงฟาร์มสุกรนั้นมี สารอาหารของพืช เช่น ฟอสฟอรัส
และไนโตรเจน เจือปนอยู่ในน้ าเสี ย จึงทาให้น้ าเสี ยประเภทนี้ มีศกั ยภาพในการนาสารอาหารของพืช

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-10


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

กลับมาใช้ (Nutrient recovery) โดยกระบวนการตกผลึกสตรู ไวท์ (Burn et al., 2002; Hiroyuki and
Toni, 2003; de-Bashan and Bashan, 2004; Cheng et al., 2006; Choi, 2007) ดัง นั้น เนื่ อ งจากลัก ษณะ
ของน้ าเสี ย จากฟาร์ มสุ กร ทาให้ในสภาวะการเดิ นระบบปกติ ของระบบบาบัดน้ าเสี ย จากฟาร์ มสุ ก ร
โดยเฉพาะแบบไม่ใช้อากาศ จึงมีแนวโน้มของการสะสมของตะกอนผลึกสตรู ไวท์ได้ง่ายและกลายเป็ น
ตะกรัน (Scaling) สะสมและอุดตันอยูต่ ามเครื่ องสูบจ่ายน้ า อุปกรณ์ และท่อต่างๆ ที่จะเป็ นปัญหายุ่งยาก
ต่อการดูแลรักษาและซ่อมบารุ งตามมา
ดังนั้นการตกผลึกสตรู ไวท์จึงเป็ นเทคโนโลยีที่แยกและนาเอาสารอาหารของพืชที่อยู่ในน้ าเสี ย
กลับมาใช้ประโยชน์ เพื่อเป็ นปุ๋ ยที่ใส่ในการทาการเกษตรกรรมหรื อเป็ นวัตถุดิบตั้งต้นในการทาผลิตปุ๋ ย
ที่จะทดแทนแร่ หินฟอสเฟตที่กาลังจะหาได้ยากขึ้นในอนาคต ดังนั้นถ้าการตกผลึกสตรู ไวท์น้ นั ได้ผลดี
และมีการลงทุนและค่าใช้จ่ายสารเคมีและการติดระบบไม่สูงมากนัก จะมีความคุม้ ค่าทางเศรษฐศาสตร์
เนื่ องจากเป็ นการสร้างมูลค่าให้กบั ของน้ าเสี ย และช่ วยลดปั ญหามลภาวะทางสิ่ งแวดล้อมที่เกิด จาก
ปัญหาการปนเปื้ อนจากธาตุอาหารของพืชในแหล่งน้ าผิวดินและแหล่งน้ าใต้ดิน

6.3.2 ข้ อดีและข้อจากัดของการนานา้ ทิง้ ฯไปผลิตปุ๋ ยแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต สรุปได้ดังนี้


ข้ อดี
1) กาจัดฟอสเฟตและแอมโมเนียในน้ าเสียภายในครั้งเดียว
2) สตรู ไวท์สามารถนาไปใช้เป็ นปุ๋ ยละลายช้าทางการเกษตร (Slow release fertilizer) และ
สตรู ไวท์เป็ นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ ย
3) ไม่ตอ้ งคานึงถึงสิ่งเจือปนและโลหะหนักในน้ าเสีย
4) การขนส่งทาได้สะดวก เนื่องจากสตรู ไวท์อยูใ่ นรู ปเม็ด
5) ลดการปนเปื้ อนของธาตุอาหารลงสู่แหล่งน้ าใต้ดิน และ แหล่งน้ าธรรมชาติ
6) มีโรงงานต้นแบบขนาดใหญ่ (Full scale) ดาเนินการอย่างเป็ นรู ปธรรม
ข้ อจากัด
1) เหมาะสาหรับน้ าเสียที่มี แอมโมเนียม และฟอสเฟต
2) ค่าใช้จ่ายจากการเติมสารเคมี
3) ค่าใช้จ่ายสูง ในการ ติดตั้งระบบ และถังปฏิกรณ์
4) การควบคุมการเกิดปฏิกิริยาที่เหมาะสมอาจทาได้ยาก

6.3.3 แนวทางการประยุกต์ใช้ พลังงาน


นาก๊าซชีวภาพเป็ นเชื้อเพลิงสาหรับอุปกรณ์ในถังปฏิกิริยา ได้แก่ –เครื่ องสูบน้ าและเครื่ องกวน
ตะกอนในถังปฏิกิริยา
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-11
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

6.4 แนวทางที่ 4: การนานา้ ทิง้ ฯผลิตไฟฟ้ าโดยใช้ เซลเชื้อเพลิงจากจุลนิ ทรีย์


(Microbial Fuel Cell, FMC)

6.4.1 หลักการและวิธกี าร
เซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ย หรื อเซลอิเล็กโทรไลซิสแบคทีเรี ย (Microbial Electrolysis Cell,
MEC) จัดเป็ นเซลล์เชื้อเพลิงที่ผลิตไฟฟ้ าอีกรู ปแบบหนึ่ง ซึ่งอาศัยหลักการของย่อยสลายมวลชีวภาพ
(Biomass) หรื อสารอินทรี ยด์ ว้ ยแบคทีเรี ย ในขั้นตอนการย่อยสลายมวลชีวภาพหรื อสารอินทรี ยน์ ้ นั จะ
ทาให้ได้พลังงานไฟฟ้ าและน้ าเป็ นผลิตภัณฑ์ ดังนั้นเซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยจึงนับเป็ นอีกแนวทางเลือก
หนึ่งสาหรับการผลิตพลังงานสะอาด หรื อนามาใช้เป็ นพลังงานทดแทนพลังงานในรู ปแบบอื่นต่อไป
เซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ย (Microbial Electrolysis Cell, MEC) แบ่งออกได้หลายรู ปแบบ เช่น
เซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยแบบห้องเดียว (Single Chamber Microbial Fuel Cell, SCMFC) หรื อ เซลล์
เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยแบบห้องคู่ (Two Compartment Microbial Fuel Cell, TCMFC) เซลล์เชื้อเพลิงแบบ
เมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตรอน (Proton Exchange Membrane Fuel Cell, PEMFE) เซลล์เชื้อเพลิงแบบ
กรดฟอสฟอริ ก (Phosphoric Acid Fuel Cell, PAFE) และ เซลล์เชื้อเพลิงแบบป้ อน เมทานอลโดยตรง
(Direct Methanol Fuel Cell) เป็ นต้น
เซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยแบบห้องเดียว จะมีลกั ษณะภายในประกอบด้วย ขั้วไฟฟ้ า 2 ขั้ว คือ
ขั้วแอโนด (Anode) และ ขั้วแคโทด (Cathode) และมีเยื่อบางๆ หรื อเรี ยกว่า เยือ่ เลือกผ่านโปรตรอน
(Proton exchange membrane: PEM) ซึ่งกั้นอยูร่ ะหว่างขั้วไฟฟ้ าทั้ง 2 ขั้ว (ดังรู ปที่ 6-3)
ส่วนเซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยแบบห้องคู่ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ห้องแอโนด (Anodes) และ
ห้องแคโทด (Cathodes) (ดังรู ปที่ 6-4) โดยทัว่ ไปเทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้ าจากเซลล์
เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยนั้น มีความสัมพันธ์กบั อีกหลายปัจจัย ได้แก่ อุปกรณ์ที่ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้ า อาทิ
เช่น ชนิดของโลหะที่ใช้ทาขั้วแอโนด (Anodes) และขั้วแคโทด (Cathodes) ซึ่งมีความสัมพันธ์กบั ขนาด
ของพื้นที่ผวิ สาหรับขั้วแอโนดและแคโทดร่ วมด้วย นอกจากนี้ปัจจัยอีกประการหนึ่งสาคัญ คือ
กระบวนการทางชีวภาพ โดยเฉพาะชนิดของแบคทีเรี ยที่มีความสามารถในการย่อยสลายสารอินทรี ย ์
และถ่ายเทอิเล็กตรอนระหว่างเซลล์ ซึ่งกลุ่มของแบคทีเรี ยที่นามาใช้มีหลายชนิด ที่ได้นามาใช้ในงาน
ศึกษากระบวนการผลิตก๊าซไฮโดรเจนของ MEC อาทิเช่น แบคทีเรี ยในกลุ่มของ -, -, - หรื อ -
protepbacteria ซึ่งเป็ นกลุ่มแบคทีเรี ยจากตะกอนก้นแม่น้ า หรื อแหล่งน้ าเสีย (Bruce E. Logan and John
M. Regan, 2006) ซึ่งก๊าซไฮโดรเจนที่ได้จากกระบวนการผลิตถือเป็ นพลังงานสะอาด สามารถนามาใช้
เป็ นพลังงานทดแทนน้ ามันเชื้อเพลิงได้ ดังแสดงในรู ปที่ 6-5

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-12


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ที่มา : Bruce E. Logan and John M. Regan, 2006

รูปที่ 6-3 เซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยแบบห้องเดียว (Single Chamber Microbial Fuel Cell, SCMFC)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-13


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 6-4 เซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยแบบห้องคู่

รูปที่ 6-5 แผนผังแสดงการนาเซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยไปใช้งาน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-14


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

1) ขั้นตอนการทางานของเซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรีย
เซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยสามารถผลิตกระแสไฟฟ้ าได้โดยการเปลี่ยนเซลลูโลส (Cellulose)
และสารอินทรี ยท์ ี่ยอ่ ยสลายได้ให้กลายเป็ นก๊าซไฮโดรเจน (H2) ได้โดยตรง ซึ่งขั้นตอนการทางานของ
เซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ย เริ่ มจากการนาวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้ เช่น นาเศษพืชหรื อผัก เศษวัสดุต่างๆ
มาผ่านขั้นตอนการหมักและเกิดเป็ นกรดน้ าส้ม หรื อ กรดแอซิติก (Acetic acid) หรื อ นาน้ าตาลกลูโคส
หรื อเซลลูโลสมาหมักให้เปลี่ยนเป็ นกรดแอซิติกก็ได้ จากนั้นนามาใส่ลงในเซลล์อิเล็กโทรไลซิส ซึ่ง
ประกอบด้วยขั้นไฟฟ้ า 2 ขั้น คือ ขั้วแอโนด (Anode) และ ขั้วแคโทด (Cathode) ทั้งนี้ที่ข้วั แอโนด
(Anode) จะมีการยึดเกาะของแบคทีเรี ย หรื อ อาจผ่านขั้นตอนการเคลือบด้วยไบโอฟิ ลม์ (Biofilm) ที่
ภายในมีแบคทีเรี ยอาศัยอยูภ่ ายในไบโอฟิ ลม์ และเมื่อแบคทีเรี ยที่อยูท่ ี่ข้วั แอโนดเกิดการย่อยสลายกรด
แอซิติก จะทาให้ได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และแบคทีเรี ยจะเกิดการปลดปล่อยอิเล็กตรอน (e-)
ออกมา และได้โปรตอน (H+) อยูใ่ นสารละลาย ซึ่งอิเล็กตรอนเหล่านี้จะเคลื่อนที่เข้าจากขั้วแอโนดและ
ผ่านไปยังขั้วแคโทด โดยอาศัยทางเชื่อม (Bridge) ทาให้เกิดการหมุนเวียนของประจุไฟฟ้ า และเกิดเป็ น
กระแสไฟฟ้ าอ่อนๆ และโปรตอน (H+) ที่อยูใ่ นสารละลายจะทาหน้าที่รับอิเล็กตรอน (e-) และเกิดเป็ น
ก๊าซไฮโดรเจน (H2) หรื อบางเทคโนโลยีอาจใช้เยือ่ เลือกผ่าน (Porous Electron Membrane : PEM) ซึ่ง
ทาหน้าที่คดั กรองเฉพาะโปรตอน (H+) ในสารละลายให้ไหลผ่านไปยังขั้วแคโทด ก็จะทาให้เกิดก๊าซ
ไฮโดรเจน และได้กระแสไฟฟ้ าเช่นกัน ดังสมการ (รู ปที่ 6-6)
Anode: C6H12O6 + 2H2O 4H2 + 2 C2H4O2 + 2CO2
C2H4O2 + 2H2O 2CO2 + 8 e- + 8H+
Cathode: O2+ 4H+ + 4 e- 2H2O
8H+ + 8 e- 4H2 (no oxygen)

รูปที่ 6-6 สมการการเกิดกระแสไฟฟ้ าของกระบวนการ Microbial Electrolysis Cell, MEC

การไหลเวียนของอิเล็กตรอนและโปรตรอนในเซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยจะทาให้เกิดกระแสไฟฟ้ า
อย่างอ่อนขึ้น ซึ่งจากการศึกษาพบว่าแบคทีเรี ยที่สามารถทนต่ออุณหภูมิสูง (Exothermic) สามารถผลิต
กระแสไฟฟ้ าได้ประมาณ 0.2 โวลต์ (เมื่อเปรี ยบเทียบกับไฮโดรเจนอิเล็กโทรดปกติ) ถึงแม้ว่าจะคานวณ
หักลบปริ มาณไฮโดรเจนที่ผลิต ได้บางส่ วนที่จะต้องใช้เป็ นแหล่งเชื้ อเพลิงเพื่อให้กระบวนการผลิต
ไฮโดรเจนเกิดขึ้นต่อไปได้ กระบวนการอิเล็กโทรไลซิสเซลล์แบคทีเรี ย (Microbial electrolysis cell
process) นี้ก็ยงั ให้พลังงานมากกว่าพลังงานไฟฟ้ าที่ใช้ในกระบวนการถึงร้อยละ 144 เมื่อเปรี ยบเทียบกับ
กระบวนการไฮโดรไลซิสของน้ า (Water hydrolysis) ซึ่งเป็ นกระบวนการทัว่ ไปที่ใช้ในการผลิต
ไฮโดรเจนซึ่งมีประสิทธิภาพเพียงร้อยละ 50-70
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-15
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

2) ชนิดของวัตถุดิบที่สามารถให้ ค่าพลังงานไฟฟ้ าในเซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรีย


ประสิทธิภาพในการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าขึ้นกับชนิดของวัตถุดิบที่ใช้ภายในเซลล์เชื้อเพลิง
แบคทีเรี ย ซึ่งชนิดของวัตถุดิบมีให้เลือกใช้หลายประเภท อาทิ กลูโคส อะซิเตต บิวทีเกต โปรตีน และ
น้ าเสีย โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 6-1

ตารางที่ 6-1 ชนิดของวัตถุดิบที่ใช้ในเซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ย


วัตถุดบิ ค่าพลังงาน (mW/m2)
Glucose 497
Acetate 506
Butigate 309
Protein 269
Domestic wastewater 146

วัตถุดิบที่ใช้กบั พลังงานในสารอินทรี ยใ์ ห้เป็ นไฮโดรเจนของสารอินทรี ยแ์ ต่ ละชนิ ดจะมีค่า


ประมาณ ร้อยละ 63 ถึง 82 กรดแลคติคและกรดแอซิติกให้ประสิทธิภาพอยูท่ ี่ ร้อยละ 82 ในขณะที่
เซลลูโลสดิบ (Unpretreated cellulose) และน้ าตาลกลูโคส ให้ประสิทธิภาพอยูท่ ี่ร้อยละ 63 และ 64
ตามลาดับ
ทั้งนี้หากส่วนที่รับอิเล็กตรอนหรื อที่ข้วั ของแคโทดอยูส่ ภาวะไม่มีออกซิเจน จะทาให้ได้ก๊าซ
ไฮโดรเจนเป็ นผลพลอยได้จากการผลิตกระแสไฟฟ้ าร่ วมด้วย หลักการทางานแสดงในรู ปที่ 6-7 ทั้งนี้
ปริ มาณของกระแสไฟฟ้ าจะมากหรื อน้อยยังขึ้นกับ น้ าหนักของมวลชีวภาพ ชนิดของแบคทีเรี ย ชนิด
ของขั้วไฟฟ้ า และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็ นต้น

รูปที่ 6-7 ลักษณะการทางานของขั้วแอโนด (Anode) ทาจากวัสดุแกรไฟต์ชนิดเม็ด และใช้แท่ง


คาร์บอนและทองคาขาวซึ่งทาหน้าที่เป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยาเป็ นแคโทด (Cathode)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-16


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

3) ทางเลือกอืน่ สาหรับการนาเซลล์เชือ้ เพลิงแบคทีเรียไปใช้


เซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยยังสามารถนาไปใช้เพื่อผลิตปุ๋ ยใช้ภายในฟาร์มขนาดใหญ่ได้โดย
ไม่จาเป็ นต้องสัง่ ซื้อปุ๋ ยจากโรงงาน ฟาร์มขนาดใหญ่สามารถผลิตไฮโดรเจนได้เองจากเศษไม้โดยใช้
เซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ย และใช้ไนโตรเจนจากอากาศในการผลิตแอมโมเนียหรื อกรดไนตริ ก แอมโมเนีย
สามารถนามาใช้เป็ นปุ๋ ยได้เลยหรื อสามารถนามาใช้ในกระบวนการผลิตปุ๋ ยแอมโมเนียมไนเตรด-
ซัลเฟต หรื อฟอสเฟต

6.4.2 ข้ อดีและข้อจากัดของการนาเซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรียไปใช้ สามารถสรุปได้ ดงั นี้


ข้ อดี
1) ได้พลังงานเป็ นผลิตภัณฑ์จากกระบวนการย่อยสลายอินทรี ยใ์ นน้ าเสียของจุลินทรี ย ์
2) ผลิตภัณฑ์ที่ได้ (อิเล็กตรอน) สามารถไปผลิตเป็ นพลังงานไฟฟ้ า
3) น้ าเสียที่ผา่ นกระบวนการบาบัดมีความสกปรกน้อยลง
ข้ อจากัด
1) เทคโนโลยีน้ ีส่วนใหญ่เป็ นศึกษาวิจยั ในห้องปฏิบตั ิการ ต้นแบบขนาดใหญ่ยงั ไม่ได้รับ
ความนิยมเนื่องจากค่าใช้จ่ายในการลงทุนสูง
2) ได้ปริ มาณไฟฟ้ าเพียงจานวนน้อย ยังอยูใ่ นขันการพัฒนา
3) มีความซับซ้อนและยุง่ ยากในการดูและระบบ เพื่อเลี้ยงจุลินทรี ย ์
4) ค่าใช้จ่ายสูงในการลงทุน และ ติดตั้งระบบ

6.4.3 แนวทางการประยุกต์ใช้ พลังงาน


ได้พลังงานเป็ นผลิตภัณฑ์จากการกระบวนการย่อยสลายสารอินทรี ยข์ องแบคทีเรี ย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-17


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

6.5 แนวทางที่ 5: การนานา้ ทิง้ ฯ ไปเพาะเลีย้ งสาหร่ ายและพืชนา้

6.5.1 หลักการและวิธกี าร
การใช้สาหร่ ายในการบาบัดน้ าเสียขั้นหลังนั้นมีการศึกษามาเป็ นระยะเวลานาน ในปัจจุบนั มี
ความพยายามที่จะพัฒนาสายพันธุส์ าหร่ ายที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่อให้สามารถย่อยสลายค่าความสกปรก
ในน้ าเสียได้อย่างรวดเร็ว และทนทานต่อสภาวะแวดล้อมต่างๆได้ดี เช่น ทนต่อการเปลี่ยนแปลงของ
อุณหภูมิ ทนต่อสภาพความเป็ นกรด-ด่าง ทนต่อสภาพความเป็ นพิษ เป็ นต้น ในปัจจุบนั แนวคิดการใช้
สาหร่ ายบาบัดน้ าเสีย ยังพิจารณาไปถึงผลพลอยได้ที่เป็ นมวลชีวภาพ (Biomass) หรื อสาหร่ าย และนาไป
จาหน่ายทางการค้า เนื่องจากเป็ นแหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์ ตัวอย่างเช่น กรณีการศึกษาที่ผา่ นมาพบว่า
สาหร่ ายเกลียวทอง (Spirulina) เป็ นสาหร่ ายสายพันธุท์ ี่นิยมนามาใช้ในการบาบัดน้ า (Olguin, 2546)
ลักษณะของสาหร่ ายเกลียวทองแสดงในรู ปที่ 6-8 โดยพบว่าสาหร่ ายในตระกูลนี้มขี อ้ ดีดงั นี้

1) เก็บเกี่ยวได้ง่าย เนื่องจากสาหร่ ายสายพันธุน์ ้ ีมกี ารเจริ ญเติบโตเป็ นกลุ่มก้อน


2) มีการเจริ ญเติบโตรวดเร็ ว
3) มีปริ มาณโปรตีนเป็ นองค์ประกอบสูง (ร้อยละ 60-70 ของน้ าหนักแห้ง)
4) สามารถใช้เป็ นส่วนผสมในอาหารสัตว์ และนาไปเป็ นอาหารให้กบั ลูกปลา
5) มีองค์ประกอบของสารประกอบจาพวกกรดไขมันเป็ นจานวนมาก ที่นาไปผลิตเป็ นยาบารุ ง
6) เมื่อนาไปทาให้แห้งสามารถนาไปใช้เป็ นสารดูดซับทางชีวภาพ (Bioadsorbent) ในเพื่อการ
บาบัดโลหะหนักที่ละลายอยูใ่ นน้ าเสีย
7) บางสายพันธุส์ ามารถเจริ ญเติบโตได้ดีที่ค่าความเป็ นด่างสูง ทาให้ลดการปะปนของสาหร่ าย
ชนิดอื่น
8) บางสายพันธุม์ ีความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมได้ดี

ที่มา: URL Blog : http://social.eduzones.com/futurecareer


รูปที่ 6-8 ลักษณะของสาหร่ ายเกลียวทอง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-18


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

1) การเพาะเลีย้ งสาหร่ ายเกลียวทอง (Spirulina)


จากการศึกษาของ ศาสตรจารย์ ดร.วันชัย ดีเอกนามกูล ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี
โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (ITAP) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) พบว่า สาหร่ ายสไปรู ลิน่า เป็ นพืชที่มีสารซีแซนทิน (Zeaxanthin) ที่
เป็ นสารเร่ งสี มีประโยชน์ในการนามาเป็ นส่วนประกอบของอาหารปลา เช่น นามาใช้เป็ นส่วนผสมใน
อาหารปลาทองเพื่อเร่ งให้มีสีสนั สวยงาม ทั้งนี้น่าจะนาสาหร่ ายชนิดนี้มาใช้เป็ นส่วนผสมในอาหารสัตว์
ชนิดอื่นๆได้ดว้ ย เช่น กุง้ โดยการวิจยั ทาบนพื้นฐานของการนาน้ าจากปุ๋ ยหมักมูลสัตว์หรื อซากพืชมาใช้
ในการเลี้ยงเพื่อลดต้นทุน เพราะหากใช้ปุ๋ยเคมีจะมีตน้ ทุนที่สูงกว่า และไม่คุม้ กับการใช้เป็ นส่วนประกอบ
ในอาหารของสัตว์ ซึ่งการเลี้ยงสาหร่ ายแบบเดิมจะใช้ปุ๋ยเคมีท้งั หมด ซึ่งทาให้ตน้ ทุนการเพาะเลี้ยงมี
มูลค่าสูง ดังนั้นสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั ได้เสนอการเลี้ยงสาหร่ ายแบบใหม่ โดยใช้น้ าหมัก
ซึ่งประกอบด้วยมูลสัตว์และซากพืชทุกชนิด เช่น ต้นกล้วย มะม่วง หรื อมะละกอ ซึ่งแม้ว่าจะมีโปรตีน
น้อยกว่า แต่ก็เพียงพอที่จะนาไปเป็ นอาหารสัตว์ และได้รับการยอมรับจากผูป้ ระกอบการว่ามีคุณภาพ
เพียงพอ ปัจจัยที่ควบคุมการเจริ ญเติบโตของสาหร่ ายสายพันธุน์ ้ ี แสดงในรู ปที่ 6-9

ที่มา http://www.rdi.ku.ac.th

รูปที่ 6-9 ปัจจัยที่ควบคุมการเจริ ญเติบโตของสาหร่ ายเกลียวทอง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-19


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

2) ขั้นตอนในการเลีย้ งสาหร่ าย
นาหัวเชื้อใส่ประมาณ 1 ใน 10 ส่วน ได้แก่ น้ า 10 ลิตร หัวเชื้อ 1 ลิตร มาเลี้ยงในบ่ออนุบาล
ลักษณะเป็ นบ่อปูน เพื่อให้ควบคุมได้ในพื้นที่จากัด ทาให้เกิดประสิทธิภาพในการให้ปุ๋ยและดูแลได้
ทัว่ ถึง หลังจากระยะเวลาหนึ่งเดือนจึงขยายไปในบ่อที่มีพ้นื ที่ใหญ่กว่าและเลี้ยงต่อไปอีก ประมาณ 20 วัน
แต่ท้งั นี้จะขึ้นอยูก่ บั แสงแดดเป็ นองค์ประกอบหลัก เนื่องจากหากไม่มีแสงแดดการเจริ ญเติบโตของ
สาหร่ ายก็จะช้าลงไปด้วย เมื่อสาหร่ ายเติบโตเต็มบ่อใหญ่แล้วจึงเริ่ มเก็บเกี่ยว โดยใช้วิธีสูบเข้ามาในถุงกรอง
ที่มีลกั ษณะคล้ายถุงกาแฟ น้ าที่เหลือก็จะทาเป็ นหัวเชื้อได้ต่อไป จากนั้นนาตัวสาหร่ ายมาเกลี่ยให้เป็ น
แผ่นบางในถาด นาไปตากในห้องอบพลาสติก ทิ้งไว้สองวันให้แห้ง แล้วร่ อนออกมาเป็ นเกล็ด เก็บ
รวบรวมนาไปบรรจุขาย รู ปที่ 6-10 แสดงบ่อเลี้ยงสาหร่ ายและการเก็บเกี่ยวสาหร่ ายเกลียวทอง

ที่มา: URL Blog : http://social.eduzones.com/futurecareer

รูปที่ 6-10 การเลี้ยงสาหร่ ายเกลียวทอง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-20


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

3) ข้ อดีของการเลีย้ งสาหร่ ายเกลียวทอง


สาหร่ ายชนิดนี้สามารถเจริ ญเติบโตในอาหารที่มีราคาถูก ผูเ้ ลี้ยงสามารถเก็บผลผลิตได้ทุกวัน
โดยใช้เครื่ องมือน้อยกว่า ที่สาคัญในการเพาะเลี้ยงจะใช้พ้นื ที่ ปุ๋ ย และน้ าน้อยกว่าการเพาะปลูกพืชอื่น
ขณะที่ผลผลิตที่ได้น่าจะมีตลาดรองรับที่ดี เนื่องจากเมื่อนาไปผสมเป็ นอาหารกุง้ แล้วพบว่า มีความ
แตกต่างจากอาหารกุง้ ทัว่ ไป มีส่วนผสมที่สาคัญหลายชนิด อาทิเช่น เบต้าแคโรทีน โปรตีน และไขมัน
รวมถึงเกลือแร่ 20 กว่าชนิด ทาให้เป็ นจุดเด่นที่เหนือกว่าอาหารกุง้ สูตรอื่นในท้องตลาด

6.5.2 ข้ อดีและข้อจากัดของวิธกี ารนีไ้ ด้ สรุปดังนี้


ข้ อดี
1) ผลผลิตมีมลู ค่าสูง และตลาดรองรับ
2) น้ าทิ้งฯที่ผา่ นกระบวนการบาบัดมีความสกปรกน้อยลง
ข้ อจากัด
1) มีความยุง่ ยากในเตรี ยมน้ าที่จะนามาใช้ในการเพาะเลี้ยงสาหร่ าย เนื่องจากสาหร่ ายต้องการ
น้ าสะอาด และกึ่งน้ าเค็ม (ในบางสายพันธุ)์
2) เมื่อทาการเพาะเลี้ยงไประยะเวลาหนึ่ง สาหร่ ายอาจกลายพันธุท์ าให้ผลิตผลลดลง

6.5.3 แนวทางการประยุกต์ใช้ พลังงาน


ใช้ก๊าซชีวภาพเป็ นเชื้อเพลิงสาหรับ–เครื่ องเติมอากาศ และเครื่ องสูบน้ า ในกิจกรรมการเลี้ยง
สาหร่ ายในบ่อเลี้ยง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-21


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

6.6 แนวทางที่ 6: การนานา้ ทิง้ ฯ ไปเลีย้ งแหน เพือ่ เป็ นแหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์ และแหนเป็ นพืชที่มี
ศักยภาพในการผลิตเอทานอล

6.6.1 หลักการและวิธกี าร
น้ าทิ้งที่ได้จากระบบบาบัดน้ าเสียแบบก๊าซชีวภาพ ส่งไปยังบ่อพักน้ าสามารถนาไปเลี้ยงพืชน้ า
จาพวกตระกูลแหน (Lemnaceae or duckweed) สาหรับการบาบัดน้ าเสียในขั้นที่ 3 (Tertiary treatment)
เพื่อบาบัดสิ่งเจือปนในน้ า เช่น สารอาหาร และผลิตภัณฑ์เป็ นแหน นาไปเลี้ยงสัตว์ หรื อ ผลิตเอทานอล
จากอดีตกระบวนการบาบัดน้ าเสียขั้นที่ 3 โดยใช้พืชน้ า เช่น จอก และ แหน เป็ นวิธีการที่นิยมใช้กนั มา
เป็ นระยะเวลานานกว่า 20 ปี แต่ว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้ หรื อ แหน เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ไม่สามารถสร้าง
ประโยชน์ทางการค้าเท่าที่ควร การนาไปใช้งานในอดีตจึงเป็ นเพียง การนาแหนไปใส่เป็ นปุ๋ ยพืชสดใน
การทาเกษตรกรรม หรื อ เป็ นอาหารเลี้ยงปลา เป็ นต้น
จากภาวะด้านพลังงานและโลกร้อน (Climate change) ในปัจจุบนั ทาให้เกิดการพัฒนาการศึกษา
ที่เกี่ยวข้องกับพลังงานจากชีวมวล (Biomass) ที่เป็ นแหล่งเชื้อเพลิงทดแทนแหล่งคาร์บอนที่มาจากสาร
ปิ โตรเคมี โดยเฉพาะอย่างยิง่ กลุ่มพืชที่นามาผลิตพลังงาน มีขอ้ ถกเถียงกันหลายประการ อาทิ เมื่อเพิ่ม
พื้นที่การเพาะปลูกนั้นมีผลกระทบต่อการใช้ประโยชน์จากที่ดิน และ ความต้องการปุ๋ ยทางการเกษตรที่
จะต้องรองรับอย่างเพียงพอเมื่อทาการเพาะปลูกกันมากขึ้น นักวิจยั ชาวสหรัฐอเมริ กา (Cheng and
Stomp, 2009) ได้คน้ พบว่าพืชตระกูลแหน (Lemnaceae or duckweed) มีแป้ งและโปรตีนเป็ นองค์ประกอบ
อยูเ่ ป็ นจานวนมาก ซึ่งสามารถนาไปแหล่งโปรตีนสาหรับอาหารสัตว์ หรื อเป็ นแหล่งแป้ ง (Starch) สาหรับ
การผลิตเอทานอล นอกจากนี้น้ าเสียที่มาจากการเลี้ยงสัตว์สามารถเป็ นแหล่งอาหารอย่างดีให้พืชตระกูลนี้
เนื่องจากในน้ าเสียมีสารอาหารที่เป็ นประโยชน์ต่อพืช พืชจาพวกนี้จะใช้สารอินทรี ยแ์ ละแร่ ธาตุต่างๆ ในน้ า
โดยเฉพาะ ไนโตรเจน และฟอสฟอรัสในการเจริ ญเติบโต จึงเป็ นการลดค่าความสกปรกในน้ าได้อีกทางหนึ่ง

แหนกับพืชพลังงาน
จากข้อถกเถียงด้านพืชในอุดมคติที่เหมาะสาหรั บการนามาเป็ นแหล่งพลังงานทดแทน และ
ระบบการเพาะปลูก โดยพิจารณาปั จ จัยหลักๆ คื อ 1) พืชที่สามารถใช้สิ่งเจื อปนในน้ าเสี ยเป็ นแหล่ง
อาหารของพืช ซึ่งได้แก่ พืชจะต้องทนต่อสภาพการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ าเสี ย เช่น แอมโมเนี ยใน
ปริ มาณสูง และพืชจะต้องสามารถใช้สิ่งเจือปนในน้ าในหลายรู ปแบบ เช่น ไนโตรเจน ไนเตรด และ
แอมโมเนีย เป็ นต้น 2) พืชที่สามารถให้ผลิตผลได้เป็ นจานวนมากที่เพียงพอต่อความต้องการสาหรับ
อุตสาหกรรม ซึ่งก็คือพืชที่สามารถให้ผลิตผลสูงสุ ด ทาการเก็บเกี่ยวได้ง่าย และมีตน้ ทุ นการผลิ ตต่ า
โดยต้น ทุ น การผลิ ต นั้น จะเกี่ ย วเนื่ อ งกับปริ มาณพื้น ที่ ดิ น ที่ ใ ช้ในการเพาะปลูก ด้ว ย 3) พืชจะต้อ ง
เจริ ญเติ บโตได้ดีให้ผลผลิตเร็ ว โดยใช้ปุ๋ยน้อย และสามารถทาเพาะปลูกได้ต ลอดปี นอกจากนี้ ปัจจัย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-22


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

เสริ มอื่นๆ เช่น มีคุณสมบัติในการเป็ นแหล่งพลังงานได้ท้ งั ตลอดลาต้น ไม่ใช่ เพียงแต่ ผล ลาต้น และ
ราก การขนส่งทาได้ได้สะดวก ทาให้แห้งได้ง่ายเพื่อลดการสูญเสียพลังงาน เป็ นต้น
นักวิจยั ชาวสหรัฐอเมริ กา (Cheng and Stomp, 2009) จากมหาวิทยาลัย North Carolina State
University ได้คน้ พบว่าพืช ตระกูลแหน (Lemnaceae or duckweed) รู ปที่ 6-11 สามารถนาเป็ นพืช
พลังงานสาหรับการผลิตเอทานอลได้ โดยพืชตระกูลแหน มีสายพันธุม์ ากว่า 27 สายพันธุ์ และเป็ นพืชที่
มีการเจริ ญเติบโตเร็ ว โดย มีระยะเวลา Doubling time ประมาณ 2 ถึง 3 วัน จากการศึกษาในการเลี้ยง
แหนโดยใช้น้ าเสียเป็ นแหล่งอาหารในห้องปฏิบตั ิการพบว่า แหนมีอตั ราการเจริ ญเติบโต 0.2 กิโลกรัม
ของน้ าหนักแห้ง/ตารางเมตร/สัปดาห์ (kg/m2-wk) การเจริ ญเติบโตของแหนในแหล่งน้ าหรื อบ่อน้ า
กลางแจ้งนั้นมีการเจริ ญเติบโตได้ดีและลอยอยูผ่ วิ น้ าเพื่อรับแสงแดด (รู ปที่ 6-12) สร้างการเจริ ญเติบโต
ผ่านการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช (Photosynthesis) และเมื่อปล่อยให้มีการเจริ ญเติบโตไปเรื่ อยๆโดย
ไม่มีการเก็บเกี่ยว แหนจะเจริ ญเติบโตและลอยอยูบ่ นผิวน้ าอย่างเต็มพื้นที่โดยมีบางส่วนจมอยูใ่ ต้ผวิ น้ า
(รู ปที่ 6-11) จึงเป็ นข้อดีในเรื่ องการทาการเก็บเกี่ยว นอกจากนี้แหนเป็ นพืชที่มีขนาดเล็กจึงมีพ้นื ที่ผวิ
มากเมื่อเทียบกับน้ าหนัก และยังเป็ นพืชที่ไม่มีสารเคลือบผิว (Waxy) เมื่อเปรี ยบเทียบกับพืชที่ปลูกบน
บกจะมีสารเคลือบผิวเพื่อป้ องกันการสูญเสียน้ า ด้วยข้อได้เปรี ยบที่กล่าวมาทาให้แหนสามารถทาให้
แห้งได้อย่างรวดเร็ วจึงเป็ นการช่วยประหยัดพลังงานได้มาก

ที่มา: http://www.okpond.com/

รูปที่ 6-11 ลักษณะ การเจริ ญเติบโตของแหนบนผิวน้ า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-23


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ที่มา : ฟาร์ มสุ กร-ภาวนา. 2552

รูปที่ 6-12 ลักษณะ ลักษณะของแหนเมื่อเจริ ญเติบโตอย่างเต็มพื้นที่

การเจริ ญเติบโตของแหนสามารถปรับแต่งให้มีการผลิตโปรตีนหรื อแป้ งในระดับสูงได้ โดย


ความแตกต่างของระดับโปรตีนในแต่ละสายพันธุ์ ประมาณ ร้อยละ 15 ถึง 45 ของน้ าหนักแห้ง เมื่อ
เทียบกับโปรตีนจาก อัลฟาฟ่ า (Alfafa) ร้อยละ 20 ถัว่ (Soy bean) ร้อยละ 41.7 เป็ นต้น ส่วน
องค์ประกอบของแป้ งใน แหน นั้น จะมีปริ มาณ ร้อยละ 3 ถึง 75 ของน้ าหนักแห้ง เมื่อเทียบกับข้าวโพด
มีปริ มาณร้อยละ 65 ถึง 75 ทั้งนี้ปริ มาณของแป้ งในแหน นั้นจะขึ้นอยูก่ บั ปัจจัยการเจริ ญเติบโต ได้แก่
พีเอช ปริ มาณฟอสเฟต ช่วงอายุของการพัฒนาการเจริ ญเติบโตที่ควบคุมโดยฮอร์โมนพืช-ไซโตไคนิน
(Cytokinin) และปริ มาณกรดบางชนิด (Abscissic acid) ทั้งนี้เนื่องจากความสามารถของพืชตระกูลแหน
ที่สามารถผลิตโปรตีน หรื อ แป้ งนั้น การนาไปใช้จึงทาได้ท้งั 2 ทางเลือก คือ กรณีของแหน ที่มีแป้ งเป็ น
ปริ มาณสูงนั้น สามารถนาไปใช้เป็ นแห้งแป้ งในอุตสาหกรรมการผลิตเอทานอลที่เป็ นพลังงานทดแทน
สาหรับปัจจุบนั และอนาคต ส่วนกรณี ที่มโี ปรตีนเป็ นปริ มาณสูงนั้น สามารถนาไปเป็ นแหล่งโปรตีนใน
อาหารสัตว์
การบาบัดน้ าเสียจากฟาร์มสุกรโดยระบบไร้อากาศแบบผลิตก๊าซชีวภาพ ต่อเนื่องกับการใช้
แหน ในการบาบัดน้ าเสียขั้นหลัง ซึ่งจะได้พลังงานจากก๊าซชีวภาพและได้น้ าเสียทีมีแหล่งอาหารของ
พืชที่ สามารถนาไปเพาะปลูกแหน ที่สามารถเป็ นได้ท้งั แหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์ หรื อ เป็ นแหล่งแป้ ง
สาหรับการผลิตเอทานอล

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-24


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

3) ศักยภาพผลิตภัณฑ์จากพืชตระกูลแหน
การเพิ่มมูลค่าแหนที่เป็ นผลิตภัณฑ์จากการบาบัดน้ าเสียไปใช้ แบ่งออกเป็ น 2 แนวทาง คือ
ก) แหนที่มีโปรตีนเป็ นองค์ประกอบ ประมาณร้อยละ 15 ถึง 45 สามารถนาไปใช้เป็ น
วัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์เศรษฐกิจ และ อาหารปลา
ข) แหนสามารถนาไปเป็ นวัตถุดิบสาหรับการผลิตแป้ ง และ พลังงานจากเอทานอล

ก) แหนสาหรับการผลิตอาหารสัตว์
งานวิจยั ในอดีต ได้มกี ารนาแหนไปเป็ นแหล่งโปรตีนสาหรับการผลิตอาหารสัตว์
โดยองค์ประกอบของพืชตระกูลแหนที่น่าสนใจ คือ โปรตีน (ร้อยละ 15 ถึง 45 ของน้ าหนักแห้ง)
ซึ่งปริ มาณโปรตีนนั้นขึ้นอยูก่ บั สายพันธุ์ และ ปัจจัยการเจริ ญเติบโต โดยเมื่อเปรี ยบเทียบกับ
ถัว่ (Soy bean) จะมีประมาณ โปรตีน ประมาณ ร้อยละ 33 ถึง 49 ของน้ าหนักแห้ง
จากการศึกษาของ Cheng และ Stomp (2009) ได้ทาการคานวณปริ มาณโปรตีนที่
ได้จากการเพาะเลี้ยงแหนจากน้ าเสีย พบว่าองค์ประกอบโปรตีนในแหนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ
30 ของน้ าหนักแห้ง และแหนให้ผลิตผล 0.2 กิโลกรัม/ตารางเมตร/สัปดาห์ (kg/m2-wk) หรื อ
10,000 กิโลกรัม/เฮกแตร์/ปี (kg/hectare-yr) หรื อเท่ากับ 62,500 กิโลกรัม/ไร่ /ปี ซึ่งการเลี้ยง
แหนจากน้ าเสียนั้นสามารถให้ค่าโปรตีน ประมาณ 3,000 กิโลกรัม/เฮกแตร์/ปี ตลอดฤดูกาล
เพาะปลูก 12 เดือน เมื่อได้ทาการเปรี ยบเทียบกับผูว้ จิ ยั อืน่ Bhanthumnavin และ Mcgarry
(1971) ได้รายงานว่า พืชตระกูลแหน สายพันธ์ Wolffia globosa ในประเทศไทยสามารถ
ให้โปรตีน ประมาณ 2,000 กิโลกรัม/เฮกแตร์/ปี และเปรี ยบเทียบกับงานวิจยั อื่นๆ พบว่าพืช
ตระกูลถัว่ (Soy bean) ข้าว และข้าวโพด ผลิตโปรตีน ประมาณ 300 70 และ 180 กิโลกรัม/
เฮกแตร์/ปี ตามลาดับ จากการศึกษาวิจยั ที่ได้มีการนาแหนไปเป็ นแหล่งโปรตีนในการเลี้ยง
สัตว์เศรษฐกิจ ได้แก่ วัว สุกร แกะ แพะ เป็ ด ไก่ และ ปลา แต่อย่างไรก็ตามการศึกษาเหล่านี้
มิได้กล่าวถึงสารพิษในพืชต่อการผลิตเป็ นอาหารสัตว์

ข) แหนกับการผลิตเอทานอล
การผลิตเอทานอลจากพืชต่างๆหรื อวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร (Agricultural
residuals) มีวตั ถุดิบแตกต่างกันไป เพื่อที่จะสามารถเป็ นแหล่งพลังงานทดแทนอย่างยัง่ ยืน
สาหรับมนุษย์ต่อไปในอนาคต การสนับสนุนการะปลูกพืชพลังงานสาหรับการผลิตเอทานอล
ไม่ว่าจะเป็ น ข้าวโพด อ้อย และมันสาปะหลัง พืชเหล่านี้ลว้ นเป็ นแหล่งวัตถุดิบของ
อุตสาหกรรมอาหาร จึงอาจก่อให้เกิดการแข่งกันระหว่างตลาดอาหารและตลาดพลังงาน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-25


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ดังนั้นอาจเป็ นข้อได้เปรี ยบของแหนต่อการเป็ นแหล่งผลิตเอทานอลเมื่อเทียบกับพืชพลังงาน


ที่เป็ นแหล่งอาหารของมนุษย์
จากงานวิจยั ในปัจจุบนั ที่ได้พยายามนาแหนไปเป็ นแหล่งแป้ งในการผลิตเอทานอล
พบว่าปริ มาณแป้ งในแหนนั้น จะขึ้นอยูก่ บั การปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโต ได้แก่ ค่า
พีเอชของน้ า และสารอาหารต่างๆ เมื่อมีการควบคุมที่ดีจะทาให้แหนนั้นมีปริ มาณแป้ ง
เทียบเท่าได้กบั ข้าวโพด ซึ่งจะทาให้มีความเป็ นไปได้ที่จะนาแหนไปเป็ นแหล่งแป้ งเพื่อการ
ผลิตเอทานอล จากการศึกษาของ Cheng และ Stomp (2009) ในระดับห้องปฏิบตั ิการพบว่า
แหนสายพันธุ์ S. polyrrhiza ซึ่งเป็ นสายพันธุพ์ ้นื บ้าน เป็ นสายพันธุท์ ี่มีศกั ยภาพในการผลิต
แป้ ง โดยทาการเลี้ยงแหนในน้ าที่มีสารอาหาร และทาการถ่ายภาพปริ มาณแป้ ง (Starch) ที่อยู่
ในแหน เปรี ยบเทียบกับมันฝรั่ง (Potato) แสดงในรู ปที่ 6-13 พบว่าปริ มาณแป้ งที่เป็ นอยูใ่ น
แหน เท่ากับร้อยละ 45.8 ของน้ าหนักแห้ง

ที่มา : Cheng and Stomp, 2009

รูปที่ 6-13 ปริ มาณแป้ ง (Starch) ที่พบในแหน เปรี ยบเทียบกับมันฝรั่ง (Potato)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-26


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

จากการศึกษาการนาแหนมาผลิตเอทานอล โดยใช้เอนไซม์ที่นามาใช้กบั การย่อยแหน


สาหรับกระบวนการย่อยแป้ ง (Hydrolysis) ได้แก่ -amylase (Sigma A3404) pullulanase
(Sigma P2986) และ amylglucosidase (Sigma 10115) ซึ่งเป็ นเอนไซม์ชนิดเดียวกับกรณี
ของการย่อยแป้ งจากข้าวโพด ทาให้ได้ผลิตภัณฑ์จากการย่อยแป้ ง (Hydrolysate) คือ น้ าตาล
509 มิลลิกรัมต่อกรัมของแหนที่น้ าหนักแห้ง และในกระบวนการหมัก (Fermentation) โดย
ใช้ยสี ต์ (Yeast) ได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นเอทานอลเท่ากับ 258 มิลลิกรัมต่อกรัมของแหนที่น้ าหนัก
แห้ง จากการค้นพบดังกล่าวทาให้ Cheng และ Stomp อ้างว่าแป้ งที่เป็ นองค์ประกอบในแหน
เมื่อผ่านกระบวนการผลิตเอทานอลจะได้ปริ มาณเอทานอลที่ยอมรับได้ ดังนั้นแหนมีความ
เหมาะสมต่อการเป็ นพืชพลังงานในการผลิตเอทานอล (Duckweed biomass-to-ethanol-
process) และ อาจมีตน้ ทุนที่ในการผลิตเอทานอลที่ต่ากว่าข้าวโพดจาก โดยจากผลการศึกษา
ในระดับพบอีกว่า แหนจะให้แป้ งเป็ นผลผลิตในอัตราประมาณ 28 ตัน/เฮกแตร์/ปี
(ton/hectare/year) – เมื่อเปรี ยบเทียบกับแป้ งที่ผลิตจากข้าวโพด จะมีประมาณ 5.0 ตันต่อ
เฮกแตร์ต่อปี ซึ่งมีศกั ยภาพในการผลิตมากกว่าข้าวโพดถึง 6 เท่า นอกจากนี้แหนยัง
ไม่ตอ้ งการการตัดให้เป็ นชิ้นขนาดเล็ก (Grinding) และไม่ตอ้ งการบด (Milling) ก่อน
กระบวนการหมัก ซึ่งเป็ นการช่วยลดพลังงานจากเครื่ องจักรที่ใช้ที่เป็ นค่าใช้จ่ายหลักในการ
ผลิตเอทานอลจากข้าวโพด นอกจากนี้ปริ มาณโปรตีนที่อยูใ่ นแหน (ร้อยละ 15 ถึง 45 ของ
น้ าหนักแห้ง) มีปริ มาณมากกว่าข้าวโพด (ร้อยละ 9) ซึ่งข้อดีในกรณีการใช้แหนเพื่อการผลิต
เอทานอลประการนี้ ช่วยลดการเติมไนโตรเจน (N-source) สาหรับกระบวนการหมักด้วยยีสต์
(Fermentation) ใน

6.6.2 ข้ อดีและข้อจากัดของวิธกี ารการนานา้ ทิง้ ฯไปเลีย้ งแหนเพือ่ เป็ นแหล่งพลังงานเอทานอล และ


อาหารสัตว์ สรุปได้ดังนี้
ข้ อดี
1) วิธีการนาน้ าทิ้งไปใช้ ง่ายและสะดวก ได้แหนเป็ นผลิตภัณฑ์
2) การเลี้ยงแหน สามารถทาได้ง่าย และ เก็ยเกี่ยวได้ไม่ยงุ่ ยาก
3) แหนเป็ นผลิตภัณฑ์ที่สามารถให้เป็ นแหล่งโปรตีนในในอาหารสัตว์ และแหล่งวัตถุดิบ
(แป้ ง) สาหรับผลิตเอทานอลเพื่อเป็ นแหล่งพลังงานทดแทน
4) น้ าทิ้งที่ผา่ นระบบชนิดนี้ ทาให้มีค่าความสกปรกลดลง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-27


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ข้ อจากัด
1) การผลิตเอทานอลจากแหนยังอยูใ่ นระดับห้องปฏิบตั ิการ
2) การนาแหนไปผลิตอาหารสัตว์ตอ้ งคานึงถึงสิ่งปนเปื้ อน เช่น สารพิษและโลหะหนัก
3) เกษตรกรต้องมีพ้นื ที่สาหรับจัดสร้างบ่อพักน้ าเสียสาหรับการเลี้ยงแหน

6.6.3 แนวทางการประยุกต์ใช้ พลังงาน


- ใช้ก๊าซชีวภาพเป็ นเชื้อเพลิงสาหรับ–เครื่ องเติมอากาศ และเครื่ องสูบน้ าสาหรับบ่อเลี้ยงแหน
- แหนเป็ นพืชที่มีศกั ยภาพในการผลิตเอทานอล (Cheng and Stomp, 2009)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-28


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

6.7 แนวทางที่ 7: การนานา้ ทิง้ ฯ ไปเพาะเลีย้ งไรแดง

6.7.1 หลักการและวิธกี าร
การเพาะเลี้ยงไรแดงในบ่อดิน เป็ นวิธีการที่ใช้ตน้ ทุนในระยะเริ่ มงานต่า และสามารถเพาะเลี้ยง
ไรแดงได้ครั้งละมากๆ ตามขนาดของที่ดิน แต่มขี อ้ เสียอยูเ่ หมือนกัน เพราะอาจมีสิ่งปนเปื้ อนหรื อศัตรู
ของไรแดงเข้ามาปะปนอยูไ่ ด้ง่าย และอาจก่อให้เกิดความเสียหายได้ครั้งละมากๆ เช่นกัน
การดาเนินการการเพาะเลี้ยงไรแดงในบ่อดิน
1) เตรี ยมบ่อดิน ขนาดประมาณ 200-800 ตารางเมตร จานวนกี่บ่อก็ได้ แล้วแต่เป้ าหมายในการผลิต
โดยกาจัดวัชพืชและสิ่งสกปรกภายในบ่อ ปรับพื้นบ่อให้เรี ยบ อัดดินให้แน่น แล้วตากบ่อ
ไว้ 2-3 วัน
2) สูบน้ าเข้าบ่อโดยกรองด้วยอวนมุง้ สีเขียวที่หวั ดูดน้ า และที่ปลายท่อส่งน้ าให้กรองด้วยผ้า
กรองแพลงตอน ให้น้ ามีระดับสูงประมาณ 25-40 เซนติเมตร แล้วเติมน้ าเขียวลงไปเพื่อเป็ น
หัวเชื้อประมาณ 2,000 ลิตร และสารเอนไซม์ชีวภาพคุณภาพดี ประมาณ 500 ซีซี หรื อ 2
แก้วน้ าดื่ม
3) ใส่ปุ๋ยและอาหารของไรแดงตามสูตรดังนี้
ถ้าไม่มีอามิ-อามิ ใช้ข้ ีไก่ ประมาณ 1 กิโลกรัม ต่อพื้นที่บ่อ 10 ตารางเมตร หลังจากนี้
ประมาณ 3-4 วัน น้ าจะเริ่ มมีสีเขียว
4) เติมเชื้อไรแดงมีชีวิตประมาณ 2 กิโลกรัม ถ้ามีเครื่ องปั๊มลมก็ควรให้อากาศแก่น้ าในบ่อเพาะ
ไรแดงด้วย
5) เริ่ มเก็บเกี่ยวผลผลิตไรแดงได้ต้งั แต่วนั ที่ 4 - 7 ซึ่งระยะนี้ไรแดงจะมีปริ มาณหนาแน่นมาก
ควรรี บเก็บเกี่ยวให้มากที่สุด หลังจากนี้ ปริ มาณไรแดงจะเบาบางลง จึงควรเติมอาหาร
ประเภทที่ถกู ย่อยสลายได้รวดเร็ ว เช่น น้ าถัว่ เหลือง น้ าเขียว รา เลือดสัตว์สดๆ ปุ๋ ย
วิทยาศาสตร์ และปุ๋ ยคอก โดยเติมเพียงครึ่ งหนึ่งของในตอนเริ่ มต้น ไรแดงจะเพิ่มจานวน
ขึ้นอีกภายใน 2 - 3 วัน เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตไรแดงได้ หลังจากนั้น 2 - 3 วัน ปริ มาณจะ
ลดลงก็เติมอาหารลงไปอีกในอัตราเดิม ไรแดงจะเพิ่มขึ้นอีกครั้ง แต่เพิ่มในอัตราที่นอ้ ยกว่า
ครั้งที่ผา่ นมา เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตไรแดงแล้ว ควรล้างบ่อแล้วเริ่ มต้นเพาะในรอบใหม่ต่อไป
เพราะจากประสบการณ์ที่นกั วิชาการได้รับการเพาะไรแดงโดยวิธีน้ ี ไรแดงจะมีผลผลิตดีอยู่
ไม่เกิน 15 วัน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-29


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

การเพาะไรแดงในบ่อดิน นอกจากวิธีน้ ีแล้ว ยังมีวิธีเพาะแบบพื้นบ้านตามฟาร์มเลี้ยง


สัตว์แบบผสมผสาน ตามตานานสัตว์น้ าตามสัตว์บก ของท่านปรมาจารย์ หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ
นัน่ เอง เช่น การเลี้ยงปลาในบ่อที่อยูใ่ ต้กรงเลี้ยงไก่ หรื อบ่อท้ายคอกหมู หรื อแม้แต่น้ าในบ่อ
เลี้ยงปลาดุก ปลาช่อน และกุง้ ก้ามกราม ก็สามารถนามากักไว้ในบ่อเพาะไรแดงสักระยะหนึ่ง
เมื่อน้ ามีสีเขียวข้นดีแล้ว ก็นาเชื้อไรแดงมาปล่อย หลังจากนั้นประมาณ 3 วัน ก็สามารถเก็บเกี่ยว
ผลผลิตได้ จนกระทัง่ ผลผลิตไรแดงลดลง ก็สูบน้ าเก่าออกประมาณครึ่ งหนึ่ง แล้วรอสัก 3-4 วัน
ก็สามารถเก็บเกี่ยวไรแดงได้อกี ทาวนเวียนซ้ ากันไปอย่างนี้ ก็สามารถเพาะไรแดงเพื่อใช้เอง
หรื อถ้ามีมากก็ขายได้เงิน และต้นทุนการผลิตยังต่าอีกด้วย
เทคนิคการเพาะเลีย้ งไรแดง
1) น้ าที่จะใช้ในบ่อเพาะไรแดง ควรกรองด้วยผ้ากรองเสี ยก่อนเพื่อป้ องกันศัตรู และ
คู่แข่งของไรแดงในธรรมชาติ ซึ่งมีอยูม่ ากมาย เช่น ลูกน้ า ลูกปลาวัยอ่อนที่มขี นาดเล็ก
แมลงน้ าบางชนิด และลูกกุง้ เป็ นต้น
2) น้ าเขียว เปรี ยบเสมือนเป็ นซุปเปอร์มาร์เก็ตของไรแดง ซึ่งมีอาหารของไรแดงอยู่
มากมายหลายชนิดอย่างครบถ้วน ตั้งแต่บคั เตรี ชนิดต่างๆ แพลงตอนพืช ซึ่ง
ประกอบด้วยสาหร่ ายเซลล์เดียวหลากหลายชนิด และสัตว์เซลล์เดียวอีกนับสิบนับ
ร้อยชนิด ซึ่งบางชนิดก็อาจเป็ นศัตรู และคู่แข่งของไรแดง เช่น โรติเฟอร์ ซึ่งเป็ น
คู่แข่งตัวฉกาจที่คอยแย่งอาหารไรแดง ซึ่งบางครั้งการเพาะไรแดงต้องล่ม ไรแดง
เกิดน้อยเพราะขาดอาหาร หรื อตัวอ่อนของไฮดร้า (Hydra) ที่เมื่อเติบโตขึ้นจะคอย
จับไรแดงกินเป็ นอาหาร เป็ นต้น ดังนั้น ต้องกรองน้ าเขียวด้วยผ้ากรองแพลงตอน
เสียก่อนที่จะลงบ่อ
3) เมื่อผลผลิตของไรแดงในบ่อเริ่ มลดลง ควรเปลี่ยนน้ าประมาณครึ่ งบ่อ แล้วเพิ่มน้ าใหม่
และใส่ปุ๋ยตามสูตรต่างๆ ที่ให้ไว้เพิ่มเติมลงไป จะช่วยให้ไรแดงเพิ่มจานวน มี
ความหนาแน่นขึ้นมาได้ในระดับหนึ่ง
4) การให้ออกซิเจนแก่ไรแดงจะช่วยให้ไรแดงขยายพันธุไ์ ด้รวดเร็ วขึ้น
5) การกวนน้ าหรื อปั่นน้ าให้ไหลเวียน จะช่วยให้ปุ๋ยหรื อแร่ ธาตุอาหารของแพลงตอน
พืชฟุ้ งกระจายวนเวียนอยูใ่ นน้ า ไม่ตกตะกอน แพลงตอนพืชก็จะได้ปุ๋ยอย่าง
ต่อเนื่อง และขยายพันธุไ์ ด้มากและรวดเร็วขึ้น
6) แสงแดดเป็ นปัจจัยที่จาเป็ นและสาคัญยิง่ ต่อการสังเคราะห์แสงของแพลงตอนพืชที่
เป็ นอาหารหลักของไรแดง ไม่ควรสร้างหลังคาคลุมบ่อ หรื อพรางแสงที่จะส่องลง
บ่อเพาะไรแดงแต่อย่างใดทั้งสิ้น

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-30


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

7) อุณหภูมิ เป็ นปัจจัยสาคัญอีกตัวหนึ่งที่มกั จะมาคู่กบั แสงแดด อุณหภูมิของน้ าที่สูง


พอเหมาะจะช่วยให้ไรแดงสามารถเติบโตได้รวดเร็วขึ้น และช่วยให้เกิดผลผลิตที่
สูงภายในระยะเวลาที่ส้ นั กว่าในน้ าที่มีอุณหภูมติ ่า

6.7.2 ข้ อดีและข้อจากัดของวิธกี ารการนานา้ ทิง้ ฯ ไปเลีย้ งไรแดงสรุปได้ดังนี้


ข้ อดี
1) ผลผลิตไรแดง สามารถขายได้
2) เป็ นแหล่งโปรตีนสาหรับอาหารเลี้ยงปลา
3) วิธีการเลี้ยงไรแดงง่ายไม่ยงุ่ ยาก
4) เงินลงทุนไม่สูง
ข้ อจากัด
1) ต้องการพื้นที่ในการสร้างบ่อเพื่อเลี้ยงไรแดง
2) ความต้องการของตลาดมีนอ้ ย และจากัดเฉพาะกลุ่ม

6.7.3 แนวทางการประยุกต์ใช้ พลังงาน


ใช้ก๊าซชีวภาพเป็ นเชื้อเพลิงสาหรับเครื่ องเติมอากาศ และเครื่ องสูบน้ า สาหรับบ่อเลี้ยงไรแดง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-31


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 6-2 ข้อดี-ข้อจากัดของการนาน้ าทิ้งฯไปเพิม่ มูลค่าโดยวิธีการต่างๆ


แนวทางการใช้
ทางเลือก ข้ อดี ข้ อจากัด
พลังงาน
แนวทางที่ 1 - การนาไปใช้งานทาได้ - การขนส่งปุ๋ ยน้ าใน น าก๊ า ซชี ว ภาพ
ปุ๋ ยอินทรี ยน์ ้ า สะดวก ระยะไกลทาได้ไม่สะดวก เ ป็ น เ ชื้ อ เ พ ลิ ง
(Wastewater as fertilizer - พืชสามารถนาแร่ ธาตุ เนื่องจากมีน้ าเป็ น สาหรับเครื่ องสูบ
and irrigation water) อาหารไปใช้ได้ องค์ประกอบอยูม่ าก น้ า
– เพื่อเป็ นปุ๋ ยบารุ งดิน โดยตรง เหมือนการใช้ - สิ่งเจือปนในน้ าเสียที่
สาหรับการปลูกพืช ปุ๋ ยน้ า เป็ นอันตรายต่อมนุษย์
พลังงาน (อาทิเช่น อ้อย - ลดภาระรายจ่ายเรื่ อง เช่น โลหะหนัก เชื้อโรค
ข้าวโพด และมันสาปะ ปุ๋ ยให้เกษตรกร และพยาธิ
หลัง) และพืชเศรษฐกิจ - การปนเปื้ อนของธาตุ
(ข้าว) อาหาร ลงสู่แหล่งน้ า
ใต้ดิน และแหล่งน้ า
ธรรมชาติ เนื่องจาก
ธาตุอาหารอยูใ่ นรู ป
ละลายน้ า
แนวทางที่ 2 - กาจัดฟอสเฟตในน้ าเสีย - เหมาะสาหรับน้ าเสียที่ นาก๊าซชีวภาพ
ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต - ผลิตภัณฑ์ที่ได้ มีแคลเซียม และฟอส เฟต เป็ นเชื้อเพลิง
(Calcium phosphate) แคลเซียมฟอสเฟต - ค่าใช้จ่ายจากการเติม สาหรับอุปกรณ์
– เพื่อกาจัดฟอสฟอรัส หรื ออะพาไทท์ สารเคมี ในถังปฏิกิริยา
และแคลเซียมในน้ าเสีย สามารถนาไปใช้เป็ น - ค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง ได้แก่ เครื่ องสูบน้ า
และได้ผลพลอยได้เป็ น ปุ๋ ย และเป็ นวัตถุดิบใน ระบบ และถังปฏิกรณ์ และเครื่ องกวน
ปุ๋ ยทางการเกษตร หรื อ การผลิตปุ๋ ย - ต้องการการควบคุม ตะกอน
วัตถุดิบในการผลิตปุ๋ ย - ไม่ตอ้ งคานึงถึง การเกิดปฏิกิริยาที่
สิ่งเจือปน และโลหะ เหมาะสมต่อการตกผลึก
หนักในน้ าเสีย
- การขนส่งทาได้
สะดวก เนื่องจากอยูใ่ น
รู ปตะกอนผลึก
- ลดการปนเปื้ อนของ
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-32
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 6-2 ข้อดี-ข้อจากัดของการนาน้ าทิ้งฯไปเพิม่ มูลค่าโดยวิธีการต่างๆ


แนวทางการใช้
ทางเลือก ข้ อดี ข้ อจากัด
พลังงาน
ธาตุอาหารลงสู่แหล่ง
น้ าใต้ดิน และแหล่งน้ า
ธรรมชาติ
แนวทางที่ 3 - กาจัดฟอสเฟตและ - เหมาะสาหรับน้ าเสียที่ นาก๊าซชีวภาพ
ปุ๋ ยแมกนีเซียม- แอมโมเนียในน้ าเสีย มีแมกนีเซียม เป็ นเชื้อเพลิง
แอมโมเนียม- ฟอสเฟต ภายในครั้งเดียว แอมโมเนียม และฟอส เฟต สาหรับอุปกรณ์
หรื อสตรู ไวท์ (Magnesium - สตรู ไวท์สามารถ - ค่าใช้จ่ายจากการเติม ในถังปฏิกิริยา
ammonium phosphate, นาไปใช้เป็ นปุ๋ ยละลายช้า สารเคมี ได้แก่ เครื่ องสูบน้ า
MAP or Struvite) และเป็ นวัตถุดิบในการ - ค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง และเครื่ องกวน
– เพื่อกาจัดฟอสฟอรัส ผลิตปุ๋ ย ระบบ และถังปฏิกรณ์ ตะกอน
และไนโตรเจน และ - ไม่ตอ้ งคานึงถึง - การควบคุมการ
ได้ผลพลอยได้เป็ นสตรู สิ่งเจือปนและโลหะ เกิดปฏิกิริยาที่เหมาะสม
ไวท์ที่นาไปใช้เป็ นปุ๋ ย หนักในน้ าเสีย ต่อการตกผลึกซับซ้อน
ทางการเกษตร หรื อ - การขนส่งทาได้สะดวก
วัตถุดิบในการผลิตปุ๋ ย เนื่องจากสตรู ไวท์
อยูใ่ นรู ปเม็ด
- ลดการปนเปื้ อนของ
ธาตุอาหารลงสู่แหล่ง
น้ าใต้ดิน และแหล่งน้ า
ธรรมชาติ
- มีโรงงานต้นแบบ
ขนาดใหญ่
แนวทางที่ 4 - ได้พลังงานเป็ น - เทคโนโลยีน้ ีส่วนใหญ่ ได้พลังงานเป็ น
เซลล์ชีวภาพ ผลิตภัณฑ์จาก เป็ นการศึกษาวิจยั ใน ผลิตภัณฑ์จาก
(Microbial Fuel Cell, กระบวนการย่อยสลาย ห้องปฏิบตั ิการ หน่วย การกระบวนการ
MFC) อินทรี ย ์ ต้นแบบขนาดใหญ่ ย่อยสลาย
– เพื่อผลิตพลังงาน - ผลิตภัณฑ์ที่ได้ (Pilot plant) ยังไม่ได้ สารอินทรี ยข์ อง
(อิเล็กตรอน) สามารถ รับความนิยมเนื่องจาก แบคทีเรี ย
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-33
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 6-2 ข้อดี-ข้อจากัดของการนาน้ าทิ้งฯไปเพิม่ มูลค่าโดยวิธีการต่างๆ


แนวทางการใช้
ทางเลือก ข้ อดี ข้ อจากัด
พลังงาน
ไปผลิตเป็ นพลังงาน ค่าใช้จ่ายในการลงทุนสูง
ไฟฟ้ า - ปริ มาณไฟฟ้ าที่ได้จาก
- น้ าเสียที่ผา่ น การบวนการมีจานวนน้อย
กระบวนการบาบัดมี ซึ่งยังอยูใ่ นขั้นการพัฒนา
ความสกปรกน้อยลง - มีความซับซ้อนและ
ยุง่ ยากในการดู และ
ระบบ เพื่อเลี้ยงแบคทีเรี ย
- ค่าใช้จ่ายในการลงทุน
และ ติดตั้งระบบสูง
แนวทางที่ 5 - ผลผลิตมีมลู ค่าสูง - มีความยุง่ ยากในเตรี ยม ใช้ก๊าซชีวภาพ
เลี้ยงสาหร่ าย (Algae & - มีตลาดรองรับ น้ าที่จะนามาใช้ในการ เป็ นเชื้อเพลิง
Spirulina) - น้ าทิ้งฯที่ผา่ นการเลี้ยง เพาะเลี้ยงสาหร่ าย สาหรับเครื่ อง
– เพื่อบาบัดน้ าเสียและ สาหร่ ายมีความ เนื่องจากสาหร่ าย เติมอากาศ และ
ได้สาหร่ ายเป็ นแหล่ง สกปรกน้อยลง ต้องการน้ าสะอาด เครื่ องสูบน้ า ใน
โปรตีนในอาหารสัตว์ และกึ่งน้ าเค็ม (ในบาง บ่อเลี้ยงแหน ใน
สายพันธุ)์ บ่อเลี้ยงสาหร่ าย
- สาหร่ ายอาจมีการ
กลายพันธุ์ ทาให้
ผลิตผลลดลง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-34


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 6-2 ข้อดี-ข้อจากัดของการนาน้ าทิ้งฯไปเพิม่ มูลค่าโดยวิธีการต่างๆ


แนวทางการใช้
ทางเลือก ข้ อดี ข้ อจากัด
พลังงาน
แนวทางที่ 6 - วิธีการนาน้ าทิ้งไปใช้ - การผลิตเอทานอลจาก ใช้ก๊าซชีวภาพ
เลี้ยงแหน (Duckweed) ง่าย และสะดวก ได้ แหนยังอยูใ่ นระดับ เป็ นเชื้อเพลิง
– เพื่อบาบัดน้ าทิ้งขั้น แหนเป็ นผลิตภัณฑ์ ห้องปฏิบตั ิการ สาหรับเครื่ อง
หลังและได้แหนเป็ น - การเลี้ยงแหนสามารถ - การนาแหนไปผลิต เติมอากาศ และ
แหล่งโปรตีนสาหรับ ทาได้ง่ายและ เก็บเกี่ยว อาหารสัตว์ ต้อง เครื่ องสูบน้ า ใน
อาหารสัตว์ และแหน ได้ไม่ยงุ่ ยาก คานึงถึงสิ่งปนเปื้ อน บ่อเลี้ยงแหน
เป็ นพืชที่มีศกั ยภาพใน - แหนเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ เช่น สารพิษในพืช แหนเป็ นพืชที่มี
การผลิตเอทานอล สามารถให้เป็ นแหล่ง และโลหะหนัก ศักยภาพในการ
โปรตีนในในอาหาร - เกษตรกรต้องมีพ้นื ที่ ผลิตเอทานอล
สัตว์ และแหล่ง สาหรับจัดสร้างบ่อพัก
วัตถุดิบ (แป้ ง) สาหรับ น้ าเสียสาหรับการเลี้ยง
ผลิตเอทานอลเพื่อเป็ น แหน
แหล่งพลังงานทดแทน
- น้ าทิ้งที่ผา่ นระบบชนิดนี้
ทาให้มีค่าความสกปรก
ลดลง
แนวทางที่ 7 - ผลผลิตไรแดง - ต้องการพื้นที่ในการ ใช้ก๊าซชีวภาพ
เลี้ยงไรแดง สามารถขายได้ สร้างบ่อเพื่อเลี้ยงไรแดง เป็ นเชื้อเพลิง
– เพื่อน้ าน้ าเสียไปเป็ น - เป็ นแหล่งโปรตีน - ความต้องการของ สาหรับเครื่ อง
แหล่งอาหารของไรแดง สาหรับอาหารเลี้ยงปลา ตลาดมีนอ้ ย และจากัด เติมอากาศ
โดยไรแดงที่ได้น้ นั - วิธีการเลี้ยงไรแดงง่าย เฉพาะกลุ่ม
แหล่งโปรตีนในอาหาร ไม่ยงุ่ ยาก
สัตว์ - เงินลงทุนไม่สูง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-35


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

6.8 ข้ อสรุปทางเลือกการเพิม่ มูลค่านา้ ทิง้ จากระบบบาบัดนา้ เสียแบบผลิตก๊าซชีวภาพ


จากแนวทางในการนาทิ้งจากทิ้งจากระบบบาบัดน้ าเสียแบบผลิตก๊าซชีวภาพไปเพิ่มมูลค่า ทั้ง 7
แนวทาง มีขอ้ ดีและข้อจากัดของการนาทิ้งฯไปใช้อย่างเหมาะสมแตกต่างกันไป ดังนี้
แนวทางที่ 1) การนาน้ าทิ้งไปใช้เป็ นปุ๋ ยน้ า แนวทางที่ 5) น้ าทิ้งไปเลี้ยงแหน แนวทาง
ที่ 6) นาไปเลี้ยงสาหร่ าย และ แนวทางที่ 7) นาน้ าทิ้งไปเลี้ยงไรแดง แนวทางเหล่านี้ เป็ นแนวทาง
ที่นาน้ าทิ้งไปใช้โดยตรง ไม่ได้เป็ นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั น้ าทิ้งแต่อย่างใด และยังเป็ น
แนวทางที่ได้มกี ารใช้นามาใช้กนั โดยทัว่ ไป และเป็ นแนวทางที่มีแรงจูงใจในการศึกษาและ
พัฒนาในเชิงวิจยั น้อย
แนวทางที่ 4) การนาน้ าทิ้งไปใช้ในเซลล์ชีวภาพเพื่อการผลิตพลังงาน เป็ นแนวทางที่มี
ศักยภาพในการพัฒนาทั้งในด้านงานวิจยั และเชิงพาณิ ชย์ต่อไปในอนาคต แต่ทว่าแนวทางนี้ ยงั
ไม่มีความเหมาะสมที่จะนามาใช้งานในปัจจุบนั โดยเฉพาะสาหรับฟาร์ มขนาดกลางและขนาด
เล็ก เนื่องจากเป็ นเทคโนโลยีที่กาลังอยูใ่ นช่วงของการพัฒนาศึกษาวิจยั ในห้องปฏิบตั ิการ มีตวั
ต้นแบบขนาดเล็กที่สามารถผลิตพลังงานได้เพียงจานวนน้อย และยังมีค่าค่อนข้างสูง
ดังนั้นทางคณะที่ปรึ กษาได้คดั เลือก 2 แนวทางเพื่อการนาน้ าทิ้งไปเพิม่ มูลค่าจาก 7
แนวทาง ได้แก่
แนวทางที่ 2) การนาน้ าทิ้งฯไปผลิตเป็ น ปุ๋ ยแคลเซียม-ฟอสเฟต (Calcium phosphate)
หรื อ อะพาไทท์ (Calcium hydroxyl apatite, HAP) เป็ นปุ๋ ยที่ใช้ในการเพาะปลูกพืช
หรื อเป็ นวัตถุดิบตั้งต้นในการอุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ ย (รายละเอียดแสดงในบทที่ 3)
แนวทางที่ 3) การนาน้ าทิ้งฯไปผลิตเป็ น ปุ๋ ยแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต
(Magnesium ammonium phosphate, MAP) หรื อสตรู ไวท์ (Struvite) เป็ นปุ๋ ยละลายช้า
(Slow release fertilizer) ใช้ในเพาะปลูกพืช หรื อเป็ นวัตถุดิบตั้งต้นในการอุตสาหกรรม
การผลิตปุ๋ ย (รายละเอียด แสดงในบทที่ 4)
โดย ทั้ง 2 แนวทางนั้นเป็ นการนาเอาสารอาหารที่ละลายปะปนอยูใ่ นน้ าเสี ยกลับมาใช้
ประโยชน์โดยการเติมสารเคมีช่วยในการตกตะกอนเพื่อจับสารอาหารในน้ าทิ้งให้ตกตะกอนลง
มาและแยกนาไปทาเป็ นปุ๋ ย แนวทางนี้ ยงั เป็ นแนวทางที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีของการบาบัด
น้ าเสี ยในปั จจุบนั (Nutrient recovery) ที่มีศกั ยภาพในด้านงานศึก ษาวิจยั และเริ่ มมีการนามา
สร้างเป็ นแบบจ าลองต้นแบบในต่างประเทศ โดยผลิตภัณฑ์หรื อตะกอนที่ ได้น้ ันจะมีมูลค่ า
เทียบเท่าได้กบั ปุ๋ ยที่ใช้ในการเกษตร ซึ่งมีองค์ประกอบของสารอาหารของพืช เช่น ฟอสฟอรัส
ไนโตรเจน แมกนีเซียม และแคลเซียม เป็ นต้น ทั้งสองแนวทางนี้ จึงเป็ นการสร้างมูลค่าให้กบั น้ า
ทิ้งและได้ผลิตภัณฑ์เป็ นปุ๋ ยทางการเกษตรที่ สามารถให้เกษตรกรสามารถนาไปใช้ได้โดยตรง
ในการทาการเกษตรเพื่อทดแทนการซื้อปุ๋ ยเคมีหรื อจาหน่ ายในทางการค้าต่อไป นอกจากนี้
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-36
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รู ปแบบของผลิภณ ั ฑ์ที่ได้สามารถการนาไปใช้ในรู ปของแข็งเหมือนกับปุ๋ ยเม็ดทัว่ ไปจึงสามารถ


ขนถ่ายได้สะดวกและมีความเสี่ยงในเรื่ องของเชื้อโรคและพยาธิลดลง
การใช้ประโยชน์จากก๊าซชีวภาพนั้น ทั้ง 2 แนวทางสามารถนาพลังงานที่ได้จากก๊าซ
ชีวภาพเข้ามาใช้ประโยชน์เพื่อเป็ นเชื้อเพลิงสาหรั บอุปกรณ์ในถังปฏิกิริยา ได้แก่ เครื่ องสูบน้ า
และเครื่ องกวนตะกอนในถังปฏิกิริยา ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนรายจ่ายค่าพลังงานในกระบวนการ
ผลิต
นอกจากนี้ ยงั มีประโยชน์ทางด้านสิ่ งแวดล้อมในแง่ของการนาสารอาหารของพืช (เช่น
ฟอสเฟต และไนโตรเจน) เปลี่ยนให้อยู่ในรู ปที่น ามาใช้ประโยชน์และลดการปนเปื้ อนจาก
สารอาหารเหล่านี้ลงสู่สิ่งแวดล้อม ที่อาจเป็ นประโยชน์ต่อการจัดการน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกรต่อไป
ในอนาคต

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 6-37


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT006
บทที่ 7
การผลิตปุ๋ ยแคลเซียม-ฟอสเฟต
(Calcium phosphate as Fertilizer)
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

บทที่ 7
การผลิตปุ๋ ย แคลเซียม-ฟอสเฟต
(Calcium phosphate as Fertilizer)

7.1 หลักการ และทฤษฎี


น้ าทิ้งจากระบบบาบัดทางชีวภาพของฟาร์มสุกร ทั้งระบบบาบัดน้ าเสียแบบใช้ออกซิเจน และ
แบบไม่ใช้ออกซิเจน ยังมีสิ่งเจือปนในน้ าทิ้งที่ไม่สามารถทาการบาบัดได้ดว้ ยวิธีการดังกล่าว เช่น
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส ที่มีปริ มาณสูงหรื อเกินค่ามาตรฐานน้ าทิ้ง จึงต้องทาการบาบัดน้ าเสียต่อในขั้นที่สาม
(Tertiary treatment) หรื อขั้นหลัง (Post treatment) หรื อการบาบัดเฉพาะด้าน (Advance treatment) เพื่อ
กาจัดสารเจือปนที่เฉพาะเจาะจง เช่น การกาจัดไนโตรเจน และฟอสฟอรัส เป็ นต้น จากเทคโนโลยีการ
บาบัดน้ าเสียในปัจจุบนั พบว่าน้ าทิ้งเหล่านี้สามารถนาไปเพิ่มมูลค่าได้ โดยการแยกธาตุอาหารที่เป็ น
ประโยชน์ต่อพืชออกมาใช้ประโยชน์ (Nutrient recovery) ได้แก่ การแยกเอาฟอสฟอรัสที่ละลายอยูใ่ น
น้ าเสียออกมา (Phosphorus removal)
น้ าเสียที่ออกจากระบบบาบัดทางชีวภาพจากฟาร์มสุกร ที่มีฟอสเฟตปนเปื้ อนอยูใ่ นน้ า สามารถ
นามาแยกฟอสเฟตที่ละลายอยูใ่ นน้ าทิ้งให้กลับมาอยูใ่ นรู ปที่ใช้ประโยชน์ได้ โดยการตกตะกอนด้วย
แคลเซียม เช่น ปูนขาว ให้อยูใ่ นรู ปแคลเซียมฟอสเฟต (Calcium phosphate) (House et al., 1999;
Piekema, 2004; Bauer et al., 2007; van der Houwen and Valsami-Jones, 2007; Cao and Harris, 2008)
และกระบวนการนี้สามารถฆ่าเชื้อโรคในน้ าเสียได้ เนื่องจากการเกิดปฏิกิริยาต้องการค่าพีเอชสูง หรื อมี
สภาพความเป็ นด่างสูงจึงเป็ นการฆ่าเชื้อโรค (Disinfection) ในน้ าเสียไปพร้อมกัน นอกจากนี้ผลึก
แคลเซียมฟอสเฟตที่ตกตะกอนลงมาหรื ออาจเรี ยกได้ว่าเป็ นผลพลอยได้จากการบาบัดน้ าเสียนั้น พบว่ามี
ศักยภาพในการนาไปใช้เป็ นปุ๋ ยสาหรับการเกษตรกรรม (Burns et al.,2002; Vanotti et al., 2005; Bellier
et al., 2006; Bauer et al., 2007; Mazlu and Yigit, 2007)
การตกผลึกแคลเซียมฟอสเฟต จึงเป็ นเทคโนโลยีในการแยกฟอสเฟตที่อยูใ่ นน้ าเสียกลับมาใช้
ประโยชน์ เนื่องจากฟอสเฟตที่แยกออกมาจากการตกผลึกนั้นมีลกั ษณะพื้นฐานเหมือนกับปุ๋ ยฟอสฟอรัส
ดังนั้นการนาไปใช้จึงเหมือนการใช้ปุ๋ยฟอสฟอรัสสาหรับการเพาะปลูก (Hosni et al., 2007) หรื อ
นาไปใช้เป็ นวัตถุดิบในการทาผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตการใช้ทดแทนแร่ หินฟอสเฟต นอกจากนี้ยงั เป็ นการช่วย
ลดปัญหามลภาวะทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการปนเปื้ อนของธาตุอาหารของพืชในแหล่งน้ าผิวดิน และ
แหล่งน้ าใต้ดินจนเกิดปรากฏการณ์ยโู ทรฟิ เคชัน (Eutrophication)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-1


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

7.1.1 การเกิดผลึกแคลเซียมฟอสเฟต (Calcium phosphate formation)


การเกิดการตกตะกอนของผลึกระหว่าง แคลเซียม (Ca2+) และฟอสเฟต (PO43-) สามารถ
ตกตะกอนได้เป็ นสารประกอบในหลายรู ปแบบ ได้แก่ Ca(H2PO4)2 (Di-calcium dihydrogen
phosphate), Ca(H2PO4)22H2O (Di-calcium phosphate dehydrate), CaHPO4, (Calcium hydrogen
phosphate), CaHPO42H2O (Calcium hydrogen phosphate dihydrate) และ Ca5(PO4)3(OH)
(hydroxyapatite or HAP) ตารางที่ 7-1 แสดงรู ปแบบผลึกฟอสเฟตที่อาจเกิดขึ้นจากการตกตะกอนผลึก
ด้วยแคลเซียม และอัตราส่วนโมลระหว่างแคลเซียม และฟอสฟอรัส (Ca/P ratio) ของการเกิดผลึก โดย
ปัจจัยการเกิดผลึกฟอสเฟตในรู ปแบบต่างๆ จะขึ้นอยูก่ บั ปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ค่าพีเอชของน้ า และสภาวะ
การอิ่มตัว (Supersaturation) สิ่งเจือปนในน้ าเสีย (impourities) เป็ นต้น โดยผลึกไฮดรอกซีอะพาไทท์
(Hydroxyapatite, Ca5(PO4)3(OH)) เป็ นผลึกแคลเซียมฟอสเฟตที่มีความเสถียร และเป็ นรู ปแบบผลึก
เกิดขึ้นส่วนใหญ่ในระบบบาบัดน้ าเสียโดยการกาจัดฟอสฟอรัส นอกจากนี้การเกิดผลึกอะพาไทท์น้นั จะ
เกิดการตกตะกอนได้ต้งั แต่ในช่วงค่าพีเอชที่เป็ นด่างอ่อน (pH = 8.0 ถึง 9.8) ณ อุณหภูมิหอ้ ง (Yigit and
Mazlum, 2007) รู ปที่ 7-1 แสดงช่วงของค่าพีเอชของการละลายน้ าของผลึกแคลเซียมฟอสเฟตหรื ออะพาไทท์
(Caclium phosphate solubility diagram)

ตารางที่ 7-1 สารประกอบแคลเซียมฟอสเฟตรู ปแบบต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการตกตะกอนเคมี


สารประกอบฟอสเฟต สู ตรเคมี อัตราส่ วนโมล การละลายนา้
(Compound) (Formula) (Ca/P ratio) (Solubility)
Brushite or dicalcium CaHPO4„2H2O 1 SP = 2.49 x 10-7
phosphate dihydrate (DCPD)
Monetite (DCPA ) CaHPO4 (Anhydrous 1 SP = 1.26x 10-7
DCPD)
Octacalcium phosphate (OC P) Ca4H(PO4)3„2.5H2O 1.33 SP = 1.25 x 10-47
Amorphous calcium phosphate Ca3(PO4)2 1.5 SP = 1.20 x 10-29
(ACP)
Hydroxylapatite (HAP) Ca5(PO4)3OH 1.67 SP = 4.7 x 10-59

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-2


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ที่มา: Sedlak, 1899

รูปที่ 7-1 ค่าพีเอชต่อการละลายน้ าของแคลเซียมฟอสเฟต (Solubility diagram)

7.1.2 การตะกอนแคลเซียมฟอสเฟตด้ วยกระบวนการทางเคมี


การตกผลึกแคลเซียมฟอสเฟต สามารถทาโดยการเติมปูนขาว หรื อแคลเซียมไฮดรอกไซด์
(Calclium hydroxide, [Ca(OH)2]) ซึ่งเป็ นวิธีนิยมใช้กนั ในระบบบาบัดน้ าเสียเพื่อการกาจัดฟอสฟอรัส
กลไกการเกิดปฏิกิริยาแสดงในสมการด้านล่าง (รู ปที่ 7-2) จากสมการการเกิดปฏิกิริยาเคมีฟอสเฟตจะ
ตกผลึกออกมาในรู ปของ แคลเซียม-ไฮดรอกซีอะพาไทท์ (Calcium hydroxyapatite, Ca5(PO4)3OH))
โดยตะกอนผลึกแคลเซียม-ไฮดรอกซีอะพาไทท์สามารถเกิดได้เมื่อพีเอชมีค่าอยูใ่ นช่วงระหว่าง 7-9 (pH
 7-9)

Ca(OH)2 + HCO3-  CaCO3 + H2O + OH-


ปูนขาว

5Ca2+ + 4OH- + 3HPO4  Ca5(PO4)3OH + 3H2O


(แคลเซี ยม-ไฮดรอกซี อะพาไทท์)

รูปที่ 7-2 สมการเคมีของการตกตะกอนแคลเซียมฟอสเฟต (มัน่ สิน. 2542)

อย่างไรก็ดีกระบวนการตกผลึกฟอสเฟตด้วยวิธีการนี้ มิได้เกิดขึ้นโดยอาศัยปฏิกิริยาข้างต้นเท่านั้น
สารประกอบฟอสเฟตในรู ปอื่นๆ เช่น โพลิฟอสเฟต อาจถูกกาจัดโดยกระบวนการดูดติดผิวของ
(Adsorption) ไฮดรอกซีอะพาไทท์ (Hydroxy zapatite) ที่เกิดขึ้นจากการตกผลึกฟอสเฟต และเมื่อค่าพีเอช

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-3


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

มีค่าสูงเพิ่มมากขึ้น (pH > 10) ไฮดรอกซีอะพาไทท์จะเกิดการตกผลึกมากขึ้น (การละลายน้ าลดลง)


ทาให้ประสิทธิภาพการแยกฟอสฟอรัสออกจากน้ าเสียเพิม่ สูงมากขึ้นเมื่อพีเอชมีค่าสูงมากกว่า 11.5 โดย
รู ปที่ 7-1 ค่าพีเอชต่อการละลายน้ าของสารประกอบแคลเซียมฟอสเฟต (Solubility diagram) ทั้งนี้
ปริ มาณสารเคมีที่เติมลงไปในน้ าเสียเพื่อการตกผลึกไปจะขึ้นอยูก่ บั สภาพพีเอชของน้ าเสีย และสิ่งเจือปน
ในน้ าเสีย (มัน่ สิน. 2542)
ขนาดของผลึกแคลเซียมฟอสเฟตเป็ นผลึกขนาดเล็กหรื อเป็ นอนุภาคคอลลอยด์ (Colloid) เช่น
กรณีของผลึกไฮดรอกซีอะพาไทท์ที่แขวนลอยอยูในน้ าตกตะกอนลงมาได้อย่างช้าๆ โดยอนุภาคคอลลอยด์
ขนาดเล็กเหล่านี้กบั สารประกอบโพลิฟอสเฟตที่อยูใ่ นน้ าเสีย สามารถจับตัวรวมกันเป็ นกลุ่มก้อนที่เรี ยกว่า
ฟล้อค (Floc) กลายเป็ นกลุ่มอนุภาคขนาดใหญ่ข้ นึ และสามารถตกตะกอนลงมาได้ง่ายขึ้น หรื อสามารถ
เร่ งการตกตะกอนได้ โดยการใช้อนุภาคบางชนิดเพื่อเป็ นตัวเชื่อมตะกอนให้ตกลงมาได้ง่ายขึ้น เช่น
เบนโทไนด์ (Bentonite clay) หรื อ สารโพลิเมอร์ (Yigit and Mazlum, 2007)
ดังนั้นการบาบัดน้ าเสียที่มีฟอสฟอรัสด้วยแคลเซียม จะทาให้ได้ตะกอนผลึกแคลเซียมฟอสเฟต
หรื ออะพาไทท์ ซึ่งเป็ นผลพลอยได้ที่มีมลู ค่าสาหรับใช้เป็ นปุ๋ ยในการทาเกษตรกรรม หรื อเป็ นวัตถุดิบใน
การผลิตเป็ นปุ๋ ย รู ปที่ 7-3 แสดงตะกอนแคลเซียมฟอสเฟตที่ได้จากระบบบาบัดน้ าเสียจากโรงบาบัด
น้ าเสียจากฟาร์ มปศุสตั ว์ มลรัฐนอร์ทคาโรไลน่า ประเทศสหรัฐอเมริ กา (Full-scale liquid manure
treatment facility, 4360-head finisher swine production unit in Duplin County, North Carolina, USA)

ที่มา: Bauer et al., 2007 ทีม่ า: Blue lagoon on pig farm (2005), www.nps.ars.usda.gov.

รูปที่ 7-3 ตะกอนแคลเซียมฟอสเฟตที่ได้จากระบบบาบัดน้ าเสีย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-4


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

7.1.3 ข้ อดีและข้ อจากัดของการนานา้ เสียไปผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตหรืออะพาไทท์ สามารถสรุปได้


ดังนี้
ข้ อดี
1) กาจัดฟอสเฟตในน้ าเสีย
2) ผลิตภัณฑ์ที่ได้แคลเซียมฟอสเฟตหรื ออะพาไทท์สามารถนาไปใช้เป็ นปุ๋ ย และเป็ นวัตถุดิบ
ในการผลิตปุ๋ ย
3) ไม่ตอ้ งคานึงถึงสิ่งเจือปน และโลหะหนักในน้ าเสีย
4) การขนส่งทาได้สะดวก เนื่องจากอยูใ่ นรู ปตะกอนผลึก
5) ลดการปนเปื้ อนของธาตุอาหารลงสู่แหล่งน้ าใต้ดิน และแหล่งน้ าธรรมชาติ
ข้ อจากัด
1) เหมาะสาหรับน้ าเสียที่มีฟอสเฟต
2) ค่าใช้จ่ายจากการเติมสารเคมี (ปูนขาว)
3) ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบและถังปฏิกรณ์
4) ต้องการการควบคุมการเกิดปฏิกิริยาที่เหมาะสมต่อการตกผลึก (การปรับค่าพีเอชของน้ า)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-5


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

7.2 การศึกษาทดลองในห้องปฏิบัตกิ าร การผลิตปุ๋ ยละลายช้ าแคลเซียมไฮดรอกซีอะพาไทท์ หรือ


HAP (Calcium hydroxyapatite, Ca5(PO4)3OH) )

7.2.1 วิธีการทดลองในห้ องปฏิบัตกิ าร


น้ าทิ้งที่ออกจากระบบบาบัดทางชีวภาพจากฟาร์มสุกร โดยส่วนใหญ่มกั พบสารประกอบของ
ฟอสเฟตปนเปื้ อนอยู่ ซึ่งปัจจุบนั ได้มวี ิธีการ และกระบวนการต่างๆ ในการนาสารประกอบของฟอสเฟต
ที่ละลายอยูใ่ นน้ าเสียกลับมาอยูใ่ นรู ปที่ใช้ประโยชน์ได้ โดยวิธีการตกตะกอนด้วยแคลเซียม เช่น การใช้
ปูนขาว หรื อแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Calcium hydroxide, Ca(OH)2) เติมลงในน้ าเสีย เพื่อช่วยให้
ฟอสเฟตที่ละลายอยูใ่ นน้ านั้นเกิดการตกตะกอนออกมา อยูใ่ นรู ปของสารประกอบแคลเซียมฟอสเฟต
(Calcium phosphate) ทั้งนี้ตะกอนของแคลเซียมฟอสเฟตที่ถกู แยกออกมานั้น มีสมบัติพ้นื ฐานใกล้เคียง
กับแร่ หินฟอสฟอรัส ซึ่งเหมาะสาหรับการนาไปใช้เป็ นปุ๋ ยฟอสฟอรัสสาหรับการเพาะปลูก หรื อ
นาไปใช้เป็ นวัตถุดิบในการทาผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตทดแทนการนาเข้าแร่ หินฟอสเฟต
ทั้งนี้หินฟอสเฟต ถือเป็ น สินแร่ ตามธรรมชาติที่มีแคลเซียมฟอสเฟต เป็ นส่วนประกอบที่สาคัญ
และมีธาตุอื่นๆ ปนอยูใ่ นปริ มาณแตกต่างกัน เช่น โพแทสเซียม แคลเซียม เหล็ก แมงกานีส หินฟอสเฟต
ส่วนใหญ่อยูใ่ นแร่ อะพาไทต์ (Apatite) โดยจะเกิดอยูใ่ นลักษณะผลึกเล็กๆ หรื อไม่เป็ นผลึกก็ได้ อีกทั้ง
หินฟอสเฟตยังมีความสาคัญต่อภาคการเกษตร เนื่องจากหินฟอสเฟตประกอบไปด้วยธาตุฟอสฟอรัส
ซึ่งถือเป็ นธาตุอาหารที่สาคัญต่อพืชเป็ นองค์ประกอบอยู่ ดังนั้นจึงเหมาะสาหรับนามาเป็ นวัตถุดิบใน
การผลิตปุ๋ ยเคมีฟอสเฟตในทางอุตสาหกรรม และนามาใช้เป็ นปุ๋ ยโดยตรง แต่การนาฟอสเฟตมาใช้เป็ น
ปุ๋ ยโดยตรงมีประสิทธิภาพในการใช้ต่า และมีขอบเขตเงื่อนไขการใช้ที่จากัดมาก กล่าวคือ ในหินฟอสเฟต
มีปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมดสูงประมาณร้อยละ 8‟18 แต่มีปริ มาณฟอสฟอรัสที่ละลายออกมา และพืช
สามารถนาไปใช้ได้เพียงร้อยละ 1‟2 เท่านั้น ซึ่งไม่เพียงพอกับความต้องการของพืช หากสามารถเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการละลายของหินฟอสเฟตให้มากขึ้น จะเป็ นการช่วยเพิ่มผลผลิต และคุณภาพของพืช
การผลิตปุ๋ ยละลายช้า หรื อ ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยอะพาไทด์ (Calcium hydroxyl
apatite) สามารถทาได้โดยการเติมสารเคมี คือ ปูนขาว (แคลเซียมไฮดรอกไซด์) หรื อแคลเซียมออกไซด์
(Calcium oxide, CaO) เพื่อทาให้เกิดการสร้างผลึก และตะกอนเคมีระหว่าง แคลเซียม (Ca2+) และ
ฟอสเฟต (PO43-) ซึ่งองค์ประกอบของผลึกที่เกิดขึ้นนั้น มีได้หลากหลายรู ปแบบ ได้แก่
1) ผลึกของสารประกอบ Ca(H2PO4)2 (Di-calcium dihydrogen phosphate)
2) ผลึกของสารประกอบ Ca(H2PO4)22H2O (Di-calcium phosphate dehydrate)
3) ผลึกของสารประกอบ CaHPO4, (Calcium hydrogen phosphate)
4) ผลึกของสารประกอบ CaHPO42H2O (Calcium hydrogen phosphate dihydrate)
5) ผลึกของสารประกอบ Ca5(PO4)3(OH) (Hydroxyapatite or HAP)
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-6
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ทั้งนี้องค์ประกอบของการเกิดผลึกของสารประกอบฟอสเฟต ขึ้นอยูก่ บั หลายปัจจัยที่เกี่ยวข้อง อาทิ


ปริ มาณสารเคมีที่ใช้ในการตกผลึกแคลเซียมฟอสเฟต อัตราส่วนโมลระหว่างแคลเซียม และฟอสฟอรัส
(Ca/P ratio) ค่าความเป็ นกรด และด่างของสารละลาย(pH) สภาวะการอิ่มตัว (Supersaturation) และ
สิ่งเจือปนในน้ าเสีย เช่น ไอออน (ions) และสารอินทรี ย ์ และอนินทรี ย(์ Organic and inorganic
substances) เป็ นต้น ทั้งนี้ผลึกของสารประกอบฟอสเฟตที่มีความเสถียร หรื อไม่เกิดการเปลี่ยนรู ป คือ
ผลึกของสารประกอบ แคลเซียม ไฮดรอกซีอะพาไทด์ (Calcium Hydroxyapatite, Ca5(PO4)3(OH) หรื อ
Apatite) ซึ่งกลไกการเกิดปฏิกิริยาการเกิดผลึกในรู ปของ แคลเซียม-ไฮดรอก-ซีอะพาไทด์ (Calcium
hydroxyapatite, Ca5(PO4)3OH)) มีดงั นี้

Ca(OH)2 + HCO3-  CaCO3 + H2O + OH-


5Ca2+ + 4OH- + 3HPO4  Ca5(PO4)3OH  + 3H2O
Calcium hydroxyapatite

โดยแนวทางการทดลองการตกตะกอน HAP แสดงในรู ปที่ 7-4

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-7


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

-CaCl24H2O adjust pH adding Ca(OH)2


- Na2HPO4

pH=7.5,8,9,10

Solution
analysis
-pH
-TKN
-PO43- or TP
-Alkalinity
-COD
-Metal &
ions, Ca2+,
Mg2+

Solid
analysis
-XRD
-SEM &EDS

รูปที่ 7-4 แนวทางการทดลองการตกตะกอน HAP จากน้ าทิ้งฯ ฟาร์มสุกร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-8


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

การทดลองที่ 1 : การทดลองตกผลึก ปุ๋ ย HAP ในนา้ เสียสังเคราะห์ (Synthetic HAP)

วัตถุประสงค์
เพือ่ ศึกษาสภาวะที่เหมาะต่อการตกผลึกปุ๋ ยละลายช้า HAP (Calcium Hydroxyapatite
,Ca5(PO4)3(OH) ในน้ าเสียสังเคราะห์ (Synthesis wastewater)

เครื่องมือวิเคราะห์ และอุปกรณ์ต่างๆ
1) เครื่ องวัดความเป็ นกรดและด่าง (pH meter)
2) เครื่ องมือวิเคราะห์โครงสร้างผลึกด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสี เอ็กซ์ (X-ray Diffraction,
XRD)
3) เครื่ องมือถ่ายภาพขนาดไมโครเมตรโดยใช้กล้องจุลทรรศน์กาลังขยายสูง (Scanning Electron
Microscope, SEM)
4) UV spectrophotometer
5) เครื่ องกวนสารผสม (Magnetic stirrer)
6) ปั๊มดูดสุญญากาศ
7) ชุดกรองแยกสาร
8) ตูอ้ บความร้อน (Oven)
9) เครื่ องชัง่ 4 ตาแหน่ง

วัสดุและสารเคมี
1) Calcium Chloride - CaCl2 (Industrial grade)
2) Sodium di-hydrogen phosphate (Na2HPO4) (ACS grade)
3) Calcium hydroxide [Ca(OH)2] หรื อ ปูนขาว
4) Nitric acid (HNO3)
5) กระดาษกรองใยแก้ว
6) อุปกรณ์เครื่ องแก้วอื่นๆ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-9


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

วิธีการทดลอง
1) เตรียมสารละลายแคลเซียม-ฟอสเฟต ในอัตราส่ วนโมล 1:1 (Molar ratio of Ca :PO4) เพือ่
สังเคราะห์ ผลึกแคลเซียมฟอสเฟต
ชัง่ น้ าหนักสาร Calcium Chloride (CaCl24H2O) และ Sodium di-hydrogen phosphate
(Na2HPO4) ให้มีสดั ส่วนโมลของแคลเซียม:ฟอสเฟต (Ca:P ratio) เท่ากับ 1:1 จากนั้น ละลายสารผสม
ในน้ าบริ สุทธิ์คุณภาพสูง 18 เมกะโอมห์ (M) ปริ มาตรสุทธิเท่ากับ 1 ลิตร ในขั้นตอนการผสมสารใช้
เครื่ องกวนสารผสม (Magnetic stirrer) กวนให้สารผสมละลายเข้าด้วยกัน ใช้เวลาประมาณ 15 นาที
เพื่อให้ได้สารละลายผสมของแคลเซียมฟอสเฟต

2) การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการตกตะกอนตะกอนผลึก HAP (Ca5(PO4)3(OH))


นาสารละลายผสมของแคลเซียมและฟอสเฟต (Ca:P ratio)ระหว่างอัตราส่วนโมล 1:1 ที่ได้ไป
ทดสอบสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดตะกอนผลึก
นาสารละลายผสมที่ได้ไปทดสอบสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดตะกอนผลึก HAP โดยทาการ
ปรับค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ าตัวอย่าง ให้มีค่า pH ในสารละลาย เท่ากับ 7.5 (พีเอชของ
น้ าทิ้งฯ จากฟาร์มสุกร), 8.0, 9.0 และ 10.0 ตามลาดับ โดยใช้สารลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ หรื อ
ปูนขาว (Ca(OH)2) และนาสารละลายผสมไปทดสอบสภาวะในการเกิดตะกอนผลึก HAP ในสภาวะที่
ไม่มีการปรับค่าความเป็ นกรดเป็ นด่าง ทั้งนี้ควบคุมสภาวะอื่นๆ ในการทดลองให้คงที่ โดยทาการ
ทดลองที่อุณหภูมิหอ้ ง (25±2 ซ) หลังจากปรับสารละลายผสมให้มีค่าความเป็ นกรด และด่าง ที่ค่า pH
ต่างๆ แล้ว นาสารละลายผสมไปเข้าเครื่ องกวนผสมสารละลาย เพื่อทาการผสมสารละลายให้เข้าเป็ น
เนื้ อเดียวกัน ใช้ระยะเวลาในการกวนผสมสารผสม ประมาณ 15 นาที จากนั้นหยุดการกวนผสม
สารละลายผสม โดยทาการพักสารผสมทิ้งไว้ประมาณ 48 ชัว่ โมง เพื่อให้ปฏิกิริยาการเกิดตะกอนผลึก
เข้าสู่สภาวะสมดุล (Equilibrium time)
นาสารละลายผสมของแคลเซียม-ฟอสเฟต ที่อตั ราส่วนโมลที่แตกต่างกัน และที่ค่า pH ต่างๆ มา
แยกส่วนที่เป็ นของแข็งและส่วนที่เป็ นสารละลายออกจากกัน โดยใช้ชุดกรองแยกสาร ซึ่งในส่วนของ
ของแข็ง จะนามาวิเคราะห์หาปริ มาณตะกอนผลึก HAP ที่เกิดขึ้น และศึกษาลักษณะของโครงสร้างผลึก
HAP โดยเครื่ องมือ Scanning Electron Microscope (SEM) และศึกษาองค์ประกอบของผลึก HAP โดย
ใช้เครื่ องมือวิเคราะห์ X-ray Diffraction เป็ นต้น ส่วนที่เป็ นสารละลาย (Solution) จะนามาวิเคราะห์หา
ปริ มาณความเข้มข้นของ แคลเซียม (Ca2+) และฟอสเฟต ในรู ปของ (PO43- as P) ที่เหลืออยู่ในสารละลาย
โดยใช้เครื่ องมือวิเคราะห์หาปริ มาณโลหะ (AAS)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-10


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ผลที่คาดว่าจะได้ รับ
1) ได้ลกั ษณะของโครงสร้าง และองค์ประกอบของผลึก HAP (Ca5(PO4)3(OH))
2) ได้ปริ มาณการเกิดตะกอนผลึก HAP (จากการคานวณน้ าหนักผลึกที่เกิดขึ้นในน้ าเสีย
สังเคราะห์)
3) ได้สภาวะที่เหมาะสมในการเกิดผลึก HAP เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการตกตะกอน
ผลึก HAP จากน้ าทิ้งฯจากระบบก๊าซชีวภาพของฟาร์มสุกร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-11


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

แผนผังการทดลอง
1) เตรียมสารละลายแคลเซียม-ฟอสเฟต ในอัตราส่ วนโมล 1:1 (Molar ratio of Ca2+: PO4)

ชัง่ สาร CaCl24H2O และ Na2HPO4 ให้มีอตั ราส่วนโมล Ca2+ : PO43- เท่ากับ 1:1
ละลายในน้ ากลัน่ บริ สุทธิ์ และปรับปริ มาตรสุทธิเป็ น 1 ลิตร

ปรับ pH ของสารละลายผสม (Ca(OH)2)

กวนสารละลายผสมให้เข้ากัน (15 นาที)


*

ตั้งพักสารละลายผสมทิ้งไว้ให้เกิดตะกอนผลึก
ใช้เวลาปริ มาณ 48 ชัว่ โมง

แยกส่ วนของแข็งและส่วนที่เป็ นสารสารละลาย

ส่วนของแข็ง (ตะกอนผลึก) สารละลาย

- วิเคราะห์องค์ประกอบของตะกอนผลึก - วิเคราะห์หาปริ มาณของ Ca2+,


- วิเคราะห์ปริ มาณตะกอนผลึกที่ PO43- ที่เหลืออยูใ่ นสารละลาย
เกิดขึ้น

* ปรับ pH ของสารละลายเป็ น pH = 7.5 (น้ าเสียจริ ง), 8.0 , 9.0 และ 10.0 และทาการทดลองตามแผนผังการทดลองซ้ า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-12


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ผลการทดลอง
1. โครงสร้างผลึกและองค์ประกอบของผลึก HAP
2. ปริ มาณของผลึก HAP ที่ผลิตได้ โดยการเปรี ยบเทียบน้ าหนักที่สภาวะต่างๆ ของอัตราส่วน
โมล และค่าความเป็ นกรดและด่าง ที่แตกต่างกัน
3. สภาวะที่เหมาะสมสาหรับการผลิตปุ๋ ยละลายช้า HAP

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-13


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

การทดลองที่ 2 : การทดลองตกผลึก HAP จากนา้ ทิง้ ที่ผ่านระบบบัดนา้ เสียแบบผลิตก๊าซ


ชีวภาพของฟาร์ มสุ กร

วัตถุประสงค์
1) เพื่อศึกษาคุณภาพน้ าทิ้งจากระบบบาบัดน้ าเสียแบบผลิตก๊าซชีวภาพของฟาร์มสุกร
2) เพื่อศึกษาหาสภาวะ และปริ มาณสารเคมีที่เหมาะสมในการเติมลงในน้ าทิ้งสุดท้ายของ
ฟาร์มสุกร เพื่อให้เกิดการตกตะกอน ผลึก HAP (Ca5(PO4)3(OH)
3) เพื่อเปรี ยบเทียบองค์ประกอบและปริ มาณของตะกอนผลึก HAP ระหว่างการใช้น้ าเสีย
สังเคราะห์ (Synthetic wastewater) และน้ าทิ้งฯของฟาร์มสุกร (Effluent wastewater from
biogas)

เครื่องมือวิเคราะห์ และอุปกรณ์ต่างๆ
1) เครื่ องวัดความเป็ นกรดและด่าง (pH meter)
2) เครื่ องมือวิเคราะห์โครงสร้างผลึกด้วยเทคนิ คการเลี้ยวเบนของรังสี เอ็กซ์ (X-ray Diffraction,
XRD)
3) เครื่ องมื อถ่า ยภาพขนาดไมโครเมตรโดยใช้ก ล้องจุ ลทรรศน์ ก าลังขยายสู ง ( Scanning
Electron Microscope, SEM)
4) เครื่ องมือวิเคราะห์หาปริ มาณโลหะ (Atomic absorption spectroscopy ,AAS)
5) UV spectrophotometer
6) เครื่ องกวนสารผสม (Magnetic stirrer)
7) ชุดกรองแยกสาร
8) ตูอ้ บความร้อน (Oven)
9) อุปกรณ์เก็บตัวอย่างน้ า (Grab Sampling)
10) เครื่ องชัง่ 4 ตาแหน่ง

วัสดุและสารเคมี
1) Ammonium di-hydrogen phosphate (Na2HPO4) (ACS grade) – PO43-Source
2) Calcium hydroxide [Ca(OH)2] หรื อ ปูนขาว ‟ pH และ Ca2+ Source
3) Nitric acid (HNO3) ‟ pH
4) กระดาษกรองใยแก้ว

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-14


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

วิธีการทดลอง
1) ศึกษาคุณภาพนา้ ในบ่อพักนา้ ทิง้ สุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร
ทาการเก็บตัวอย่างน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าทิ้งสุดท้ายของฟาร์ มสุ กร มาวิเคราะห์หาคุณภาพของน้ าทิ้งฯ
โดยทาการศึกษาพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
(1) ความเป็ นกรดและด่าง (pH)
(2) บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand, BOD)
(3) ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD)
(4) ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN)
(5) ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS)
(6) ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity)
(7) ปริ มาณของฟอสเฟตที่ละลายอยูใ่ นน้ า (Solubility phosphate, PO43-)
(8) ปริ มาณของฟอสเฟตทั้งหมด (Total phosphate as P)
(9) ปริ มาณของ Ca2+ และ Mg2+

2) ศึกษาหาสภาวะและปริมาณสารเคมีทเี่ หมาะสมในการเติมลงในนา้ ทิง้ สุ ดท้ ายของฟาร์ มสุกร


เพือ่ ให้ เกิดการตกตะกอนผลึก HAP
จากที่ได้ศกึ ษาคุณภาพน้ าทิ้งฯ ในการทดลองขั้นต้นแล้ว จะทราบได้ว่ามีปริ มาณของ Mg2+,
PO43- และไนโตรเจน (N) ละลายอยูใ่ นน้ าทิ้งฯ ในปริ มาณเท่าใด ดังนั้นในการทดลองในส่วนนี้จะทา
การเติมสารเคมีในสัดส่วนที่เหมาะสมลงในน้ าทิ้งฯ เพื่อทาให้เกิดการตกตะกอนผลึก HAP โดยทาการ
ปรับอัตราส่วนโมลของ “ฟอสเฟตในน้ าทิ้งฯ” ในอัตราส่วน Ca: PO4 เท่ากับ 1:0 (ไม่มีการเติม
สารประกอบฟอสเฟต), 1:1 และ 2:1 ตามลาดับ และวิเคราะห์เปรี ยบเทียบผลระหว่างปริ มาณการเกิด
ตะกอนผลึก HAP เมื่อมีการปรับอัตราส่วนโมลของ Ca : PO4 ที่แตกต่างกัน
2.1) การปรับอัตราส่ วนโมลของ “ฟอสเฟต” ในนา้ ทิง้ บ่อสุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร ให้ มี
อัตราส่ วนโมลระหว่าง แคลเซียมต่อฟอสเฟต เท่ ากับ 1:0 (Molar ratio of Ca: PO4)
หลังจากได้ทราบปริ มาณฟอสเฟตที่มีอยูใ่ นน้ าทิ้งบ่อสุดท้ายของฟาร์มสุกรแล้ว
(จากการศึกษาคุณภาพน้ าของน้ าทิ้งบ่อสุดท้ายของฟาร์มสุกร) จะทาการเติมสารเคมี
เพื่อปรับค่าพีเอช และนาน้ าตัวอย่างที่ได้ไปทดสอบสภาวะที่เหมาะสมในการเกิด
ตะกอนผลึก HAP โดยทาการปรับค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ าตัวอย่าง ให้มี
ค่า pH ในสารละลายเท่ากับไม่ปรับค่าพีเอช , 8.0, 9.0 และ 10.0 ตามลาดับ โดยใช้
สารละลายปูนขาว ((Ca(OH)2) และนาน้ าตัวอย่างทดสอบสภาวะในการเกิดตะกอนผลึก
HAP ในสภาวะที่ไม่มกี ารปรับค่าความเป็ นกรดเป็ นด่าง ทั้งนี้ควบคุมสภาวะอื่นๆ ใน
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-15
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

การทดลองให้คงที่ โดยทาการทดลองที่อุณหภูมิหอ้ ง (252 ซ) หลังจากปรับน้ า


ตัวอย่างให้มีค่าความเป็ นกรดและด่าง ที่ค่า pH ต่างๆ แล้ว นาน้ าตัวอย่างไปเข้าเครื่ อง
กวนผสมสารละลาย เพื่อทาการผสมสารละลายให้เข้ากับน้ าตัวอย่างเป็ นเนื้อเดียวกัน
ใช้ระยะเวลาในการกวนผสมสารผสม ประมาณ 15 นาที จากนั้นหยุดการกวนผสม
สารละลายผสม โดยทาการพักสารผสมทิ้งไว้ประมาณ 48 ชัว่ โมง เพื่อให้ปฏิกิริยาการ
เกิดตะกอนผลึกเข้าสู่สภาวะสมดุล (Equilibrium Time)
2.2) การปรับอัตราส่ วนโมลของ “สารละลายฟอสเฟต” ในนา้ ทิง้ บ่อสุ ดท้ายของฟาร์ มสุ กร
ให้ มอี ตั ราส่ วนโมลระหว่าง แคลเซียม ต่อ ฟอสเฟต เท่ ากับ 1:1 (Molar ratio of Ca :
PO4)
หลังจากได้ทราบปริ มาณฟอสเฟตที่มีอยู่ในน้ าทิ้งบ่อสุ ดท้ายของฟาร์ มสุ กรแล้ว
(จากการศึกษาคุณภาพน้ าของน้ าทิ้งบ่อสุ ดท้ายของฟาร์ มสุ กร) จะทาการเติมสารเคมี
เติมสารเคมี di-Sodium hydrogen phosphate (Na2HPO4) ในตัวอย่างน้ าทิ้งฯ เพื่อปรับ
ปริ มาณฟอสเฟต โดยคานวณให้มีอตั ราส่วนโมลของประมาณ แคลเซียม ต่อ ฟอสเฟต
ในน้ าทิ้งฯ เท่ากับ 1:1
และนาน้ าตัวอย่างที่ได้ไปทดสอบสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดตะกอนผลึก
HAP โดยทาการปรับค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ าตัวอย่าง ให้มีค่า pH ใน
สารละลายเท่ากับ ไม่ปรับค่าพีเอช, 8.0, 9.0 และ 10.0 ตามลาดับ ตามลาดับ โดยใช้
สารละลายปูน ขาว (Ca(OH)2) และนาน้ าตัวอย่างทดสอบสภาวะในการเกิด ตะกอน
ผลึก HAP ในสภาวะที่ไม่มีการปรับค่าความเป็ นกรดเป็ นด่าง หลังจากปรับน้ าตัวอย่าง
ให้มีค่าความเป็ นกรด และด่าง ที่ค่า pH ต่างๆ แล้ว นาน้ าตัวอย่างไปเข้าเครื่ องกวนผสม
สารละลาย เพื่อทาการผสมสารละลายให้เข้ากับน้ าตัวอย่างเป็ นเนื้ อเดียวกัน ใช้ระยะเวลา
ในการกวนผสมสารผสม ประมาณ 15 นาที จากนั้นหยุดการกวนผสมสารละลายผสม
โดยทาการพักสารผสมทิ้งไว้ประมาณ 48 ชัว่ โมง เพื่อให้ปฏิกิริยาการเกิดตะกอนผลึก
เข้าสู่สภาวะสมดุล (Equilibrium Time)
2.3) การปรับอัตราส่ วนโมลของ “ฟอสเฟต” ในนา้ ทิง้ บ่อสุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร ให้ มี
อัตราส่ วนโมลระหว่าง แคลเซียม ต่อ ฟอสเฟต เท่ ากับ 2:1 (Molar ratio of Ca : PO4)
หลังจากได้ทราบปริ มาณฟอสเฟตที่มีอยูใ่ นน้ าทิ้งบ่อสุดท้ายของฟาร์มสุกรแล้ว
(จากการศึกษาคุณภาพน้ าของน้ าทิ้งบ่อสุดท้ายของฟาร์มสุกร) จะทาการเติมสารเคมี
เติมสารเคมี di-Sodium hydrogen phosphate (Na2HPO4) ในตัวอย่างน้ าทิ้งฯเพื่อปรับ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-16


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ปริ มาณฟอสเฟต โดยคานวณให้มีอตั ราส่วนโมลของ แคลเซียม ต่อ ฟอสเฟต ในน้ าทิ้งฯ


เท่ากับ 2:1
และนาน้ าตัวอย่างที่ได้ไปทดสอบสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดตะกอนผลึก HAP
โดยทาการปรับค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ าตัวอย่างให้มีค่า pH ในสารละลาย
เท่ากับไม่ปรับค่าพีเอช, 8.0, 9.0 และ 10.0 ตามลาดับ โดยใช้สารละลายปูนขาว
(Ca(OH)2) และนาน้ าตัวอย่างทดสอบสภาวะในการเกิดตะกอนผลึก HAP ในสภาวะที่
ไม่มีการปรับค่าความเป็ นกรดเป็ นด่าง ทั้งนี้ควบคุมสภาวะอื่นๆ ในการทดลองให้คงที่
โดยทาการทดลองที่อุณหภูมิหอ้ ง (252 ซ) หลังจากปรับน้ าตัวอย่างให้มีค่าความ
เป็ นกรดและด่าง ที่ค่า pH ต่างๆ แล้ว นาน้ าตัวอย่างไปเข้าเครื่ องกวนผสมสารละลาย
เพื่อทาการผสมสารละลายให้เข้ากับน้ าตัวอย่างเป็ นเนื้อเดียวกัน ใช้ระยะเวลาในการ
กวนผสมสารผสมประมาณ 15 นาที จากนั้นหยุดการกวนผสมสารละลายผสม โดยทา
การพักสารผสมทิ้งไว้ประมาณ 48 ชัว่ โมง เพื่อให้ปฏิกิริยาการเกิดตะกอนผลึกเข้าสู่
สภาวะสมดุล (Equilibrium Time)

หลังจากที่นาน้ าตัวอย่างไปผ่านการกวนผสมกับสารเคมีต่างๆ เพื่อให้น้ าตัวอย่างมี


อัตราส่วนโมลของ แคลเซียม:ฟอสเฟต เท่ากับ 1:0 , 1:1 และ 2:1 ซึ่งมีค่าความเป็ นกรด และ
ด่าง (pH) ต่างๆ กันนั้น ซึ่งเมื่อทาการกวนผสม และตั้งสารผสมทิ้งไว้ จะเกิดการตกผลึก HAP
ในน้ าตัวอย่าง ซึ่งสามารถมาแยกส่วนที่เป็ นของแข็ง ซึ่งก็คือผลึกของ HAP และตะกอนของ
สารประกอบต่างๆ ออกจากส่วนที่เป็ นสารละลายโดยใช้ชุดกรองแยกสาร ซึ่งในส่วนของ
ของแข็ง จะนามาวิเคราะห์หาปริ มาณตะกอนผลึก HAP ที่เกิดขึ้น และศึกษาโครงสร้างผลึก
HAP โดยเครื่ องมือ Scanning Electron Microscope (SEM) และศึกษาองค์ประกอบของผลึก
HAP โดยใช้เครื่ องมือวิเคราะห์ X-ray Diffraction เป็ นต้น ส่วนที่เป็ นสารละลายจะนามา
วิเคราะห์หาปริ มาณความเข้มข้นของ โลหะและไออนบวก (Ca2+, Mg2+ เป็ นต้น) ในสารละลาย
ที่ไม่เกิดเป็ นตะกอนผลึก HAP โดยใช้เครื่ องมือวิเคราะห์หาปริ มาณโลหะ (Atomic absorption
spectroscopy, AAS) รวมทั้ง วิเคราะห์หาปริ มาณ ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD)
และค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-17


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

3) เปรียบเทียบปริมาณการเกิดตะกอนผลึก HAP (Ca5(PO4)3(OH) ระหว่างอัตราส่ วนโมล ของ


“สารละลายแคลเซียม-ฟอสเฟต” ในนา้ ทิง้ ฯ เท่ ากับ 1:0 , 1:1 และ 2:1 (Molar ratio of Ca:
PO4) ที่สภาวะ pH เท่ ากับ ไม่ปรับ , 8.0, 9.0 และ 10.0 ตามลาดับ
เปรี ยบเทียบปริ มาณการเกิดตะกอนผลึก HAP และตะกอนของสารประกอบในรู ปอื่นๆ
ที่เกิดขึ้น เมื่อทาการเติมสารเคมีในน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้ายของฟาร์มสุกร ที่สภาวะอัตราส่วน
โมลของ Ca: PO4 เท่ากับ 1:0, 1:1 และ 2:1 และที่ค่าความเป็ นกรดและด่างในน้ าทิ้งฯ (pH)
เท่ากับ ไม่ปรับ 8.0, 9.0 และ 10.0 ตามลาดับ
4) ศึกษาองค์ประกอบและปริมาณของตะกอนผลึก HAP ระหว่างการเกิดผลึก HAP ในนา้ เสีย
สังเคราะห์ (Synthetic wastewater) และการเกิดผลึก HAP จากในนา้ ทิง้ ฯของฟาร์ มสุ กร
ผลที่คาดว่าจะได้ รับ
1. ได้สภาวะ และปริ มาณสารเคมีที่เหมาะสมสาหรับเติมลงไปในน้ าทิ้งฯ ฟาร์มสุกร เพื่อทาให้
เกิดตะกอนผลึก ผลึก HAP (Ca5(PO4)3(OH)
2. สามารถคานวณปริ มาณตะกอนผลึก HAP ที่เกิดขึ้นจากตะกอนในน้ าทิ้งฯ ทั้งหมด เพื่อนา
ข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการทาเป็ นปุ๋ ยเม็ดสาหรับใช้เพื่อการเกษตรกรรมต่อไป

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-18


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

แผนผังการทดลอง
1) ศึกษาคุณภาพนา้ ในบ่อพักนา้ ทิง้ สุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร และศึกษาหาสภาวะ และปริมาณ
สารเคมีที่เหมาะสมในการเติมลงในนา้ ทิง้ สุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร เพือ่ ให้เกิดการตกตะกอนผลึก
HAP โดยปรับให้ มอี ตั ราส่ วนโมลระหว่าง แคลเซียม ต่อ ฟอสเฟต เท่ ากับ 1:0
วิเคราะห์คุณภาพน้ าทิง้ ในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายของฟาร์ มสุ กร
โดยวิเคราะห์หาค่า pH, BOD, COD, TKN, TSS, Alkalinity, PO43-, Ca2+และ Mg2+

ปรับอัตราส่ วนโมลของ Ca: PO4 ในน้ าทิ้งฯ ให้มีอตั ราส่ วน 1:0 หรื อโดยไม่ทาการเติม
ฟอสเฟต

ปรับ pH ของสารละลายผสม (Ca(OH)2)

กวนสารละลายผสมให้เข้ากัน (15 min)


*

ตั้งพักสารละลายผสมทิ้งไว้ให้เกิดตะกอนผลึก HAP
ใช้เวลาปริ มาณ 48 ชัว่ โมง

แยกส่ วนของแข็งและส่ วนที่เป็ นสารสารละลาย

ส่ วนของแข็ง (ตะกอนผลึก MAP และสารประกอบอื่น) สารละลาย

- วิเคราะห์องค์ประกอบของตะกอนผลึก - วิเคราะห์หาปริ มาณของ TKN, PO43- ,


และตะกอนสารประกอบอื่น COD และ Alkalinity , Ca2+ ที่เหลืออยูใ่ น
- วิเคราะห์ปริ มาณตะกอนผลึกที่เกิดขึ้น สารละลาย
- วัดค่า pH ของสารละลาย

* ปรับ pH ของสารละลายเป็ น pH = ไม่ปรับ, 8.0 , 9.0 และ 10.0 และทาการทดลองตามแผนผัง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-19


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

แผนผังการทดลอง
2) ศึกษาคุณภาพนา้ ในบ่อพักนา้ ทิง้ สุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร และศึกษาหาสภาวะ และปริมาณ
สารเคมีที่เหมาะสมในการเติมลงในนา้ ทิง้ สุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร เพือ่ ให้เกิดการตกตะกอนผลึก
HAP โดยปรับให้ มอี ตั ราส่ วนโมลระหว่าง แคลเซียม ต่อ ฟอสเฟต เท่ ากับ 1:1
วิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายของฟาร์ มสุ กร
โดยวิเคราะห์หาค่า pH, BOD, COD, TKN, TSS, Alkalinity, PO43-, Ca2+ และ Mg2+

ปรับอัตราส่ วนโมลของ Ca: PO4 ในน้ าทิ้งฯ ให้มีอตั ราส่ วน 1:1 โดยเติมสารเคมี
Na2HPO4

ปรับ pH ของสารละลายผสม (Ca(OH)2)

กวนสารละลายผสมให้เข้ากัน (15 min)


*

ตั้งพักสารละลายผสมทิ้งไว้ให้เกิดตะกอนผลึก HAP
ใช้เวลาปริ มาณ 48 ชัว่ โมง

แยกส่ วนของแข็งและส่ วนที่เป็ นสารสารละลาย

ส่ วนของแข็ง (ตะกอนผลึกและสารประกอบอื่น) สารละลาย

- วิเคราะห์องค์ประกอบของตะกอนผลึก - วิเคราะห์หาปริ มาณของ TKN, PO43-,


และตะกอนสารประกอบอื่น COD, Alkalinity และ Ca2+ ที่เหลืออยู่
- วิเคราะห์ปริ มาณตะกอนผลึกที่เกิดขึ้น ในสารละลาย
- วัดค่า pH ของสารละลาย

* ปรับ pH ของสารละลายเป็ น pH = ไม่ปรับ, 8.0 , 9.0 และ 10.0 และทาการทดลองตามแผนผังการทดลองซ้ า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-20


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

แผนผังการทดลอง
3) ศึกษาคุณภาพนา้ ในบ่อพักนา้ ทิง้ สุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร และศึกษาหาสภาวะ และปริมาณ
สารเคมีที่เหมาะสมในการเติมลงในนา้ ทิง้ สุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร เพือ่ ให้เกิดการตกตะกอนผลึก
HAP โดยปรับให้ มอี ตั ราส่ วนโมลระหว่าง แคลเซียม ต่อ ฟอสเฟต เท่ ากับ 2:1
วิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายของฟาร์ มสุ กร
โดยวิเคราะห์หาค่า pH, BOD, COD, TKN, TSS, Alkalinity, PO43-, Ca2+ และ Mg2+
-

ปรับอัตราส่ วนโมลของ Ca: PO4 ในน้ าทิ้งฯ ให้มีอตั ราส่ วน 2:1 โดยเติมสารเคมี
Na2HPO4

ปรับ pH ของสารละลายผสม (Ca(OH)2)

กวนสารละลายผสมให้เข้ากัน (15 min)


*

ตั้งพักสารละลายผสมทิ้งไว้ให้เกิดตะกอนผลึก HAP
ใช้เวลาปริ มาณ 48 ชัว่ โมง

แยกส่ วนของแข็งและส่ วนที่เป็ นสารสารละลาย

ส่ วนของแข็ง (ตะกอนผลึก HAP และสารประกอบอื่น) สารละลาย

- วิเคราะห์องค์ประกอบของตะกอนผลึก - วิเคราะห์หาปริ มาณของ TKN, PO43-,


และตะกอนสารประกอบอื่น COD, Alkalinity และ Ca2+ ที่เหลืออยู่
- วิเคราะห์ปริ มาณตะกอนผลึกที่เกิดขึ้น ในสารละลาย
- วัดค่า pH ของสารละลาย

*ปรับ pH ของสารละลายเป็ น pH = ไม่ปรับพีเอช, 8.0 , 9.0 และ 10.0 และทาการทดลองตามแผนผังการทดลองซ้ า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-21


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

7.3 ผลการศึกษาจากห้ องปฏิบัตกิ าร การผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตหรือปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite)


ด้วยกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุ รัก ษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้สนับสนุ นและ
ส่ งเสริ มให้ฟาร์ มสุ ก รทัว่ ประเทศได้รับประโยชน์จากการใช้ระบบจัด การของเสี ย และน้ าเสี ย ด้ว ย
เทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพ (Biogas Technology) กันอย่างแพร่ หลายแล้ว ทาให้ผปู้ ระกอบกิจการ
ฟาร์มสุกรสามารถนาก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้ไปใช้เป็ นพลังงานทดแทนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ทั้งยังช่วย
ลดผลกระทบต่อแหล่งน้ าตามธรรมชาติได้อีกทางหนึ่งด้วย และที่สาคัญ คือ การช่วยลดภาระค่าใช้จ่าย
ในส่วนของต้นทุนการผลิต และส่งผลทาให้ผปู้ ระกอบกิจการมีรายได้มากขึ้น ทั้งนี้ น้ าที่ผ่านการบาบัด
ด้วยระบบบาบัดแล้วมักถูกนาไปพักไว้ยงั บ่อพักน้ าภายในฟาร์ มสุ กร ซึ่งผูป้ ระกอบการฟาร์ มสุ กรมัก
นาไปใช้เป็ นน้ าล้างคอกสุ กรหรื อน าไปรดน้ าต้น ไม้เท่านั้น ดังนั้นกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และ
อนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการใช้ทรัพยากรน้ าให้เกิดประโยชน์
อย่างคุม้ ค่ามากที่สุด จึงได้มุ่งศึกษาหาวิธีการและแนวทางในการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผา่ นการบาบัดจากระบบ
ผลิ ต ก๊ าซชี ว ภาพที่ เ หมาะสมและให้ป ระโยชน์ สู งสุ ด โดยวิธี ก ารหนึ่ งก็ คื อ การน าธาตุ อ าหารที่ มี
ประโยชน์สาหรับพืชซึ่งละลายอยูใ่ นน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ด้วยวิธีการตกตะกอน
ธาตุอาหารต่างๆ ที่ละลายอยูใ่ นน้ าโดยเลือกใช้สารเคมีที่เหมาะสม และนามาทาปฏิกิริยาเคมีในน้ าที่ผ่าน
การบาบัดฯ เพื่อให้เกิดการสร้างสารประกอบเคมีอินทรี ยร์ ู ปแบบใหม่ๆ และนามาผลิตเป็ นผลิตภัณฑ์
เคมีอิ น ทรี ย์ชนิ ด ใหม่ ซึ่ งก็คื อ “ปุ๋ ยแคลเซี ย มฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยแคลเซี ยมไฮดรอกซี อะพาไทด์
(Calcium hydroxyapatite, HAP)” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite)” ซึ่งสามารถนาไปใช้ในการเกษตร
กรรมต่อไปได้

7.3.1 ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรือ ปุ๋ ยอะพาไทด์


“ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต (Calcium phosphate)” หรือ “ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite)” คือ ปุ๋ ยที่มีผลึก
ของแร่ ธาตุ 2 ชนิดรวมตัวกัน คือ แร่ ธาตุแคลเซียมและฟอสเฟตเป็ นองค์ประกอบ ชื่อที่เป็ นนิ ยมใช้ใน
ต่างประเทศ คื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite)” หรื อ เรี ยกแบบย่อๆ ว่า “ปุ๋ ย HAP” มีสูต รทางเคมี คื อ
Ca5(PO4)3OH (Calcium hydroxyapatite) หรื อ มีสูตรทางเคมีอีกแบบหนึ่ง คือ Ca5(PO4)3(OH, F, Cl) ซึ่ง
อาจมีแร่ ธาตุอื่นๆ เป็ นองค์ประกอบอยูภ่ ายในโมเลกุล
โดยทัว่ ไป แร่ แคลเซียมฟอสเฟต หรื อ แร่ อะพาไทด์ เกิดจากการสะสมของมูลและซากสัต ว์
(นก หรื อค้างคาว) ซึ่งในลักษณะนี้มกั เกี่ยวข้องกับหิ นปูน โดยเกิดจากการละลายของฟอสเฟต ซึ่งเป็ น
ส่ ว นประกอบของมูลและซากสัต ว์ที่ทับถม และซึ มแทรกเข้าไปในหิ น ปูน จากการสารวจของกรม
ทรัพยากรธรณี พบแหล่งหินฟอสเฟตเกือบทุกภาคของประเทศ เช่น จังหวัดลาพูน สุ โขทัย เพชรบูรณ์
กาญจนบุรี ราชบุรี กระบี่ สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต เลย พังงา และร้อยเอ็ด

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-22


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

อีกทั้งสามารถพบการสะสมของ ผลึกอะพาไทด์ ในรู ปของตะกรันตามชิ้นส่วนต่างๆ ของระบบ


บาบัดน้ าเสีย หรื ออาจกล่าวได้ว่า ผลึกอะพาไทด์ที่พบเป็ นผลพลอยได้จากการติดตั้งระบบบาบัดน้ าเสี ย
โดยภายในระบบบาบัดจะมีกระบวนการนาสารฟอสเฟตที่ ละลายอยู่ในน้ าเสี ยกลับมาใช้ประโยชน์
ทาให้ได้สารประกอบของฟอสเฟตแยกออกมาจากน้ าเสีย และเกิดการตกผลึก ซึ่งลักษณะของผลึกนั้นมี
ลักษณะพื้นฐานเหมือนกับปุ๋ ยแคลเซียมฟอสฟอรัส ซึ่งมีสีขาวจนถึงเหลืองอ่อน สี เขียว สี แดง และสี ฟ้า
ขึ้นกับชนิดของธาตุอื่นๆ ที่เกิดการทาปฏิกิริยาร่ วมกันตอนเกิดเป็ นผลึกฟอสเฟต

การผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรือ ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite)


ในการศึก ษาและวิจ ัยในระดับห้องปฏิบัติ ก าร เพื่อหาขั้น ตอนและวิธีก ารผลิต ปุ๋ ยแคลเซี ย ม
ฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite) เริ่ มจากการวางแผนงานเพื่อศึกษาวิธีการทดลองที่เหมาะสม โดยมี
การทดสอบขั้น ตอนที่ ใช้ในกระบวนการผลิ ต ปุ๋ ยแคลเซี ยมฟอสเฟต หรื อ ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite)
ในรู ปแบบต่างๆ ที่แตกต่างกัน เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตผลิตภัณฑ์ รวมทั้งศึกษาถึงปั จจัย
ต่างๆ อาจที่เกี่ยวข้องต่อการผลิตผลิตภัณฑ์ ซึ่งก็คือ ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite)
ทั้งนี้เพื่อให้สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ปุ๋ยแคลเซียมฟอสเฟตที่มีคุณภาพที่เหมาะสมต่อการนาไปประยุกต์
ใช้งานต่อไป
รวมทั้งศึกษาหาขั้นตอนและวิธีการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต ที่มีข้ นั ตอนไม่ยุ่งยากและไม่
ซับซ้อน เพื่อจะได้นามาจัดสร้ างอุปกรณ์ต ้น แบบ (Pilot scale) สาหรั บใช้ในการผลิต ปุ๋ ยแคลเซี ยม
ฟอสเฟต หรื อ ส าหรั บ การผลิ ต ในโรงงานต้น แบบ (Full scale) เพื่อ ต่ อ ยอดการผลิ ต ในระดับ
อุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ ยในเชิงพาณิ ชย์ต่อไปในอนาคต

 การน าน้าที่ผ่ า นการบ าบัด ฯ จากฟาร์ มสุ ก รมาผลิต ปุ๋ ยแคลเซี ย มฟอสเฟต หรื อ
ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite) ในระดับห้ องปฏิบัตกิ าร
เริ่ มจากการน าน้ าที่ ผ่านการบาบัด ฯ มาปรั บให้มี ค่ าพีเ อส (pH) 7-10 โดยการเติ ม
สารเคมี 2 ชนิ ด คื อ แคลเซี ย มคลอไรด์ (CaCl2 4H2O) และไดโซเดี ย มไฮโดรเจนฟอสเฟต
(Na2HPO46H2O) ในปริ ม าณที่ เ หมาะสม และท าการกวนผสมให้ส ารผสมละลายเข้ากัน ให้เ ป็ น
เนื้อเดียวกัน ซึ่งในขั้นตอนกวนผสมนี้จะทาให้สารเคมีและธาตุอาหารต่างๆ ที่ละลายอยู่ในน้ าเกิดการ
ทาปฏิกิริยาเคมีต่อกัน และทาให้เกิดสารประกอบเคมีอินทรี ยใ์ นรู ปแบบใหม่ ซึ่งประกอบไปด้วยธาตุ
อาหารที่เป็ นประโยชน์ต่อพืช ทั้งนี้ลกั ษณะของสารประกอบเคมีอินทรี ยท์ ี่เกิดขึ้นใหม่น้ ี จะอยูใ่ นรู ปของ
ตะกอนผลึกขนาดใหญ่และตะกอนขนาดเล็ก และเมื่อทาการแยกตะกอนของสารประกอบเคมีอินทรี ย ์
ที่ประกอบไปด้วยธาตุอาหารที่เป็ นประโยชน์ต่อพืช ออกจากน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ โดยนามาทาให้แห้ง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-23


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ก็จะได้ผลิตภัณฑ์ คือ ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรื อเรี ยกว่าปุ๋ ยอะพาไทด์ นั่นเอง ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่เกิดขั้นนี้
สามารถนาไปใช้ในการเกษตรกรรมต่อไปได้

7.3.2 ปัจจัยที่มผี ลต่อการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรือ ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite)


จากการศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องต่อการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต ” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์”
ในระดับห้องปฏิบตั ิ ก าร พบว่า การเลือกใช้ชนิ ดและปริ มาณของสารเคมีในการผลิต ปุ๋ ยแคลเซี ยม
ฟอสเฟต มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็ นหลัก ทั้งนี้เพื่อทาให้ได้ผลิตภัณฑ์ของ“ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต ”
ที่มีคุณภาพ ต้องทาการควบคุมปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการผลิต อาทิ ค่าความเป็ นกรดและด่างของน้ า (pH)
ชนิดและปริ มาณของสารเคมีที่ใช้ในการทาปฏิกิริยา ระยะเวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็ นต้น
ทั้งนี้เพื่อศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการผลิต จึงได้ออกแบบวิธีการทดลองการผลิต 2 รู ปแบบ
คือ
(1) การทดลองการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” ในน้ าเสียสังเคราะห์ หรื อ น้ าที่เตรี ยมขึ้นมาใน
ห้องปฏิบตั ิการ
(2) การทดลองการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” ในน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ จากฟาร์มสุกร
ซึ่งหลังจากที่ ได้ผลการทดลองต่างๆ แล้ว จะนาผลการทดลองมาทาการวิเคราะห์ข ้อมูลเพื่อ
เปรี ย บเที ย บระหว่างปั จจัย ต่างๆ ที่มีผลต่ อการผลิต รวมทั้งหาขั้น ตอนและวิธีการผลิตปุ๋ ยแคลเซี ยม
ฟอสเฟตที่มีข้นั ตอนไม่ยงุ่ ยาก ไม่สลับซับซ้อน เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการต่อยอดการผลิต
ในระดับอุตสาหกรรมการต่อไป

7.3.3 ผลการทดลองการผลิต ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรือ ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite) โดยใช้ นา้ เสียสัง เคราะห์
การออกแบบวิธีการทดลองในการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” ในน้ าเสี ยสังเคราะห์มีข้ นั ตอน
ต่างๆ ที่ตอ้ งทาการควบคุมสภาวะและปั จจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต เพื่อให้ผลการศึกษาทดลอง
ที่ได้มีความถูกต้อง และสามารถนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต ” จากน้ าที่ผ่าน
การบาบัดฯ จากฟาร์มสุกรได้ต่อไป
ทั้งนี้ในขั้นตอนการทดลองต้องทาการควบคุมสภาวะและปั จจัยต่างๆ ในการผลิต โดยเริ่ มจาก
การเตรี ยมน้ าเสียสังเคราะห์ ซึ่งก็คือ การนาน้ าที่มีความบริ สุทธิ์สูงมาเติมสารเคมี 2 ชนิ ด คือ แคลเซียม
คลอไรด์ (CaCl2 4H2O) และไดโซเดียมไฮโดรเจนฟอสเฟต (Na2HPO46H2O) ในปริ มาณที่เหมาะสม
จากนั้นใช้สารละลายของโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ปรับให้ค่าความเป็ นกรดและด่างน้ า และทา
การกวนผสมสารให้ละลายเข้าด้วยกันด้วยเครื่ องกวนผสมสารเคมี ซึ่งในขั้นตอนการทดลองนั้น ได้มี
การศึกษาถึงสภาวะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการเกิดเป็ นผลิตภัณฑ์ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” กล่าวคือ ศึกษา

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-24


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

สภาวะของปริ มาณสารเคมีที่เติมลงไป โดยคานวณเป็ นสัดส่ วนโมลของแคลเซียมต่อฟอสเฟต (Ca:P)


เท่ากับ 1:1 และทาการปรับค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ า โดยใช้สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์
ซึ่งค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ าที่ทาการศึกษา มี 4 สภาวะ คือ (1) สภาวะที่ทาการปรับให้น้ ามี
pH เท่ากับ pH 7 (2) สภาวะที่ทาการปรับให้น้ ามี pH เท่ากับ pH 8 (3) สภาวะที่มีการปรับให้น้ ามี pH
เท่ากับ pH 9 และ (4) สภาวะที่มีการปรับให้น้ ามี pH เท่ากับ pH 10 โดยแสดงตารางสรุ ปผลการศึกษา
ปัจจัยต่างๆ ที่ใช้ในการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” ในน้ าเสียสังเคราะห์ ดังในตารางที่ 7-2

ตารางที่ 7-2 ตารางสรุ ปผลการศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษาการผลิต ““ปุ๋ ยแคลเซียม


ฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์” ในน้ าเสียสังเคราะห์
ปัจจัยต่างๆ ทีศ่ ึกษา รายละเอียด

1. สารเคมีที่ใช้ในการสร้างผลิต “ปุ๋ ย CaCl2 4H2O


แคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์” Na2HPO46H2O
2. สภาวะที่ศึกษา เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดผลึก

2.1 สัดส่วนโมล Ca : P 1:1

2.2 สารเคมีที่ใช้ปรับ pH NaOH

2.3 ช่วง pH ที่ทดลอง pH 7, pH 8, pH 9 และ pH 10

ทั้งนี้ผลการทดลองการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” ในน้ าเสี ยสังเคราะห์ จะสามารถอธิบาย


ลักษณะโครงสร้างและองค์ประกอบของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” ที่ผลิตได้ รวมทั้งสภาวะและปั จจัยที่
เหมาะสมในการเกิดผลิตภัณฑ์ ซึ่งรายละเอียดต่างๆ มีดงั นี้

7.3.3.1 ลักษณะโครงสร้ างและองค์ประกอบของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”


ผลจากการทาปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารเคมี 2 ชนิ ด คือ แคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2 4H2O) และ
ไดโซเดียมไฮโดรเจนฟอสเฟต (Na2HPO46H2O) ในน้ าเสี ยสังเคราะห์ ที่สภาวะต่างๆ นั้น จะทาให้ได้
ตะกอนขนาดใหญ่และตะกอนขนาดเล็กเกิดขึ้นร่ วมกัน ซึ่งจากผลการวิเคราะห์ลกั ษณะโครงสร้าง และ
องค์ประกอบของตะกอน โดยการใช้เครื่ องถ่ายภาพขนาดไมโครเมตรโดยใช้กล้องจุลทรรศน์กาลังขยายสูง
(Scanning Electron Microscope, SEM) พบว่า ตะกอนที่ได้มีลกั ษณะเป็ นตะกอนผลึก ซึ่งเป็ นผลึกของ
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-25
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

สารประกอบระหว่าง “แคลเซียม-ฟอสเฟต” หรื อก็คือ ผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” โดยลักษณะ


ผลึกของแคลเซียมฟอสเฟต (Phosphorus crystallization) มีหลายลักษณะ อาทิ มีลกั ษณะการจัดเรี ยงตัว
ของผลึก เป็ นแผ่น บางเรี ยงซ้อนกัน (Plate-shaped hydroxyapatite crystals) ลัก ษณะเป็ นของเม็ด
ไม่สม่าเสมอ บางรู ปทรงมีลกั ษณะคล้ายเม็ดโฟม หรื อคล้ายเจล ผลึกรู ปยาว รู ปแท่ง ผลึกแบบแผ่น ซึ่ง
ลักษณะที่แตกต่างกันนี้ข้ ึนกับอัตราในการเกิดการผลึกระยะเริ่ มต้นของไฮดรอกซีอะพาไทด์ (Rate of
formation of microcrystalline hydroxyapatite) ดังแสดงในรู ปที่ 7-5

1. ผลึกระยะแรกของแคลเซียมฟอสเฟต 2. ผลึกทีไ่ ม่ มีรูปทรงที่ชัดเจน 3. ผลึกแบบแผ่ น


(Amorphous of calciumphosphate: (Noncrystallization)
Plate-shaped hydroxyapatite crystals)

4. ผลึกแบบแท่งกลม 5. ผลึกแบบแท่งเหลีย่ ม 6. ผลึกแบบเม็ดกลม


รูปที่ 7-5 ลักษณะผลึกของแคลเซียมฟอสเฟต (Phosphorus crystallization)

ขนาดของผลึกที่ได้จากการทดลองนี้ใช้ระยะเวลาประมาณ 24-48 ชัว่ โมง ซึ่งหากใช้ระยะเวลา


ในการเลี้ย งผลึก นานกว่านี้ ผลึก จะมีข นาดที่ ใหญ่ข้ ึ น ทั้งนี้ รายละเอีย ดของลัก ษณะโครงสร้ างและ
องค์ประกอบของตะกอนผลึกปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต แสดงดังตารางที่ 7-3

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-26


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 7-3 ลักษณะโครงสร้างและองค์ประกอบของตะกอนผลึกปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตที่ผลิตจาก


น้ าเสียสังเคราะห์
ลักษณะโครงสร้ างและองค์ประกอบ รายละเอียด
ชื่อทางเคมี ไฮดรอกซีอะพาไทด์ (Hydroxyapatite (HAP))
ชื่อสามัญทัว่ ไป ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรื อ ปุ๋ ย HAP
ชื่อที่นิยมใช้ในต่างประเทศ ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite)
สูตรโครงสร้าง Ca5(PO4)3OH
สีของผลึก สีขาวบริ สุทธิ์
โครงสร้างผลึก มีหลายรู ปทรง อาทิ
1. ผลึ ก ระยะแรกของแคลเซี ย มฟอสเฟต (Amorphous of
calcium phosphate : Plate-shaped hydroxyapatite crystals)
2. ผลึกที่ไม่มีรูปทรงที่ชดั เจน(Noncrystallization)
3. ผลึกแบบแผ่น
4. ผลึกแบบแท่งกลม
5. ผลึกแบบแท่งเหลี่ยม
6. ผลึกแบบเม็ดกลม
ส่วนผลการวิเคราะห์หาองค์ประกอบของตะกอนผลึก“ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์”
ในน้ าเสียสังเคราะห์ โดยใช้เครื่ องถ่ายภาพขนาดไมโครเมตรโดยใช้กล้องจุลทรรศน์กาลังขยายสูง และ
ใช้เทคนิ คการวิเคราะห์หาปริ มาณธาตุ ที่เป็ นองค์ประกอบของผลึก พบว่า ตะกอนผลึก “ปุ๋ ยแคลเซียม
ฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์” ประกอบด้วย ปริ มาณธาตุออกซิเจนร้อยละ 53-75 ธาตุแคลเซียม ร้อยละ
2-14 ธาตุฟอสฟอรั ส ร้อยละ 2-10 ธาตุ คลอไรด์ ร้อยละ 7 และ ธาตุโซเดียม ร้ อยละ 17-24 ดังแสดง
ในรู ปที่ 7-6 และในตารางที่ 7-4

รูปที่ 7-6 แสดงผลการวิเคราะห์องค์ประกอบของตะกอนผลึกปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตใน


น้ าเสียสังเคราะห์ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ชนิด Energy Dispersion Spectroscopy (EDS)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-27


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 7-4 สรุ ปผลการวิเคราะห์หาองค์ประกอบของตะกอนผลึกปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตในน้ าเสียสังเคราะห์

ปริมาณธาตุ (%)
องค์ประกอบของตะกอน
O Ca P Cl Na
ผลการวิเคราะห์ ตะกอน
59.29 ± 6.86 8.64 ± 6.87 6.06 ± 4.37 6.91 20.01 ± 3.93
ผลึกปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต

7.3.3.2 ผลวิเคราะห์ ปริมาณ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรือ “ปุ๋ ยอะพาไทด์ ” ที่เกิดขึน้ ในการทาปฏิกริ ิยา
เคมี
จากผลการวิเคราะห์ปริ มาณของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์” ที่ผลิตได้ พบว่า
ในสภาวะที่สารละลายมีค่าความเป็ นกรดและด่า ง (pH) เพิ่มมากขึ้น คือ ที่ pH 7 , pH 8 , pH 9 และ pH 10 จะ
พบปริ มาณของปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตมากขึ้นตามลาดับ คือ พบปริ มาณ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต ” เท่ากับ
1.63 , 1.93 , 2.31 และ 2.39 กรัม ตามลาดับ ดังแสดงในตารางที่ 7-5

ตารางที่ 7-5 ปริ มาณของปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตที่ผลิตได้จากน้ าเสียสังเคราะห์


รายละเอียดของข้ อมูล ช่ วง pH pH เริ่มต้ น pH หลังจาก ปริมาณ คานวณนา้ หนัก ปริมาณของปุ๋ ย
การทดลอง ทีศ่ ึกษา หลังจาก เติม NaOH 5 M ของ NaOH ที่ แคลเซียม
เติมสารเคมี สารละลาย ทีใ่ ช้ ปรับ pH เติมลงไป ฟอสเฟตทีเ่ กิดขึน้
NaOH (มิลลิลติ ร) (กรัม) (กรัม)
- อัตราส่ วน Ca = 1:1 pH 7 4.50 7.3 4.6 1.70 1.63
- ใช้ NaOH สาหรับปรับ pH ช่วง
ต่างๆ
pH 8 4.50 8.0 2.2 0.81 1.93
pH 9 4.60 9.0 2.8 1.04 2.31
pH 10 4.60 10.0 4.0 1.48 2.39

ความสามารถในการละลายน้ าของ ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรื อ ปุ๋ ยอะพาไทด์ ขึ้นอยู่กบั ค่า


ความเป็ นกรดและด่างของน้ า (pH) ซึ่งหลังจากที่ไอออนของแคลเซียมทาปฏิกิริยาเคมีกบั ไอออนของ
ฟอสเฟต และสร้างพันธะทางเคมีได้เป็ นสารละลายของแคลเซียมฟอสเฟต เมื่อสภาวะของน้ ามีค่า pH
เท่ากับ 5 สารละลายของแคลเซียมฟอสเฟต จะเปลี่ยนสถานะจากของเหลวมาอยู่ในสถานะของแข็ง
และเมื่อค่า pH ของน้ าสูงขึ้น ตั้งแต่ pH 6-pH 12 สมบัติการละลายน้ าของแคลเซียมฟอสเฟตจะลดลง
ตามลาดับ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-28


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

7.3.3.3 คุณภาพของของนา้ เสียสังเคราะห์ หลังจากตกตะกอนผลึก “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”


ผลการศึกษาคุณภาพของน้ าเสียสังเคราะห์หลักจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”
ออกจากน้ าเสียสังเคราะห์ ประกอบด้วย ผลวิเคราะห์ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของน้ า ดังนี้
(1) ค่าความเป็ นด่างของน้ าเสี ยสังเคราะห์ (Alkalinity)
(2) ปริ มาณซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD)
(3) ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN)
(4) ปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus)
โดยมีรายละเอียดแสดงในตารางที่ 7-6 ดังนี้

ตารางที่ 7-6 ผลการวิเ คราะห์คุ ณ ภาพของน้ าเสี ย สังเคราะห์ หลังจากตกตะกอนผลึ ก ของ “ปุ๋ ย
แคลเซียมฟอสเฟต” จากน้ าเสียสังเคราะห์
ผลการวิเคราะห์ คุณภาพของนา้ เสี ยสั งเคราะห์
อัตราส่ วน ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมด
pH โมล
ค่าความเป็ นด่ าง ปริมาณซีโอดี
ในนา้ ในนา้
(Total Kjeldahl
Ca:P (Alkalinity) (COD) (Total Phosphorus)
Nitrogen, TKN)
(mg/L) (mg/L) (mg/L) (mg/L)
ไม่ ปรับ
1:1 87 7 110 34
pH
pH 8 1:1 48 7 100 8
pH 9 1:1 110 7 100 0.2
pH 10 1:1 280 7 110 0.2

ทั้ง นี้ รายละเอี ย ดของผลวิ เ คราะห์ คุ ณ ภาพของน้ าเสี ย สัง เคราะห์ มี ร ายละเอี ย ดในแต่ ล ะ
พารามิเตอร์ต่างๆ ดังต่อไปนี้

(1) ค่าความเป็ นด่ าง (Alkalinity) ของนา้ เสียสังเคราะห์


ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) ของน้ าเสี ยสังเคราะห์ หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ย
แคลเซียมฟอสเฟต” ออกแล้ว พบว่า มีค่าสูงขึ้นเมื่อความความเป็ นกรดและด่างของน้ า (pH) สูงขึ้น โดย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-29


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ในช่วง pH เท่ ากับ pH 8, pH 9 และ pH 10 พบว่า ค่าความเป็ นด่ าง มีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อ pH เพิ่มขึ้ น


ตามลาดับ

(2) ปริมาณซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD)


ผลการวิเคราะห์หาปริ มาณซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) ในน้ าเสี ย สังเคราะห์
หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต ” จากน้ าเสี ยสังเคราะห์ในช่วง pH ต่างๆ พบว่า
ปริ มาณซีโอดีของน้ าเสียสังเคราะห์มีค่าคงที่

(3) ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN)


ผลการวิ เคราะห์หาปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) ในน้ าเสี ย
สังเคราะห์ หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” จากน้ าเสียสังเคราะห์ในช่วง pH เท่ากับ
ไม่ปรับ pH, pH 8, pH 9 และ pH 10 พบว่า ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด มีค่าเท่ากับ 110, 100, 100 และ 110
มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลาดับ ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่าไนโตรเจนที่อยูใ่ นน้ าเสียสังเคราะห์ในช่วง pH ต่างๆ
มีค่าใกล้เคียงกัน กล่าวคือ ไอออนของไนโตรเจนไม่เกิดการตกตะกอน ทาให้ปริ มาณของไนโตรเจนมี
ค่าคงทีในทุกช่วง pH

(4) ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus)


ผลการวิ เ คราะห์ หาปริ มาณฟอสฟอรั ส ทั้ง หมด (Total Phosphorus) ในน้ าเสี ย
สังเคราะห์ หลังจากตกตะกอนผลึก ของ “ปุ๋ ยแคลเซี ยมฟอสเฟต” จากน้ าเสี ย สังเคราะห์ในช่ วง pH
เท่ากับไม่ปรับ pH, pH 8, pH 9 และ pH 10 พบว่า ปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) มีค่า
ลดลงเท่ากับ 34, 8, 0.2 และ 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลาดับ
ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่า เมื่อทาการปรับให้น้ าเสียสังเคราะห์มีค่าความเป็ นกรดและด่าง
(pH) เพิ่มมากขึ้น จะทาให้ปริ มาณฟอสฟอรั สทั้งหมดลงลงตามลาดับ เนื่ องจากเกิ ดการรวมตัวเกิ ดเป็ น
ผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”

7.3.4 ผลการทดลองการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรือ “ปุ๋ ยอะพาไทด์ ” โดยใช้ นา้ ที่ผ่านระบบ
บาบัดการผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์ มสุ กร
การออกแบบวิธีการทดลองในการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์” ในน้ า ที่
ผ่านระบบบาบัดการผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์ มสุ กร มีข้ นั ตอนต่างๆ ที่ตอ้ งทาการควบคุมสภาวะและ
ปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต เพื่อให้ผลการศึกษาทดลองที่ได้มีความถูกต้อง และที่สาคัญคือนาผล

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-30


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

การทดลองไปใช้เพื่อการจัด สร้ างอุปกรณ์ ต ้น แบบ (Pilot scale) สาหรั บใช้ในการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซี ยม
ฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์” หรื อใช้สาหรับการผลิตในโรงงานต้นแบบ (Full scale) เพื่อต่อยอดการผลิต
ในระดับอุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ ยในเชิงพาณิ ชย์ต่อไปในอนาคต
ทั้งนี้ในขั้นตอนการทดลองต้องทาการควบคุมสภาวะและปัจจัยต่างๆ ในการผลิต โดยเริ่ มจาก
การนาน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ มาเติมสารเคมี คือ โซเดียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต (NaH2PO4) จากนั้น ทาการ
กวนผสมสารให้ละลายเข้าด้วยกัน ด้ว ยเครื่ องกวนผสมสารเคมี ซึ่ งในขั้น ตอนการทดลองนั้น ได้มี
การศึกษาถึงสภาวะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการเกิดเป็ นผลิตภัณฑ์ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์”
กล่าวคื อ ศึก ษาสภาวะของปริ มาณสารเคมีที่เติ มลงไป โดยค านวณเป็ นสัดส่ ว นโมลของแคลเซี ยม
ต่อฟอสเฟต (Ca:P) เท่ากับ 1:0 , 1:1 และ 2:1 และทาการปรับค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ า โดยใช้
ปูนขาว (Ca(OH)2) ซึ่งค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ าที่ทาการศึกษา มี 4 สภาวะ คือ (1) สภาวะที่
ไม่ได้ทาการปรับค่า pH ของน้ า (2) สภาวะที่ทาการปรับให้น้ ามี pH เท่ากับ pH 8 (3) สภาวะที่มีการปรับ
ให้น้ ามี pH เท่ากับ pH 9 และ (4) สภาวะที่มีการปรับให้น้ ามี pH เท่ากับ pH 10 โดยแสดงตารางสรุ ปผล
การศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่ใช้ในการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” ในน้ าที่ผ่านระบบบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร
ดังในตารางที่ 7-7
ตารางที่ 7-7 ตารางสรุ ปผลการศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษาการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”
หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์” ในน้ าที่ผา่ นระบบบาบัดฯ จากฟาร์มสุกร
ปัจจัยต่างๆ ทีศ่ ึกษา รายละเอียด
1. สารเคมีที่ใช้ในการสร้างผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” NaH2PO4
หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์”
2. สภาวะที่ศึกษา เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดผลึก
2.1 สัดส่วนโมล Ca : P 1:0 , 1:1 , 2:1
2.2 สารเคมีที่ใช้ปรับ pH ปูนขาว (Ca(OH)2)
2.3 ช่วง pH ที่ทดลอง ไม่ปรับ pH, pH 8, pH 9 และ pH 10

ทั้งนี้ ผลการทดลองการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์” น้ าที่ผ่านระบบ


บาบัด ฯ จากฟาร์ มสุ ก ร สามารถอธิ บาย ลัก ษณะโครงสร้ างและองค์ประกอบของ “ปุ๋ ยแคลเซี ย ม
ฟอสเฟต” ที่ผลิตได้ รวมทั้งสภาวะและปั จจัยที่เหมาะสมในการเกิดผลิตภัณฑ์ ซึ่งรายละเอียดต่างๆ มี
ดังนี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-31


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

7.3.4.1 ลักษณะโครงสร้ างและองค์ประกอบของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรือ “ปุ๋ ยอะพาไทด์ ” จากนา้ ที่
ผ่านระบบบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร
ผลจากการทาปฏิกิริยาเคมีระหว่างไอออนต่างๆ ที่อยู่ในของน้ าที่ผ่านระบบบาบัดฯ จากฟาร์ ม
สุ กร พบว่า มีตะกอนที่มีขนาดใหญ่และตะกอนขนาดเล็กเกิดขึ้นร่ วมกัน ซึ่งจากผลการวิเคราะห์ลกั ษณะ
โครงสร้ างและองค์ประกอบของตะกอน โดยการใช้ เครื่ องถ่ายภาพขนาดไมโครเมตรโดยใช้กล้อง
จุลทรรศน์ก าลังขยายสู ง (Scanning Electron Microscope, SEM) พบว่า ตะกอนที่ ได้มีลกั ษณะเป็ น
ตะกอนผงละเอียดและตะกอนที่มีลกั ษณะเป็ นผลึก ซึ่งตะกอนผลึกเป็ นสารประกอบของ “แคลเซียม-
ฟอสเฟต” หรื อก็คือ ผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” ดังแสดงในรู ปที่ 7-7

ผลึกแบบแท่งกลม ผลึกทีไ่ ม่ มีรูปทรงที่ชัดเจน ผลึกแบบแผ่ น

ตะกอนผงละเอียด ผลึกแบบเม็ดกลม

รูปที่7-7 ลักษณะตะกอนผงละเอียดและตะกอนที่มีลกั ษณะเป็ นผลึกในน้ าที่ผา่ นการบาบัดด้วยระบบ


ผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มสุกร

ส่วนผลการวิเคราะห์หาองค์ประกอบของตะกอนผลึก “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์”


ในน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯจากฟาร์ มสุ กร พบว่า ตะกอนที่มีลกั ษณะเป็ นผลึก คือ ผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียม
ฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์” ซึ่งประกอบด้วย ปริ มาณธาตุออกซิเจนร้อยละ 65-66 ธาตุแคลเซียมร้อย
ละ 16-22 ธาตุฟอสฟอรัส ร้ อยละ 9 ธาตุค ลอไรด์ ร้ อยละ 0.1 และ ธาตุ โซเดียม ร้ อยละ 1 ดังแสดง
รายละเอียดในตารางที่ 7-8

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-32


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 7-8สรุ ปผลการวิเคราะห์หาองค์ประกอบของตะกอนผลึก “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ


“ปุ๋ ยอะพาไทด์” ในน้ าหลังผ่านการบาบัดฯ จากฟาร์มสุกร
ปริมาณธาตุ (%)
องค์ประกอบของตะกอน
O Ca P Cl Na
ตะกอนผลึก “ปุ๋ ยแคลเซี ยม
ฟอสเฟต ” หรื อ “ปุ๋ ยอะพา 66.12 ± 1.15 19.38 ± 3.93 9.19 ± 0.04 0.13 ± 0.04 1.09 ± 0.07
ไทด์”

นอกจากนี้ยงั ได้วิเคราะห์หาองค์ประกอบของตะกอนอื่นๆ ที่เกิดขึ้นด้วย ซึ่งประกอบไปด้วย


ปริ มาณธาตุออกซิเจน ธาตุแมกนีเซียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุแคลเซีย ม ธาตุโปรแตสเซียม ธาตุคลอไรด์
และธาตุโซเดียม ดังแสดงในรู ปที่ 7-8

รูปที่ 7-8 แสดงผลการวิเคราะห์องค์ประกอบของตะกอนอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในน้ าหลังผ่านระบบ


บาบัดฯ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ชนิด Energy Dispersion Spectroscopy (EDS)

7.3.4.2 ผลวิเคราะห์ ปริมาณตะกอนทีเ่ กิดขึน้ ในนา้ ที่ผ่านระบบบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร


(1) ปริมาณตะกอนทีเ่ กิดขึน้
ผลการวิเคราะห์ปริ มาณของตะกอนที่เกิดขึ้น พบว่า ตะกอนที่เกิดขึ้นมีท้ งั ลักษณะตะกอน
แบบผงละเอียด และตะกอนแบบผลึก โดยหลังจากนาน้ าที่ผ่านระบบบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กรมาปรับให้
ค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ าให้อยูใ่ นสภาวะที่ทาการศึกษา คือ ปรับให้มีค่า pH 4 สภาวะ คือ
ไม่ปรับ pH , pH 8 , pH 9 และ pH 10 จะทาให้เกิดการทาปฏิกิริยาเคมีระหว่างไอออนต่างๆ ที่ละลายอยู่
ในน้ า โดยในอัตราส่ วนโมลระหว่าง Ca:P เท่ากับ 1:0 , 1:1 และ 2:1 จะทาให้ได้ปริ มาณตะกอนเพิ่ม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-33


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

มากขึ้น เมื่อ pH ของน้ าสูงขึ้น นัน่ คือ ปริ มาณตะกอนของ ไม่ปรับ pH < pH 8 < pH 9 < pH 10 ดังแสดง
ในตารางที่ 7-9

ตารางที่ 7-9 ปริ มาณของตะกอนแบบผงละเอียดและตะกอนแบบผลึก ที่ผลิตได้จากน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ


จากฟาร์มสุกร
รายละเอียดของข้ อมูล ช่ วง pH pH เริ่มต้ น pH หลังจาก ปริมาณ คานวณนา้ หนัก ปริมาณของ
การทดลอง ทีศ่ ึกษา ก่อนเติม เติม Ca(OH)2 5 M ของ Ca(OH)2 ที่ ตะกอนทีเ่ กิดขึน้
สารละลาย สารละลาย ทีใ่ ช้ ปรับ pH เติมลงไป
Ca(OH)2 Ca(OH)2
(มิลลิลติ ร) (กรัม) (กรัม)
อัตราส่ วน Ca:P = 1:0 ไม่ปรับ pH 7.30 7.30 0.0 0.00 0.00
pH 8 7.30 8.00 1.0 0.37 0.83
pH 9 7.44 9.00 2.3 0.85 1.00
pH 10 7.49 10.00 5.8 2.15 3.52
อัตราส่ วน Ca:P = 1:1 ไม่ปรับ pH 7.30 7.30 0.0 0.00 0.53
pH 8 7.35 8.00 1.8 0.67 1.40
pH 9 7.41 9.00 4.0 1.48 2.61
pH 10 7.31 10.00 9.0 3.33 4.11
อัตราส่ วน Ca:P = 2:1 ไม่ปรับ pH 7.41 7.41 0.0 0.00 0.63
pH 8 7.40 8.00 1.0 0.37 1.29
pH 9 7.35 9.00 4.8 1.78 2.58
pH 10 7.55 10.00 9.0 3.33 4.05

นอกจากนี้ เมื่อศึกษาลัก ษณะตะกอนแบบผงละเอียดและตะกอนแบบผลึกที่เกิด ขึ้น ด้ว ย


เครื่ องถ่ายภาพขนาดไมโครเมตรโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ กาลังขยายสูง ( Scanning Electron Microscope, SEM)
พบว่า เมื่อปรับให้น้ าที่ผ่านระบบบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร มีค่าความเป็ นด่างมากขึ้น จะพบตะกอนที่มี
ลักษณะเป็ นตะกอนผลึกในสภาวะ pH 8 - pH 9 มากกว่าในสภาวะค่าpH 10 ดังแสดงในตาราง 7-10

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-34


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 7-10 ลักษณะตะกอนแบบผงละเอียดและตะกอนแบบผลึก ที่ผลิตได้จากน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ จาก


ฟาร์มสุกร
รายละเอียด pH 7 pH 8 pH 9 pH 10
1. ลักษณะของตะกอน
ที่เกิดขึ้น

- ปริ มาณตะกอน มีจานวนมาก มีจานวนมาก มีจานวนมาก มีจานวนมาก


แบบผง
- ปริ มาณตะกอน ไม่พบ มีตะกอนแบบผลึก มีตะกอนแบบผลึก มีตะกอนแบบผลึก
แบบผลึก ลดลง

7.3.4.3 คุณภาพของน้าที่ผ่ านการบ าบั ด ฯ จากฟาร์ มสุ ก รหลัง จากตกตะกอนผลึก “ปุ๋ ยแคลเซี ย ม
ฟอสเฟต” หรือ “ปุ๋ ยอะพาไทด์ ”
น าผลการศึ ก ษาคุ ณ ภาพของน้ าที่ ผ่านการบ าบัด ฯ จากฟาร์ ม สุ ก ร (รายละเอี ย ดแสดงใน
ภาคผนวก ค-1) มาวิเ คราะห์ เปรี ย บเที ย บกับ ผลการศึ ก ษาคุ ณ ภาพน้ า ที่ ผ่า นการบาบัด ฯ หลังจาก
ตกตะกอนผลึก “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์” ซึ่งผลวิเคราะห์ค่าพารามิเตอร์ ต่างๆ ของ
น้ า มีดงั นี้
(1) ค่าความเป็ นด่างของน้ าเสี ยสังเคราะห์ (Alkalinity)
(2) ปริ มาณซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD)
(3) ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN)
(4) ปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus)

โดยมีรายละเอียดสรุ ปแสดงในตารางที่ 7-11 ดังนี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-35


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 7-11 ผลการวิเคราะห์คุณภาพของน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ จากฟาร์มสุกรหลังจากตกตะกอนผลึก


ของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์
ผลการวิเคราะห์ คุณภาพของนา้ ทีผ่ ่ านการบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร
ลาดับ
อัตราส่ วน ปริมาณไนโตรเจน ปริมาณฟอสฟอรัส
การ
โมล
pH ค่าความเป็ นด่ าง ปริมาณซีโอดี
ทั้งหมด ทั้งหมด
ทดลอง
(Total Kjeldahl
(Total
Ca:P (Alkalinity) (COD) Nitrogen,
Phosphorus)
TKN)
(mg/L) (mg/L) (mg/L) (mg/L)
1. ไม่ ปรับ
990 124 160 5
pH
1:0 pH 8 1,180 65 160 6
pH 9 1,150 58 170 2
pH 10 1,160 58 160 0.1
2. ไม่ ปรับ
320 180 94 83
pH
1:1 pH 8 760 80 130 80
pH 9 660 131 160 52
pH 10 300 65 120 18
3. ไม่ ปรับ
840 88 130 59
pH

2:1 pH 8 890 73 130 34


pH 9 840 73 140 7
pH 10 1,020 96 160 1

ทั้งนี้รายละเอียดของผลวิเคราะห์คุณภาพของน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ จากฟาร์มสุกร มีรายละเอียด


ในแต่ละพารามิเตอร์ต่างๆ ดังต่อไปนี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-36


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

(1) ค่ าความเป็ นด่ าง (Alkalinity) ของน้าที่ผ่ านการบ าบัด ฯ จากฟาร์ มสุ ก ร หลัง จาก
ตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”
ผลการวิเคราะห์หาค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) ของน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ จากฟาร์ ม
สุกร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” พบว่า ประสิ ทธิภาพการกาจัดค่าความเป็ น
ด่างของน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร (% Removal) มีผลดีที่สุดในสภาวะของการปรับสัดส่ วน
โมลระหว่าง Ca : P เท่ากับ 1:1 กล่าวคือ เมื่อปรับให้น้ ามี pH เท่ากับ 7 สามารถลดค่าความเป็ นด่างของ
น้ าได้ร้อยละ 68.9 และเมื่อปรับให้ pH เท่ากับ 8 สามารถลดค่าความเป็ นด่างของน้ าได้ร้อยละ 28.3
และเมื่อปรับให้ pH เท่ากับ 9 สามารถลดค่าความเป็ นด่างของน้ าได้ร้อยละ 37.7 สุ ดท้ายเมื่อปรับให้
pH เท่ากับ 10 สามารถลดค่าความเป็ นด่างของน้ าได้ร้อยละ 71.7 ในทางตรงกันข้ามในสภาวะของการ
ปรับสัดส่ วนโมลระหว่าง Ca : P เท่ากับ 1:0 และ 2:1 สามารถลดค่าความเป็ นด่างของน้ าได้น้อยมาก
ดังแสดงในรู ปที่ 7-9
นอกจากนี้ หากพิ จ ารณาในส่ ว นของ “มาตรฐานคุ ณ ภาพน้ าทิ้ ง จากฟาร์ ม สุ ก ร”
(รายละเอียดแสดงในภาคผนวก ง-1) พบว่า ไม่มีการระบุค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) ของน้ าทิ้งจาก
ฟาร์มสุกร แต่ในการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตก็ควรคานึงถึงค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) ที่เพิ่มขึ้นด้วย
ซึ่งหากน้ า มีค่าความเป็ นด่างสู งอาจมีผลทาให้น้ ามีค วามต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลง pH ได้มาก
ไม่เหมาะนาไปใช้ในกิจกรรมอื่นๆ

รูปที่ 7-9 ประสิทธิภาพการกาจัดค่าความเป็ นด่างของน้ า (Alkalinity) ที่ผา่ นการบาบัดฯ จากฟาร์ม


สุกร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-37
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

(2) ปริมาณซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) ของน้าที่ผ่านการบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร


หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”
ผลการวิเคราะห์ปริ มาณซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) ของน้ าที่ผ่านการ
บาบัดฯ จากฟาร์มสุกร พบว่า การตกตะกอนผลึก “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” มีส่วนช่วยลดปริ มาณซีโอดี
ของน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร กล่าวคือ ประสิ ทธิภาพการก าจัดสารประกอบอินทรี ย ์ และ
สารประกอบอนิ น ทรี ย์ (% Removal) มี ค่ า ร้ อ ยละ 12-71 ซึ่ ง สามารถอธิ บ ายได้ว่ า การผลิ ต
“ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” จากน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร มีส่วนช่วยทาให้น้ ามีคุณภาพที่ดีข้ ึน
ดังแสดงในรู ปที่ 7-10
และหากพิจ ารณาในเกณฑ์ข อง “มาตรฐานคุ ณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร ประเภท ข
และ ค ” (แสดงรายละเอียดในภาคผนวก ง-1) ซึ่งกาหนดให้มีค่าซีโอดี (Chemical Oxygen Demand,
COD) ไม่เกิน 400 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า ผลการทดลองทั้งหมดในการนาน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ จาก
ฟาร์มสุกร มาใช้เพื่อผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” มีค่าไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานกาหนด

รูปที่ 7-10 ประสิ ทธิภาพการกาจัดปริ มาณซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) ที่ผ่านการ
บาบัดฯ จากฟาร์มสุกร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-38


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

(3) ปริมาณไนโตรเจนทั้ งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen , TKN) ของน้าที่ผ่ านการ


บาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”
ผลการวิเคราะห์หาปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) ในน้ า
ที่ผา่ นการบาบัดฯ พบว่า การตกตะกอนผลึก “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” มีส่วนช่วยลดปริ มาณไนโตรเจน
ทั้งหมดในน้ าที่ผ่านการบาบัด ฯ จากฟาร์ มสุ กร กล่าวคือ ประสิ ทธิภ าพการกาจัดปริ มาณไนโตรเจน
ทั้งหมด (% Removal) มีค่าร้อยละ 17-54 ดังแสดงในรู ปที่ 7-11

รูปที่ 7-11 ประสิ ทธิ ภาพการกาจัดปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN)
ที่ผา่ นการบาบัดฯ จากฟาร์มสุกร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”

(4) ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) ของนา้ ที่ผ่านการบาบัดฯ จากฟาร์ ม


สุ กร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”
ผลการวิเคราะห์หาปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) ในน้ าที่ผ่านการ
บาบัดฯ หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” พบว่า ในสภาวะที่สัดส่ วนโมลระหว่าง
Ca:P เท่ากับ 1:0 สามารถกาจัดปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) ได้ร้อยละ 80-99 เมื่อค่า
pH ของน้ าสูงขึ้น ส่วนในสภาวะที่สดั ส่วนโมลระหว่าง Ca:P เท่ากับ 1:1 พบว่า ไม่สามารถกาจัดปริ มาณ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-39


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ฟอสฟอรัสทั้งหมด ในช่วง pH 7-pH 9 และในสภาวะที่สัดส่ วนโมลระหว่าง Ca:P เท่ากับ 2:1 สามารถ


กาจัดปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมด ได้ร้อยละ 72-97 ในช่วง pH 9-pH 10 ดังแสดงในรู ปที่ 7-12

รูปที่ 7-12 ประสิทธิภาพการกาจัดปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) ที่ผา่ นการบาบัดฯ


จากฟาร์มสุกร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”

7.3.5 การทดสอบการชะละลาย (Leaching test)


การทดสอบการชะละลาย (Leaching test) มีวตั ถุประสงค์เพื่อทดสอบหาสารที่มีอนั ตรายต่อ
สิ่ ง แวดล้อ ม ซึ่ ง อาจถูก ชะละลายออกมาจากการน า “ปุ๋ ยแคลเซี ยมฟอสเฟต” ไปใช้ง านในการ
เกษตรกรรม และทาให้เกิดการปนเปื้ อนของสารที่มีอนั ตรายไปสู่พ้ืนที่เกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การปนเปื้ อนและการสะสมสารพิษในพืชที่เป็ นอาหารของมนุ ษย์ นอกจากนั้นอาจมีการปนเปื้ อนของ
สารมลพิษสู่แหล่งน้ าธรรมชาติ ทั้งแหล่งน้ าผิวดินและแหล่งน้ าใต้ดินที่มีการนาน้ าไปใช้เพื่อการอุปโภค
บริ โภค ซึ่งอาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ าได้ ดังนั้นการทดสอบ
การชะละลาย (Leaching test) ผลิตภัณฑ์ของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” ที่ผลิตได้ ก่อนที่จะมีการนาไปใช้
งานจริ ง จึ งมีความสาคัญ ทั้งนี้ เพื่อป้ องกัน อัน ตรายที่ อาจจะเกิ ด ขึ้น จากการน าไปใช้งาน รวมทั้งลด
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม
ในขั้นตอนการทดลองนั้นจะเริ่ มจากการนาผลิตภัณฑ์ของ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” ที่ผลิตได้มา
สกัดหาสารที่เป็ นอันตราย โดยใช้น้ าที่มีสภาพความเป็ นกรดอ่อนๆ เป็ นสารสกัด และนาสารละลายที่
สกัดได้ไปวิเคราะห์หาปริ มาณที่เป็ นอันตราย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-40


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ผลการวิเคราะห์หาสารที่มีอนั ตรายต่อสิ่ งแวดล้อมที่ ถูกชะละลายจาก “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”


ที่ผลิต ได้ พบว่า ไม่มีสารที่เป็ นอัน ตรายต่อแหล่งน้ า หรื อเป็ นอันตรายต่ อสุ ขภาพอนามัยของมนุ ษ ย์
รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ า โดยสารที่ถกู ชะละลายออกมาจาก “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” ส่ วนใหญ่จะ
เป็ นธาตุอาหารที่มีประโยชน์สาหรับพืช อาทิ โปรแตสเซียม (K+) แมกนี เซียม (Mg2+) แคลเซียม (Ca2+)
และโซเดียม (Na+) และ เหล็ก (Fe3+) เป็ นต้น

7.3.6 สรุปผลการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรือ “ปุ๋ ยอะพาไทด์ ” จากน้าที่ผ่านระบบบาบัดด้ วย


การผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์ มสุ กร
จากการนาน้ าที่ผา่ นระบบบาบัดด้วยการผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มสุกร มาเพิ่มมูลค่าน้ า โดยนา
น้ าที่ผา่ นระบบบาบัดฯ ไปใช้ในการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์” ที่สภาวะต่างๆ
กัน ซึ่งเป็ นการสรุ ปผลในเรื่ องของลักษณะตะกอนที่เกิดขึ้น ปริ มาณของตะกอนผลึก ซึ่งเป็ นตะกอน
ของ“ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์” ที่เกิดขึ้น รวมทั้งสรุ ปผลในเรื่ องของคุณภาพของน้ า
หลังจากแยกตะกอน ดังแสดงในตารางที่ 7-12

ตารางที่ 7-12 สรุ ปผลการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์” จากน้ าที่ผา่ นระบบบาบัด
ด้วยการผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มสุกร
รายละเอียด pH 7 pH 8 pH 9 pH 10
1. ลักษณะของตะกอนที่
เกิดขึน้

1.1 ปริมาณตะกอนแบบผง มีจานวนมาก มีจานวนมาก มีจานวนมาก มีจานวนมาก


1.2 ปริมาณตะกอนแบบ ไม่พบ มีตะกอนแบบผลึก มีตะกอนแบบผลึก มีตะกอนแบบผลึกลดลง
ผลึก “ปุ๋ยแคลเซียม
ฟอสเฟต”
2. คุณภาพของนา้ หลังจาก 1:0 1:1 2:1 1:0 1:1 2:1 1:0 1:1 2:1 1:0 1:1 2:1
แยกตะกอน
(แสดงผลของอัตราส่ วน
โมลระหว่ าง Ca:P)
2.1 ทาให้ ค่าความเป็ นด่ าง            
(Alkalinity)
ลดลง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-41


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 7-12 สรุ ปผลการผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์” จากน้ าที่ผา่ นระบบบาบัด
ด้วยการผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มสุกร
รายละเอียด pH 7 pH 8 pH 9 pH 10
2.2 ทาให้ ปริมาณซีโอดี            
(COD) ลดลง
2.3 ทาให้ ปริมาณ            
ไนโตรเจนทั้งหมด
(TKN) ลดลง
2.4 ทาให้ ปริมาณ            
ฟอสฟอรัสทั้งหมด
(TP) ลดลง
3. เปรียบเทียบคุณภาพน้าฯ
ต่ อ มาตรฐานน้ า ทิ้ง จาก
ฟาร์ ม สุ ก ร ประเภท ข
และ ค
9.1 ค่าความเป็ นกรด ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์
และด่ างของนา้ มาตรฐาน1 มาตรฐาน1 มาตรฐาน1 มาตรฐาน1
(pH) หลังจากแยก
ตะกอนของแข็ง
9.2 ค่าซีโอดี (COD) ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์
ของนา้ หลังจาก มาตรฐาน2 มาตรฐาน2 มาตรฐาน2 มาตรฐาน2
แยกตะกอน
ของแข็ง

3.3 ปริมาณไนโตรเจน ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์


ทั้งหมด (TKN) มาตรฐาน 3 มาตรฐาน 3 มาตรฐาน 3
มาตรฐาน 3
ของนา้ หลังจากแยก
ตะกอนของแข็ง
4. ผลการทดสอบการชะ ไม่พบสารที่เป็ นอันตรายต่อการนาไปใช้เพื่อการเกษตรกรรม
ละลาย(Leaching
test)
1
หมายเหตุ มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุ กร ประเภท ข และ ค ที่กาหนดให้มีค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) เท่ากับ 5.5-9
2
มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุ กร ประเภท ข และ ค ที่กาหนดให้มีค่าซี โอดี ไม่เกิน 400 มิลลิกรัมต่อลิตร
3
มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุ กร ประเภท ข และ ค ที่กาหนดให้มีค่าไนโตรเจนทั้งหมด ไม่เกิน 200 มิลลิกรัมต่อลิตร
 หมายถึง เหมาะสม
 หมายถึง ไม่เหมาะสม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 7-42


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT007
บทที่ 8
การผลิตปุ๋ ยแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต
(Magnesium Ammonium Phosphate as Fertilizer)
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บทที่ 8
การผลิตปุ๋ ย แมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต
(Magnesium Ammonium Phosphate as Fertilizer)

8.1 หลักการและทฤษฏี
จากในอดีตที่ผา่ นมาวิธีการกาจัดฟอสฟอรัสออกจากน้ าเสียมีอยูห่ ลายวิธีดว้ ยกัน ทั้งวิธีทางชีวภาพ
(Biological treatment) ‟ การใช้จุ ลิน ทรี ยใ์ นการย่อ ยสลายฟอสฟอรัส และวิธีทางเคมี (Chemical
treatment) ‟ การใช้สารเคมีเพื่อช่วยในการแยกหรื อตกตะกอนฟอสฟอรัสออกจากน้ าเสี ย อาทิเช่น การ
ตกตะกอนเคมี (Chemical precipitation) จะใช้สารเคมีที่ช่ ว ยในการตกตะกอน (Precipitant) จับ
ฟอสฟอรัสที่อยูใ่ นรู ปละลายน้ าในน้ าเสี ยให้ตกตะกอนแยกออกจากน้ า เช่น การตกตะกอนด้วยเหล็ก-
แคลเซียม- หรื อ อลูมิเนี ยม- ฟอสเฟต (Iron-, Calcium- or Aluminium- phosphate) อย่างไรตามวิธีการ
ดังกล่าวไม่ได้รับความนิ ยมเท่าที่ควร เนื่ องจากมีค่ าใช้จ่ายสูงจากการเติมสารเคมีจานวนมากเพื่อการ
กาจัดฟอสฟอรัส และตะกอนเคมีที่เกิดขึ้นไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์
ในช่วงไม่กี่ปีที่ผา่ นมาเทคโนโลยีการแยกฟอสฟอรัสออกจากน้ าเสียที่เป็ นที่ให้ความสนใจ และ
ทาการศึกษาวิจยั กันอย่างกว้างขวาง คือ การกาจัดฟอสฟอรัสด้วยการตกตะกอนผลึก (Phosphorus
precipitation or crystallization) ผลึกที่ได้เรี ยกว่า แมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต (Magnesium
ammonium phosphate, MAP) หรือสตรูไวท์ (Struvite) (Miles and Ellis, 2001; Burns et al., 2002;
Jaffer and Pearce, 2004; Battistoni et al., 2005; Suzuki et al., 2006)
การตกตะกอนผลึก แมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต หรื อ MAP เป็ นการควบคุม แมกนีเซียม
(Magnesium, Mg2+) แอมโมเนีย (Ammonium, NH4+) และฟอสเฟต (Phosphate, PO43-) ที่ละลายอยู่ในน้ าเสี ย
ให้รวมตัวเกิดเป็ นผลึกของแข็ง และตกตะกอนแยกออกมา โดยทาความควบคุมอัตราส่ วนโมลของสาร
ต่างๆ ค่าพีเอช หรื อค่าความเป็ นกรด-ด่างของน้ า และปั จจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวจ้องให้มีสภาพที่เหมาะสมต่อ
การตกผลึก วิธีการดังกล่าวกาลังเป็ นที่ให้ความสนใจทั้งในระดับห้องปฏิบตั ิการ (Laboratory scale)
ถังปฏิก รณ์ต ้นแบบ (Pilot scale) และโรงงานต้น แบบ (Full scale) ทั้งนี้ เนื่ องจากผลึก MAP ที่ แยก
ตกตะกอนลงมาหรื ออาจเรี ยกได้ว่าเป็ นผลพลอยได้ที่ สร้ างมูลค่าจากน้ าเสี ย สามารถนาไปใช้เป็ นปุ๋ ย
ละลายช้า (Slow release fertilizer) ในการทาการเกษตร หรื อน าไปใช้เป็ นวัต ถุดิ บในอุตสาหกรรม
การผลิตปุ๋ ยแทนแร่ หินฟอสเฟต (Phosphate rock) นอกจากนี้วิธีการนี้ยงั สามารถกาจัดฟอสฟอรัส และ
แอมโมเนียออกจากน้ าเสียได้ในขั้นตอนเดียวอีกด้วย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-1


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

จากการศึกษาที่ผา่ นมาได้มีความพยายามในการกาจัดฟอสฟอรัสออกจากน้ าเสี ยโดยกระบวนการ


ตกผลึก MAP จากน้ าเสียหลายชนิด ได้แก่ น้ าเสียชุมชน น้ าชะจากกองขยะ และน้ าเสียจากฟาร์มปศุสตั ว์
น้ าเสียอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร และน้ าเสียที่ผา่ นกระบวนการบาบัดแบบไม่ใช้อากาศ เป็ นต้น
เนื่องจากน้ าเสียจากกิจกรรมดังกล่าวนั้น มีไนโตรเจน และฟอสฟอรัส เป็ นองค์ประกอบอยู่ และอาจ
ต้องการการบาบัดขั้นหลังเพื่อกาจัดสารดังกล่าวให้มีค่าผ่านเกณฑ์ของมาตรฐานน้ าทิ้งลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะ
ดังนั้นการตกผลึก แมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต (MAP) จึงเป็ นเทคโนโลยีที่แยก และ
นาเอาสารอาหารของพืชที่อยูใ่ นน้ าเสียกลับมาใช้ประโยชน์ เพื่อเป็ นปุ๋ ยที่ใส่ในการทาการเกษตรกรรม
หรื อเป็ นวัตถุดิบตั้งต้นในการทาผลิตปุ๋ ยที่จะทดแทนแร่ หินฟอสเฟตที่กาลังจะหาได้ยากขึ้นในอนาคต
ดังนั้นถ้าการตกผลึกสตรู ไวท์น้ นั ได้ผลดี และมีการลงทุน และค่าใช้จ่ายสารเคมี และการติดระบบไม่สูง
มากนักจะเกิดความคุม้ ค่าทางเศรษฐศาสตร์ และเป็ นการสร้างมูลค่าโดยการแยกสารอาหารที่เป็ นประโยชน์
ต่อพืชออกจากน้ าเสีย และช่วยลดปัญหามลภาวะทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากปัญหาการปนเปื้ อนจากธาตุ
อาหารของพืชในแหล่งน้ าผิวดิน และแหล่งน้ าใต้ดิน
8.1.1 การตกตะกอน แมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต (MAP)
ผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต (Magnesium ammonium phosphate hexahydrate,
MAP) หรื อสตรู ไวท์ (Struvite) (รู ปที่ 8-1) มีสูตรทางเคมี คือ (MgNH4PO4„6H2O) เป็ นผลึกจากแร่
ฟอสเฟตที่เกิดได้ตามธรรมชาติ หรื ออาจพบการสะสมผลึกสตรู ไวท์ในรู ปของตะกรันตามชิ้นส่วนต่างๆ
ของระบบบาบัดน้ าเสีย (de-Bashan and Bashin, 2003) เมื่ออยูใ่ นรูปผลึกของแข็งจะมีสีขาวจนถึงเหลืองอ่อน
หรื อสีน้ าตาล ขนาดผลึกที่เกิดขึ้นมีขนาดตั้งแต่เล็กหรื อใหญ่ ผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต
เป็ นแร่ อ่อน ที่มีค่าความแข็งของแร่ (Mohs hardness) ประมาณ 1.5 ถึง 2.0 มีค่าความถ่วงจาเพาะ
(Specific gravity) เท่ากับ 1.7 สามารถละลายน้ าได้ดีเมื่ออยูใ่ นสภาวะที่เป็ นกรดหรื อมีค่าพีเอชต่า (pH <
7.5) และมีแนวโน้มการตกตะกอนผลึกเมื่อพีเอชมีค่าเพิ่มสูงขึ้น (pH > 7.5 ‟ 9.0) เมื่อถึงภาวะอิ่มตัวของ
Mg2+, NH4+ และ PO43- การเกิดผลึกสตรู ไวท์ตามสมการปฏิกิริยาเคมีในรู ปที่ 8-2

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-2


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ที่มา: http://www.paques.nl/

รูปที่ 8-1 ลักษณะผลึกผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต

Mg2+ + NH4+ + PO43- + 6H2O  MgNH4PO4„6H2O 


ผลึกแมกนีเซี ยม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต

Ksp = [Mg2+][ NH4+][ PO43-] = 7.08 x 10-14

รูปที่ 8-2 สมการเคมีของการเกิดผลึกผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต (Choi, 2007)

การเกิดผลึกสตรู ไวท์ตามธรรมชาติจะทาให้สารละลายมีสภาวะเป็ นกรด หรื อพีเอชของน้ ามีค่า


ลดลง จะทาให้เกิดสารประกอบ HPO42- แทนการเกิด PO43- ซึ่งจะทาให้ผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-
ฟอสเฟตละลายน้ าได้ดี (ตกผลึกช้าลง) ตามสมการในรู ปที่ 8-3 โดยที่กลไกการเกิดสตรู ไวท์เมื่อไม่มีการ
ควบคุมค่าพีเอช เป็ นดังสมการการเกิดปฏิกิริยาเคมีดงั นี้

Mg2+ + NH4+ + HPO42- + 6H2O  MgNH4PO4„6H2O  + H+

รูปที่ 8-3 สมการเคมีของการเกิดผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟตที่ไม่มีการควบคุมค่าพีเอช

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-3


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

8.1.2 นา้ ทิง้ จากฟาร์ มสุกร และเทคโนโลยีการตกผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต


เนื่องจากน้ าเสียจากฟาร์มปศุสตั ว์รวมไปถึงฟาร์มสุกรนั้นมีสารอาหารของพืช เช่น ฟอสฟอรัส
และไนโตรเจน เจือปนอยูใ่ นน้ าเสีย จึงทาให้น้ าเสียประเภทนี้มีศกั ยภาพในการนาสารอาหารของพืช
กลับมาใช้ (Nutrient recovery) โดยกระบวนการตกผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต หรื อ MAP
(Burn et al., 2002; Hiroyuki and Toni, 2003; de-Bashan and Bashan, 2004; Cheng et al., 2006; Choi,
2007)
จากรายงานการศึกษา (Suzuki et al., 2006) พบว่าน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกร มีสารประกอบฟอสเฟต
(Phosphate, PO43-) และแอมโมเนียม (Ammonium, NH4+) ปนเปื้ อนอยูใ่ นน้ าทิ้ง และนอกนี้ยงั พบว่ามี
แมกนีเซียม (Magnesium, Mg2+) และแคลเซียม (Ca2+) ละลายปนอยูด่ ว้ ย ดังนั้นในน้ าเสียจากฟาร์มสุกร
เมื่อค่าพีเอชมีค่าลดลง (pH  5.7 ถึง 7.4) สารประกอบเหล่านี้จะละลายน้ าได้ดี และแตกตัวเป็ นไอออน
อิสระ และเมื่อค่าพีเอชของน้ าเพิม่ สูงขึ้น (pH > 7.5) แมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต ที่ละลายอยู่ใน
น้ ามีแนวโน้มที่จะจับตัวกัน และเกิดเป็ นตะกอนผลึก และตกตะกอนลงมา (Crystallization) โดยผลึก
ดังกล่าวเรี ยกว่า แมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต (Magnesium ammonium phosphate, MAP) ดังนั้น
เนื่องจากลักษณะของน้ าเสียจากฟาร์มสุกร ทาให้ในสภาวะการเดินระบบปกติของระบบบาบัดน้ าเสีย
จากฟาร์มสุกรโดยเฉพาะแบบไม่ใช้อากาศ จึงมีแนวโน้มของการสะสมของตะกอนผลึกสตรู ไวท์ได้ง่าย
และกลายเป็ นตะกรัน (Scaling) สะสม และอุดตันอยูต่ ามเครื่ องสูบจ่ายน้ า อุปกรณ์ และท่อต่างๆ ที่จะ
เป็ นปัญหายุง่ ยากต่อการดูแลรักษา และซ่อมบารุ งตามมา แสดงในรู ปที่ 8-4 และ 8-5
จากรายงานการศึกษาพบว่า ในการบาบัดน้ าเสียจากฟาร์มสุกรโดยวิธีการนี้จะใช้เวลาในการเกิด
ผลึกสตรู ไวท์ที่ค่าพีเอช 8.5 ระยะเวลา 10 นาที และค่าพีเอช 7.5 จะใช้ระยะเวลาประมาณ 40 นาที โดย
การพักน้ าเสียไว้ในบ่อพักน้ าจะทาให้พีเอชมีค่าลดลงเนื่องจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ (CO2)
ในทางตรงกันข้าม กระบวนการเปลี้องอากาศ (Air striping) จะเป็ นการเพิ่มค่าพีเอชให้กบั น้ า ซึ่งจะเป็ น
การช่วยเร่ งให้เกิดการตกผลึก MAP โดยไม่มีการเติมสารเคมีเพื่อปรับค่าพีเอชของน้ า ระยะเวลาของการ
ตกตะกอนผลึกจะมีระยะเวลาการตั้งแต่ 1 ถึง 3 ชัว่ โมง และผลึกจะเริ่ มตกตะกอนประมาณ 2-3 วัน โดย
ธรรมชาติ (Burns et al., 2003)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-4


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ที่มา : http://www.news.wisc.edu/15422
รูปที่ 8-4 การสะสมของผลึกสตรู ไวท์ในอุปกรณ์ของระบบบาบัดน้ าเสีย

ที่มา http://www.onrti.com/introduction3.htm

รูปที่ 8-5 การเกิดตะกรันจากสตรู ไวท์ในท่อน้ าของระบบบาบัดน้ าเสีย

8.1.3 ปัจจัยของการเกิดผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต
การก าจัด หรื อแยกฟอสฟอรั สออกจากน้ าเสี ย โดยการตกตะกอนผลึ ก MAP เป็ นการใช้
กระบวนการตกตะกอนหรื อตกผลึกทางเคมี (Precipitation / Crystallization process) มีจุดมุ่งหมายเพื่อ
กาจัดฟอสเฟต (PO43-) และแอมโมเนี ยม(NH4+) ออกจากในน้ าเสี ย โดยใช้แมกนี เซีย ม (Mg2+) เป็ นตัว
ประสานให้เกิดเป็ นผลึกของแข็ง และตกตะกอนแยกออกจากน้ า
ปัจจัยในการควบคุมการเกิดปฏิกิริยาที่สาคัญ ได้แก่ ค่าพีเอชของน้ า อัตราส่ วนโมลที่เหมาะสม
สิ่งเจือปน และอื่นๆ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-5


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

1) ค่าพีเอช (pH)
ค่าพีเอชของน้ านั้นมีผลต่อการละลายน้ า และการตกผลึกของ แมกนีเซียม แอมโมเนีย และ
ฟอสเฟต ดังนั้นในน้ าเสียที่มีสารเหล่านี้เป็ นองค์ประกอบอยูก่ ารเปลี่ยนแปลงของ ค่าพีเอชอาจทาให้เกิด
สารประกอบได้ในหลายรู ปแบบ นอกจากผลึก MAP (MgNH4PO4„6H2O) อาทิเช่น Mg2+, MgOH+,
MgH2PO4+, MgHPO4, H3PO4, H2PO4-, HPO42-, PO43-, MgPO4-, NH3 (aqueous) เป็ นต้น รู ปที่ 8-6 แสดง
ช่วงค่าพีเอชมีผลต่อการเกิดสารประกอบต่างๆ จะเห็นได้วา่ เมื่อค่าพีเอชของน้ ามีค่าน้อยกว่า 7 (pH < 7)
สารประกอบ แมกนีเซียม แอมโมเนีย และฟอสเฟต จะสามารถละลายน้ าได้ดีจึงไม่ จบั ตัวกันเป็ นผลึก
สตรู ไวท์ และเมื่อพีเอชมีค่าสูงมากว่า 10 (pH>10) ขึ้นไป จะเกิดสารประกอบในรู ปอื่น เช่น
Mg3(PO4)24H2O หรื อ Mg (OH)2 และเมื่อพีเอชมีค่าอยูใ่ นช่วง ประมาณ 7 ถึง 9 (pH  7 - 9) จะเป็ น
ช่วงที่เหมาะสมต่อการเกิดตะกอนผลึก MAP นอกจากนี้ที่สภาวะดังกล่าว และอาจเกิดการตกผลึกของ
แคลเซียมไฮดรอกซีอะพาไทท์ (Calcium hydroxyapatite, HAP) ถ้ามีสารประกอบแคลเซียม หรื อ
แคลเซียมไอออน (Ca2+) ละลายน้ าอยูใ่ นน้ าเสีย ดังนั้นในการสร้างตะกอนผลึกสตรู ไวท์จึงต้องการการ
ควบคุมพีเอชให้เหมาะสมเพื่อที่จะทาให้เกิดตะกอนผลึกสตรู ไวท์ เป็ นสัดส่วนมากที่สุด

MgHPO4 3H2O

เพิ่ม อุณหภูมิ
pH << 7 pH >> 10
No Precipitation Mg3(PO4)2 4H2O
Excess of PO43-
pH >> 10
Excess of PO42-
MgNH4PO4 6H2O Excess of PO4- Mg(OH)2
& others

MgNH4PO4 6H2O
Struvite

ที่มา: Choi, 2007

รูปที่ 8-6 การเกิดผลึกในรู ปแบบต่างในสารละลายที่มี แมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต


เป็ นองค์ประกอบ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-6


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

แนวทางในการเพิ่มสภาพความเป็ นด่างให้กบั น้ าเสียเพื่อเร่ งการตกตะกอน สามารถทาได้


หลายแนวทาง ทั้งนี้ก็ข้ นึ อยูก่ บั ค่าไอออนต่างๆ ที่เจือปนอยูใ่ นน้ าเสีย ค่าพีเอชของน้ าเสีย เป็ นต้น จาก
การศึกษาของ de-Bashan และ Bashin (2003) การเพิ่มความเป็ นด่างเพื่อตกตะกอนสตรู ไวท์ทาได้โดย
- การเติมแมกนีเซียม เช่น แมกนีเซียมออกไซด์ (Magnesium oxide, MgO) และ
แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ (Magnesium Hydroxide, Mg(OH)2)
- การเติมสารเคมีที่มีสภาพเป็ นด่าง เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์ (Sodium hydroxide,
NaOH)
- กระบวนการเปลื้องอากาศ (Air striping)

2) อัตราส่ วนโมลที่เหมาะสม (Molar ratio)


กลไกการเกิดผลึก MAP ในอุดมคติน้ นั ต้องการอัตราส่วนโมลเหมาะสม (Molar ratio)
ระหว่างแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต คือ อัตราส่วน [Mg2+]:[NH4+]:[PO43-] เท่ากับ 1:1:1 (de-
Bashan and Bashin, 2003) จากการศึกษาในต่างประเทศน้ าเสียจากฟาร์มสุกรโดยทัว่ ไปนั้นพบว่ามี
ปริ มาณของแมกนีเซียมน้อยหรื อไม่เพียงพอ เมื่อเทียบกับ แอมโมเนียม และฟอสเฟต ในการตกผลึก
MAP จึงต้องการการเติมสารเคมีเพื่อเป็ นการเพิ่มปริ มาณของแมกนีเซียมให้มีค่าเหมาะสมต่อการเกิดผลึก
นอกจากนี้ ซึ่งปริ มาณแมกนีเซียมต่อฟอสฟอรัส (Mg:PO4) ที่เหมาะสมต่อการเกิดผลึกจะมากหรื อน้อย
นั้นก็ข้ ึนอยูก่ บั สารประกอบอื่นๆ ที่เจือปนอยูใ่ นน้ าเสีย เช่น สารอินทรี ย ์ (Organic matter) และไอออน
ต่างๆ ที่อยูใ่ นน้ าเสีย (เช่น Mg2+ Ca2+ Fe3+/Fe2+ และ K+ เป็ นต้น) ซึ่งสารประกอบดังกล่าวจะสามารถทา
ปฏิกิริยากับแมกนีเซียมที่เติมลงไป จึงทาให้ตอ้ งการปริ มาณแมกนีเซียมเพิ่มมากขึ้นเพื่อการเกิดปฏิกิริยา
ที่สมบูรณ์ จากการศึกษาของ Burns และคณะ (2003) พบว่า สัดส่วนโมลที่เหมาะสมเพื่อการเกิดผลึก
MAP ของแมกนีเซียมต่อฟอสฟอรัส (Mg:PO4) ที่มากเกินพอต่อการทาปฏิกิริยากับสารอินทรี ยใ์ นน้ าเสีย
คือ 1.6 :1 (Mg:PO4) ดังนั้นในการแยกฟอสฟอรัสออกจากน้ าเสียด้วยวิธีการนี้จึงต้องทาการเติม
แมกนีเซียมให้เพียงพอต่อความต้องการในการเกิดปฏิกิริยา
ปริ มาณการเติมแมกนีเซียมเป็ นปัจจัยสาคัญหรื อข้อจากัดในการเกิดการควบคุมการเกิดผลึก
MAP หลากหลายงานศึกษาวิจยั ได้ให้ความสาคัญกับชนิดของสารประกอบแมกนีเซียมที่นามาใช้ในการ
ตกตะกอน และปริ มาณแมกนีเซียมที่เหมาะสมต่อการเกิดผลึก เนื่องปริ มาณของแมกนี เซียมที่เติมลงไปนั้น
จะเป็ นส่วนสาคัญในการกาหนดความเหมาะสมทางด้านเศรษฐศาสตร์ ของเทคโนโลยีน้ ี โดยสารประกอบ
แมกนี เ ซี ย มที่ ไ ด้มี ก ารน ามาใช้ใ นทั้ง งานวิ จ ัย ที่ ผ่ า นมา และน ามาใช้ก ับ โรงงานต้น แบบ อาทิ
แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ (Magnesium Hydroxide, Mg(OH)2) แมกนีเซียมออกไซด์ (Magnesium oxide,

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-7


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

MgO) และแมกนีเซียมคลอไรด์ (Magnesium chloride, MgCl„6H2O) ซึ่งสารประกอบแต่ละชนิดมีความ


เหมาะสมแตกต่างกันไปดังนี้
- แมกนีเซียมออกไซด์ (Magnesium oxide, MgO) มีขอ้ ดีในการเพิ่มค่าพีเอชของน้ า
ซึ่งช่วยเร่ งการตกผลึก MAP ได้ดี โดยไม่ตอ้ งเติมสารเคมีเพิ่มปรับสภาพความเป็ น
ด่ า งหรื อปรั บ สภาพให้พีเ อชให้สู ง ขึ้ น ให้ก ับ น้ า เสี ย อีก แต่ ทว่ า ข้อ จ ากัด ของ
แมกนีเซียมออกไซด์ คือ ละลายน้ าได้ยาก และใช้ระยะเวลาในการทาปฏิกิริยาช้า
และยังมีแมกนีเซียมออกไซด์หลงเหลือหลังจากการทาปฏิกิริยา
- แมกนี เ ซี ย มคลอไรด์ (Magnesium chloride, MgCl„6H2O) พบว่ า เป็ น
สารประกอบแมกนีเซียมที่เหมาะสมต่อการเติมเพื่อตกตะกอนผลึก MAP เนื่องจาก
มีขอ้ ดี คือ ละลายน้ าได้ง่าย ทาให้ใช้ระยะเวลาในการเกิดปฏิกิริยาสั้นกว่า เนื่องจาก
แมกนีเซียมคลอไรด์ละลายน้ าได้ดี และแตกตัวเป็ นแมกนี เซียมไอออนได้ง่าย แต่
อย่างไรก็ต ามข้อจ ากัด ของการใช้แมกนี เซี ยมคลอไรด์ก็คื อ เมื่อละลายน้ าจะมี
สภาพเป็ นกรดอ่อน (pH = 5) ซึ่งเป็ นช่วงพีเอชที่ไม่เหมาะสมต่อเกิดผลึกสตรู ไวท์
ดังนั้นจึงต้องการเติมสารเคมีเพื่อปรับสภาพน้ าให้มีค่าความเป็ นด่างเพิ่มมากขึ้ น
(pH  9) เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์ (Sodium hydroxide, NaOH)

3) สิ่งเจือปนในนา้ เสีย
ปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกับการตกตะกอนผลึก MAP ได้แก่ ปริ มาณสารแขวนลอย ปริ มาณ
ไอออนต่างๆ ในน้ า และปริ มาณสารเคมีที่ตอ้ งเติมลงไป ซึ่งปัจจัยต่างๆ นั้นล้วนมีผลต่อการตกตะกอน
ของผลึกชนิดต่างๆ ในน้ าเสีย

8.1.4 การผลิต MAP ในระดับแบบจาลองต้นแบบ (Pilot scale plant)


การผลิตสตรู ไวท์จากน้ าเสี ยได้มีการพัฒนาแบบจาลองต้นแบบ (Pilot plant) ส่ วนใหญ่เป็ นถัง
ปฏิกิริยาแบบ Fluidized bed reactor แสดงในรู ปที่ 8-7 และ 8-8 จากการศึกษาของ Holiman จาก
มหาวิทยาลัย Oregon state ประเทศสหรัฐอเมริ กา ได้มีการทาแบบจาลองต้นแบบที่มีการนาน้ าเสี ยจาก
ฟาร์มเลี้ยงสัตว์มาใช้ในการผลิตสตรู ไวท์ ตามแบบจาลองในรู ปที่ 8-7 โดยมีเงินลงทุนประมาณ 1,000
ดอลล่าร์ สหรัฐ (USD) หรื อเท่ากับประมาณ 36,000 บาท (1 USD = 36 บาท) เดินระบบโดยการเติม
แมกนีเซียมคลอไรด์ (MgCl) และปรับค่าพีเอชของน้ าโดยใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) จากรายงาน
การศึก ษาพบว่า สามารถก าจัด ฟอสฟอรั สในน้ าเสี ย ประมาณร้ อยละ 60 ถึง 70 แต่ มิได้ก ล่าวอ้างถึง
ปริ มาณของสตรู ไวท์ที่เกิดขึ้น

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-8


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ที่มา: Holiman, 2009

รูปที่ 8-7 แบบจาลองต้นแบบการผลิต MAP จากน้ าเสียฟาร์มปศุสตั ว์

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-9


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

Magnesium hydroxide solution

3 mm plastic tube

pH

V notch weir

Effluent

Settling zone with


ID 600 mm

Clear PVC reactor, ID 300 mm,


total liquid height 1365 mm,
total liquid volume 143 L

air bubbles in reaction zone

Centrate from
wet well

MAP crystals (settle to


bottom when air off)

30 mm PVC pipe
Compressed air

MAP product removed


intermittently (when air off)

ที่มา : Münch et al, 2003

รูปที่ 8-8 กระบวนการตกผลึก MAP ในแบบจาลองต้นแบบ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-10


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

8.1.5 การผลิต MAP ในระดับโรงงานต้นแบบ (Full scale plant)


การกาจัดฟอสฟอรัสโดยกระบวนการตกผลึก MAP หรื อ สตรู ไวท์ ระดับโรงบาบัดขนาดใหญ่น้ นั
เป็ นที่ให้ความสนใจในหลายประเทศ ประเทศที่ให้ความสนใจในการผลิตสตรู ไวท์จากน้ าเสียในระดับ
โรงงานขนาดใหญ่น้ นั ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น (Hiagari Sewage Treatment Plant, Osaka; West wastewater
treatment center, Fukuoka; Lake Shinji East clean center, Shimane) ออสเตรเลีย (Oxley Creek
Wastewater Treatment Plant, Brisbane) สหรัฐอเมริ กา (Sacramento Regional Wastewater Treatment
Plant, California; Full scale Ostara struvite recovery, Oregon) แคนาดา (Goldbar: Full scale Ostara
struvite recovery, Edmonton, Alberta) อิตาลี (Treviso Wastewater Treatment Plant) เป็ นต้น
ในประเทศญี่ปุ่นการกาจัดฟอสฟอรัสในน้ าด้วยวิธีการนี้กาลังเป็ นที่ให้ความสนใจในช่วงหลายปี
ที่ผา่ นมา เนื่ องจากประเทศญี่ปุ่นนั้นมีการนาเข้าปุ๋ ยฟอสฟอรัส (P2O5) จากประเทศอังกฤษเป็ นจานวนมาก
(de-Bashan and Bashin, 2003) ในประเทศญี่ปุ่นได้จดั สร้างโรงงานต้นแบบ และดาเนินการใช้งานมา
กว่า 3 ปี คือ West wastewater treatment center (WWTC) เมือง Fukuoka และ Lake Shinji East clean
center (SECC) เมือง Shimane และมีการจัดทาเป็ นปุ๋ ยสตรู ไวท์ (เรี ยกว่าปุ๋ ย MAP) และจาหน่ ายทางการค้า
(Ueno and Fujii, 2001)
จากรายงานการศึกษาของ Ueno และ Fuji (2001) และ Ueno (2004) ประเทศญี่ปุ่น ได้ทาการ
เดิ น ระบบโรงงานบาบัด น้ าเสี ย ชุมชน โดยมีระบบก าจัด ฟอสฟอรัสโดยการตกผลึกสตรู ไวท์ต ลอด
ระยะเวลา 3 ปี หน่ วยผลิตสตรู ไวท์ (Struvite plant) หน่ วยแรก เริ่ มเดินการผลิตตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1998
รองรับน้ าเสี ยขนาด 500 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน (m3/day) และ 150 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ตั้งอยู่ที่ Lake
Shinji East Clean Center (SECC) เมือง Shimane และหน่ วยที่สอง ปี ค.ศ. 2000 มี ขนาดรองรับน้ าเสี ย
500 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และหน่วยถัดมาที่เพิ่งเปิ ดดาเนินการในปี ค.ศ. 2004 รองรับน้ าเสียขนาด 1,150
ลูกบาศก์เมตรต่อวัน แสดงในตารางที่ 8-1

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-11


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 8-1 ขนาดการผลิตของโรงงานผลิตสตรู ไวท์


ขนาดโรงงาน จานวน ขนาดการผลิต
Struvite3plant 2 Type: Vertical type double cylindrical reaction tower
(500 m /d) Charged raw water: Dewatered filtrate
Dimension: Diameter of reaction tower 1,430 mm
Diameter of precipitating portion 3,600 mm
Total height 9,000 mm
Struvite3 plant 1 Type: Vertical type double cylindrical reaction tower
(150 m /d) Charged raw water: Dewatered filtrate
Dimension: Diameter of reaction tower 960 mm
Diameter of precipitating portion 2,600 mm
Total height 5,500 mm
Struvite 1 Type: Cylindrical rotation type separator
separator Charged raw water: Mix solution of struvite
Treatment amount: Max. 6 m3・hr-1
Hopper 1 Type: Electrically opening and shutting square cut gate
hopper
Effective volume: 10 m3
ที่มา: Ueno and Fujii (2001)

กระบวนการกาจัดฟอสฟอรัสด้วยการตกผลึกสตรู ไวท์ของโรงบาบัดน้ าเสีย แสดงในรู ปที่ 8-9


การทางานของระบบเริ่ มต้นจากน้ าเสียชุมชน (น้ าเสียที่ได้มาจากระบวนการรี ดตะกอน) ซึ่งจะส่งเข้า
ระบบโดยผ่านทางด้านล่างของถัง หลังจากนั้นจะทาการเติมแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ (Mg(OH)2) ซึ่งทา
ให้อตั ราส่วนของ Mg:P กลายเป็ น 1 หลังจากนั้นจะทาการปรับสภาพความเป็ นด่างน้ าเสีย โดยใช้
โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ให้มีค่าพีเอชของน้ าประมาณเป็ นด่างอ่อน (pH = 8.2 ถึง 8.8) และทาการ
ผสม และปล่อยให้ตกตะกอนผลึก ซึ่งผลึกจะก่อตัว และเริ่ มตกตะกอนลงมาภายใน 10 วัน โดยผลึกจะ
อยูใ่ นรู ปเม็ด (Granular) ที่มีขนาด 0.5 ถึง 1.0 มิลลิเมตร (รู ปที่ 8-10) หลังจากนั้นผลึกถูกจะแยกออกใน
ส่วนด้านล่างของถัง โดยกระบวนการกรอง (Screening) ผลึกสตรู ไวท์ที่ปนอยูใ่ นน้ าส่วนที่เหลือจะสูบ
กลับเข้าไปในถังปฏิกิริยาอีกครั้ง เพื่อเป็ นสารก่อผลึก (Seed crystal) รู ปที่ 8-9 แสดงโรงงานต้นแบบของ
การผลิตสตรู ไวท์จากน้ าเสีย
จากการเดินระบบที่ค่าเริ่ มต้นของฟอสฟอรัสในรู ปกรดฟอสฟอริ ก ในน้ าเสียมีค่าประมาณ 100
ถึง 110 มิลลิกรัมต่อลิตร (มี NH4-N เท่ากับ 200 ถึง 250 มิลลิกรัมต่อลิตร) และน้ าออกจากระบบมีค่า
ฟอสฟอรัสในรู ปกรดฟอสฟอริ ก (Phosphoric acid ion) เหลือเพียงประมาณ 10 มิลลิกรัมต่อลิตรหรื อ
น้อยกว่า ซึ่งคิดเป็ นประสิทธิภาพการผลิตสูงการกาจัดฟอสฟอรัสถึงร้อยละ 90

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-12


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

pH
Treated Water

Separation Digestion
Zone Tank
Struvite Mg(OH)2 NaOH
Separation P StorageTank Digested
P Storage Tank
Sludge
Recovered
Struvite
Granule Fomation Zone
Dehydrator
Raw Water
Returned to
Struvite Granules
Hopper Formation Column
Struvite
B Dewatered
Blower P filrate
Storage
Feed Pump Tank
Sold as Raw Material for Fertilizer

ที่มา: Ueno and Fujii (2005)

รูปที่ 8-9 กระบวนการผลิตสตรู ไวท์จากโรงงานต้นแบบ

เมื่อนาผลึกที่ได้ไปวิเคราะห์องค์ประกอบของแร่ ธาตุ และโลหะหนักที่อยูใ่ นผลึกสตรู ไวท์ที่ได้


จากน้ าเสีย พบว่าส่วนประกอบของไนโตรเจนรู ปแอมโมเนีย (NH4-N) ฟอสฟอรัส (P2O5) และ
แมกนีเซียม (MgO) มีค่าใกล้เคียงกับค่าทางทฤษฏี

ที่มา : Kumashiro et al, 2004


รูปที่ 8-10 ผลึกสตรู ไวท์ที่ได้จากกระบวนการตกผลึกจากน้ าเสีย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-13


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ที่มา: Ueno and Fujii (2001)

รูปที่ 8-11 โรงงานต้นแบบของการผลิตสตรู ไวท์จากน้ าเสีย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-14


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ประสิทธิภาพของการผลิตจากโรงงานต้นแบบที่มกี าลังการผลิต 1,150 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน


จะได้สตรู ไวท์ 500 ถึง 550 กิโลกรัมต่อวัน หลังจากนั้นสตรู ไวท์ที่ได้จะส่งไปขายที่โรงงานผลิตปุ๋ ย
(ราคา 250 ยูโร/ตัน (EUR/ton) เท่ากับ 11,250 บาท/ตัน ‟ 1 EUR เท่ากับ 45 บาท) ในกระบวนการผลิต
ปุ๋ ยจากสตรู ไวท์จะนาไปเป็ นส่วนผสมกับธาตุอาหารอื่นๆ ให้มีคุณภาพทัดเทียมกับปุ๋ ยชนิดอื่นๆ ที่ขาย
อยูใ่ นท้องตลาด ซึ่งปุ๋ ยจากสตรู ไวท์ที่ได้นิยมนาไปปลูกข้าว พืชผัก ไม้ดอก ไม้ประดับ และไม้ยนื ต้น
เป็ นต้น ซึ่งจากการศึกษาในประเทศญี่ปนปุ๋ ุ่ ย MAP จะได้ผลผลิตดีกบั การปลูกข้าว รู ปที่ 8-12 แสดง
ตัวอย่างของปุ๋ ยที่จาหน่ายทางการค้าที่มีส่วนผสมของสตรูไวท์

ที่มา: Ueno and Fujii, 2001)

รูปที่ 8-12 ปุ๋ ยที่จาหน่ายทางการค้าที่มีส่วนผสมของสตรู ไวท์ในประเทศญี่ปุ่น

8.1.6 ประโยชน์ ขอตะกอนผลึกแมกนีเซียม แอมโนเนียม ฟอสเฟต (MAP) ต่อภาคการเกษตร และ


สิ่งแวดล้อม
เนื่องจากการกาจัดฟอสฟอรัสในน้ าเสียด้วยวิธีการตกตะกอนผลึก MAP เป็ นการลดปริ มาณ
ของฟอสฟอรัสในน้ าทิ้งที่ปล่อยลงสู่แหล่งน้ าธรรมชาติ ซึ่งจะมีประโยชน์ต่อภาคการเกษตร และ
สิ่งแวดล้อมดังนี้
- เป็ นการกาจัดฟอสฟอรัส และไนโตรเจนในน้ าเสียในขั้นตอนเดียว
- ลดปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการปล่อยน้ าทิ้งที่มปี ริ มาณสารอาหารที่เหมาะต่อการเจริ ญเติบโต
ของพืชทาให้เกิดการปนเปื้ อนสู่แหล่งน้ าผิวดิน และแหล่งน้ าใต้ดิน และยังเป็ นการช่วยการ
ลดการเกิดปรากฏการณ์ “ยูโทรฟิ เคชัน” (Eutrophication) ที่ส่งผลเสียต่อระบบนิเวศทางน้ า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-15


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

- คุณภาพน้ าทิ้งที่ได้มคี ่าผ่านหรื อใกล้เคียงกับเกณฑ์มาตรฐานน้ าทิ้ง เนื่องจากมีการบาบัด


ฟอสฟอรัส และไนโตรเจน ก่อนทิ้งลงสู่แหล่งน้ าธรรมชาติ สามารถนาไปใช้ได้โดยตรงกับ
การเพาะปลูก และการเกษตร เนื่องจากมีปริ มาณของธาตุฟอสฟอรัสที่ไม่มากเกินไปต่อ
ความต้องการของพืช

ประโยชน์ ของMAPในรูปของปุ๋ ยทางการเกษตร


จากรายงานการศึกษาพบว่าผลึก MAP มีศกั ยภาพที่จะนาไปใช้เป็ นปุ๋ ยทางการเกษตร แต่
อย่างไรก็ดียงั ไม่ได้มีการนาไปผลิตทางการเพียงจานวนน้อย ซึ่ งในบางบริ ษทั อาจใช้ชื่อของสตรู ไวท์ว่า
“MAP” เพื่อป้ องกันการสับสนระหว่างปุ๋ ย Mono-ammonium phosphate โดยแนวทางการนาไปใช้
ได้แก่
- การนาสตรู ไวท์ไปใช้เป็ นปุ๋ ย (Slow-release fertilizer) (Munch and Barr, 2001) ที่
สามารถใส่ได้ในปริ มาณมากในครั้งเดียว (Single high dose) โดยไม่เป็ นอันตรายต่อพืช
ซึ่งพืชที่ได้เหมาะสมได้แก่ พืชยืนต้นอายุยาว พืชดอก ไม้ประดับ นาข้าว
- สตรู ไวท์สามารถนาไปผสมกับสารประกอบฟอสเฟตที่ละลายน้ าได้ดี (เช่น Phosphoric
acid, HPO4) เพื่อนาไปใช้ในการปลูกพืชหรื อไม้กระถาง
- สตรู ไวท์สามารถนาไปทดแทนปุ๋ ยแอมโมเนียฟอสเฟต (Diammonium phosphate,
(NH4)2HPO4)) ที่ผลิตจากการใช้สารเคมีสองชนิดคือ กรดฟอสฟอริ ก (Phosphoric acid,
HPO4) และแอมโมเนีย (Ammonia, NH4)
- การผลิตปุ๋ ย โดยใช้สตรู ไวท์ (MgNH4PO4„6H2O) ผสมกับกรดฟอสฟอริ ก (HPO4-) จะ
ทาให้ได้ปุ๋ยละลายช้า (Slow-release fertilizer: di-magnesium phosphate, MgHPO4)
และปุ๋ ยละลายเร็ ว (Fast-release fertilizer: di-ammonium phosphate, (NH4)2HPO4) ซึ่ง
วิธีการนี้เป็ นวิธีการที่คุม้ ค่า (Cost-effective) เมื่อเทียบกับการผลิตแบบเก่า
- สตรู ไวท์ที่ไม่ได้ผ่านการทาให้บริ สุทธิ์ (Untreated granular struvite) สามารถนาไป
ผสมกับถ่าน (Peat) เพื่อใช้เป็ นวัสดุทางการเกษตร
- แมกนี เ ซี ยมในสตรู ไ วท์ (MgCl26H2O) เป็ นธาตุ อ าหารรองที่ มี ประโยชน์ ต่ อ พื ช
จาพวกตระกูลหัวใต้ดิน เช่น Sugar beet และข้าว เป็ นต้น

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-16


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

8.2 การศึกษาทดลองในห้ องปฏิบัตกิ าร การผลิตปุ๋ ยละลายช้ า MAP (Magnesium ammonium


phosphate หรือ Struvite)

8.2.1 วิธีการทดลองในห้ องปฏิบัตกิ าร

น้ าทิ้งที่ผา่ นระบบบาบัดน้ าเสียแบบผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มสุกร มักมีแร่ ธาตุละลายปนอยูท่ ้งั


ในรู ปสารประกอบอินทรี ย ์ (Organic compounds) สารประกอบอนินทรี ย ์ (Inorganic compounds) หรื อ
ละลายอยูใ่ นรู ปของไอออนบวก (Cation) และไอออนลบ (Anion) โดยแร่ ธาตุที่อยูใ่ นสารประกอบ มี
ดังนี้ สารประกอบแอมโมเนียม (Ammonium, NH4+) สารประกอบฟอสเฟต (Phosphate, PO43-)
สารประกอบคาร์บอเนต (Carbonate, CO32- ) และสารประกอบซัลเฟต (Sulfate, SO43-) เป็ นต้น ส่วนแร่
ธาตุที่ละลายอยูใ่ นรู ปของไอออนอิสระในน้ า มีดงั นี้ สารละลายโปแตสเซียม (Potassium, K+)
แมกนีเซียม (Magnesium, Mg2+) แคลเซียม (Calcium, Ca2+) โซเดียม (Sodium, Na+) และอื่นๆ เป็ นต้น
ดังนั้นหากมีการปรับค่าความเป็ นกรด และด่าง (pH) ของน้ าเพิ่มสูงขึ้น (pH > 7.5) ไอออนของ
แมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต ที่ละลายอยูใ่ นน้ ามีแนวโน้มที่จะจับตัวกัน เกิดเป็ นตะกอนผลึก และ
ตกตะกอนลงมา (Crystallization) เช่น ได้ผลึกของ แมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต (Magnesium
ammonium phosphate, MAP) หรื อสตรู ไวท์ (Struvite) ซึ่งมีสูตรทางเคมี คือ (MgNH4PO4„6H2O) ดัง
สมการ

Mg2+ + NH4+ + PO43- + 6H2O  MgNH4PO4„6H2O

ทั้งนี้ผลึกของแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต (Magnesium ammonium phosphate, MAP)


ถือเป็ นปุ๋ ยละลายช้า (Slow-release fertilizer) ประเภทหนึ่ง นิยมนาไปปลูก ข้าว พืชผัก ไม้ดอก
ไม้ประดับ และไม้ยนื ต้น เป็ นต้น

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-17


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

-MgCl26H2O
adjust pH by adding NaOH
- NH4H2PO4

pH = 7.5,8,9,10

Solution
analysis
-pH
-TKN
-PO43- or TP
-Alkalinity
-COD
-Metal & ions,
Mg2+, Ca2+

Solid
analysis
-XRD
-SEM &EDS

รูปที่ 8-13 แนวทางการทดลองการตกตะกอนผลึก MAP จากน้ าทิ้งฯ ฟาร์มสุกร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-18


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

การทดลองที่ 1 : การทดลองการตกผลึก MAP จากในนา้ เสียสังเคราะห์

วัตถุประสงค์
เพื่ อ ศึ ก ษาสภาวะที่ เ หมาะต่ อ การตกผลึ ก ปุ๋ ยละลายช้า MAP (Magnesium Ammonium
Phosphate : MAP (MgNH4PO46H2O)) ในน้ าเสียสังเคราะห์ (Synthesis wastewater)

เครื่องมือวิเคราะห์ และอุปกรณ์ต่างๆ
1) เครื่ องวัดความเป็ นกรดและด่าง (pH meter)
2) เครื่ องมือวิเคราะห์โครงสร้างผลึกด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ (X-ray Diffraction,
XRD)
3) เครื่ องมือถ่ายภาพขนาดไมโครเมตรโดยใช้กล้องจุลทรรศน์กาลังขยายสูง (Scanning Electron
Microscope, SEM)
4) UV spectrophotometer
5) เครื่ องกวนสารผสม (Magnetic stirrer)
6) ปั๊มดูดสุญญากาศ (Vacuum pump)
7) ชุดกรองแยกสาร
8) ตูอ้ บความร้อน (Oven)
9) เครื่ องชัง่ 4 ตาแหน่ง

วัสดุและสารเคมี
1) Magnesium chloride (MgCl26H2O) (ACS grade)
2) Ammonium di-hydrogen phosphate (NH4H2PO4) (ACS grade)
3) Sodium hydroxide (NaOH)
4) Nitric acid (HNO3)
5) กระดาษกรองใยแก้ว
6) อุปกรณ์เครื่ องแก้วอื่นๆ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-19


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

วิธีการทดลอง
1) เตรียมสารละลายแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต ในอัตราส่ วนโมล 1:1:1 (Molar ratio of
Mg: NH4 :PO4) ‟ เพือ่ สังเคราะห์ ผลึกสตูรไวท์บริสุทธิ์
ชัง่ น้ าหนักสาร Magnesium chloride (MgCl26H2O) และสาร Ammonium di-
hydrogen phosphate (NH4H2PO4) ให้มีสดั ส่วนโมลของแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต
เท่ากับ 1:1:1 จากนั้น ละลายสารผสมในน้ าบริ สุทธิ์คุณภาพสูง 18 เมกะโอมห์ (M) ปริ มาตร
สุทธิเท่ากับ 1 ลิตร ในขั้นตอนการผสมสารใช้เครื่ องกวนสารผสม (Magnetic stirrer) กวนให้
สารผสมละลายเข้าด้วยกัน ใช้เวลาประมาณ 10 นาที เพื่อให้ได้สารละลายผสมของแมกนีเซียม-
แอมโมเนียม-ฟอสเฟต
2) เตรียมสารละลายแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต ในอัตราส่ วนโมล 2:1:1 (Molar ratio of
Mg: NH4 :PO4)
ชัง่ น้ าหนักสาร Magnesium chloride (MgCl26H2O) และสาร Ammonium di-
hydrogen phosphate (NH4H2PO4) ให้มีสดั ส่วนโมลของแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต
เท่ากับ 2:1:1 จากนั้น ละลายสารผสมในน้ าบริ สุทธิ์คุณภาพสูง 18 เมกะโอมห์ ปริ มาตรสุทธิ
เท่ากับ 1 ลิตร ในขั้นตอนการผสมสารใช้เครื่ องกวนสารผสม (Magnetic stirrer) กวนให้สาร
ผสมละลายเข้าด้วยกัน ใช้เวลาประมาณ 10 นาที เพื่อให้ได้สารละลายผสมของแมกนีเซียม-
แอมโมเนียม-ฟอสเฟต
3) การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการตกตะกอนตะกอนผลึก MAP (MgNH4PO46H2O)
นาสารละลายผสมของแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต ระหว่างอัตราส่วนโมล 1:1:1
และ 2:1:1 ของแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต ที่ได้ไปทดสอบสภาวะที่เหมาะสมในการ
เกิดตะกอนผลึก MAP
นาสารละลายผสมที่ได้ไปทดสอบสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดตะกอนผลึก MAP
โดยทาการปรับค่าความเป็ นกรด และด่าง (pH) ของน้ าตัวอย่าง ให้มีค่า pH ในสารละลาย
เท่ากับ 7.5 (พีเอชของน้ าเสียจริ ง), 8.0, 9.0 และ 10.0 ตามลาดับ โดยใช้กรดไนตริ ก (HNO3)
และสารลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และนาสารละลายผสมไปทดสอบสภาวะในการเกิด
ตะกอนผลึก MAP ในสภาวะที่ไม่มีการปรับค่าความเป็ นกรดเป็ นด่าง ทั้งนี้ควบคุมสภาวะอื่นๆ
ในการทดลองให้คงที่ โดยทาการทดลองที่อุณหภูมิหอ้ ง (252 ซ) หลังจากปรับสารละลาย
ผสมให้มีค่าความเป็ นกรด และด่าง ที่ค่า pH ต่างๆ แล้ว นาสารลายผสมไปเข้าเครื่ องกวนผสม
สารละลาย เพื่อทาการผสมสารละลายให้เข้าเป็ นเนื้อเดียวกัน ใช้ระยะเวลาในการกวนผสมสารผสม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-20


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ประมาณ 15 นาที จากนั้นหยุดการกวนผสมสารละลายผสม โดยทาการพักสารผสมทิ้งไว้


ประมาณ 48 ชัว่ โมง เพื่อให้ปฏิกิริยาการเกิดตะกอนผลึกเข้าสู่สภาวะสมดุล (Equilibrium time)
นาสารละลายผสมของแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต ที่อตั ราส่วนโมลที่แตกต่างกัน
และที่ค่า pH ต่างๆ มาแยกส่วนที่เป็ นของแข็ง และส่วนที่เป็ นสารละลายออกจากกัน โดยใช้ชุด
กรองแยกสาร ซึ่งในส่วนของของแข็ง จะนามาวิเคราะห์หาปริ มาณตะกอนผลึก MAP ที่เกิดขึ้น
และศึกษาโครงสร้างผลึก MAP โดยเครื่ องมือ Scanning Electron Microscope (SEM) และ
ศึกษาองค์ประกอบของผลึก MAP โดยใช้เครื่ องมือวิเคราะห์ X-ray Diffraction เป็ นต้น ส่วนที่
เป็ นสารละลาย จะนามาวิเคราะห์หาปริ มาณความเข้มข้นของ แมกนีเซียม (Mg2+), ไนโตรเจน
ในรู ปของ TKN ฟอสเฟต ในรู ปของ (PO43- as P) ที่ไม่เกิดเป็ นตะกอนผลึก MAP โดยใช้
เครื่ องมือวิเคราะห์หาปริ มาณโลหะ (AAS) และวัดค่าความเป็ นด่างของน้ า (Alkalinity)

ผลที่คาดว่าจะได้ รับ
1) ได้ลกั ษณะของโครงสร้างและองค์ประกอบของผลึก MAP (MgNH4PO46H2O)
2) ได้ปริ มาณการเกิดตะกอนผลึก MAP (จากการคานวณน้ าหนักผลึกที่เกิดขึ้นในน้ าเสีย
สังเคราะห์)
3) ได้สภาวะที่เหมาะสมในการเกิดผลึก MAP เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการ
ตกตะกอนผลึก MAP ของน้ าในบ่อพักจากระบบก๊าซชีวภาพของฟาร์มสุกร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-21


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

แผนผังการทดลอง
1) เตรียมสารละลายแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต ในอัตราส่ วนโมล 1:1:1 (Molar
ratio of Mg: NH4 :PO4)

ชัง่ สาร MgCl26H2O และ NH4H2PO4 ให้มีอตั ราส่วน Mg : NH4+ : PO43- เท่ากับ 1:1:1
ละลายในน้ ากลัน่ บริ สุทธิ์ และปรับปริ มาตรสุทธิเป็ น 1 ลิตร

ปรับ pH ของสารละลายผสม (NaOH)

กวนสารละลายผสมให้เข้ากัน (15 นาที)


*

ตั้งพักสารละลายผสมทิ้งไว้ให้เกิดตะกอนผลึก MAP
ใช้เวลาปริ มาณ 48 ชัว่ โมง

แยกส่วนของแข็งและส่วนที่เป็ นสารสารละลาย

ส่วนของแข็ง (ตะกอนผลึก MAP) สารละลาย

- วิเคราะห์องค์ประกอบของตะกอน - วิเคราะห์หาปริ มาณของ TKN,


ผลึก MAP (SEM, XRD) PO43- , COD และ Alkalinity ที่
- วิเคราะห์ปริ มาณตะกอนผลึก เหลืออยูใ่ นสารละลาย
MAP ที่เกิดขึ้น

* ปรับ pH ของสารละลายเป็ น pH = 7.5 (น้ าเสียจริ ง), 8.0 , 9.0 และ 10.0 และทาการทดลองตามแผนผังการทดลองซ้ า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-22


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

2. เตรียมสารละลายแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต ในอัตราส่ วนโมล 2:1:1 (Molar ratio


of Mg: NH4 :PO4)

ชัง่ สาร MgCl26H2O และ NH4H2PO4 ให้มีอตั ราส่วน Mg : NH4+ : PO43- เท่ากับ 2:1:1
ละลายในน้ ากลัน่ บริ สุทธิ์ และปรับปริ มาตรสุทธิเป็ น 1 ลิตร

ปรับ pH ของสารละลายผสม (NaOH)

กวนสารละลายผสมให้เข้ากัน (15 นาที)


*

ตั้งพักสารละลายผสมทิ้งไว้ให้เกิดตะกอนผลึก MAP
ใช้เวลาปริ มาณ 48 ชัว่ โมง

แยกส่วนของแข็งและส่วนที่เป็ นสารสารละลาย

ส่วนของแข็ง (ตะกอนผลึก MAP) สารละลาย

- วิเคราะห์องค์ประกอบของตะกอน - วิเคราะห์หาปริ มาณของ Mg2+,


ผลึก MAP (SEM, XRD) TKN, PO43- , COD และ
- วิเคราะห์ปริ มาณตะกอนผลึก Alkalinity ที่เหลืออยูใ่ น
MAP ที่เกิดขึ้น สารละลาย

* ปรับ pH ของสารละลายเป็ น pH = 7.5 (น้ าเสียจริ ง), 8.0 , 9.0 และ 10.0 และทาการทดลองตามแผนผังการทดลอง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-23


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ผลการทดลอง
1. โครงสร้างผลึกและองค์ประกอบของผลึก MAP
2. ปริ มาณของผลึก MAP ที่ผลิตได้ โดยการเปรี ยบเทียบน้ าหนักที่สภาวะต่างๆ ของอัตราส่วนโมล
และค่าความเป็ นกรดและด่าง ที่แตกต่างกัน
3. สภาวะที่เหมาะสมสาหรับการผลิตปุ๋ ยละลายช้า MAP

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-24


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

การทดลองที่ 2 : การทดลองตกผลึก MAP จากนา้ ทิง้ ที่ผ่านระบบบัดนา้ เสียแบบผลิตก๊าซ


ชีวภาพของฟาร์ มสุ กร

วัตถุประสงค์
1) เพื่อศึกษาคุณภาพน้ าทิ้งสุดท้ายของฟาร์มสุกร
2) เพือ่ ศึกษาหาสภาวะ และปริ มาณสารเคมีที่เหมาะสมในการเติมลงในน้ าทิ้งสุดท้ายของ
ฟาร์มสุกร เพื่อให้เกิดการตกตะกอนผลึก MAP (Magnesium Ammonium Phosphate :
MAP (MgNH4PO46H2O))
3) เพื่อเปรี ยบเทียบองค์ประกอบ และปริ มาณของตะกอนผลึก MAP ระหว่างการใช้น้ าเสีย
สังเคราะห์ (Synthetic wastewater) และน้ าทิ้งจากระบบบาบัดน้ าเสียแบบผลิตก๊าซชีวภาพ
ของฟาร์มสุกร (Finally wastewater pond of pig farm)

เครื่องมือวิเคราะห์ และอุปกรณ์ต่างๆ
1) เครื่ องวัดความเป็ นกรด และด่าง (pH meter)
2) เครื่ องมือวิเคราะห์โครงสร้างผลึกด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ (X-ray Diffraction)
3) เครื่ องมื อถ่า ยภาพขนาดไมโครเมตรโดยใช้ก ล้องจุ ลทรรศน์ ก าลังขยายสู ง ( Scanning
Electron Microscope)
4) เครื่ องมือวิเคราะห์หาปริ มาณโลหะ (Atomic absorption spectroscopy, AAS)
5) UV spectrophotometer
6) เครื่ องกวนสารผสม (Magnetic stirrer)
7) ชุดกรองแยกสาร
8) ตูอ้ บความร้อน (Oven)
9) อุปกรณ์เก็บตัวอย่างน้ า (Grab Sampling)
10) เครื่ องชัง่ 4 ตาแหน่ง
วัสดุและสารเคมี
1) Magnesium chloride (MgCl26H2O) (ACS grade) – Mg2+ Source
2) Ammonium di-hydrogen phosphate (Na2HPO4) (ACS grade) ‟ PO43-Source
3) Sodium hydroxide (NaOH) ‟ pH
4) Nitric acid (HNO3) ‟ pH
5) กระดาษกรองใยแก้ว
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-25
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

วิธีการทดลอง
1) ศึกษาคุณภาพนา้ ในบ่อพักนา้ ทิง้ สุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร
ทาการเก็บตัวอย่างน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าทิ้งสุดท้ายของฟาร์มสุกร มาวิเคราะห์หาคุณภาพของ
น้ าทิ้งฯ โดยทาการศึกษาพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
(1) ความเป็ นกรดและด่าง (pH)
(2) บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand, BOD)
(3) ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD)
(4) ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในน้ า (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN)
(5) ปริ มาณสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Solid Suspension, TSS)
(6) ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity)
(7) ปริ มาณของฟอสเฟตที่ละลายอยูใ่ นน้ า (Solubility phosphate, PO43-)
(8) ปริ มาณของฟอสเฟตทั้งหมด (Total phosphate as P)
(9) ปริ มาณของแมกนีเซียม (Mg2+)

2) ศึกษาหาสภาวะและปริมาณสารเคมีทเี่ หมาะสมในการเติมลงในนา้ ทิง้ สุ ดท้ ายของฟาร์ ม


สุ กร เพือ่ ให้ เกิดการตกตะกอนผลึก MAP
จากการที่ได้ศกึ ษาคุณภาพน้ าทิ้งฯ ในการทดลองขั้นต้นแล้ว จะทราบได้ว่ามีปริ มาณของ
Mg2+ และ PO43- และไนโตรเจนรวมละลายอยูใ่ นน้ าทิ้งฯ ในปริ มาณเท่าใด ดังนั้นในการทดลองในส่วนนี้
จะทาการเติมสารเคมีในสัดส่วนที่เหมาะสมลงในน้ าทิ้งฯ เพื่อทาให้เกิดการตกตะกอนผลึก MAP โดยทา
การปรับอัตราส่วนโมลของ “สารละลายแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต ในน้ าทิ้งฯ” ในอัตราส่วน
Mg : PO4 เท่ากับ 1:0 (ไม่มีการเติมฟอสเฟต) , 1:1 และ 2:1 ตามลาดับ และวิเคราะห์เปรี ยบเทียบผล
ระหว่างปริ มาณการเกิดตะกอนผลึก MAP เมื่อมีการปรับอัตราส่วนโมลของ Mg : PO4 ที่แตกต่างกัน

2.1) การปรับอัตราส่ วนโมลของ “สารละลายแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต” ในนา้ ทิง้


บ่ อสุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร ให้ มอี ตั ราส่ วนโมลระหว่าง แมกนีเซียม ต่อ ฟอสเฟต เท่ ากับ
1:0 (Molar ratio of Mg : PO4)
หลังจากได้ทราบปริ มาณฟอสเฟตที่มีอยูใ่ นน้ าทิ้งบ่อสุดท้ายของฟาร์มสุกรแล้ว
(จากการศึกษาคุณภาพน้ าของน้ าทิ้งบ่อสุดท้ายของฟาร์มสุกร) จะทาการเติมสารเคมี
Magnesium chloride (MgCl26H2O) ในตัวอย่างน้ าทิ้งบ่อสุดท้ายฯ โดยคานวณให้มี

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-26


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

อัตราส่วนโมลของ แมกนีเซียม ต่อ ฟอสเฟต ในน้ าทิ้งฯ เท่ากับ 1:0 (โดยไม่ทาการเติม


สารประกอบฟอสเฟต)
และนาน้ าตัวอย่างที่ได้ไปทดสอบสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดตะกอนผลึก MAP
โดยทาการปรับค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ าตัวอย่างให้มีค่า pH ใน
สารละลายเท่ากับ ไม่ปรับค่าพีเอช, 8.0, 9.0 และ 10.0 ตามลาดับ โดยใช้กรดไนตริ ก
(HNO3) และสารลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และนาน้ าตัวอย่างทดสอบสภาวะ
ในการเกิดตะกอนผลึก MAP ในสภาวะที่ไม่มกี ารปรับค่าความเป็ นกรดเป็ นด่าง ทั้งนี้
ควบคุมสภาวะอื่นๆ ในการทดลองให้คงที่ โดยทาการทดลองที่อุณหภูมิหอ้ ง (252 ซ)
หลังจากปรับน้ าตัวอย่างให้มีค่าความเป็ นกรดและด่าง ที่ค่า pH ต่างๆ แล้วนาน้ าตัวอย่าง
ไปเข้าเครื่ องกวนผสมสารละลาย เพื่อทาการผสมสารละลายให้เข้ากับน้ าตัวอย่าง
เป็ นเนื้อเดียวกัน ใช้ระยะเวลาในการกวนผสมสารผสม ประมาณ 15 นาที จากนั้นหยุด
การกวนผสมสารละลายผสม โดยทาการพักสารผสมทิ้งไว้ประมาณ 48 ชัว่ โมง เพื่อให้
ปฏิกิริยาการเกิดตะกอนผลึกเข้าสู่สภาวะสมดุล (Equilibrium Time)

2.2) การปรับอัตราส่ วนโมลของ “สารละลายแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต” ในนา้ ทิง้


บ่ อสุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร ให้ มอี ตั ราส่ วนโมลระหว่าง แมกนีเซียม ต่อ ฟอสเฟต เท่ ากับ
1:1 (Molar ratio of Mg : PO4)
หลังจากได้ทราบปริ มาณฟอสเฟตที่มีอยูใ่ นน้ าทิ้งบ่อสุดท้ายของฟาร์มสุกรแล้ว
(จากการศึกษาคุณภาพน้ าของน้ าทิ้งบ่อสุดท้ายของฟาร์มสุกร) จะทาการเติมสารเคมี
Magnesium chloride (MgCl26H2O) และ di-Sodium hydrogen phosphate (Na2H2PO4)
ในตัวอย่างน้ าทิ้งบ่อสุดท้ายฯ โดยคานวณให้มีอตั ราส่วนโมลของแมกนีเซียมต่อฟอสเฟต
ในน้ าทิ้งฯ เท่ากับ 1:1
และนาน้ าตัวอย่างที่ได้ไปทดสอบสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดตะกอนผลึก
MAP โดยทาการปรับค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ าตัวอย่าง ให้มีค่า pH ใน
สารละลาย เท่ากับ ไม่ปรับค่าพีเอช, 8.0, 9.0 และ 10.0 ตามลาดับ โดยใช้กรดไนตริ ก
(HNO3) และสารลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และนาน้ าตัวอย่างทดสอบสภาวะ
ในการเกิ ด ตะกอนผลึก MAP ในสภาวะที่ ไม่มีก ารปรั บค่ าความเป็ นกรดเป็ นด่ าง
หลังจากปรับน้ าตัว อย่างให้มีค่ าความเป็ นกรด และด่ างที่ ค่ า pH ต่างๆ แล้ว น าน้ า
ตัว อย่างไปเข้าเครื่ องกวนผสมสารละลาย เพื่อทาการผสมสารละลายให้เข้ากับน้ า
ตัว อย่างเป็ นเนื้ อเดี ยวกัน ใช้ร ะยะเวลาในการกวนผสมสารผสม ประมาณ 15 นาที

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-27


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

จากนั้นหยุดการกวนผสมสารละลายผสม โดยทาการพักสารผสมทิ้งไว้ประมาณ 48
ชัว่ โมง เพื่อให้ปฏิกิริยาการเกิดตะกอนผลึกเข้าสู่สภาวะสมดุล (Equilibrium Time)

2.3) การปรับอัตราส่ วนโมลของ “สารละลายแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต” ในนา้ ทิง้


บ่ อสุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร ให้ มอี ตั ราส่ วนโมลระหว่าง แมกนีเซียม ต่อ ฟอสเฟต เท่ ากับ
2:1 (Molar ratio of Mg : PO4)
หลังจากได้ทราบปริ มาณฟอสเฟตที่มีอยู่ในน้ าทิ้งบ่อสุ ดท้ายของฟาร์ มสุ กรแล้ว
(จากการศึกษาคุณภาพน้ าของน้ าทิ้ งบ่อสุ ดท้ายของฟาร์ มสุ กร) จะทาการเติมสารเคมี
เติมสารเคมี Magnesium chloride (MgCl26H2O) และ di-Sodium hydrogen phosphate
(Na2H2PO4) ในตัว อย่ า งน้ าทิ้ ง บ่ อ สุ ด ท้า ยฯ โดยค านวณให้มี อ ัต ราส่ ว นโมลของ
แมกนีเซียมต่อฟอสเฟต ในน้ าทิ้งฯ เท่ากับ 2:1
และนาน้ าตัวอย่างที่ได้ไปทดสอบสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดตะกอนผลึก MAP
โดยท าการปรั บค่ า ความเป็ นกรดและด่ า ง (pH) ของน้ าตัว อย่า งให้มี ค่ า pH ใน
สารละลาย เท่ากับ ไม่ปรับค่าพีเอช, 8.0, 9.0 และ 10.0 ตามลาดับ โดยใช้กรดไนตริ ก
(HNO3) และสารลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และนาน้ าตัวอย่างทดสอบสภาวะ
ในการเกิดตะกอนผลึก MAP ในสภาวะที่ไม่มีการปรับค่าความเป็ นกรดเป็ นด่าง ทั้งนี้
ควบคุมสภาวะอื่นๆ ในการทดลองให้คงที่ โดยทาการทดลองที่อุณหภูมิห้อง (252 ซ)
หลังจากปรั บน้ าตัวอย่างให้มีค่ าความเป็ นกรดและด่ าง ที่ ค่ า pH ต่างๆ แล้ว น าน้ า
ตัว อย่างไปเข้าเครื่ องกวนผสมสารละลาย เพื่อทาการผสมสารละลายให้เข้ากับน้ า
ตัว อย่างเป็ นเนื้ อเดีย วกัน ใช้ร ะยะเวลาในการกวนผสมสารผสม ประมาณ 15 นาที
จากนั้นหยุดการกวนผสมสารละลายผสม โดยทาการพักสารผสมทิ้งไว้ประมาณ 48
ชัว่ โมง เพื่อให้ปฏิกิริยาการเกิดตะกอนผลึกเข้าสู่สภาวะสมดุล (Equilibrium Time)

หลังจากที่นาน้ าตัวอย่างไปผ่านการกวนผสมกับสารเคมีต่างๆ เพื่อให้น้ าตัวอย่างมี


อัตราส่วนโมลของ แมกนีเซียม:ฟอสเฟต เท่ากับ 1:0 , 1:1 และ 2:1 ซึ่งมีค่าความเป็ นกรด
และด่าง (pH) ต่างๆ กันนั้น ซึ่งเมื่อทาการกวนผสม และตั้งสารผสมทิ้งไว้ จะเกิดการตกผลึก
MAP ในน้ าตัวอย่าง ซึ่งสามารถมาแยกส่วนที่เป็ นของแข็ง ซึ่งก็คือ ผลึกของ MAP และตะกอน
ของสารประกอบต่างๆ ออกจากส่วนที่เป็ นสารละลายโดยใช้ชุดกรองแยกสาร ซึ่งในส่วนของ
ของแข็ง จะนามาวิเคราะห์หาปริ มาณตะกอนผลึก MAP ที่เกิดขึ้น และศึกษาโครงสร้างผลึก
MAP โดยเครื่ องมือ Scanning Electron Microscope (SEM) และศึกษาองค์ประกอบของผลึก
MAP โดยใช้เครื่ องมือวิเคราะห์ X-ray Diffraction เป็ นต้น ส่วนที่เป็ นสารละลาย จะนามา
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-28
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

วิเคราะห์หาปริ มาณความเข้มข้นของ Mg2+, TKN และ PO43- ที่ไม่เกิดเป็ นตะกอนผลึก MAP


โดยใช้เครื่ องมือวิเคราะห์หาปริ มาณโลหะ (AAS) รวมทั้ง วิเคราะห์หาปริ มาณ ซีโอดี
(Chemical Oxygen Demand, COD) และ Alkalinity ที่เหลืออยูใ่ นสาระละลาย

3) เปรียบเทียบปริมาณการเกิดตะกอนผลึก MAP (Magnesium Ammonium Phosphate :


MAP (MgNH4PO46H2O)) ระหว่างอัตราส่ วนโมลของ “สารละลายแมกนีเซียม- ฟอสเฟต”
ในนา้ ทิง้ ฯ เท่ ากับ 1:0 , 1:1 และ 2:1 (Molar ratio of Mg: PO4) ที่สภาวะ pH เท่ ากับ
ไม่ปรับ, 8.0, 9.0 และ 10.0 ตามลาดับ
เปรี ยบเทียบปริ มาณการเกิดตะกอนผลึก MAP และตะกอนของสารประกอบในรู ป
อื่นๆ ที่เกิดขึ้น เมื่อทาการเติมสารเคมีในน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุดท้ายของฟาร์มสุกร ที่สภาวะ
อัตราส่วนโมลของ Mg: PO4 เท่ากับ 1:0 , 1:1 และ 2:1 และที่ค่าความเป็ นกรดและด่างในน้ าทิ้งฯ
(pH) เท่ากับ ไม่ปรับ 8.0, 9.0 และ 10.0 ตามลาดับ

4) ศึกษาองค์ประกอบและปริมาณของตะกอนผลึก MAP ระหว่างการเกิดผลึก MAP ในนา้ เสีย


สังเคราะห์ (Synthetic wastewater) และการเกิดผลึก MAP ในนา้ ทิง้ ฯของฟาร์ มสุ กร

ผลที่คาดว่าจะได้ รับ
1. ได้สภาวะ และปริ มาณสารเคมีที่เหมาะสมสาหรับเติมลงไปในน้ าทิ้งฯ ฟาร์มสุกร เพื่อทาให้
เกิดตะกอนผลึก MAP (MgNH4PO46H2O)
2. สามารถคานวณปริ มาณตะกอนผลึก MAP ที่เกิดขึ้นจากตะกอนในน้ าทิ้งฯ ทั้งหมด เพื่อนา
ข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการทาเป็ นปุ๋ ยเม็ดสาหรับใช้เพื่อการเกษตรกรรมต่อไป

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-29


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

แผนผังการทดลอง
1) ศึกษาคุณภาพนา้ ในบ่อพักนา้ ทิง้ สุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร และศึกษาหาสภาวะและปริมาณสารเคมี
ที่เหมาะสมในการเติมลงในนา้ ทิง้ สุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร เพือ่ ให้เกิดการตกตะกอนผลึก MAP
โดยปรับให้ มอี ตั ราส่ วนโมลระหว่าง แมกนีเซียม ต่อ ฟอสเฟต เท่ ากับ 1:0
วิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายของฟาร์ มสุ กร
โดยวิเคราะห์หาค่า pH, BOD, COD, TKN, TSS, Alkalinity, PO43-, Ca2+และ Mg2+

ปรับอัตราส่ วนโมลของ Mg: PO4 ในน้ าทิ้งฯ ให้มีอตั ราส่ วน 1:0 หรื อไม่เติม
สารประกอบฟอสเฟต

ปรับ pH ของสารละลายผสม (NaOH)

กวนสารละลายผสมให้เข้ากัน (15 min)


*

ตั้งพักสารละลายผสมทิ้งไว้ให้เกิดตะกอนผลึก MAP
ใช้เวลาปริ มาณ 48 ชัว่ โมง

แยกส่ วนของแข็งและส่ วนที่เป็ นสารสารละลาย

ส่ วนของแข็ง (ตะกอนผลึก MAP และสารประกอบอื่น) สารละลาย

- วิเคราะห์องค์ประกอบของตะกอนผลึก - วิเคราะห์หาปริ มาณของ TKN, PO43- ,


MAP และตะกอนสารประกอบอื่น COD และ Alkalinity ที่เหลืออยูใ่ น
- วิเคราะห์ปริ มาณตะกอนผลึกMAP ที่ สารละลาย
เกิดขึ้น - วัดค่า pH ของสารละลาย

* ปรับ pH ของสารละลายเป็ น pH = ไม่ปรับ, 8.0 , 9.0 และ 10.0 และทาการทดลองตามแผนผัง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-30


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

แผนผังการทดลอง
2) ศึกษาคุณภาพนา้ ในบ่อพักนา้ ทิง้ สุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร และศึกษาหาสภาวะและปริมาณสารเคมี
ที่เหมาะสมในการเติมลงในนา้ ทิง้ สุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร เพือ่ ให้เกิดการตกตะกอนผลึก MAP
โดยปรับให้ มอี ตั ราส่ วนโมลระหว่าง แมกนีเซียม ต่อ ฟอสเฟต เท่ ากับ 1:1
วิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายของฟาร์ มสุ กร
โดยวิเคราะห์หาค่า pH, BOD, COD, TKN, TSS, Alkalinity, PO43-, Ca2+และ Mg2+

ปรับอัตราส่ วนโมลของ Mg: PO4 ในน้ าทิ้งฯ ให้มีอตั ราส่ วน 1:1 โดยเติมสารเคมี
MgCl26H2O และ Na2HPO4

ปรับ pH ของสารละลายผสม (NaOH)

กวนสารละลายผสมให้เข้ากัน (15 min)


*

ตั้งพักสารละลายผสมทิ้งไว้ให้เกิดตะกอนผลึก MAP
ใช้เวลาปริ มาณ 48 ชัว่ โมง

แยกส่ วนของแข็งและส่ วนที่เป็ นสารสารละลาย

ส่ วนของแข็ง (ตะกอนผลึก MAP และสารประกอบอื่น) สารละลาย

- วิเคราะห์องค์ประกอบของตะกอนผลึก - วิเคราะห์หาปริ มาณของ TKN, PO43-,


MAP และตะกอนสารประกอบอื่น COD และ Alkalinity ที่เหลืออยูใ่ น
- วิเคราะห์ปริ มาณตะกอนผลึกMAP ที่ สารละลาย
เกิดขึ้น - วัดค่า pH ของสารละลาย

* ปรับ pH ของสารละลายเป็ น pH = ไม่ปรับ, 8 , 9 และ 10 และทาการทดลองตามแผนผังการทดลองซ้ า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-31


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

แผนผังการทดลอง
3) ศึกษาคุณภาพนา้ ในบ่อพักนา้ ทิง้ สุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร และศึกษาหาสภาวะ และปริมาณ
สารเคมีที่เหมาะสมในการเติมลงในนา้ ทิง้ สุดท้ ายของฟาร์ มสุ กร เพือ่ ให้เกิดการตกตะกอนผลึก
MAP โดยปรับให้ มอี ตั ราส่ วนโมลระหว่าง แมกนีเซียม ต่อ ฟอสเฟต เท่ ากับ 2:1
วิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้งในบ่อพักน้ าสุ ดท้ายของฟาร์ มสุ กร
โดยวิเคราะห์หาค่า pH, BOD, COD, TKN, TSS, Alkalinity, PO43-, Ca2+และ Mg2+

ปรับอัตราส่ วนโมลของ Mg: PO4 ในน้ าทิง้ ฯ ให้มีอตั ราส่ วน 2:1 โดยเติมสารเคมี
MgCl26H2O และ NaH2PO4

ปรับ pH ของสารละลายผสม (NaOH)

กวนสารละลายผสมให้เข้ากัน (15 min)


*

ตั้งพักสารละลายผสมทิ้งไว้ให้เกิดตะกอนผลึก MAP
ใช้เวลาปริ มาณ 48 ชัว่ โมง

แยกส่ วนของแข็งและส่ วนที่เป็ นสารสารละลาย

ส่ วนของแข็ง (ตะกอนผลึก MAP และสารประกอบอื่น) สารละลาย

- วิเคราะห์องค์ประกอบของตะกอนผลึก - วิเคราะห์หาปริ มาณของ TKN, PO43-,


MAP และตะกอนสารประกอบอื่น COD, Alkalinity และ Ca2+ ที่เหลืออยู่
- วิเคราะห์ปริ มาณตะกอนผลึกMAP ที่ ในสารละลาย
เกิดขึ้น - วัดค่า pH ของสารละลาย

*ปรับ pH ของสารละลายเป็ น pH = ไม่ปรับพีเอช, 8.0 , 9.0 และ 10.0 และทาการทดลองตามแผนผังการทดลองซ้ า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-32


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

8.3 ผลการศึกษาจากห้ องปฏิบัตกิ ารแนวทางการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ าหรือปุ๋ ยสตรูไวท์


(Struvite)
การศึกษาหาวิธีการและแนวทางในการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผา่ นการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ
ที่เหมาะสมและให้ประโยชน์ สูงสุ ด วิธีก ารหนึ่ งก็คื อ การน าธาตุ อาหารที่ มีประโยชน์ สาหรั บพืชซึ่ ง
ละลายอยูใ่ นน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งจากผลการวิเคราะห์คุณภาพของน้ าที่ผ่าน
ระบบบาบัดฯ พบว่า มีธาตุอาหารที่เป็ นประโยชน์ต่อพืชละลายปนอยูใ่ นน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ ในรู ปของ
ไอออนและสารประกอบต่างๆ เป็ นจ านวนมาก อาทิ ไอออนของแอมโมเนี ยม (Ammonium, NH4+)
ฟอสเฟต (Phosphate, PO43-) โปแตสเซียม (Potassium, K+) แมกนี เซียม (Magnesium, Mg2+) แคลเซียม
(Calcium, Ca2+) โซเดียม (Sodium, Na+) และธาตุอาหารอื่นๆ เป็ นต้น ทั้งนี้ หากมีการเลือกใช้สารเคมีที่
เหมาะสมเติมลงไปในน้ าที่ ผ่านการบาบัดฯ และทาให้เกิ ดการทาปฏิกิ ริย าเคมีร ะหว่างไอออนต่างๆ
ที่ละลายอยูใ่ นน้ ากับสารเคมีที่เติมลงไป จะได้สารประกอบเคมีอินทรี ยร์ ู ปแบบใหม่ที่ประกอบไปด้วย
ธาตุอาหารที่เป็ นประโยชน์ต่อพืช ดังนั้นหากมีการแยกสารประกอบเคมีอินทรี ยท์ ี่ประกอบไปด้วยธาตุ
อาหารที่เป็ นประโยชน์ต่อพืชออกจากน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ และนามาทาให้แห้งก็จะได้เป็ นผลิตภัณฑ์
ประเภทปุ๋ ยฟอสเฟต ซึ่งสามารถน าไปใช้ในการเกษตรกรรมต่อไปได้ ทั้งนี้ ปุ๋ยฟอสเฟตที่ ได้จะเป็ น
“ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด ละลายช้า” หรื อ “ปุ๋ ยแมกนี เซี ยมแอมโมเนี ยมฟอสเฟต (Magnesium Ammonium
Phosphate, MAP)” หรื อ เรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า “ปุ๋ ยสตรู ไวท์ (Struvite)”

8.3.1 ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า หรือ ปุ๋ ยสตรูไวท์ (Struvite)


ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิด ละลายช้ า หรื อ ปุ๋ ยสตรู ไ วท์ (Struvite) คือ ปุ๋ ยที่ มีผลึก ของแร่ ธาตุ 3 ชนิ ด
รวมตัวกัน คือ ธาตุ แมกนี เซียม แอมโมเนี ยม และฟอสเฟต เป็ นองค์ประกอบหลัก มีชื่อที่นิ ยมใช้ใน
ต่างประเทศ คือ “ปุ๋ ยสตรู ไวท์ (Struvite)” หรื อ เรี ยกแบบย่อๆ ว่า “ปุ๋ ย MAP” มีสูต รทางเคมี คื อ
MgNH4PO4„6H2O (Magnesium Ammonium Phosphate hexahydrate) ปฏิกิริยาทางเคมีของการเกิดปุ๋ ย
ฟอสเฟตชนิดละลายช้า แสดงในสมการที่ (1) ดังนี้

Mg2+ + NH4+ + HPO42- + 6H2O  MgNH4PO4„6H2O + H+ (1)


Ksp = [Mg2+][ NH4+][ PO43-] = 7.08 x 10-14

การผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า หรือ ปุ๋ ยสตรูไวท์ (Struvite)


ในการศึกษาและวิจยั ในระดับห้องปฏิบตั ิการ เพื่อหาขั้นตอนและวิธีการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด
ละลายช้า” หรื อ “ปุ๋ ยสตรู ไวท์” เริ่ มจากการวางแผนงานเพื่อศึกษาวิธีการทดลองที่ เหมาะสม โดยมีการ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-33


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ทดสอบขั้นตอนที่ใช้ในกระบวนการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” หรื อ “ปุ๋ ยสตรู ไวท์” ในรู ปแบบ


ต่างๆ ที่แตกต่ างกัน เพื่อหาสภาวะที่ เหมาะสมต่ อการผลิต ผลิต ภัณ ฑ์ รวมทั้งศึกษาถึงปั จจัยต่ างๆ ที่
เกี่ยวข้องต่อการผลิตผลิตภัณฑ์ ซึ่งก็คือ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า” หรื อ “ปุ๋ ยสตรู ไวท์” ทั้งนี้ เพื่อให้
สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ปุ๋ยฟอสเฟตชนิดละลายช้าที่มีคุณภาพที่เหมาะสม ต่อการนาไปประยุกต์ใช้งาน
ต่อไป
การศึกษาหาขั้นตอนและวิธีการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” ที่มีข้นั ตอนไม่ยงุ่ ยาก และ
ไม่ซบั ซ้อน เพื่อจะได้นามาจัดสร้า งอุปกรณ์ตน้ แบบ (Pilot scale) สาหรับใช้ในการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟต
ชนิ ด ละลายช้า” หรื อสาหรับการผลิต ในโรงงานต้นแบบ (Full scale) เพื่อต่อยอดการผลิต ในระดับ
อุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ ยในเชิงพาณิ ชย์ต่อไปในอนาคต

การนาน้าที่ผ่านการบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กรมาผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า” ในระดับ


ห้ องปฏิบัตกิ าร
เริ่ มจากการนาน้ าที่ ผ่านการบาบัด ฯ มาปรั บให้มีค่าพีเอส (pH) ประมาณ 7-10 โดยการเติ ม
สารเคมี คือ โซดาไฟ หรื อ สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) จากนั้นทาการเติมสารเคมี 2 ชนิ ด
คือ สารแมกนีเซียมคลอไรด์ (MgCl26H2O) และสารแอมโมเนียมได-ไฮโดรเจนฟอสเฟต (NH4H2PO4)
ในปริ มาณที่เหมาะสม และทาการกวนผสมให้สารผสมละลายเข้ากันให้เป็ นเนื้อเดียวกัน ซึ่งในขั้นตอน
กวนผสมนี้จะทาให้สารเคมีและธาตุอาหารต่างๆ ที่ละลายอยู่ในน้ าเกิดการทาปฏิกิริยาเคมีต่อกัน และ
ทาให้เกิดสารประกอบเคมีอินทรี ยใ์ นรู ปแบบใหม่ ซึ่งประกอบไปด้วยธาตุอาหารที่เป็ นประโยชน์ต่อพืช
ทั้งนี้ลกั ษณะของสารประกอบเคมีอินทรี ยท์ ี่เกิดขึ้นใหม่น้ ี จะอยู่ในรู ปของตะกอนผลึกขนาดใหญ่ และ
ตะกอนขนาดเล็ก และเมื่อทาการแยกตะกอนของสารประกอบเคมีอินทรี ยท์ ี่ประกอบ ไปด้วยธาตุอาหาร
ที่เป็ นประโยชน์ต่อพืช จากน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ โดยนามาทาให้แห้งก็จะได้ผลิตภัณฑ์ คือ ปุ๋ ยฟอสเฟต
ชนิดละลายช้า หรื อเรี ยกว่า ปุ๋ ยสตรู ไวท์ นัน่ เอง ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นนี้ สามารถนาไปใช้ในการเกษตร
กรรมต่อไปได้

8.3.2 ปัจจัยที่มผี ลต่อการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า หรือ ปุ๋ ยสตรูไวท์ (Struvite)


จากการศึ ก ษาปั จ จัย ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้อ งต่ อ การผลิ ต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด ละลายช้า ” หรื อ
“ปุ๋ ยสตรู ไวท์” ในระดับห้องปฏิบตั ิการ พบว่า การเลือกใช้ชนิ ดและปริ มาณของสารเคมีในการผลิตปุ๋ ย
ฟอสเฟตชนิ ด ละลายช้า มี ผ ลต่ อ การเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี เ ป็ นหลัก ทั้ง นี้ เพื่ อ ท าให้ไ ด้ผ ลิต ภัณ ฑ์ ข อง
“ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า” หรื อ “ปุ๋ ยสตรู ไวท์” ต้องทาการควบคุ มปั จจัยต่ างๆ ที่ มีผลต่ อการผลิต อาทิ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-34


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ค่าความเป็ นกรดและด่างของน้ า (pH) ชนิ ดและปริ มาณของสารเคมีที่ใช้ในการทาปฏิกิริยา ระยะเวลา


ที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็ นต้น
ทั้งนี้เพื่อศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการผลิต จึงได้ออกแบบวิธีการทดลองการผลิต 2 รู ปแบบ
คือ
(1) การทดลองการผลิต“ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ” ในน้ าเสี ยสังเคราะห์ หรื อ น้ าที่ เตรี ยม
ขึ้นมาในห้องปฏิบตั ิการ
(2) การทดลองการผลิต“ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า” ในน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร

ซึ่งหลังจากที่ ได้ผลการทดลองต่างๆ แล้ว จะนาผลการทดลองมาทาการวิเคราะห์ข ้อมูลเพื่อ


เปรี ยบเทียบระหว่างปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการผลิต รวมทั้งหาขั้นตอนและวิธีการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด
ละลายช้าที่มีข้ นั ตอนไม่ยุ่งยาก ไม่สลับซับซ้อน เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการต่อยอดการ
ผลิตในระดับอุตสาหกรรมต่อไป

8.3.3 ผลการทดลองการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า” หรือ “ปุ๋ ยสตรูไวท์ (Struvite)”


โดยใช้ นา้ เสียสังเคราะห์
การออกแบบวิธีการทดลองในการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ” ในน้ าเสี ย สังเคราะห์มี
ขั้นตอนต่างๆ ที่ตอ้ งทาการควบคุมสภาวะและปั จจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต เพื่อให้ผลการศึกษา
ทดลองที่ได้มีความถูกต้อง และสามารถนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ”
จากน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ จากฟาร์มสุกรได้ต่อไป
ทั้งนี้ในขั้นตอนการทดลองต้องทาการควบคุมสภาวะและปัจจัยต่างๆ ในการผลิต โดยเริ่ มจาก
การเตรี ย มน้ าเสี ย สังเคราะห์ ซึ่ งก็คื อ การน าน้ าที่มีค วามบริ สุทธิ์ สู งมาเติ มสารเคมี 2 ชนิ ด คื อ สาร
แมกนีเซียมคลอไรด์ (MgCl26H2O) และสารแอมโมเนียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต (NH4H2PO4) จากนั้นทาการ
กวนผสมสารให้ละลายเข้าด้วยกันด้วยเครื่ องกวนผสมสารเคมี ซึ่งในขั้นตอนการทดลองนั้น ได้มีการศึกษา
ถึงสภาวะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการเกิดเป็ นผลิตภัณฑ์ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” กล่าวคือ ศึกษาสภาวะ
ของปริ มาณสารเคมีที่เติมลงไป โดยคานวณเป็ นสัดส่วนโมลของแมกนีเซียมต่อฟอสเฟต (Mg:P) เท่ากับ
1:1 และทาการปรับค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ า โดยใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ซึ่ง
ค่ าความเป็ นกรดและด่ าง (pH) ของน้ าที่ ทาการศึก ษา มี 4 สภาวะ คื อ (1) สภาวะที่ ไม่มีก ารเติ ม
สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ หรื อ สภาวะที่ไม่ได้ทาการปรับค่า pH ของน้ า (2) สภาวะที่ทาการปรับ
ให้น้ ามีค่า pH เท่ากับ pH 8 (3) สภาวะที่มีการปรับให้น้ ามี pH เท่ากับ pH 9 และ (4) สภาวะที่มีการปรับ
ให้น้ ามีค่า pH เท่ากับ pH 10 โดยแสดงตารางสรุ ปผลการศึกษาปั จจัยต่างๆ ที่ใช้ในการผลิต “ปุ๋ ย
ฟอสเฟตชนิดละลายช้า” ในน้ าเสียสังเคราะห์ ดังแสดงในตารางที่ 8-2

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-35


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 8-2 ตารางสรุ ปผลการศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษาการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลาย


ช้า” หรื อ “ปุ๋ ยสตรู ไวท์” ในน้ าเสียสังเคราะห์
ปัจจัยต่างๆ ทีศ่ ึกษา รายละเอียด

1. สารเคมีที่ใช้ในการสร้างผลิต MgCl2 6H2O


“ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” หรื อ NH4H2PO46H2O
“ปุ๋ ยสตรู ไวท์”
2. สภาวะที่ศึกษา เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดผลึก

2.1 สัดส่วนโมล Mg : P 1:1

2.2 สารเคมีที่ใช้ปรับ pH NaOH

2.3 ช่วง pH ที่ทดลอง ไม่ปรับ pH, pH 8, pH 9 และ pH 10

ทั้งนี้ ผลการทดลองการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ” ในน้ าเสี ยสังเคราะห์ จะสามารถ


อธิบาย ลักษณะโครงสร้างและองค์ประกอบของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” ที่ผลิตได้ รวมทั้งสภาวะ
และปัจจัยที่เหมาะสมในการเกิดผลิตภัณฑ์ ซึ่งรายละเอียดต่างๆ มีดงั นี้

8.3.4 ลักษณะโครงสร้ างและองค์ประกอบของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า”


ผลจากการท าปฏิ กิ ริ ยาเคมีร ะหว่ า งสารเคมี 2 ชนิ ด คื อ สารละลายแมกนี เ ซี ยมคลอไรด์
(MgCl26H2O) และสารละลายแอมโมเนี ยมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต (NH4H2PO4) ในน้ าเสี ยสังเคราะห์
ที่สภาวะต่างๆ นั้น จะทาให้ได้ตะกอนขนาดใหญ่และตะกอนขนาดเล็กเกิดขึ้นร่ วมกัน ซึ่งจากผลการ
วิเคราะห์ลกั ษณะโครงสร้างและองค์ประกอบของตะกอน โดยการใช้เครื่ องถ่ายภาพขนาดไมโครเมตร
โดยใช้กล้องจุลทรรศน์กาลังขยายสูง (Scanning Electron Microscope, SEM) พบว่า ตะกอนที่ได้มี
ลักษณะเป็ นตะกอนผลึก ซึ่งเป็ นผลึกของสารประกอบระหว่าง “แมกนี เซียม-แอมโมเนี ยม-ฟอสเฟต”
หรื อก็คือ ผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” หรื อ “ผลึกของปุ๋ ยสตรู ไวท์” นั่นเอง โดยรู ปทรงของ
ผลึก “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” ที่ได้ มีลกั ษณะรู ปทรงเป็ นผลึกทรง 6 เหลี่ยมรู ปยาว ซึ่งผลึกที่ได้มีสี
ขาวบริ สุทธิ์ มีความยาวตั้งแต่ 10-80 ไมโครเมตร ขนาดของผลึกที่ได้จากการทดลองนี้ ใช้ระยะเวลา
ประมาณ 24-48 ชัว่ โมง ซึ่งหากใช้ระยะเวลาในการเลี้ยงผลึกนานกว่านี้ ผลึกที่ได้จะมีขนาดที่ใหญ่ข้ ึน
ดังแสดงรายละเอียดสรุ ป ดังตารางที่ 8-3 และในรู ปที่ 8-14

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-36


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 8-3 ลักษณะโครงสร้างและองค์ประกอบของตะกอนผลึกปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้าที่ผลิต


จากน้ าเสียสังเคราะห์
ลักษณะโครงสร้ างและ รายละเอียด
องค์ประกอบ
ชื่อทางเคมี สารประกอบแมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต
(Magnesium ammonium phosphate hexahydrate (MAP))
ชื่อสามัญทัว่ ไป ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า หรื อ ปุ๋ ย MAP
ชื่อที่นิยมใช้ในต่างประเทศ ปุ๋ ยสตรู ไวท์ (Struvite)
สูตรโครงสร้าง MgNH4PO4 6H2O
สีของผลึก สีขาวบริ สุทธิ์
โครงสร้างผลึก ผลึกทรง 6 เหลี่ยมรู ปยาว
ความยาวของผลึก 10-80 ไมโครเมตร

รูปที่ 8-14 โครงสร้างของตะกอนผลึกปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้าที่ผลิตจากน้ าเสียสังเคราะห์

ส่ วนผลการวิเคราะห์หาองค์ประกอบของตะกอนผลึกปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ในน้ าเสี ย


สังเคราะห์ โดยใช้เครื่ องถ่ายภาพขนาดไมโครเมตรโดยใช้กล้องจุลทรรศน์กาลังขยายสูง ( Scanning Electron
Microscope, SEM) และใช้เทคนิ คการวิเคราะห์ หาปริ มาณธาตุ ที่เป็ นองค์ประกอบของผลึก(เทคนิ ค Energy
Dispersion Spectroscopy (EDS)) พบว่า ตะกอนผลึกปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ประกอบด้วย ปริ มาณธาตุ
ออกซิเจนร้อยละ 65 ธาตุแมกนีเซียม ร้อยละ 13-15 ธาตุฟอสฟอรัส ร้อยละ 12-17 ธาตุคลอไรด์ ร้อยละ
1-3 และ ธาตุโซเดียม ร้อยละ 2-5 ดังแสดงในรู ปที่ 8-15 และในตารางที่ 8-4

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-37


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 8-15 แสดงผลการวิเคราะห์องค์ประกอบของตะกอนผลึกปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้าในน้ าเสีย


สังเคราะห์ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ชนิด Energy Dispersion Spectroscopy (EDS)

ตารางที่ 8-4 สรุ ปผลการวิเคราะห์หาองค์ประกอบของตะกอนผลึกปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้าในน้ าเสีย


สังเคราะห์
ปริมาณธาตุ (%)
องค์ประกอบของตะกอน
O Mg P Cl Na
ผลการวิเคราะห์ ตะกอน
ผลึกปุ๋ ยฟอสเฟตชนิด 65.28 ± 0.54 14.76 ± 1.14 14.97 ± 2.48 2.58 ± 1.77 3.07 ± 1.93
ละลายช้ า

ซึ่งจากผลการวิเคราะห์หาองค์ประกอบของตะกอนผลึก “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” ในน้ าเสีย


สังเคราะห์ จะเห็ น ได้ว่าสัด ส่ ว นของปริ ม าณระหว่าง ธาตุ แมกนี เซี ย มและธาตุ ฟอสฟอรั ส คิ ด เป็ น
อัตราส่ วนโมล เท่ากับ 1:1 ซึ่งสอดคล้องปฏิกิริยาทางเคมีของการเกิดปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ซึ่งมี
สูตรทางเคมี คือ MgNH4PO4„6H2O (Magnesium Ammonium Phosphate hexahydrate) หรื อดังสมการ (2)
Mg2+ + NH4+ + HPO42- + 6H2O  MgNH4PO4„6H2O (2)
8.3.5 ผลวิเคราะห์ ปริมาณ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า” หรือ “ปุ๋ ยสตรูไวท์ ” ที่เกิดขึน้ ในการทา
ปฏิกริ ิยาเคมี
 ปริมาณของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า” หรือ “ปุ๋ ยสตรูไวท์ ” ที่เกิดขึน้
จากผลการวิเคราะห์ปริ มาณของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า” หรื อ “ปุ๋ ยสตรู ไวท์” ที่ผลิตได้
พบว่ า เมื่ อ เติ ม สารเคมี 2 ชนิ ด ในน้ าเสี ย สัง เคราะห์ คื อ เติ ม สารละลายแมกนี เ ซี ย มคลอไรด์
(MgCl26H2O) และสารละลายแอมโมเนี ยมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต (NH4H2PO4) จะมีผลทาให้ค่ า
ความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ าเสียสังเคราะห์ลดลง กล่าวคือ น้ าเสียสังเคราะห์มีความเป็ นกรดอ่อน
โดยมีค่า pH อยู่ในช่วง 4.4-4.7 และเมื่อใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ความเข้มข้น 5
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-38
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

โมลาห์ เติมลงไปในน้ าเพื่อปรับให้ค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ าเสี ยสังเคราะห์อยู่ในสภาวะ


ที่ทาการศึกษา คือ ปรับให้มีค่า pH ต่างๆ 4 สภาวะ คือ pH 7, pH 8 , pH 9 และ pH 10 พบว่า การเติม
สารละลายโซเดีย มไฮดรอกไซด์เพิ่มมากขึ้น เพื่อปรั บให้ค่ าความเป็ นกรดและด่ าง (pH) ของน้ าเสี ย
สังเคราะห์มากขึ้น จะทาให้ได้ปริ มาณของปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้าเพิ่มขึ้นตามค่า pH ที่เพิ่มมากขึ้น
คือ 0.65 , 1.30 , 1.45 และ 1.61 กรัม ตามลาดับ ดังแสดงในตารางที่ 8-5

ตารางที่ 8-5 ปริ มาณของปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้าที่ผลิตได้จากน้ าเสียสังเคราะห์


รายละเอียดของข้ อมูล ช่ วง pH pH เริ่มต้ น pH หลังจาก ปริมาณ คานวณนา้ หนัก ปริมาณของปุ๋ ย
การทดลอง ทีศ่ ึกษา หลังจาก เติม NaOH 5 M ของ NaOH ที่ ฟอสเฟตชนิด
เติมสารเคมี สารละลาย ทีใ่ ช้ ปรับ pH เติมลงไป ละลายช้ าทีเ่ กิดขึน้
NaOH
(มิลลิลติ ร) (กรัม) (กรัม)
- เติมสารเคมี MgCl26H2O และ pH 7 4.5 7.20 1.8 0.36 0.65
NH4H2PO4 ในน้ าเสี ยสังเคราะห์
- อัตราส่ วน Mg:P = 1:1
pH 8 4.5 8.03 3.2 0.64 1.30
- ใช้ NaOH สาหรับปรับ pH ช่วง pH 9 4.7 9.03 3.4 0.68 1.45
ต่างๆ pH 10 4.4 10.12 3.8 0.75 1.61

 สมบัตกิ ารละลายนา้ ของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า” หรือ “ปุ๋ ยสตรูไวท์ ”


สมบัติ ก ารละลายน้ าของปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด ละลายช้า หรื อ ปุ๋ ยสตรู ไ วท์ พบว่ า เมื่ อ
ค่า pH ของน้ าสูงขึ้น หรื อ มีค่าความเป็ นด่างมากขึ้นในช่วง pH 7-8.5 จะทาให้ปุ๋ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า
หรื อปุ๋ ยสตรู ไวท์ ละลายน้ าได้ลดลง และเมื่อน้ ามีค่าความเป็ นด่างเพิ่มขึ้นในช่วง pH 8.6 – 10.5 จะทาให้
ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า ละลายน้ าได้มากขึ้น ซึ่งสอดคล้องตามผลการวิเคราะห์นนั่ คือ ปริ มาณของ
ตะกอน ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้าที่ได้จะมีปริ มาณมากขึ้น เมื่อ pH ของน้ าอยู่ในช่วง pH 7-9 แต่จะพบ
ปริ มาณของตะกอนปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า น้อยลงเมื่อ pH มากกว่า 9

8.3.6 คุณภาพของนา้ เสียสังเคราะห์ หลังจากตกตะกอนผลึก “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า”


ผลการศึก ษาคุ ณ ภาพของน้ าเสี ย สังเคราะห์หลัก จากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด
ละลายช้า” ออกจากน้ าเสียสังเคราะห์ ประกอบด้วยผลวิเคราะห์ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของน้ า ดังนี้
(1) ค่าความเป็ นด่างของน้ าเสี ยสังเคราะห์ (Alkalinity)
(2) ปริ มาณซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD)
(3) ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN)
(4) ปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-39


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

โดยมีรายละเอียดแสดงในตารางที่ 8-6 ดังนี้

ตารางที่ 8-6 ผลการวิเคราะห์คุณภาพของน้ าเสียสังเคราะห์ หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด


ละลายช้า” จากน้ าเสียสังเคราะห์
ผลการวิเคราะห์ คุณภาพของนา้ เสี ยสั งเคราะห์
อัตราส่ วน
pH โมล
ค่าความเป็ นด่ าง ปริมาณซีโอดี ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมด

(Total Kjeldahl
Mg:P (Alkalinity) (COD) (Total Phosphorus)
Nitrogen, TKN)
(mg/L) (mg/L) (mg/L) (mg/L)
ไม่ ปรับ
1:1 130 14 89 72
pH
pH 8 1:1 120 14 49 35
pH 9 1:1 94 7 23 33
pH 10 1:1 100 7 15 13

ทั้ง นี้ รายละเอี ย ดของผลวิ เ คราะห์ คุ ณ ภาพของน้ าเสี ย สัง เคราะห์ มี ร ายละเอี ย ดในแต่ ล ะ
พารามิเตอร์ต่างๆ ดังต่อไปนี้

(1) ค่าความเป็ นด่ าง (Alkalinity) ของนา้ เสียสังเคราะห์


ผลการวิเคราะห์หาค่าความเป็ นด่าง ( Alkalinity) ของน้ าเสี ยสังเคราะห์ หลังจากตกตะกอน
ผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” จากน้ าเสี ยสังเคราะห์ในช่วง pH เท่ากับไม่ปรับ pH, pH 8, pH 9 และ
pH 10 พบว่า ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) ของน้ าเสี ยสังเคราะห์ มีค่าเท่ากับ 130, 120, 90 และ 100 มิลลิกรัม
ต่อลิตร ตามลาดับ ซึ่งจากผลการศึก ษา สามารถอธิบายได้ว่า ค่ าความเป็ นด่าง ( Alkalinity) ของน้ าเสี ย
สังเคราะห์ มีแนวโน้มลดลง เมื่อค่าความเป็ นกรดและด่าง ( pH) ของน้ าเพิ่มมากขึ้น เนื่ องจากไอออนที่
ละลายอยูใ่ นน้ า อาทิ ไอออนบวกและไอออนลบ จะเกิดรวมตัวกันและตกเป็ นตะกอน เช่น ตะกอนผลึก
ของปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า

(2) ปริมาณซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) ในนา้ เสียสังเคราะห์


ผลการวิเคราะห์หาปริ มาณซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) ในน้ าเสี ยสังเคราะห์
หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ” จากน้ าเสี ยสังเคราะห์ในช่วง pH เท่ากับ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-40


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ไม่ปรับ pH, pH 8, pH 9 และ pH 10 พบว่า ปริ มาณซี โอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) ของน้ าเสี ย
สังเคราะห์ มีค่าเท่ากับ 14, 14, 7 และ 7 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลาดับ ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่า การใช้ด่าง
ซึ่งก็คือ โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ในการตกตะกอน “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” จะช่วยทาให้น้ า
มีคุณภาพที่ดีข้ ึน สังเกตได้จากการที่ปริ มาณซีโอดี (COD) ในน้ าเสียสังเคราะห์มีค่าลดลงตามลาดับ เมื่อ
pH ของน้ าเพิ่มมากขึ้น

(3) ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) ในนา้ เสียสังเคราะห์


ผลการวิเคราะห์หาปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) ในน้ าเสี ย
สังเคราะห์ หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า” จากน้ าเสี ยสังเคราะห์ในช่วง pH
เท่ากับ ไม่ปรับ pH, pH 8, pH 9 และ pH 10 พบว่า ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen,
TKN) ในน้ าเสี ยสังเคราะห์ มีค่าเท่ ากับ 89, 49, 23 และ 15 มิลลิก รัมต่อลิตร ตามลาดับ ซึ่งสามารถ
อธิบายได้ว่า เมื่อทาการปรับให้น้ าเสียสังเคราะห์มีค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) เพิ่มมากขึ้น จะทาให้
ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดลงลง ตามลาดับ จากในกรณี ที่ทาการศึก ษาปริ มาณไนโตรเจนที่ ลดลง
เนื่องจากเกิดการรวมตัวเกิดเป็ นผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า”

(4) ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) ในนา้ เสียสังเคราะห์


ผลการวิเคราะห์หาปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) ในน้ าเสี ยสังเคราะห์
หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ” จากน้ าเสี ยสังเคราะห์ในช่วง pH เท่ากับ
ไม่ปรับ pH, pH 8, pH 9 และ pH 10 พบว่า ปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมด มีค่าเท่ากับ 72, 35, 33 และ 13
มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลาดับ ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่า เมื่อทาการปรับให้น้ าเสี ยสังเคราะห์มีค่าความเป็ น
กรดและด่าง (pH) เพิ่มมากขึ้น จะทาให้ปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมดลงลงตามลาดับ เนื่ องจากเกิ ดการ
รวมตัวเกิดเป็ นผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า”

8.3.7 ผลการทดลองการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า” โดยใช้ นา้ ที่ผ่านระบบบาบัดการผลิตก๊าซ


ชีวภาพจากฟาร์ มสุ กร
การออกแบบวิธีการทดลองในการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า” ในน้ าที่ผ่านระบบบาบัด
การผลิ ต ก๊า ซชี ว ภาพจากฟาร์ มสุ ก ร มีข้ ัน ตอนต่ างๆ ที่ ต ้อ งท าการควบคุ มสภาวะและปั จ จัย ต่ างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต เพื่อให้ผลการศึกษาทดลองที่ได้มีความถูกต้อง และที่สาคัญคือนาผลการทดลอง
ไปใช้เพื่อการจัดสร้างอุปกรณ์ตน้ แบบ (Pilot scale) สาหรับใช้ในการผลิต“ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า”
หรื อใช้สาหรับการผลิตในโรงงานต้นแบบ (Full scale) เพื่อต่อยอดการผลิตในระดับอุตสาหกรรมการ
ผลิตปุ๋ ยในเชิงพาณิ ชย์ต่อไปในอนาคต

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-41


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ทั้งนี้ในขั้นตอนการทดลองต้องทาการควบคุมสภาวะและปัจจัยต่างๆ ในการผลิต โดยเริ่ มจาก


การนาน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ มาเติ มสารเคมี คือ โซเดี ยมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต (NaH2PO4) จากนั้น
ทาการกวนผสมสารให้ละลายเข้าด้ว ยกันด้วยเครื่ องกวนผสมสารเคมี ซึ่ งในขั้นตอนการทดลองนั้น
ได้มีก ารศึก ษาถึงสภาวะต่ างๆ ที่ เกี่ ยวข้องในการเกิ ด เป็ นผลิต ภัณ ฑ์ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด ละลายช้า ”
กล่าวคือ ศึกษาสภาวะของปริ มาณสารเคมีที่เติมลงไป โดยคานวณเป็ นสัดส่ วนโมลของแมกนี เซียมต่อ
ฟอสเฟต (Mg:P) เท่ากับ 1:0 , 1:1 และ 2:1 และทาการปรับค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ า โดย
ใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ซึ่งค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ าที่ทาการศึกษา มี 4 สภาวะ
คือ (1) สภาวะที่ไม่มีการเติ มสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ หรื อ สภาวะที่ไม่ได้ทาการปรับค่า pH
ของน้ า (2) สภาวะที่ทาการปรับให้น้ ามี pH เท่ากับ pH 8 (3) สภาวะที่มีการปรับให้น้ ามี pH เท่ากับ pH 9
และ (4) สภาวะที่มีการปรับให้น้ ามี pH เท่ากับ pH 10 โดยแสดงตารางสรุ ปผลการศึกษาปั จจัยต่างๆ ที่ใช้
ในการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” ในน้ าที่ผา่ นระบบบาบัดฯ จากฟาร์มสุกร ดังในตารางที่ 8-7

ตารางที่ 8-7 ตารางสรุ ปผลการศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษาการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า”


หรื อ “ปุ๋ ยสตรู ไวท์” ในน้ าที่ผา่ นระบบบาบัดฯ จากฟาร์มสุกร
ปัจจัยต่างๆ ทีศ่ ึกษา รายละเอียด

1. สารเคมีที่ใช้ในการสร้างผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” NaH2PO4


หรื อ “ปุ๋ ยสตรู ไวท์”
2. สภาวะที่ศึกษา เพื่อหาสภาวะที่ เหมาะสมในการเกิ ด
ผลึก
2.1 สัดส่วนโมล Mg : P 1:0 , 1:1 , 2:1

2.2 สารเคมีที่ใช้ปรับ pH NaOH

2.3 ช่วง pH ที่ทดลอง ไม่ปรับ pH, pH 8, pH 9 และ pH 10

ทั้งนี้ผลการทดลองการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” น้ าที่ผา่ นระบบบาบัดฯ จากฟาร์มสุกร


สามารถอธิบาย ลักษณะโครงสร้างและองค์ประกอบของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” ที่ผลิตได้ รวมทั้ง
สภาวะและปัจจัยที่เหมาะสมในการเกิดผลิตภัณฑ์ ซึ่งรายละเอียดต่างๆ มีดงั นี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-42


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

8.3.7.1 ลักษณะโครงสร้ างและองค์ประกอบของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า” ในนา้ ที่ผ่านระบบบาบัดฯ


จากฟาร์ มสุ กร
ผลจากการทาปฏิกิริยาเคมีระหว่างไอออนต่างๆ ที่อยู่ในของน้ าที่ผ่านระบบบาบัดฯ จากฟาร์ ม
สุกร และสารเคมีที่เติมลงไป คือ โซเดียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต (NaH2PO4) ที่สภาวะต่างๆ นั้น ผลการ
วิเคราะห์ที่ได้ พบว่า มีต ะกอนที่ มี ข นาดใหญ่ และตะกอนขนาดเล็ก เกิ ด ขึ้ น ร่ ว มกัน ซึ่ งจากผลการ
วิเคราะห์ลกั ษณะโครงสร้างและองค์ประกอบของตะกอน โดยการใช้เครื่ องถ่ายภาพขนาดไมโครเมตร
โดยใช้กล้องจุลทรรศน์กาลังขยายสูง (Scanning Electron Microscope, SEM) พบว่า ตะกอนที่ได้มี
ลักษณะเป็ นตะกอนผงละเอียดและตะกอนที่มีลกั ษณะเป็ นผลึก โดยจากการวิเคราะห์พบว่า ตะกอนผง
ละเอียดที่เกิดขึ้น มีลกั ษณะเป็ นตะกอนเบา ส่วนตะกอนที่มีขนาดใหญ่ มีลกั ษณะตะกอนผลึกรู ปยาว ซึ่ง
จากการวิเคราะห์ผลด้วยเครื่ องถ่ายภาพขนาดไมโครเมตรโดยใช้กล้องจุลทรรศน์กาลังขยายสูง และใช้
เทคนิ ค การวิเคราะห์หาปริ มาณธาตุที่เป็ นองค์ประกอบของผลึก พบว่า เป็ นผลึก ของสารประกอบ
ระหว่าง “แมกนี เซียม-แอมโมเนี ยม-ฟอสเฟต” หรื อก็คือ ผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ” หรื อ
“ผลึก ของปุ๋ ยสตรู ไวท์” นั่น เอง โดยรู ปทรงของผลึก “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด ละลายช้า ” ที่ ได้ มีลกั ษณะ
รู ปทรงเป็ นผลึกทรง 6 เหลี่ยมรู ปยาว มีความยาวประมาณ ตั้งแต่ 10-20 ไมโครเมตร ดังแสดงลักษณะ
ตะกอนผงละเอียดและตะกอนที่มีลกั ษณะเป็ นผลึก ในรู ปที่ 8-16

รูปที่ 8-16 ลักษณะตะกอนผงละเอียดและตะกอนที่มีลกั ษณะเป็ นผลึก ในน้ าที่ผา่ นการบาบัดด้วย


ระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มสุกร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-43


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ส่วนผลการวิเคราะห์หาองค์ประกอบของตะกอนผลึก “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ” ในน้ าที่


ผ่านการบาบัดฯจากฟาร์มสุกร พบว่า ตะกอนที่มีลกั ษณะเป็ นผลึก คือ ผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า”
ซึ่งประกอบด้วย ปริ มาณธาตุออกซิเจนร้อยละ 59-67 ธาตุแมกนี เซียม ร้อยละ 11-14 ธาตุฟอสฟอรัส
ร้อยละ 15-18 ธาตุคลอไรด์ ร้อยละ 1-5 และ ธาตุโซเดียม ร้อยละ 1 ดังแสดงรายละเอียดในตารางที่ 8-8

ตารางที่ 8-8 สรุ ปผลการวิเ คราะห์หาองค์ประกอบของตะกอนผลึก “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ”


ในน้ าหลังผ่านการบาบัดฯ จากฟาร์มสุกร
ปริมาณธาตุ (%)
องค์ประกอบของตะกอน
O Mg P Cl Na
ตะกอนผลึก “ปุ๋ ยฟอสเฟต 63.10 ± 12.94 ±
16.63 ± 1.85 3.70 ± 2.39 1.40 ± 0.11
ชนิดละลายช้า” 4.18 1.72

ซึ่งจากผลการวิเคราะห์หาองค์ประกอบของตะกอนผลึก “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ” ในน้ าที่


ผ่านการบาบัด ฯ จากฟาร์ มสุ ก ร พบว่า มีสัด ส่ ว นของปริ มาณธาตุ ระหว่างธาตุ แมกนี เซี ยมและธาตุ
ฟอสฟอรัส คิ ดเป็ นอัตราส่ วนโมล เท่ ากับ 1:1 ซึ่งสอดคล้องปฏิกิ ริยาทางเคมีของการเกิ ดปุ๋ ยฟอสเฟต
ชนิดละลายช้าในน้ าเสียสังเคราะห์

8.3.7.2 ผลวิเคราะห์ ปริมาณตะกอนทีเ่ กิดขึน้ ในนา้ ที่ผ่านระบบบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร


(1) ปริมาณตะกอนทีเ่ กิดขึน้
ผลการวิเคราะห์ปริ มาณของตะกอนที่เกิดขึ้น พบว่า ตะกอนที่เกิดขึ้นมีท้ งั ลักษณะตะกอน
แบบผงละเอียด และตะกอนแบบผลึก โดยหลังจากนาน้ าที่ผ่านระบบบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กรมาเติ ม
สารเคมี คือ เติม โซเดียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต (NaH2PO4) จะมีผลทาให้ค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH)
ของน้ าหลังผ่านการบาบัด ฯ อยู่ในช่วง 7.0-7.5 และเมื่อใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)
ความเข้มข้น 5 โมลาห์ ปรับให้ค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ของน้ าให้อยูใ่ นสภาวะที่ทาการศึกษา คือ
ปรับให้มีค่า pH 4 สภาวะ คือ ไม่ปรับ pH , pH 8 , pH 9 และ pH 10
ซึ่ งการทาปฏิกิ ริ ย าเคมีร ะหว่ างไอออนต่ างๆ ที่ ละลายอยู่ในน้ า โดยในอัต ราส่ ว นโมล
ระหว่าง Mg:P เท่ากับ 1:0 จะทาให้ได้ปริ มาณตะกอนเพิ่มมากขึ้น เมื่อ pH ของน้ าสูงขึ้น นั่นคื อ ปริ มาณ
ตะกอนของ ไม่ปรับ pH < pH 8 < pH 9 < pH 10 แต่สาหรับการปรับอัตราส่ วนโมลระหว่าง Mg:P
เท่ากับ 1:1 และ 2:1 จะทาให้เกิดตะกอนเพิ่มมากขึ้นในสภาวะน้ ามีค่า pH 7-9 และมีปริ มาณตะกอน
ลดลง ในสภาวะน้ ามีค่า pH 10 ดังแสดงในตารางที่ 8-9

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-44


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 8-9 ปริ มาณของตะกอนแบบผงละเอียดและตะกอนแบบผลึก ที่ผลิตได้จากน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ


จากฟาร์มสุกร
รายละเอียดของข้ อมูล ช่ วง pH pH เริ่มต้ น pH หลังจาก ปริมาณ คานวณนา้ หนัก ปริมาณของตะกอน
การทดลอง ทีศ่ ึกษา ก่อนเติม เติม NaOH 5 M ของ NaOH ที่ ทีเ่ กิดขึน้
สารละลาย สารละลาย ทีใ่ ช้ ปรับ pH เติมลงไป
NaOH NaOH
(มิลลิลติ ร) (กรัม) (กรัม)
อัตราส่ วน Mg:P = 1:0 ไม่ปรับ
pH
7.30 7.30 - - 0.30
pH 8 7.40 8.00 0.5 0.1 0.42
pH 9 7.45 9.00 1.7 0.34 0.54
pH 10 7.47 10.00 4.3 0.86 5.71
อัตราส่ วน Mg:P = 1:1 ไม่ปรับ
pH
7.00 7.00 - - 0.60
pH 8 7.00 8.00 0.2 0.04 0.78
pH 9 7.56 9.00 1.3 0.26 0.75
pH 10 7.57 10.00 3.8 0.76 0.68
อัตราส่ วน Mg:P = 2:1 ไม่ปรับ
pH
7.56 7.56 - - 0.45
pH 8 7.46 8.00 0.4 0.08 0.56
pH 9 7.27 9.00 1.8 0.36 0.75
pH 10 7.54 10.00 4.0 0.8 0.66

นอกจากนี้ เมื่ อ ศึ ก ษาลัก ษณะตะกอนแบบผงละเอี ย ดและตะกอนแบบผลึก ที่ เ กิ ด ขึ้ น


ด้วยเครื่ องถ่ายภาพขนาดไมโครเมตรโดยใช้กล้องจุลทรรศน์กาลังขยายสูง พบว่า เมื่อปรับให้น้ าที่ผ่าน
ระบบบาบัด ฯ จากฟาร์ มสุ ก ร มีค่าความเป็ นด่ างมากขึ้ น จะพบตะกอนที่มีลกั ษณะเป็ นตะกอนผลึก
ในสภาวะ pH 8 - pH 9 มากกว่าในสภาวะค่าpH 10 ดังแสดงในตาราง 8-10

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-45


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 8-10 ลักษณะตะกอนแบบผงละเอียดและตะกอนแบบผลึก ที่ผลิตได้จากน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ จาก


ฟาร์มสุกร
รายละเอียด pH 7 pH 8 pH 9 pH 10
1. รู ปแสดงลักษณะของ
ตะกอนที่เกิดขึ้น

- ปริ มาณตะกอน มีจานวนมาก มีจานวนมาก มีจานวนมาก มีจานวนมาก


แบบผง
- ปริ มาณตะกอน ไม่พบ มีตะกอนแบบผลึก มีตะกอนแบบผลึก มีตะกอนแบบผลึก
แบบผลึก ลดลง

8.3.7.3 คุณภาพของน้าที่ผ่ านการบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กรหลัง จากตกตะกอนผลึก “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิด


ละลายช้ า”
นาข้อมูลของผลการศึกษาคุณภาพของน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร (รายละเอียดแสดง
ในภาคผนวก ค-1) มาวิเคราะห์เปรี ย บเที ยบกับผลการศึกษาคุ ณภาพน้ าที่ ผ่านการบาบัด ฯ หลังจาก
ตกตะกอนผลึก “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” ซึ่งผลวิเคราะห์ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของน้ า มีดงั นี้
(1) ค่าความเป็ นด่างของน้ าเสียสังเคราะห์ (Alkalinity)
(2) ปริ มาณซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD)
(3) ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN)
(4) ปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus)
โดยมีรายละเอียดสรุ ปแสดงในตารางที่ 8-11 ดังนี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-46


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 8-11 ผลการวิเคราะห์คุณภาพของน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ จากฟาร์มสุกรหลังจากตกตะกอนผลึก


ของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า”
ผลการวิเคราะห์ คุณภาพของนา้ ทีผ่ ่ านการบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร
ลาดับ
อัตราส่ วน ปริมาณไนโตรเจน ปริมาณฟอสฟอรัส
การ
โมล
pH ค่าความเป็ นด่ าง ปริมาณซีโอดี
ทั้งหมด ทั้งหมด
ทดลอง
(Total Kjeldahl
(Total
Mg:P (Alkalinity) (COD) Nitrogen,
Phosphorus)
TKN)
(mg/L) (mg/L) (mg/L) (mg/L)
1. ไม่ ปรับ
350 190 60 9
pH
1:0 pH 8 780 100 150 12
pH 9 1,180 36 150 4
pH 10 1,620 36 140 3
2. ไม่ ปรับ
800 14 80 140
pH
1:1 pH 8 1,160 14 65 140
pH 9 1,340 7 65 130
pH 10 1,880 7 65 130
3. ไม่ ปรับ
840 96 140 53
pH

2:1 pH 8 240 210 65 54


pH 9 930 100 65 46
pH 10 1,820 56 110 52

ทั้งนี้รายละเอียดของผลวิเคราะห์คุณภาพของน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ จากฟาร์มสุกร มีรายละเอียด


ในแต่ละพารามิเตอร์ต่างๆ ดังต่อไปนี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-47


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(1) ค่ าความเป็ นด่ าง (Alkalinity) ของน้าที่ผ่ านการบ าบัด ฯ จากฟาร์ มสุ ก ร หลัง จาก
ตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า”
ผลการวิเคราะห์หาค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) ของน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ จากฟาร์ ม
สุกร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ” พบว่า ค่าความเป็ นด่างของน้ าที่ผ่าน
การบาบัดฯ จากฟาร์มสุกรเพิม่ ขึ้น เมื่อค่า pH ของน้ าสูงขึ้น และเมื่อทาการเปรี ยบเทียบค่าความเป็ นด่าง
(Alkalinity) ระหว่างน้ าที่ผา่ นการบาบัด ฯ ก่อนการตะกอนปุ๋ ยฟอสเฟต และน้ าหลังผ่านการตกตะกอน
ปุ๋ ยฟอสเฟต พบว่า ในสภาวะของน้ าที่มีค่า pH 7-pH 8 จะมีค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) ลดลง ร้อยละ
0.3-77 ซึ่งถือเป็ นสภาวะที่เหมาะจะนาไปใช้ผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตละลายช้า แต่ในสภาวะของน้ าที่มีค่า pH 9-
pH10 ไม่เหมาะที่จะนามาใช้ผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตละลายช้า เนื่ องจากค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity) ของน้ า
หลังผ่านการแยกตะกอนปุ๋ ยฟอสเฟต มีค่าสูงกว่าค่าความเป็ นด่ างของน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ ก่อนการ
ตะกอน ร้อยละ 26-77 ดังแสดงในรู ปที่ 8-17
จากการพิจารณาในส่ วนของ “มาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ ก ร” (รายละเอีย ด
แสดงในภาคผนวก ง-1) พบว่า มาตรฐานคุ ณ ภาพน้ าทิ้ งจากฟาร์ มสุ ก รไม่ได้ร ะบุ ค่ าความเป็ นด่ า ง
(Alkalinity) แต่ในขั้นตอนการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้าก็ควรคานึ งถึงค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity)
ที่เพิ่มขึ้นด้วย ซึ่งหากน้ ามีค่าความเป็ นด่างสูงอาจมีผลทาให้น้ ามีความต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงค่า
pH ได้มาก และไม่เหมาะนาไปใช้ในกิจกรรมอื่นๆ ต่อไป

รูปที่ 8-17 ประสิทธิภาพการกาจัดค่าความเป็ นด่างของน้ า (Alkalinity) ที่ผา่ นการบาบัดฯ จากฟาร์ม


สุกร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตละลายช้า”

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-48


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(2) ปริมาณซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) ของน้าที่ผ่านการบาบัดฯ จาก


ฟาร์ มสุ กร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า”
ผลการวิเคราะห์ปริ มาณซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) ของน้ าที่ผ่านการ
บาบัดฯ จากฟาร์มสุกร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” พบว่า ปริ มาณซีโอดี
ของน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ จากฟาร์มสุกร มีค่าลดลง เมื่อ pH ของน้ าสูงขึ้น ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่า การ
เติมด่าง ซึ่งก็คือ การเติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) สาหรับปรับค่า pH ของน้ าที่ผ่านการ
บาบัดฯ จากฟาร์มสุกร เพื่อผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” ส่ งผลทาให้น้ ามีคุณภาพที่ดีข้ ึน เนื่ องจาก
สารอินทรี ยแ์ ละสารอนินทรี ยท์ ี่ละลายอยูใ่ นน้ าเกิดการตกตะกอน อีกทั้งเมื่อทาการเปรี ยบเทียบปริ มาณ
ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) ระหว่างน้ าที่ ผ่านระบบบาบัด ฯ ก่อนการตกตะกอนปุ๋ ย
ฟอสเฟตชนิดละลายช้า และน้ าหลังผ่านการตกตะกอนปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า พบว่า ขั้นตอนการ
ผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตละลายช้า จะช่วยทาให้ปริ มาณซีโอดีลงลงร้อยละ 7-82 ดังแสดงในรู ปที่ 8-18
และหากพิจ ารณาในเกณฑ์ข อง “มาตรฐานคุ ณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร ประเภท ข
และ ค ” (แสดงรายละเอียดในภาคผนวก ง-1) ซึ่งกาหนดให้มีค่าซีโอดี (Chemical Oxygen Demand,
COD) ไม่เกิน 400 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า การนาน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร มาใช้เพื่อผลิต
“ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” มีค่าซีโอดีไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานกาหนด

รูปที่ 8-18 ประสิ ทธิภาพการกาจัดปริ มาณซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) ที่ผ่านการ
บาบัดฯ จากฟาร์มสุกร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า”

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-49


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(3) ปริมาณไนโตรเจนทั้ งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen , TKN) ของน้าที่ผ่ านการ


บาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า”
ผลการวิเคราะห์หาปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) ในน้ า
ที่ผา่ นการบาบัดฯ พบว่า ในอัตราส่วนโมลของ Mg:P เท่ากับ 1:0 และ 1:1 ที่สภาวะ pH 8, pH 9 และ pH 10
มีปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดมีค่าลดลงในอัต ราส่ วนใกล้เคี ยงกัน ส่ ว นในอัต ราส่ ว นโมลของ Mg:P
เท่ากับ 2:1 ที่สภาวะ ไม่ปรับ pH , pH 8 และ pH 9 มีปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดมีค่าลดลงร้อยละ 50 แต่
ที่สภาวะ pH 10 พบว่า ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดมีค่าสูงขึ้น
และหากพิจ ารณาในเกณฑ์ข อง “มาตรฐานคุ ณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์ มสุ กร ประเภท ข
และ ค ” (แสดงรายละเอียดในภาคผนวก ง-1) ซึ่ งก าหนดให้มีปริ มาณไนโตรเจนทั้ง หมด (Total
Kjeldahl Nitrogen, TKN) ไม่เกิน 200 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า ผลการทดลองทั้งหมดในการนาน้ าที่ผ่าน
การบาบัดฯ จากฟาร์ มสุ กร มาใช้เพื่อผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด ละลายช้า ” มีค่าไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน
กาหนด
และเมื่อทาการเปรี ย บเที ย บปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen,
TKN) ระหว่างน้ าที่ผา่ นระบบบาบัด ฯ ก่อนการตกตะกอน และน้ าหลังผ่านการตกตะกอนปุ๋ ยฟอสเฟต
พบว่า การผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตละลายช้า จะช่วยทาให้ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen,
TKN) ลดลงร้อยละ 26-70 ดังแสดงในรู ปที่ 8-19

รูปที่ 18-19 ประสิ ทธิ ภาพการกาจัดปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) ที่
ผ่านการบาบัดฯ จากฟาร์มสุกร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตละลายช้า”

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-50


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(4) ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) ของนา้ ที่ผ่านการบาบัดฯ จากฟาร์ ม


สุ กร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า”
ผลการวิเคราะห์หาปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมดในน้ า (Total Phosphorus) ในน้ าที่ผ่าน
การบาบัดฯ หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” พบว่า ในสภาวะที่สัดส่ วนโมล
ระหว่าง Mg:P เท่ากับ 1:0 ปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมดในน้ า (Total Phosphorus) มีแนวโน้มลดลง เมื่อค่า
pH ของน้ าสูงขึ้น ส่ ว นในสภาวะที่ สัด ส่ ว นโมลระหว่าง Mg:P เท่ากับ 1:1 และ 2:1 พบว่า ปริ มาณ
ฟอสฟอรัสทั้งหมดในน้ า (Total Phosphorus) มีแนวโน้มคงที่ เมื่อค่า pH ของน้ าสูงขึ้น ส่ วนในเกณฑ์
ของ “มาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกร ประเภท ข และ ค ” (แสดงรายละเอียดในภาคผนวก ง-1)
พบว่า ไม่มีการกาหนดปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมดในน้ า (Total Phosphorus)
และเมื่อทาการเปรี ยบเทียบปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) ระหว่างน้ า
ที่ผา่ นระบบบาบัด ฯ ก่อนการตกตะกอน และน้ าหลังผ่านการตกตะกอนปุ๋ ยฟอสเฟต พบว่า การผลิตปุ๋ ย
ฟอสเฟตละลายช้า ในสภาวะที่อตั ราส่ วนโมลของ Mg:P เท่ากับ 1:0 หรื อการไม่เติมฟอสฟอรัสเพิ่มลง
ในน้ าหลังผ่านการบาบัด ทาให้ปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมดที่ละลายอยู่ในน้ าลดลง เมื่อค่า pH ของน้ า
สูงขึ้น เนื่องจากเกิดการตกตะกอนอยู่ในรู ปของเกลือฟอสเฟต ส่ วนการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตละลายช้า ใน
สภาวะที่อตั ราส่ วนโมลของ Mg:P เท่ากับ 1:1 และ 2:1 นั้นจะทาให้มีปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมด เพิ่ม
สูงขึ้นร้อยละ 84-340 ดังแสดงในรู ปที่ 8-20

รูปที่ 8-20 ประสิทธิภาพการกาจัดปริ มาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) ที่ผา่ นการบาบัดฯ


จากฟาร์มสุกร หลังจากตกตะกอนผลึกของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า”

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-51


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

8.3.8 การทดสอบการชะละลาย (Leaching test)


การทดสอบการชะละลาย (Leaching test) มีวตั ถุประสงค์เพื่อทดสอบหาสารที่มีอนั ตรายต่อ
สิ่ งแวดล้อม ซึ่งอาจถูก ชะละลายออกมาจากการน า “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด ละลายช้า ” ไปใช้งานในการ
เกษตรกรรม และทาให้เกิดการปนเปื้ อนของสารที่มีอนั ตรายไปสู่พ้ืนที่เกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การปนเปื้ อนและการสะสมสารพิษในพืชที่เป็ นอาหารของมนุ ษย์ นอกจากนั้นอาจมีการปนเปื้ อนของ
สารมลพิษสู่แหล่งน้ าธรรมชาติ ทั้งแหล่งน้ าผิวดินและแหล่งน้ าใต้ดินที่มีการนาน้ าไปใช้เพื่อการอุปโภค
บริ โภค ซึ่งอาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ าได้ ดังนั้นการทดสอบ
การชะละลาย (Leaching test) ผลิต ภัณ ฑ์ข อง ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด ละลายช้า ที่ผลิต ได้ ก่ อนที่จ ะมีการ
นาไปใช้งานจริ งจึงมีความสาคัญ ทั้งนี้เพื่อป้ องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการนาไปใช้งาน รวมทั้ง
ลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม
ในขั้นตอนการทดลองนั้นจะเริ่ มจากการนาผลิตภัณฑ์ของ ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ที่ผลิต
ได้ม าสกัด หาสารที่ เป็ นอัน ตราย โดยใช้น้ าที่ มี ส ภาพความเป็ นกรดอ่ อนๆ เป็ นสารสกัด และน า
สารละลายที่สกัดได้ไปวิเคราะห์หาปริ มาณที่เป็ นอันตราย
ผลการวิเคราะห์หาสารที่มีอนั ตรายต่อสิ่งแวดล้อมที่ถกู ชะละลายจาก “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลาย
ช้า” ที่ผลิตได้ พบว่า ไม่มีสารที่เป็ นอันตรายต่อแหล่งน้ า หรื อเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพอนามัยของมนุ ษย์
รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ า โดยสารที่ถกู ชะละลายออกมาจาก “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” ส่วนใหญ่
จะเป็ นธาตุอาหารที่มีประโยชน์ สาหรับพืช อาทิ โปรแตสเซียม (K+) แมกนี เซียม (Mg2+) แคลเซียม
(Ca2+) และ โซเดียม (Na+) เป็ นต้น

8.3.9 สรุปผลการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า” หรือ “ปุ๋ ยสตรู ไวท์ ” จากน้าที่ผ่านระบบบาบัด


ด้ วยการผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์ มสุ กร
จากการนาน้ าที่ผา่ นระบบบาบัดด้วยการผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มสุกร มาเพิ่มมูลค่าน้ า โดยนา
น้ าที่ผ่านระบบบาบัดฯ ไปใช้ในการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า ” หรื อ “ปุ๋ ยสตรู ไวท์” ที่สภาวะ
ต่างๆ กัน ซึ่ งเป็ นการสรุ ปผลในเรื่ องของลักษณะตะกอนที่เกิดขึ้ น ปริ มาณของตะกอนผลึก ซึ่ งเป็ น
ตะกอนของ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” ที่เกิดขึ้น รวมทั้งสรุ ปผลในเรื่ องของคุณภาพของน้ าหลังจาก
แยกตะกอน ดังแสดงในตารางที่ 8-12

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-52


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 8-12 สรุ ปผลการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” หรื อ “ปุ๋ ยสตรู ไวท์” จากน้ าที่ผ่านระบบบาบัดด้วย
การผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มสุกร
รายละเอียด สรุปผลการผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า”
pH 7 pH 8 pH 9 pH 10
1. ลักษณะของตะกอนทีเ่ กิดขึน้

1.1 ปริมาณตะกอนแบบผง พบมาก พบมาก พบมาก พบมาก


1.2 ปริมาณตะกอนแบบผลึก ไม่พบ พบในปริ มาณ พบในปริ มาณ พบในปริ มาณ
“ปุ๋ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า” ปานกลาง ปานกลาง น้อย
2. คุณภาพของนา้ หลังจากตกตะกอน 1:0 1:1 2:1 1:0 1:1 2:1 1:0 1:1 2:1 1:0 1:1 2:1
(แสดงผลของอัตราส่ วนโมล
ระหว่ าง Mg:P)
2.1 ทาให้ ค่าความเป็ นด่ าง            
(Alkalinity) ลดลง
2.2 ทาให้ ปริมาณซีโอดี (COD)            
ลดลง
2.3 ทาให้ ปริมาณไนโตรเจน            
ทั้งหมด (TKN) ลดลง
2.4 ทาให้ ปริมาณฟอสฟอรัส            
ทั้งหมด (TP) ลดลง
3. เปรียบเทียบคุณภาพนา้ ฯ ต่ อ
มาตรฐานนา้ ทิง้ จากฟาร์ มสุ กร
ประเภท ข และ
3.1 ค่าความเป็ นกรดและด่ างของน้า ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์
(pH) หลังจากตกตะกอนของ แข็ง มาตรฐาน1 มาตรฐาน1 มาตรฐาน1 มาตรฐาน1
3.2 ค่าซีโอดี (COD) ของนา้ ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์
หลังจากตกตะกอนของแข็ง มาตรฐาน2 มาตรฐาน2 มาตรฐาน2 มาตรฐาน2
3.3 ปริ ม าณไนโตรเจนทั้ ง หมด ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์ ไม่เกินเกณฑ์
( TKN) ของน้ า หลั ง จาก มาตรฐาน 3 มาตรฐาน 3 มาตรฐาน 3 มาตรฐาน 3
ตกตะกอนของแข็ง
4. ผลการทดสอบการชะละลาย ไม่พบสารที่เป็ นอันตรายต่อการนาไปใช้เพื่อการเกษตรกรรม
(Leaching test)
หมายเหตุ 1 มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุ กร ประเภท ข และ ค ที่กาหนดให้มีค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) เท่ากับ 5.5-9
2
มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุ กร ประเภท ข และ ค ที่กาหนดให้มีค่าซีโอดี ไม่เกิน 400 มิลลิกรัมต่อลิตร
3
มาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุ กร ประเภท ข และ ค ที่กาหนดให้มีค่าไนโตรเจนทั้งหมด ไม่เกิน 200 มิลลิกรัมต่อลิตร
 หมายถึง เหมาะสม
 หมายถึง ไม่เหมาะสม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 8-53


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT008
บทที่ 9
ผลการศึกษาจากห้ องปฏิบัตกิ าร :
การผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตหรือปุ๋ ยอะพาไทด์
(Apatite)
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บทที่ 9
การผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตและปุ๋ ยแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต จากอุปกรณ์ สาธิต
9.1 ระบบต้นแบบการผลิตปุ๋ ยอินทรีย์เคมีท้งั สองชนิด
รายการอุปกรณ์ระบบต้นแบบการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีในโครงการดังแสดงในตาราง 9-1
ตาราง 9-1 แสดงรายการสาหรับอุปกรณ์ผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีขนาด 2,000 ลิตร
ลำดับที่ รำยกำร จำนวน หน่ วย รำคำวัสดุ รำคำค่ ำแรงรวมค่ ำวัสดุ รวมค่ ำแรง รวม (บำท)
1 ปรับพื้นที่ 1 lot 0 1,000 0 1,000 1,000
2 เสาเข็ม หกเหลี่ยมกลวง ขนาด 0.15*3.00 เมตร 15 Ea 400 240 6,000 3,600 9,600
3 ทรายหยาบอัดแน่ น 1 m3 300 300 300 300 600
4 ค่าไม้แบบ 1 lot 500 200 500 200 700
5 คอนกรี ต โครงสร้าง 1 M3 2,500 500 2,500 500 3,000
6 เหล็กเสริ ม ขนาด 6 มม. 16 kg 28 5 448 80 528
7 ตะปู,ลวดผูกเหล็ก 1 lot 100 0 100 0 100
รวม 15,528
8 ท่อ PVC ขนาด 1/2' 12 m 15 15 180 180 360
9 ท่อ PVC ขนาด 1' 8 m 25 25 200 200 400
10 ท่อ PVC ขนาด 2' 8 m 65 25 520 200 720
11 Ball vale pvc dia ขนาด 1/2" 4 Ea 150 60 600 240 840
12 Ball vale pvc dia ขนาด 1" 2 Ea 250 100 500 200 700
14 Ball vale pvc dia ขนาด 2" 1 Ea 350 140 350 140 490
15 Fitting 1 Lot 1,197 511 1,197 511 1,708
16 Support+Acc 1 Lot 1,222 517 1,222 517 1,739
รวม 6,957
17 Chemicle feed pump (3 LPM) 2 Ea 450 0 900 0 900
18 Chemicle feed pump (3 LPM) 2 Ea 450 0 900 0 900
19 Reactor Tank 2000 litre 1 Ea 30,000 0 30,000 0 30,000
20 Tank 100 litre 1 Ea 1,800 0 1,800 0 1,800
21 Tank 100 litre 2 Ea 1,100 0 2,200 0 2,200
22 PH meter 1 Ea 2,000 0 2,000 0 2,000
22 Centrifugal pump(Pastic blade&case) 5 m3/h 1 Ea 3,000 0 3,000 0 3,000
รวม 40,800
23 ตู้ control และระบบไฟฟ้ า และอื่น ๆ 1 Lot 15,000 0 15,000 0 15,000
รวม 15,000
Totol cost 78,285

ระบบผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีตน้ แบบดังกล่าวติดต้นและทาการทดลองผลิต ณ ประชาฟาร์ ม จังหวัด


นครปฐม ดังแสดงในรู ป 9-1

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-1


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูป 9-1 ระบบสาธิตการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี ณ ประชาฟาร์ม จังหวัดนครปฐม

ถังผลิ ตปุ๋ย 2000 ลิ ตร

ตู้ควบคุมการทางาน

ถังสารตกตะกอน

ถังสารละลายกรด-ด่าง

9.2 วิธีการผลิตปุ๋ ยอินทรีย์เคมีท้งั สองชนิดจากระบบต้นแบบ

1) สูบน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ ปริ มาณ 2,000 ลิตร เข้าถังผลิตปุ๋ ย


หมายเหตุ : สูบน้ าที่ผา่ นระบบฯ เข้าถังผลิตปุ๋ ย ปริ มาณ 2000 ลิตร ซึ่งน้ าดังกล่าว
จะมีค่าพีเอช (pH) 4-7
2) การเติมสารเคมี
 สาหรับการผลิตปุ๋ ยอะพาไทด์ เติมปูนขาว 2 – 4 กก. ต่อน้ า 40 - 60 ลิตร ในถังสาร
ตกตะกอน และสูบเข้าถังผลิตปุ๋ ย
 สาหรับการผลิตปุ๋ ยสตรูไวท์ เติมโซดาไฟ 1 – 2 กก. ต่อน้ า 30 – 50 ลิตร ในถังสาร
ตกตะกอน และสูบเข้าถังผลิตปุ๋ ย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-2


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

การสูบสารเคมีเข้าถังผลิตปุ๋ ย : ควรตรวจวัดค่า pH ของน้ าในถังผลิตปุ๋ ยควบคู่ไปด้วย เพื่อให้พี


เอช (pH) อยูป่ ระมาณ 8 - 9
3) กวนสารละลายให้เข้ากัน เป็ นเนื้อเดียวกันกับน้ า
ในระบบสาธิตใช้ปั๊มแทนการกวน โดยอาศัยหลัการไหลเวียน (Circulate) ของน้ า
4) วัดค่าพีเอช (pH) ของน้ าในถังผลิตปุ๋ ย ให้มีค่าอยูใ่ นช่วง 8 – 9 (หากค่า pH ยังไม่ได้ ให้เติม
สารละลายเพิ่ม)
หมายเหตุ : เมื่อทาการกวนสารละลาย จะทาให้ ค่าพีเอช (PH) เปลี่ยน จึงควรวัดค่าพีเอช
(PH) อีกครั้ง
5) พักน้ าทิ้งไว้เป็ นเวลา 2 วัน
เพื่อทาให้ธาตุอาหารที่อยู่ในน้ าเกิด การทาปฏิกิ ริย าเคมีต่อกัน และทาให้เกิด การสร้าง
สารประกอบเคมีอินทรี ย ์ ตกตะกอนลงสู่ส่วนล่างของถังผลิตปุ๋ ย
6) เปิ ดท่อระบายปุ๋ ย เพื่อแยกเอาส่วนที่เป็ นปุ๋ ยออกมาตาก
7) ตากปุ๋ ยประมาณ 2-3 วัน หรื อจนกว่าจะแห้ง ซึ่งจะได้ตะกอนปุ๋ ยประมาณ 3-6 กิโลกรัม ต่อ
การผลิตหนึ่งครั้ง
8) นาปุ๋ ยที่แห้งแล้วไปบรรจุถุง

9.3 ผลวิเคราะห์ ปุ๋ยอะพาไทด์ และปุ๋ ยสตรูไวท์ ที่ผลิตได้ ณ ประชาฟาร์ ม


ตาราง 9-2 ผลการทดสอบปุ๋ ยแคลเซี ยมฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยอะพาไทด์ (เอกสารอ้างอิง)

ผลการทดสอบปุ๋ ยแคลเซี ยมฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยอะพาไทด์ จากตาราง 9-2 พบว่า แนวทางการ
ตกตะกอนปุ๋ ยอะพาไทด์ เป็ นการตกตะกอนไอออนของแคลเซียม และฟอสเฟตในน้ า ด้วยการเติม ปูนขาว
(แคลเซียมไฮดรอกไซด์) ให้อยูใ่ นรู ปของสารประกอบแคลเซียมฟอสเฟต ดังนั้น ปริ มาณธาตุอาหารที่พบ
ในปุ๋ ยส่วนใหญ่ คือ ฟอสฟอรัส ซึ่งเป็ นธาตุอาหารหลัก (พบในปริ มาณ 3.38 กรัม) และแคลเซียม ซึ่งเป็ น
ธาตุอาหารรองของพืช (พบในปริ มาณ 24.2 กรัม)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-3


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตาราง 9-3 ผลการทดสอบปุ๋ ยแมกนีเซี ยม แอมโมเนียม ฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยสตรู ไวท์ (เอกสารอ้างอิง)

จากตาราง 9-3 ผลการทดสอบปุ๋ ยแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยสตรู ไวท์ พบว่า แนว
ทางการตกตะกอนปุ๋ ยสตรู ไวท์ เป็ นการตกตะกอนไอออนของแมกนีเซียม แอมโมเนี ย และ ฟอสเฟต ที่มี
อยู่ใ นน้ าทิ้ ง ด้ว ยการเติ ม สารละลายโซดาไฟ (โซเดี ย มไฮดรอกไซด์ ) ให้อ ยู่ใ นรู ป ผลึ ก สตรู ไ วท์
(แมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต) ดังนั้น ปริ มาณธาตุอาหารที่พบในปุ๋ ยส่ วนใหญ่ คือ ฟอสฟอรัส (พบ
ในปริ มาณ 14.24 กรัม) ไนโตรเจน ( พบในปริ มาณ 1.47 กรัม ในรู ปของแอมโมเนี ย) ซึ่งเป็ นธาตุอาหารหลัก
และแมกนีเซียม (พบในปริ มาณ 5.06 กรัม) ซึ่งเป็ นธาตุอาหารรอง ของพืช ส่ วนโพแทสเซียม แม้จะมีการ
ตรวจพบในน้ าทิ้ง แต่ทว่าวิธีการตกตะกอนทางเคมีไม่สามารถตกตะกอนโพแทสเซี ยม เนื่ องจากธาตุ
โพแทสเซียมสามารถละลายน้ าได้ดี

9.4 ปัจจัยที่มผี ลต่อการผลิตปุ๋ ยจากอุปกรณ์สาธิต


ปั จ จัย ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับการตกตะกอนปุ๋ ยและคุ ณ ภาพปุ๋ ยที่ ไ ด้ ขึ้ น อยู่ก ับ การควบคุ มระบบที่
เหมาะสม และคุณภาพน้ าทิ้ง (ปริ มาณธาตุอาหาร หรื อ ฟอสฟอรัส) ก่อนเข้าระบบ ปั จจัยด้านคุณภาพน้ า
เป็ นพารามิเตอร์ ที่จ ะสะท้อนให้เห็นถึงปริ มาณตะกอนและคุณ ภาพของตะกอนที่ได้ เช่น ในกรณี ของ
ฤดูฝนที่ มีปริ ม าณน้ า เข้า สู่ ร ะบบเป็ นจ านวนมาก ทาให้น้ าทิ้ งมี ปริ มาณสารอาหารหลงเหลือ อยู่น้อ ย
เมื่อเทียบกับในฤดูร้อน ดังนั้น ในการเดินระบบของถังปฏิกรณ์แบบทีละเท (Batch) จึงทาให้ปริ มาณธาตุ
อาหารที่อยูใ่ นตะกอนมีนอ้ ย
ในส่วนของการควบคุมระบบของถังปฏิกรณ์ตน้ แบบยังดาเนิ นการได้ไม่นาน การควบคุมและ
การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของระบบเพื่อให้ได้ คุณภาพตะกอนและคุณภาพน้ าทิ้งที่ดีข้ ึน ยังสามารถทาการ
พัฒนาได้อีก เช่น การเติมสารประกอบฟอสเฟตลงไปจานวนเพียงเล็กน้อย แต่จะทาให้ได้ปริ มาณตะกอน
ที่เพิม่ มากขึ้น เนื่องจากฟอสเฟตสามารถตกตะกอนได้เพิ่มขึ้นร่ วมกับ แมกนี เซียม แคลเซียมและไอออน
อื่นๆในน้ า ทาให้คุณภาพน้ าทิ้งดีข้ ึนด้วยถ้ามีการควบคุมการเติมฟอสเฟตลงไปอย่างเหมาะสม นอกจากนี้
การเติมสารหล่อผลึก การเวียนน้ ากลับเข้าระบบอีกครั้งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการตกตะกอน แต่ก็จะทาให้
การเดินระบบมีความยุ่งยากเพิ่มมากขึ้นอีกและต้องการผูเ้ ชี่ยวชาญในการดาเนิ นงาน ในเบื้องต้นทางที่
ปรึ กษาจึงได้นาเสนอแนวทางในการดาเนินการแบบไม่ยงุ่ ยาก ซึ่งผลได้เป็ นที่น่าพอใจในระดับหนึ่ง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-4


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

9.5 ประโยชน์ ของปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรือ ปุ๋ ยอะพาไทต์ และวิธีการนามีไปใช้ ทางการเกษตร


9.5.1 ประโยชน์ จากปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรือ ปุ๋ ยอะพาไทต์
ผลการทดสอบปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยอะพาไทด์ (ตาราง 9-2) ที่ผลิตได้ ณ ประชาฟาร์ ม
แสดงให้เห็นว่า ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟส หรื อ ปุ๋ ยอะพาไทต์ มี ธาตุอาหารสาหรับพืชอันประกอบด้วยธาตุ
แคลเซียม และฟอสฟอรัส สามารถอธิบายบทบาทและหน้าที่ดงั แสดงในตาราง 9-4
ตาราง 9-4 บทบาทและหน้าที่ของธาตุแคลเซี ยม (Ca) และฟอสฟอรัส (P) (อ้างอิงจาก: กองปฐพีวิทยา กรมวิชาการเกษตร)
ธาตุอาหาร บทบาทและหน้ าที่
แคลเซี ยม (Ca) เป็ นส่ วนประกอบของโครงสร้ างที่สาคัญของผนังเซลล์ ซึ่ งจาเป็ นและมีบทบาทหน้าที่สาคัญต่อ
การแบ่งเซลล์ ช่ วยให้ผ นังเซลล์แข็งแรง เป็ นองค์ป ระกอบที่ สาคัญและกระตุ ้นการทางานของ
เอ็นไซม์หลายชนิด ทาหน้าที่ลดพิษของกรดอินทรี ยใ์ นพืช ช่วยส่ งเสริ มการเจริ ญเติบโตของราก
การผสมเกสร และการงอกของเมล็ด
ฟอสฟอรัส (P) มีความสาคัญต่อยีนส์ การแบ่งเซลล์ และการสร้างเซลล์ในพืช นอกจากนี้ยงั เป็ นส่ วนประกอบของ
ฟอสฟอไลปิ ด (Phospholipid), NADP และ ATP เป็ นตัวถ่ายทอดพลังงานระหว่างสารต่อสารในระบบ
ต่างๆ เช่น การสังเคราะห์แสง การหายใจ การเคลื่อนย้ายสาร ช่วยในการเจริ ญเติบ โตของราก
จาเป็ นสาหรับการออกดอกติดเมล็ด และการพัฒนาของเมล็ดหรื อผล

คุณสมบัติเบื้องต้นของปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตสามารถอธิบายได้ดงั นี้


ทางกายภาพ ‟ ทาให้ดินร่ วน โปร่ งพรุ น อากาศในดินถ่ายเทได้สะดวก น้ าไม่ขงั จุลินทรี ยด์ ินมีการ
เจริ ญเติบโตดีและมีกิจกรรมต่อเนื่อง ทาให้รากพืชเจริ ญเติบโตดี
ทางเคมี ‟ ทาให้ดินเพิ่มความสามารถในการแลกเปลี่ยนธาตุประจุบวก เพิม่ ความสามารถในการสรร
หาและปลดปล่อยธาตุอาหารให้แก่พืช
ทางชีวภาพ ‟ ช่วยเพิม่ ความเป็ นประโยชน์ได้ของธาตุอาหารพืช หรื อลดการถูกตรึ ง (fixation) ของ
ธาตุอาหารในดินกรดจัด เช่น
 เป็ นปุ๋ ยที่เหมาะกับไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้กระถาง นาข้าว และพืชอื่นๆ ที่ขาดแคลเซียม
 โดยปกติ แนะนาให้เกษตรกรผูป ้ ลูก พืชไร่ ใช้ปรับปรุ งดิน ในบริ เวณพื้นที่ ลาดชัน ที่มีธาตุ
เหล็กมาก (ดินสีแดง) เพื่อลดความเป็ นกรดของดิน
 ส่ วนประกอบที่เป็ นสารฟอสเฟต ทาหน้าที่ ช่วยในกระบวนการสังเคราะห์แสง ให้พลังงาน
แก่พืชได้ดี

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-5


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

9.5.2 การนาปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรือปุ๋ ยอะพาไทด์ ไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ทางการเกษตร


ข้อมูลจากกลุ่มวิจ ัย ปุ๋ ยและสารปรั บปรุ งดิน กรมวิชาการเกษตรพบว่า ปุ๋ ยอะพาไทต์ หรื อปุ๋ ย
แคลเซียมฟอสเฟตมีธาตุอาหารรองประเภทแคลเซียมซึ่งมีคุณลักษณะที่ปลดปล่อยตัวเองในสภาวะกรด
อ่อนๆ (pH ประมาณ 5.5 หรื อต่ากว่า) โดยมีคุณสมบัติที่สามารถจะนาไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร เช่น

ใช้ ปรับปรุงดินโดยตรง
มีคุ ณ สมบัติ เป็ นปุ๋ ยปรั บ ปรุ งดิ น เหมาะสมกับ การเพาะปลูก ซึ่ งเป็ นลัก ษณะเด่ น ของปุ๋ ยที่ มี
ส่วนประกอบของแคลเซียม โดยสามารถใช้กบั ดินที่มีอินทรี ยว์ ตั ถุสูง (pH ต่ากว่า 5.5) ดินกรด ดินเปรี้ ยว
ดินแน่น ดินเหนียว เพื่อปรับปรุ งคุณภาพดิน
ผลการทดสอบตัว อย่างปุ๋ ยแคลเซี ย มฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยอะพาไทด์ (ตาราง 9-1) ที่ ผลิต ได้ ณ
ประชาฟาร์ม โดย บริ ษทั ห้องปฏิบตั ิการกลาง (ประเทศไทย) จากัด พบว่า ในปริ มาณปุ๋ ยอะพาไทด์ 100
กรัม พบปริ มาณธาตุอาหารหลักของพืชในปริ มาณต่า และพบปริ มาณแร่ ธาตุแคลเซียมซึ่งเป็ นธาตุอาหาร
รองในปริ มาณสูง สามารถใช้เป็ นปุ๋ ยแคลเซียมในการปรับปรุ งคุณภาพดินได้

ใช้ ผสมร่ วมกับปุ๋ ยเคมี


ข้อมูลจากกองปฐพีวิทยา กรมวิชาการเกษตร ระบุให้ใช้ปุ๋ยอะพาไทต์ผสมปุ๋ ยชนิดต่างๆ เช่น
 ใช้ร่วมกับปุ๋ ยคอก, ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายเร็ ว ปุ๋ ยไนโตรเจน (ประเภทแอมโมเนียม/ไนเตรต/
ยูเรี ย), ปุ๋ ยมูลสัตว์ที่มีธาตุไนโตรเจนสูง, ปุ๋ ยโพแทสเซียม ในอัตราส่วนเท่าๆ กัน
 ใช้ร่วมกับวัสดุเหลือใช้ที่เป็ นกรด ได้แก่ กากน้ าตาลและน้ าหมักชีวภาพ โดยใช้ฉีดทางใบแก่พืช
หรื อ ผสมร่ วมกับน้ าส่าเหล้าเพื่อใช้สาหรับลองก้นหลุมก่อนปลูกพืช ในอัตราส่วนที่เหมาะสม
โดยสู ตรปุ๋ ยเบื้องต้นที่ ได้จ ากค่ าที่ได้จ ากระบบ สามารถใช้ก ับพืชประเภทต่ างๆ ดังแสดงใน
ตาราง 9-5 ทั้งนี้การใช้ปุ๋ยอะพาไทต์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต้องนาตัวอย่างดินของพื้นที่เพาะปลูก
มาวิเคราะห์เพื่อค้นหาสัดส่วนสูตรปุ๋ ยที่เหมาะสม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-6


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตาราง 9-5 ปริ มาณปุ๋ ยผสมระหว่างปุ๋ ยอะพาไทต์และปุ๋ ยคอกที่ใช้กบั พืชต่างๆ


ช นิ ด พื ช ลัก ษ ณะดิ น อัต ราปุ๋ ย (ก ก ./ ไร่ )

ข้าว ดิน เ หนี ย ว 30-50

ดิน เ หนี ย วปนทราย 30-50

ข้าวโพด , ดิน เ หนี ย ว 40-80


ข้าวฟ่ าง
ดิน เ หนี ย วปนทราย 50-80

มันสาปะหลัง ดิน ปลูก มันสาปะหลังทั่วไป 50-80

ฝ้ าย ดิน ปลูก ฝ้ ายทั่วไป 40-80

ดิน ทีม
่ ฟ
ี อสฟอรัสต่า 50-80

อ้อย ดิน ปลูก อ้อยทั่วไป 50-100

ดิน ทีม
่ โี พแ ทสเ ซีย มสูง 50-100

ถั่ วชนิ ดต่าง ๆ : ถั่ วเ หลือง ดิน ทราย 30-50


, ถั่ วลิสง , ถั่ วเ ขีย ว
ดิน เ หนี ย ว 30-50

(อ้างอิงจากสานักวิทยาบริ การ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี)

ทั้งนี้ธาตุฟอสเฟตจากปุ๋ ยแคลเซี ยมฟอสเฟตจะยังคงค้างอยู่ในดินซึ่งค่อยๆ ปลดปล่อยตัวเองแก่


พืช โดยเฉลี่ยใช้เวลาถึง 5 ‟ 15 ปี เนื่องจากมีความสามารถในการละลายน้ าได้น้อย ดังนั้นในช่วงปี ถัดมา
ในฤดุเพาะปลูกจึงสามารถงดการให้ปุ๋ยฟอสเฟต แต่ ยงั คงต้องให้ปุ๋ยไนโตรเจน และปุ๋ ยโพแทสเซียมคง
เดิม โดยเฉลี่ยปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตสามารถทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีได้ประมาณ 10 ‟ 20 เปอร์เซ็นต์

9.6 ประโยชน์ ของปุ๋ ยแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต หรือปุ๋ ยสตรูไวท์ และวิธกี ารนามีไปใช้ ให้
เกิดประโยชน์ทางการเกษตร
9.6.1 ประโยชน์ ของปุ๋ ยแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต หรือปุ๋ ยสตรูไวท์
ผลการทดสอบปุ๋ ยแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยสตรู ไวท์ (ตาราง 9-3 ) ที่ผลิตได้ ณ
ประชาฟาร์ ม แสดงให้เห็ น ว่า ปุ๋ ยแคลเซี ยมฟอสเฟส หรื อ ปุ๋ ยอะพาไทต์ มีธาตุ อาหารสาหรั บพืชอัน
ประกอบด้วยธาตุแคลเซียม และฟอสฟอรัส สามารถอธิบายบทบาทและหน้าที่ดงั แสดงในตาราง 9-6
ตาราง 9-6 บทบาทและหน้าที่ของธาตุแมกนีเซี ยม (Mg) และฟอสฟอรัส (P)
ธาตุอาหาร บทบาทและหน้ าที่
ฟอสฟอรัส (P) มีความสาคัญต่อยีนส์ การแบ่งเซลล์ และการสร้างเซลล์ในพืช นอกจากนี้ ยงั เป็ นส่ วนประกอบของ
ฟอสฟอไลปิ ด (Phospholipid), NADP และ ATP เป็ นตัวถ่ายทอดพลังงานระหว่างสารต่ อสารในระบบ
ต่างๆ เช่น การสังเคราะห์แสง การหายใจ การเคลื่อนย้ายสาร ช่วยในการเจริ ญเติบโตของราก จาเป็ น
สาหรับการออกดอกติดเมล็ด และการพัฒนาของเมล็ดหรื อผล

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-7


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ธาตุอาหาร บทบาทและหน้ าที่


แมกนีเซี ยม (Mg) แมกนีเซี ยม เป็ นธาตุอาหารรอง ซึ่ งมีความจาเป็ นต่อการเจริ ญเติบโตของพืชเนื่ องจาก แมกนี เซี ยม
เป็ นส่ ว นประกอบส าคัญในโมเลกุ ล ของคลอโรฟิ ลล์ซ่ ึ งส าคัญส าหรั บ การสังเคราะห์แ สง เป็ น
ส่ วนประกอบของระบบเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแป้ ง สร้างกรดนิวคลีอิก เป็ นตัวกระตุน้ การ
ทางานของเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการหายใจของเซลล์และเมตาโบลิ ซึมของคาร์ โบไฮเดรท ช่ว ย
เสริ มสร้างการดูดใช้และการลาเลียงธาตุฟอสฟอรัส ช่วยเคลื่อนย้ายน้ าตาลในพืช

ข้อมูลจากกลุ่มวิจยั ปุ๋ ยและสารปรับปรุ งดิน กรมวิชาการเกษตรพบว่า ปุ๋ ยแมกนีเซียม แอมโมเนียม


ฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยสตรู ไวท์ มีคุณสมบัติที่สามารถจะนาไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตรดังต่อไปนี้
 มีคุณสมบัติ ในช่ วยการปรั บปรุ งดิ น ทรายให้เป็ นดิ นร่ วน ทาให้ดินจับธาตุ อาหาร และ
อุม้ น้ าได้มากขึ้น
 น้ าที่ผา่ นขบวนการผลิตปุ๋ ยสตรู ไวท์ ยังสามารถนาไปใช้ในการเพาะปลูกได้อีกทางหนึ่ ง
เนื่องจากมีแร่ ธาตุโซเดียม จึงเหมาะสาหรับนาไปใช้ในการปลูกข้าว มะพร้าว อ้อย หัว
ไชเท้า และหัวผักกาด จะทาให้ผลผลิตที่ได้มีความหอมหวานมากขึ้น
9.6.2 วิธีการนาปุ๋ ยแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต หรือปุ๋ ยสตรูไวท์ ไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ ทาง
การเกษตร
ผลการทดสอบตัวอย่างปุ๋ ยแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยสตรู ไวท์(ตาราง 9-2) ที่ผลิต
ได้ ณ ประชาฟาร์ม โดย บริ ษทั ห้องปฏิบตั ิการกลาง (ประเทศไทย) จากัด พบว่า ปุ๋ ยสตรู ไวท์ 100 กรัม มี
ปริ มาณธาตุไนโตรเจน 1.47 กรัม พบปริ มาณธาตุฟอสฟอรัส 14.24 กรัม และพบปริ มาณธาตุโพแทสเซียม
0.31 กรัม หรื ออยู่ในรู ปของปุ๋ ยธาตุอาหารหลัก (N ‟ P ‟ K) คือ 1.47 ‟ 14.24 ‟ 0.31 มีปริ มาณฟอสเฟต
ค่อนข้างสูงสามารถน าไปทดแทนแม่ปุ๋ยฟอสเฟตได้ การน าปุ๋ ยสตรู ไวท์เพื่อทดแทนแม่ปุ๋ยฟอสเฟต
สาหรับผลิตปุ๋ ยเคมีในท้องตลาด ทาได้โดยผสมระหว่าง ปุ๋ ยสตรู ไวท์และแม่ปุ๋ยทั้งสามชนิ ด คือ
1. แม่ปุ๋ยไนโตรเจน (N) (หรื อ ปุ๋ ยยูเรี ย 46-0-0)
2. แม่ปุ๋ยฟอสเฟต (P) (หรื อ ปุ๋ ยไดแอมโมเนียมฟอสเฟต 18-46-0)
3. แม่ปุ๋ยโพแทสเซียม (K) (ปุ๋ ยโพแทสเซียมคลอไรค์ 0-0-60)

อนึ่ ง อัตราส่ ว นการผสมปุ๋ ยเคมี โดยใช้ปุ๋ยแมกนี เซียม แอมโมเนี ยม ฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยสตรู ไวท์
ทดแทนแม่ปุ๋ยไดแอมโมเนียมฟอสเฟต ถือเป็ นแนวทางเบื้องต้น การขยายผลโครงการฯ เพื่อพัฒนาระบบ
ผลิ ต ปุ๋ ยอิ น ทรี ย์เ คมี ใ ห้เ หมาะสมกับ ปริ มาณน้ าทิ้ ง จากระบบผลิ ต ก๊ า ซชี ว ภาพ จะสามารถผลิ ต ปุ๋ ย
แมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยสตรู ไวท์ ที่มีความเข้มข้นที่คงที่ และลดต้นทุนด้านสารเคมีใน
การผลิต ทั้งนี้แนวทางที่จะให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดในด้านผลตอบแทนของการผลิตปุ๋ ย แบ่งได้เป็ นสอง
กรณี คือ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-8


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

1) การจัดจาหน่ายให้กบั โรงงานผลิตปุ๋ ยเคมีโดยตรง เมื่อปุ๋ ยมีราคาสูง


2) การผสมปุ๋ ยเคมีเพื่อการจัดจาหน่ายเอง เมื่อสามารถผลิตปุ๋ ยได้ในราคาต้นทุนต่า

ตัวอย่างการคานวณสู ตรปุ๋ ย
ต้องการผลิตปุ๋ ยเคมี 16-16-8 (มีขายในท้องตลาด) ให้ได้น้ าหนักรวม 100 กิโลกรัม โดยใช้ปุ๋ยสตรู
ไวท์ซ่ึงในตัวอย่างนี้จะใช้ปริ มาณ 40 กิโลกรัม (น้ าหนักสตรู ไวท์ ที่เติมในแม่ปุ๋ย) ดังนั้นจะต้องใช้แม่ปุ๋ย
ชนิดต่างๆ อย่างละกี่กิโลกรัม

ปุ๋ ยสตรูไวท์ที่ได้ จากแบบสาธิต มีปริมาณสารอาหาร ในสัดส่ วน N=1.47 P=14.24 K=0.31 ในปุ๋ ย


สตรูไวท์ 100 กิโลกรัม (1.47-14.24-0.31)

ชนิดแม่ปุ๋ยที่มีในท้องตลาดที่เหมาะสมในการนามาผสมเพือ่ ผลิต คือ


 แม่ปุ๋ยยูเรี ย [46-0-0 (U)]
 แม่ปุ๋ยไดแอมโมเนียมฟอสเฟต[18-46-0 (DAP)]
 แม่ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรค์ [0-0-60 (MOP) ]

วิธีการคานวณ

1. ตรวจสอบปริ มาณสารอาหาร N-P-K จากปุ๋ ยสตรู ไวท์ 40 กิโลกรัม


2. คานวณหาฟอสฟอรัสที่ตอ้ งใช้จากแม่ปุ๋ยไดแอมโมเนียมฟอสเฟต[18-46-0] (DAP)
3. คานวณหาปริ มาณไนโตรเจนที่ตอ้ งใช้จากแม่ปุ๋ยยูเรี ย (46-0-0)
4. คานวณหาปริ มาณโพแทสเซียมที่ตอ้ งใช้จากแม่ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรค์ [0-0-60] (MOP)
5. คานวณหาน้ าหนักรวม ที่ผสมสูตร 16-16-8 มีน้ าหนักจานวน 100 กิโลกรัม

รายละเอียดการคานวณมีดงั นี้

1. ตรวจสอบปริมาณสารอาหาร N-P-K ในปุ๋ ยสตรูไวท์ 40 กิโลกรัม


1.1 หาปริมาณไนโตรเจนในปุ๋ ยสตูรไวท์ 40 กิโลกรัม

ปริ มาณไนโตเจนในปุ๋ ยสตรู ไวท์ 100 กก. = 1.47 กิโลกรัม

น้ าหนักปุ๋ ยสตรูไวท์ที่เติมในแม่ปุ๋ย = 40 กิโลกรัม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-9


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

น้ าหนักปุ๋ ยที่ตอ้ งการเติม = 100 กิโลกรัม

ปริมาณในโตรเจน = กิโลกรัม

= 0.59 กิโลกรัม

1.2 หาปริมาณฟอสฟอรัสในปุ๋ ยสตรูไวท์ 40 กิโลกรัม

ปริ มาณฟอสฟอรัสในปุ๋ ยสตรู ไวท์ 100 กก. = 14.24 กิโลกรัม

น้ าหนักปุ๋ ยสตรูไวท์ที่เติมในแม่ปุ๋ย = 40 กิโลกรัม

น้ าหนักปุ๋ ยที่ตอ้ งการเติม = 100 กิโลกรัม

ปริมาณฟอสฟอรัส = กิโลกรัม

= 5.7 กิโลกรัม

1.3 หาปริมาณโพแทสเซียมในปุ๋ ยสตรูไวท์ 40 กิโลกรัม

ปริ มาณโพแทสเซียมในปุ๋ ยสตรู ไวท์ 100 กก. = 0.31 กิโลกรัม

น้ าหนักปุ๋ ยสตรูไวท์ที่เติมในแม่ปุ๋ย = 40 กิโลกรัม

น้ าหนักปุ๋ ยที่ตอ้ งการเติม = 100 กิโลกรัม

ปริมาณฟอสฟอรัส = กิโลกรัม

= 0.12 กิโลกรัม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-10


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

1.4 หาปริมาณ N-P-K ที่ยงั ขาดอยู่ หากต้ องการได้ ปยเคมี


ุ๋ สูตร (16-16-8) ปริมาณ 100 กิโลกรัม
โดยนาปริมาณ N-P-K ที่มีในปุ๋ ยสตรูไวท์ 40 กิโลกรัม ผสมกับแม่ปุ๋ยต่ างๆ

ปริ มาณไนโตเจนที่ตอ้ งการ = 16 กิโลกรัม

ปริ มาณฟอสฟอรัสที่ตอ้ งการ = 16 กิโลกรัม

ปริ มาณโพแทสเซียมที่ตอ้ งการ = 8 กิโลกรัม

ปริ มาณไนโตเจนที่มีอยูใ่ นปุ๋ ยสตรู ไวท์ 40 กก. = 0.59 กิโลกรัม

ปริ มาณฟอสฟอรัสที่มีอยูใ่ นปุ๋ ยสตรู ไวท์ 40 กก. = 5.7 กิโลกรัม

ปริ มาณโพแทสเซียมที่มีอยูใ่ นปุ๋ ยสตรู ไวท์ 40 กก. = 0.12 กิโลกรัม

ปริมาณไนโตรเจนที่ยงั ขาดอยู่ 16 - 0.59 = 15.4 กิโลกรัม

ปริมาณฟอสฟอรัสนที่ยงั ขาดอยู่ 16 – 5.7 = 10.3 กิโลกรัม

ปริมาณโพแทสเซียมทีย่ งั ขาดอยู่ 8 – 0.12 = 7.88 กิโลกรัม

2. คานวณหาปริมาณฟอสฟอรัสทีผ่ สมกับแม่ ปยไดแอมโมเนี


ุ๋ ยมฟอสเฟต [18-46-0] (DAP)

2.1 ปริมาณแม่ ปุ๋ย (DAP) ที่ต้องการใช้ เพือ่ ให้ ได้ ฟอสฟอรัสตามที่ต้องการ

ปริ มาณแม่ปุ๋ย (DAP) = 100 กิโลกรั ม

ปริ มาณฟอสฟอรั ส ที่ยงั ขาดอยู่ = 10.30 กิโลกรั ม

ปริ มาณฟอสฟอรั ส ในแม่ปุ๋ย (DAP) 100 กก. = 46 กิโลกรั ม

ปริมาณแม่ ปุ๋ย (DAP) ที่ต้องการ = กิโลกรัม

= 22.39 กิโลกรัม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-11


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

2.2 คานวณหาปริมาณไนโตรเจนที่ตดิ มากับแม่ปุ๋ยไดแอมโมเนียมฟอสเฟต (DAP) (18-46-0) ที่


น้าหนัก22.39 กิโลกรัม

ปริ มาณไนโตรเจนในแม่ปุ๋ย (DAP) 100 กก. = 18 กิโลกรัม


ปริ มาณแม่ปุ๋ย (DAP) ที่ตอ้ งการ (จากข้อ 2.1) = 22.39 กิโลกรัม
ปริ มาณแม่ปุ๋ย (DAP) = 100 กิโลกรัม
ปริมาณไนโตรเจนในปุ๋ ย (DAP) 22.39 กก. = กิโลกรัม
= 4.03 กิโลกรัม

2.3 คานวณหาปริมาณไนโตรเจนที่ต้องการ

ปริ มาณไนโตเจนที่ยงั ขาดอยู่ (จากข้อ 1.4) = 15.41 กิโลกรัม

ปริ มาณไนโตรเจนในปุ๋ ย (DAP) 22.39 กก. (จากข้อ 2.2) = 4.03 กิโลกรัม

ปริ มาณไนโตเจนที่ยงั ขาดอยู่ = 15.41 ‟ 4.03 กิโลกรัม

= 11.38 กิโลกรัม

3. คานวณหาปริมาณฟอสฟอรัสทีผ่ สมกับแม่ ปยยู


ุ๋ เรีย [46-0-0] ที่ต้องการ

ปริ มาณแม่ปุ๋ยยูเรี ย = 100 กิโลกรั ม

ปริ มาณไนโตรเจนที่ยงั ขาดอยู่ (จากข้ อ 2.3) = 11.38 กิโลกรั ม

ปริ มาณไนโตเจนในแม่ปุ๋ยยูเรี ย 100 กก. = 46 กิโลกรัม

ปริมาณแม่ ปุ๋ยยูเรียที่ต้องใช้ = กิโลกรัม

= 24.74 กิโลกรัม

4. คานวณหาปริมาณโพแทสเซียมที่ต้องใช้ จากแม่ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรค์ (MOP) (0-0-60)


ปริ มาณแม่ปุ๋ย (MOP) = 100 กิโลกรั ม

ปริ มาณโพแทสเซียมที่ยงั ขาดอยู่ (จากข้ อ 1.4) = 7.88 กิโลกรั ม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-12


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ปริ มาณไนโตเจนในแม่ปุ๋ยยูเรี ย 100 กก. = 60 กิโลกรัม

ปริมาณแม่ ปุ๋ย (MOP) ที่ต้องการ = กิโลกรัม

= 13.13 กิโลกรัม

5. คานวณหาน้าหนักรวม ในการผสมปุ๋ ยสูตร (16-16-8) มีน้าหนัก 100 กิโลกรัม

 ปุ๋ ยสตรู ไวท์ 1.47-14.24-0.31 = 40 กิโลกรัม


 แม่ปุ๋ยสูตร 18-46-0 = 22.39 กิโลกรัม
 แม่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 = 24.74 กิโลกรัม
 แม่ปุ๋ยสูตร 0-0-60 = 13.13 กิโลกรัม
รวมน้าหนักทัง้ หมด 100.26 กิโลกรัม ( 100 กิโลกรัม )
การใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ 40 กิโลกรัม สามารถลดการใช้แม่ปุ๋ยและสารตัวเติม (Filler) จานวน 40
กิโลกรัม หรื อคิดเป็ นร้อยละ 40

การใช้ปุ๋ยแมกนี เซียม แอมโมเนี ยม ฟอสเฟต หรื อปุ๋ ยสตรู ไวท์ ทดแทนบางส่ วน สามารถทาได้
โดยผสมร่ วมกับแม่ปุ๋ยเคมีเพื่อให้ปุ๋ยในปุ๋ ยเคมีในสูตรต่างๆ และสามารถทดแทนการใช้แม่ปุ๋ยเคมีในการ
ผสมปุ๋ ยดังนี้
สาหรับปุ๋ ยสูตรที่ 1 (16-20-0) ปริ มาณ 100 กิโลกรัม สามารถใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ผสมกับแม่ปุ๋ยเพื่อ
ผลิตปุ๋ ยสูตรนี้ ได้ประมาณ 30 - 50 เปอร์เซ็นต์
สาหรับปุ๋ ยสูตรที่ 2 (16-16-8) ปริ มาณ 100 กิโลกรัม สามารถใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ผสมกับแม่ปุ๋ยเพื่อ
ผลิตปุ๋ ยสูตรนี้ได้ประมาณ 20 - 40 เปอร์เซ็นต์
สาหรับปุ๋ ยสูตรที่ 3 (15-15-15) ปริ มาณ 100 กิโลกรัม สามารถใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ผสมกับแม่ปุ๋ยเพื่อ
ผลิตปุ๋ ยสูตรนี้ได้ประมาณ 10 - 30 เปอร์เซ็นต์
สาหรับปุ๋ ยสูตรที่ 4 (15-7-18) ปริ มาณ 100 กิโลกรัม สามารถใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ผสมกับแม่ปุ๋ยเพื่อ
ผลิตปุ๋ ยสูตรนี้ได้ประมาณ 15 - 35 เปอร์เซ็นต์
สาหรับปุ๋ ยสูตรที่ 5 (13-13-21) ปริ มาณ 100 กิโลกรัม สามารถใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ผสมกับแม่ปุ๋ยเพื่อ
ผลิตปุ๋ ยสูตรนี้ได้ประมาณ 5 - 25 เปอร์เซ็นต์
สาหรับปุ๋ ยสูตรที่ 6 (5-7-18) ปริ มาณ 100 กิโลกรัม สามารถใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ผสมกับแม่ปุ๋ยเพื่อผลิต
ปุ๋ ยสูตรนี้ได้ประมาณ 30 - 50 เปอร์เซ็นต์

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-13


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

สาหรับปุ๋ ยสูตรที่ 7 (15-7-17) ปริ มาณ 100 กิโลกรัม สามารถใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ผสมกับแม่ปุ๋ยเพื่อ


ผลิตปุ๋ ยสูตรนี้ได้ประมาณ 20 - 40 เปอร์เซ็นต์
สาหรับปุ๋ ยสูตรที่ 8 (16-8-8) ปริ มาณ 100 กิโลกรัม สามารถใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ผสมกับแม่ปุ๋ยเพื่อผลิต
ปุ๋ ยสูตรนี้ได้ประมาณ 30 - 50 เปอร์เซ็นต์
จากการวิเคราะห์เบื้องต้นพบว่า สามารถใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ผสมกับแม่ปุ๋ยเพื่อผลิตปุ๋ ยสูตรต่างๆ โดย
เฉลี่ยได้ประมาณ 20 - 40 เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ความบริ สุทธิ์ของปุ๋ ยสตรู ไวท์ที่ผลิตได้
หมายเหตุ อัตราส่วนการทดแทนแม่ปุ๋ยเคมีโดยใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ สาหรับผลวิจยั ครั้งนี้เท่านั้น

ผลการวิเคราะห์ดงั กล่าวในการทดแทนปุ๋ ยเคมีโดยใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ถือเป็ นแนวทางเบื้องต้นในการ


ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี ซ่ ึงยังต้องทาการทดลองผลิตปุ๋ ยสตรู ไวท์ที่มีคุณ ภาพคงที่ โดยสู ตรปุ๋ ยในแต่ละ
ประเภทมีคุณสมบัติใช้ในการเพาะปลูกกับพืชชนิดต่างๆ ดังแสดงในตาราง 9-7
ตาราง 9-7 ประเภทของพืชและการนาปุ๋ ยสู ตรต่างๆ ไปใช้ในการเพาะปลูก
พืช ระยะ/ช่ วงของพืช สู ตรปุ๋ ยทีใ่ ช้ อัตราการใช้ (กิโลกรัม) วิธีการใส่

นาข้าว ตั้งท้อง ปุ๋ ยสู ตรที่ 1 หรื อ ปุ๋ ยสู ตรที่ 4 50 กก. /ไร่ หว่านให้ทวั่ แปลง หลังปลูก 30-45 วัน
ต้นฝน ปุ๋ ยสู ตรที่ 3 0.5 กก./ต้น ควรแบ่งใส่ 2 ครั้ง
ปลายฝน ปุ๋ ยสู ตรที่ 4 0.5 กก./ต้น ควรแบ่งใส่ 2 ครั้ง
หากลาใยมีอายุปลูกขึ้นปี ที่ 4 ใช้ปุ๋ยดังนี้
ลาไย ควรแต่งกิ่ง โดยเฉพาะกิ่งกระโดงออกให้หมด
1. หลังเก็บเกี่ยว ปุ๋ ยสู ตรที่ 4 1 กก./ต้น
และลิ้นจี่ ก่อน
2. แตกใบอ่อน ปุ๋ ยสู ตรที่ 4 1-3 กก./ต้น อัตราการใช้หากทรงพุม่ ใหญ่ อาจเพิม่ อีก 0.5 กก.
4. ระยะผลอ่อน ปุ๋ ยสู ตรที่ 4 1-3 กก./ต้น หว่านให้ทวั่ ทรงพุม่
5. ระยะขยายผล ปุ๋ ยสู ตรที่ 5 1-3 กก./ต้น หว่านให้ทวั่ ทรงพุม่
หลังปลูก 30 วัน ปุ๋ ยสู ตรที่ 4 50 กก./ไร่ หว่านให้ทวั่ แปลง
ถัว่ ต่างๆ
หลังปลูก 45 วัน ปุ๋ ยสู ตรที่ 5 50-75 กก./ไร่ หว่านให้ทวั่ แปลง

ต้นฝน ปุยสูตรที่ 3 0.5 กก./ต้น ควรแบ่งใส่ 2 ครั้ง

ปลายฝน ปุยสูตรที่ 3 0.5 กก./ต้น ควรแบ่งใส่ 2 ครั้ง


มะม่วง
หากเปนการทามะม่วงนอกฤดู ให้ใช้ปุยดังนี้
ควรแต่งกิ่ง โดยเฉพาะกิ่งกระโดงออกให้หมด
1. หลังเก็บเกี่ยว ปุยสูตรที่ 4 1 กก./ต้น
ก่อน
หว่านให้ทั่วทรงพุ่ม
2. แตกใบอ่อน ปุยสูตรที่ 6 1-3 กก./ต้น
อัตราการใช้หากทรงพุ่มใหญ่ อาจเพิ่มอีก 0.5 กก.
มะม่วง
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด
3. ระยะผลอ่อน ปุยสูตรที่ 4 1-3 กก./ต้น หว่านให้ทั่วทรงพุ่ม
9-14
SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
4. ระยะเปลี่ยนสีผล ปุยสูตรที่ 5 1-3 กก./ต้น หว่านให้ทั่วทรงพุ่ม

ต้นฝน ปุยสูตรที่ 4 0.25 กก./ต้น


ต้นฝน ปุยสูตรที่ 3 0.5 กก./ต้น ควรแบ่งใส่ 2 ครั้ง
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ปลายฝน ปุยสูตรที่ 3 0.5 กก./ต้น ควรแบ่งใส่ 2 ครั้ง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย
มะม่วง
หากเปนการทามะม่วงนอกฤดู ให้ใช้ปุยดังนี้
ตาราง 9-7 ประเภทของพืชและการนาปุ๋ ยสู ตรต่างๆ ไปใช้ในการเพาะปลูก
ควรแต่งกิ่ง โดยเฉพาะกิ่งกระโดงออกให้หมด
พืช 1.ระยะ/ช่
หลังเก็วบงของพื
เกี่ยว ช ปุยสูตรทีสู่ 4ตรปุ๋ ยทีใ่ ช้ 1อักก./ต้ น
ตราการใช้ (กิโลกรัม) ก่อน วิธีการใส่

นาข้าว ตั้งท้อง ปุ๋ ยสู ตรที่ 1 หรื อ ปุ๋ ยสู ตรที่ 4 50 กก. /ไร่ หว่านให้ทั่วทรงพุ
แปลง่มหลังปลูก 30-45 วัน
2. แตกใบอ่อน ปุยสูตรที่ 6 1-3 กก./ต้น
อัตราการใช้หากทรงพุ่มใหญ่ อาจเพิ่มอีก 0.5 กก.
มะม่วง ต้นฝน ปุ๋ ยสู ตรที่ 3 0.5 กก./ต้น ควรแบ่งใส่ 2 ครั้ง
3. ระยะผลอ่อน ปุยสูตรที่ 4 1-3 กก./ต้น หว่านให้ทั่วทรงพุ่ม
ปลายฝน ปุ๋ ยสู ตรที่ 4 0.5 กก./ต้น ควรแบ่งใส่ 2 ครั้ง
4. ระยะเปลี่ยนสีผล ปุยสูตรที่ 5 1-3 กก./ต้น หว่านให้ทั่วทรงพุ่ม
หากลาใยมีอายุปลูกขึ้นปี ที่ 4 ใช้ปุ๋ยดังนี้
กุลหาไย
ลาบและ ต้นฝน ปุยสูตรที่ 4 0.25 กก./ต้น ควรแต่งกิ่ง โดยเฉพาะกิ่งกระโดงออกให้หมด
1. หลังเก็บเกี่ยว ปุ๋ ยสู ตรที่ 4 1 กก./ต้น
ไม้
และลิตัด้ดอก
นจี่ ก่อน ทุก 15 วัน พร้อมให้ปุยทางใบ
ปลายฝน ปุยสูตรที่ 4 0.25 กก./ต้น ควรใส่
2. แตกใบอ่
หลั งปลูก 15อวันน ปุ๋ ยสู ตรที่ 4 1-3 กก./ต้
35-50 น
กก./ไร่ อัตาราการใช้
หว่ หากทรงพุม่ ใหญ่ อาจเพิ่มอีก 0.5 กก.
นให้ทั่วแปลง
มันฝรั่ง 4. ระยะผลอ่
หลั งปลูก 30 อวันน ปุปุ๋ ยสู
ยสูตตรที
รที่่ 44 1-3กก./ไร่
50 กก./ต้น หว่าานให้
หว่ ทรงพุม่
นให้ททั่ววั่ แปลง
5. ระยะขยายผล ปุปุ๋ ยสู
ยสูตตรที
รที่่ 55 1-3 กก./ต้
น หว่าานให้ ทรงพุม่
นให้ททั่ววั่ แปลง
หลั งปลูก 45 วัน 50-75 กก./ไร่ หว่
แตงโม หลังงปลู
หลั ปลูกก 60
30 วัวันน ปุปุ๋ ยสู
ยสูตตรที
รที่่ 74 50 กก./ไร่
50 กก./ไร่ หว่านให้ทวั่ แปลง
ถัว่ ต่างๆ
หลังปลูก 45 วัน ปุ๋ ยสู ตรที่ 5 50-75 กก./ไร่ หว่านให้ทวั่ แปลง
(อ้างอิงจากเวปไซด์ บริ ษทั ผลิตปุ๋ ยเคมี - บริ ษทั แกรนนูลาร์ โกรท์ จากัด)

9.6.3 ประโยชน์ ของปุ๋ ยสตรูไวท์ ทางการเกษตรในต่างประเทศ


จากรายงานการศึกษาพบว่าผลึก MAP มีศกั ยภาพที่จะนาไปใช้เป็ นปุ๋ ยทางการเกษตร แต่อย่างไรก็
ดี ย งั ไม่ ไ ด้มี ก ารน าไปผลิ ต ทางการเพี ย งจ านวนน้อ ย ซึ่ งในบางบริ ษัท อาจใช้ชื่ อ ของสตรู ไ วท์ว่ า
“MagAmP” เพื่อป้ องกันการสับสนระหว่างปุ๋ ย Mono-ammonium phosphate โดยแนวทางการนาไปใช้
(de-Bashan and Bashan, 2007)ได้แก่
การนาไปใช้ โดยตรง
 สตรู ไวท์สามารถนาไปทาให้บริ สุทธิ์และน าไปใช้เป็ นปุ๋ ยละลายช้า (Slow-release fertilizer)
ที่สามารถใส่ได้ในปริ มาณมากในครั้งเดียว (Single high dose) โดยไม่เป็ นอันตรายต่อพืช ซึ่งพืชที่
แนะนา ได้แก่ พืชยืนต้นอายุยาว ไม้พุ่ม พืชดอก ไม้ประดับ ไม้กระถาง (Munch and Barr, 2001)
 สตรู ไวท์สามารถน าไปผสมกับสารประกอบฟอสเฟตที่ ละลายน้ าได้ดี (เช่ น Phosphoric acid,
HPO4) เพื่อนาไปผลิตเป็ นปุ๋ ยผสม (Mixed fertilizer)
 สตรู ไวท์ส ามารถน าไปทดแทนการผลิต ปุ๋ ยแอมโมเนี ยฟอสเฟต (Diammonium phosphate,
(NH4)2HPO4)) ที่ผลิตจากการใช้สารเคมีสองชนิ ดคือ กรดฟอสฟอริ ก (Phosphoric acid, HPO4)
และแอมโมเนีย (Ammonia, NH4)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-15


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

การนาไปใช้ โดยผสมทางเคมี
 การผลิตปุ๋ ยเคมี โดยใช้สตรู ไวท์ (MgNH4PO4„6H2O) ผสมกับกรดฟอสฟอริ ก (HPO4-) จะทาให้
ได้ปุ๋ยละลายช้า (Slow-release fertilizer: di-magnesium phosphate, MgHPO4) และปุ๋ ยละลายเร็ ว
(Fast-release fertilizer: di-ammonium phosphate, (NH4)2HPO4) ซึ่งวิธีการนี้ เป็ นวิธีการที่คุม้ ค่า
(Cost-effective) เมื่อเทียบกับการผลิตแบบเก่า
 สตรู ไวท์ที่ไม่ได้ผา่ นการทาให้บริ สุทธิ์ (Untreated granular struvite) สามารถนาไปผสมกับถ่าน
(Peat) เพื่อใช้เป็ นวัสดุทางการเกษตรเพื่อการปรับปรุ งดิน
 แมกนี เซี ยมที่ เป็ นส่ ว นประกอบในสตรู ไวท์ (MgNH4PO4„6H2O) เป็ นธาตุ อ าหารรองที่ มี
ประโยชน์ต่อพืชจาพวกตระกูลหัวใต้ดินบางชนิด เช่น Sugar beet (Gaterell et al.,2000) และข้าว
(Ueno and Fujii, 2003) เป็ นต้น
 ในประเทศญี่ปุ่น โรงงานผลิตปุ๋ ยซื้อสตรู ไวท์ จะไม่นาสตรู ไวท์เพียงอย่างเดียวไปผลิตปุ๋ ย แต่จะ
นาไปผสมกับ สารอินทรี ย ์ และ อนินทรี ยต์ ่างๆ และทาการปรับอัตราส่ วน (%) ธาตุอาหารต่างๆ
เช่น ไนโตรเจน กรดฟอสฟอริ ก และ โพแทสเซียม รู ปที่ 9-1 แสดง ตัวอย่างปุ๋ ยที่มีส่วนผสมของ
สตรู ไวท์ (MAP) ที่วางจาหน่ายในประเทศญี่ปุ่น

รูป 9-1 ตัวอย่างปุ๋ ยที่มีส่วนผสมของสตรู ไวท์ (MAP) ที่วางจาหน่ายในประเทศญี่ปนุ่

การใช้ ปยที ุ๋ ่มีส่วนผสมของสตรูไวท์ ในประเทศญี่ปนุ่ (Ueno and Fujii, 2003)


1. ชื่อผลิตภัณฑ์ : AGRIYUKI MAP AJIGEN – ปุ๋ ยสู ตรพิเศษ สาหรับข้ าว
ปุ๋ ยชนิดนี้มกี ารพัฒนาเพื่อเพิม่ ให้ขา้ วมีรสชาติดี -โดยเพิม่ กรดอะมิโน และ แมกนีเซียม
แอมโมเนียมฟอสเฟต (MAP) หรื อ สตรู ไวท์ ที่มีผลในการเพิ่มรสชาติให้กบั ข้าว

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-16


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

สมบัตขิ องปุ๋ ย AGRIYUKI MAP AJIGEN


- The MAP AJIGEN เป็ นปุ๋ ยเม็ด ใช้สารอินทรี ยท์ ี่ได้จากพืชและสัตว์มาทาการผลิต
เป็ นกรดอะมิโน (Amino acid) โดยกระบวนการผลิตแบบธรรมชาติ
- The MAP AJIGEN ประกอบไปด้วย แมกนี เซียมแอมโมเนี ยมฟอสเฟต (MAP)
20% โดยที่ แมกนี เซียมแอมโมเนี ยมฟอสเฟต จะประกอบด้วย ไนโตรเจน (5%),
กรดฟอสฟอริ ก (28%), และ แมกนีเซียมละลายน้ า (16%)
- The MAP AJIGEN เหมาะสาหรับการใช้ปลูกข้าว เพื่อเพิ่ม รสชาติ สี และ กลิ่น
- วิธีการใช้งาน 1.6 กิโลกรัม ต่อ ไร่ (1 กก/ 1000 ตร.ม.)

2. ชื่อผลิตภัณฑ์ HIYAKU - MAP, ปุ๋ ยอินทรีย์ 8-10-8 - Magnesia 4.0


สมบัตขิ องปุ๋ ย HIYAKU - MAP,
- The HIYAKU ประกอบด้วย MAP 30 %.
- The HIYAKU เป็ นปุ๋ ยเม็ด ใช้สารอินทรี ยท์ ี่ได้จากพืชและสัตว์มาทาการผลิตเป็ น
กรดอะมิโน (Amino acid) โดยกระบวนการผลิตแบบธรรมชาติ
- The HIYAKU ประกอบ ด้วยสารอินทรี ยไ์ นโตรเจน (organic nitrogen) 3.0% และ
MAP- nitrogen 1.5%.
- The HIYAKU helps saplings take roots correctly and firmly for early delivery.
- The HIYAKU ใช้กบั พืชไร่ ในช่ วงการ หว่านเมล็ด และการติด ดอก เพื่อ เร่ ง สี
รสชาติ และกลิ่น โดยกุญแจสาคัญของ การเพิ่มรสชาติ ไม่เพียงแต่การเพิ่มปริ มาณ
น้ าตาล และความหวาน-เปรี้ ยว แต่ยงั เพิ่มปริ มาณกรดอะมิโน
วิธีการใช้
การปลูกพืชไร่
- การปลูกผัก และ ผลไม้ ใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ปริ มาณ 256-384 กก./ไร่ ; หากใช้ร่วมกับปุ๋ ย
คอกในสัดส่วน 50:50 จะใช้ปริ มาณ 96-352 กก./ไร่
- ผักกินใบ ใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ปริ มาณ 256-320 กก./ไร่ ; หากใช้ร่วมกับปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด
ละลายเร็ ว ในสัดส่วน 1:10 จะใช้ปริ มาณ 224-352 กก./ไร่
- ดอกไม้ ใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ปริ มาณ 160-256 กก./ไร่ ; หากใช้ร่วมกับปุ๋ ยคอกในสัดส่ วน
50:50 จะใช้ปริ มาณ 128-224 กก./ไร่
- ผลไม้ ใช้ปุ๋ยสตรู ไวท์ปริ มาณใน ฤดูใบไม้ผลิ 96-160 กก./ไร่ ; ฤดูหนาว 160-224
กก./ไร่

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-17


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

การปลูกไม้สวนหย่อม
- ไม้ประดับ ใส่ ปริ มาณ 160-240 กก./ไร่ โดยปริ มาณขึ้นอยู่กบั ขนาดของต้นไม้ ทา
การใส่ รอบๆโคนต้น 3 ครั้งต่อปี ปริ มาณสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามขนาดของ
ต้นไม้
- แปลงดอกไม้ 3 กรัมต่อ 15 ตารางเซนติเมตร (ปริ มาณที่ใช้ต่อหนึ่ งต้น) หรื อ 3,200
กก./ไร่

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 9-18


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT011 rev.3
บทที่ 10
ผลการศึกษาจากห้ องปฏิบัตกิ าร :
แนวทางการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ าหรือ
ปุ๋ ยสตรู ไวท์ (Struvite)
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บทที่ 10
การประเมินความเหมาะสมทางด้ าน เทคนิค เศรษฐศาสตร์ และสิ่ งแวดล้ อม

การเพิ่มมูลค่าให้กบั น้ าทิ้ งที่ ผ่านระบบบาบัด แบบผลิต ก๊าซชี ว ภาพจากฟาร์ มสุ ก รด้วย แนว
ทางการตกตะกอนปุ๋ ยแคลเซียม-ฟอสเฟต และ ทางการตกตะกอนแมกนี เซียม-แอมโมเนี ยม-ฟอสเฟต
ทั้ง 2 แนวทางนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อแยกสารอาหารของพืชที่เจือปนอยู่ในน้ าเสี ยกลับมาใช้ประโยชน์ โดย
กระบวนการบาบัดน้ าเสียขั้นที่สามด้วยการตกตะกอนผลึกทางเคมี ที่ช่วยลดค่าความสกปรกของน้ าเสี ย
ให้มีคุณภาพน้ าทิ้งที่ดีข้ ึน มูลค่าที่จากวิธีการนี้ที่เห็นได้ชดั คือ ตะกอนสลัดจ์จากตกตะกอนที่แยกออกมา
ได้จะประกอบไปด้วยธาตุอาหารของพืช (อาทิเช่น ฟอสเฟต แอมโมเนีย แมกนีเซียม แคลเซียม เป็ นต้น )
ซึ่งสามารถนาไปใช้เป็ นปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีที่นาไปใช้ทางการเกษตรได้เป็ นอย่างดี หรื อเป็ นวัตถุดิบตั้งต้นใน
การผลิตปุ๋ ยเคมีที่จ ะทดแทนแร่ หินฟอสเฟตที่ ก าลังจะหาได้ย ากขึ้ นหากมี การจ ากัดการน ามาใช้ใน
อนาคต ทั้งนี้ อาจกล่าวได้ว่าวิธีก ารดังกล่าวเป็ นการสร้างมูลค่ าให้กบั ของเสี ย กลับมาเป็ นประโยชน์
(Turn waste to gold)
ลัก ษณะของน้ าทิ้ ง จากฟาร์ ม สุ ก รมี ธ าตุ อ าหารที่ เ ป็ นประโยชน์ เ จื อ ปนอยู่ แม้ว่ า จะผ่า น
กระบวนการบาบัดน้ าเสียแบบผลิตก๊าซชีวภาพ (หรื อ กระบวนการบาบัดแบบไร้อากาศ) ก็ยงั ไม่สามารถ
กาจัดธาตุอาหารเหล่านี้ให้ลดลงได้มากนัก จากลักษณะดังกล่าวจึงเป็ นจุดเด่นของน้ าทิ้งฯจากฟาร์ มสุ กร
ที่เหมาะสมต่อการนามาเพิ่มมูลค่าโดยการตกตะกอนทางเคมี ถ้ากระบวนการตกตะกอนมีประสิ ทธิภาพ
มีการลงทุนในเรื่ องของสารเคมีและการติ ดตั้งระบบไม่สูงมากนัก จะเกิดความคุม้ ค่าทางเศรษฐศาสตร์
เนื่องจากเป็ นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั ของเสียโดยการแยกสารอาหารของพืชที่เจือปนอยู่ในน้ าเสี ยกลับมา
ใช้เป็ นปุ๋ ยทางการเกษตร และช่วยลดปั ญหามลภาวะทางสิ่ งแวดล้อมที่เกิดจากปั ญหาการปนเปื้ อนจาก
ธาตุอาหารของพืชสู่ สิ่งแวดล้อม หรื อแม้กระทั้งประโยชน์ต่ อฟาร์ มสุ ก รในการรองรั บมาตรการจาก
ภาครัฐหากมีการควบคุมค่ามาตรฐานน้ าทิ้งต่อไปในอนาคต
จากแนวทางในการแยกสารอาหารในน้ าเสี ย กลับ มาใช้ป ระโยชน์ โดยการตกตะกอน
แคลเซียม-ฟอสเฟต และ แมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต ทั้ง 2 แนวทาง เป็ นการใช้สารเคมีเพื่อช่วย
จับธาตุอาหารของพืชที่ละลายเจือปนอยูใ่ นน้ า เช่น ฟอสเฟต แอมโมเนีย แมกนีเซียม ร่ วมกับการปรับค่า
พีเอชของน้ าให้เหมาะสมต่ อการตกตะกอนลงมาเป็ นผลึก ของแข็งแยกตัว ออกจากน้ า ทั้งนี้ การใช้
สารเคมีต่างชนิดกันจะทาให้ได้ผลิตภัณฑ์หรื อตะกอนที่มีองค์ประกอบแตกต่า งกัน ดังนั้นแนวทางการ
เพิ่มมูลค่าน้ าทั้งสองแนวทางนี้จึงแบ่งแยกออกจากกัน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-1


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

10.1 การผลิตปุ๋ ยแคลเซียม-ฟอสเฟต

10.1.1 ทฤษฏีการผลิตปุ๋ ยแคลเซียม-ฟอสเฟต


การผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตจากน้ าทิ้งฯฟาร์ มสุ กร ทาได้โดยตกตะกอนแคลเซียม (Calcium,
Ca2+) และฟอสเฟต (Phosphate, PO43-) ที่ละลายอยูใ่ นน้ าเสีย ให้รวมตัวเกิดเป็ นผลึกของแข็งและตกตะกอน
แยกออกมา จากงานวิจยั และจากการศึกษาการตกตะกอนฟอสเฟตด้วยแคลเซียมจะเกิดสารประกอบใน
รู ปของแคลเซียมกับฟอสเฟตได้หลายรู ปแบบ รวมไปถึงตะกอนของไอออนอื่น ๆในน้ ากับแคลเซีย ม
หรื อ ฟอสเฟต ทั้งนี้ก็จะขึ้นอยูก่ บั ปัจจัยที่เหมาะสมต่อการตกตะกอนในสภาวะที่ตอ้ งการ การตกตะกอน
แคลเซียมฟอสเฟตสามารถทาได้โดยควบคุมปัจจัยที่เหมาะสมต่อการตกผลึก ดังนี้
- อัตราส่วนของปริ มาณ แคลเซียมและฟอสเฟต
- ค่าพีเอชหรื อค่าความเป็ นกรด-ด่างของน้ า (pH ช่วง 7.5 -10)
- อัตราการกวนผสมสารเคมี
- ระยะเวลาการตกตะกอน
- และปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ความขุ่น

สมการทางเคมีของการเกิดการตกตะกอนผลึกแคลเซียม-ฟอสเฟต แสดงดังนี้

pH  8-12 (ปูนขาว [Ca(OH)2])


Ca(OH)2 + HCO3-  CaCO3 + H2O + OH-

5Ca2+ + 4OH- + 3HPO4  Ca5(PO4)3OH + 3H2O


(แคลเซี ยม-ไฮดรอกซี อะพาไทท์)

รูปที่ 10-1 สมการทางเคมีของการเกิดการตกตะกอนผลึกแคลเซียม-ฟอสเฟต

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-2


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ในการคิด ค่าใช้จ่ายของการผลิตปุ๋ ยจากผลการศึกษาในห้องปฏิบตั ิก ารจะนามาประเมินเพื่อ


ศึกษาความเป็ นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ ทั้งนี้ การคิดค่าใช้จ่ายจากผลการทดลองในห้องปฏิบตั ิการจะ
ไม่นา ค่าใช้จ่าย ด้านพลังงาน ค่าการติดตังอุปกรณ์ และอื่นๆ เช่น ค่าน้ า เข้ามารวมอยู่ดว้ ย จะมีเพียงแต่
ค่าใช้จ่ายในเรื่ องของปริ มาณสารเคมีที่ใช้ในการศึกษาทดลองเท่านั้น รู ปที่ 10-2 แสดง ระบบการ
ตกตะกอนผลึกปุ๋ ยแคลเซียม-ฟอสเฟตจากน้ าเสี ย และตารางที่ 10-1 แสดงสารเคมีที่ใช้ในการผลิตปุ๋ ย
แคลเซียมฟอสเฟตและวัตถุประสงค์ของการใช้สารเคมี
ฟอสเฟต (Na2HPO4 )

ระบบผลิต น้ าทิ้ง
น้ าทิ้งฯ
ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต
ปุ๋ ยแคลเซียม
พีเอช  7-12
ฟอสเฟต

ปูนขาวหรือ แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2)

รูปที่ 10-2 ระบบการตกตะกอนผลึกปุ๋ ยแคลเซียม-ฟอสเฟตจากน้ าเสีย

ตารางที่ 10-1 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต

แหล่ งธาตุ สารเคมี วัตถุประสงค์

ฟอสเฟต(PO43-) Na2HPO4 เพื่อปรับปริ มาณฟอสเฟตในน้ าเสี ย


ปู น ขาว หรื อแคลเซี ย มไฮดรอกไซด์
แคลเซี ยม (Ca2+) เพื่อปรับปริ มาณแคลเซี ยมในน้ าเสี ย
(Ca(OH)2)
ปู น ขาว หรื อแคลเซี ย มไฮดรอกไซด์
ด่ าง เพื่อปรับค่าพีเอชหรื อกรด-ด่างของน้ าเสี ย
(Ca(OH)2)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-3


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

10.1.2 แนวทางการพิจารณาตัวเลือกที่เหมาะสมต่ อการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตจากน้าเสี ยฟาร์ ม


สุ กรจากผลการศึกษาในห้ องปฏิบัตกิ าร

จากลักษณะและปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตจากการนาธาตุอาหาร
ของพืชที่อยู่ในน้ าเสี ยกลับมาใช้ประโยชน์โดยการตกตะกอนผลึกทางเคมี จะสามารถนามาจัดลาดับ
ความสาคัญ ของปั จจัยต่ างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาและคัดเลือกวิธีการที่เหมาะสมจากการศึกษาใน
ห้อ งปฏิบัติ ก าร ที่ จ ะสามารถน าไปปฏิ บัติ ใ ช้จ ริ ง ในการก าหนดค่ าพารามิเ ตอร์ เบื้ องต้น ส าหรั บ
แบบจาลองต้นแบบ
ในการคิ ด ค่ าใช้จ่ ายของการผลิต ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า : ปุ๋ ยแคลเซี ยมฟอสเฟต จากผล
การศึกษาในห้องปฏิบตั ิการจะนามาประเมินเพื่อศึกษาความเป็ นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ ทั้งนี้ การคิด
ค่าใช้จ่ายจะไม่นา ค่าใช้จ่าย ด้านพลังงาน ค่าการติดตั้งอุปกรณ์ และอื่นๆ เช่น ค่าน้ า เข้ามารวมอยู่ดว้ ย
จะมีเพียงแต่ค่าใช้จ่ายในเรื่ องของปริ มาณสารเคมีที่ใช้ในการศึกษาทดลองเท่านั้น
ตั้งแต่เริ่ ม สารเคมีที่นามาใช้ในการตกตะกอนผลึกทางเคมีน้ นั มีหลายชนิ ดแตกต่างกันออกไป
ตามแต่ จุด ประสงค์และผลของปฏิกิริ ยาที่ได้ เช่ น สารเคมีที่เติ มลงไปเพื่อการปรั บค่า ฟอสเฟต และ
แคลเซียมในน้ า สารเคมีที่เติมลงไปเพื่อปรับสภาพพีเอชของน้ า ทั้งนี้ปริ มาณสารเคมีที่ใช้เพื่อให้เกิดการ
ตกตะกอนอย่างมีประสิทธิภาพจะเป็ นตัวกาหนดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากกระบวนการนี้ และปริ มาณการ
เติมสารเคมีจะมีผลต่อปริ มาณและคุณภาพของตะกอนที่ได้รวมถึงคุณภาพน้ าทิ้งด้วยเช่นกัน

ดังนั้นเกณฑ์การพิจารณาจะประกอบด้วย ประเด็นดังนี้ (1) สารเคมีที่ใช้ (2) คุณภาพตะกอน


(3) คุณภาพนา้ ทิง้ และ (4) กฎหมาย โดยมีรายละเอียดดังนี้

1) สารเคมีที่ใช้ (คะแนนเต็ม 120)


- ราคาของสารเคมีที่ใช้เพื่อการตกตะกอน
- ความยากง่ายในการเก็บรักษาสารเคมี

2) คุณภาพตะกอน (คะแนนเต็ม 160)


- ปริ มาณตะกอน
- ปริ มาณสารอาหารในตะกอน (N, P, Mg)
- ปริ มาณโลหะหนัก

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-4


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

:. เพื่อให้ได้ค่าเหมาะสมในการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตจากน้ าเสี ยฟาร์ มสุ กร หลังจากที่


ตกตะกอนผลึกได้ น้ าใสส่วนบนจะนาไปวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้ง โดยมีพารามิเตอร์ที่นาไป
ศึกษาได้แก่

3) คุณภาพนา้ ทิง้ (คะแนนเต็ม 120)


- ค่าพีเอชของน้ าทิ้ง
- ค่าซีโอดี (COD)
- ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity)
- ค่าไนโตรเจน (TKN)
- ค่าฟอสฟอรัส (TP)
- ค่าโลหะหนักต่างๆ (ได้แก่ Cu, Zn, Fe, Mg, Na, K)

4) กฎหมาย (คะแนนเต็ม 100)

ในการเปรี ยบเทียบปัจจัยในการตกตะกอนผลึกที่เหมาะสมจากผลการศึกษาในห้องปฏิบตั ิการ


จะน ามาเปรี ยบเที ยบ ประเด็นทั้ง 4 ประเด็น ซึ่ งจะมีร ายละเอีย ดการพิจ ารณาในหัว ข้อย่อย วิธีก าร
ประเมินเริ่ มการทาการให้น้ าหนักคะแนนในแต่ละหัวข้อย่อยและทาการเฉลี่ยรวมสรุ ปคะแนนในแต่ละ
ประเด็นเพื่อให้ได้คะแนนในประเด็นหลัก หลังจากนั้นคะแนนที่ได้ในแต่ละประเด็นหลักมาทาการถ่วง
น้ าหนักตามความสาคัญ เพื่อคัดเลือกค่าที่เหมาะสมต่อการนาไปใช้งานต่อไป โดยคะแนนรวมทั้งหมด
เท่ากับ 500 คะแนน (รายละเอียดของแต่ละชุดการศึกษาแสดงในตาราง ที่ 10-3) ตารางที่ 10-4 แสดง
การให้ประเมินตัวเลือกที่เหมาะสมต่อการตกตะกอนผลึกแคลเซียม-ฟอสเฟต
โดยรายละเอียดในแต่ ละประเด็น เพื่อจัด ทาเกณฑ์สาหรับ การพิจารณาเพื่อคัดเลือกวิธีก ารที่
เหมาะสม มีดงั นี้

1) สารเคมีที่ใช้ (ตัวถ่วงน้ าหนัก 30 คะแนน)

ปริ มาณสารเคมีที่ใช้เพื่อให้เกิ ด การตกตะกอนอย่างมีประสิ ทธิ ภ าพจะเป็ นตัว ก าหนด


ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น รวมไปถึงการควบคุมค่าพารามิเตอร์อื่นๆ เช่น ค่าพีเอชที่เหมาะสม และ
อัตราการกวน เพื่อให้เกิดการสร้างตะกอนอย่างมีประสิ ทธิภาพ นอกจากนี้ การนาสารเคมี
ไปใช้และการเก็บรักษาก็เป็ นประเด็นที่มีความสาคัญต่อการนาไปใช้ ซึ่งจากประเด็นต่างๆ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-5


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี เพื่อนามาคัด เลือกวิธีการที่เหมาะสม จะแบ่งออกเป็ นประเด็นย่อย


ดังนี้ (1.1) ราคาหรื อค่าใช้จ่ายของสารเคมีที่ใช้ และ (2) ความยากง่ายในการเก็บรักษา

1.1) ราคาหรือค่าใช้ จ่ายของสารเคมีที่ใช้


การคานวนค่าใช้จ่ายด้านสารเคมี จากผลการศึกษาด้านปริ มาณของสารเคมีที่ใช้ในแต่ละชุด
การทดลองการตกตะกอนธาตุอาหารเพื่อ ผลิตปุ๋ ยแคลเซียม-ฟอสเฟต จะนามาคานวณเป็ น
ราคาของสารเคมีต่อหน่วยที่ใช้ท้งั หมดต่อปริ มาณน้ า 1 ลูกบาศก์เมตร ราคาของสารเคมีที่ใช้ต่อ
หน่วยแสดงในตารางที่ 10-2

ตารางที่ 10-2 ชนิดของสารเคมีที่ใช้สาหรับการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตและราคาขายทัว่ ไป


ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต
สารเคมี เกรด ราคา (บาท/กก.)
ฟอสเฟต(P) NaH2PO4 อุตสาหกรรม(Commercial) 25

ด่ าง Ca(OH)2 (ปูนขาว) อุตสาหกรรม(Commercial 30

การคานวณด้านราคาค่าใช้ใช้ของสารเคมีแต่ละชนิด

ปริมาณของสารเคมีที่ใช้ x ราคาของสารเคมีต่อหน่ วย = ราคาของสารเคมีที่ใช้ สาหรับน้ า 1 ลูกบาศก์ เมตร

ในแต่ละชุดการทดลองมีการปรับค่าพีเอชให้เท่ากับ (pH) เท่ากับ 8, 9 และ 10 ทั้งนี้ จาก


ผลการศึกษา (แสดในรู ปที่ 10-3) เมื่อปรับค่าพีเอชของน้ าให้สูงเพิ่มมากขึ้นจึงต้องการ
การเติมปริ มาณปูนขาวที่เพิ่มมากขึ้น ทาให้ราคาของสารเคมีที่ใช้เพื่อการปรับค่าพีเอช
ของน้ าเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ จานวนชนิ ดของสารเคมีที่เติมลงไปเพื่อให้เกิดการสร้าง
ตะกอนที่มากขึ้นจะเป็ นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายของสารเคมีอีกด้วย ผลการคานวณราคา
ของสารเคมีท้งั หมดที่ใช้เพื่อการตกตะกอนผลึกต่อปริ มาตรน้ า 1 ลูกบาศก์เมตร ของแต่
ละชุ ด การศึก ษา แสดงในรู ปภาพ 10-3 และตารางที่ 10-3 แสดงรายละเอียดชุ ด
การศึกษา จากช่วงราคาของสารเคมีที่ใช้จากการศึกษาในห้องปฏิบตั ิการนามากาหนด
เป็ นเกณฑ์ได้ดงั นี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-6


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

เกณฑ์ดา้ นราคาค่าใช้จ่ายของสารเคมี
พิจ ารณาจากราคารวมของสารเคมีที่เ ติ มลงไปทั้ง หมด (แสดงในรู ปที่ 10-3) เพื่ อ
จุดประสงค์ในการปรับพีเอชและการช่วยสร้างตะกอน เกณฑ์ดา้ นราคาค่าใช้จ่ายของ
สารเคมี มีดงั นี้

ระดับคะแนน 1 ราคาสารเคมีสูงมาก
ระดับคะแนน 2 ราคาสารเคมีสูง
ระดับคะแนน 3 ราคาสารเคมีนอ้ ย
ระดับคะแนน 4 ราคาสารเคมีนอ้ ยมาก

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-7


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 10-3 ราคาของสารเคมีที่ใช้ในแต่ละชุดการทดลอง (ปริ มาณน้ า 1 ลูกบาศก์เมตร)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-8


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

1.2) ความยากง่ ายในการเก็บรักษาสารเคมี

การเลือกใช้สารเคมีเพื่อการปรับค่าพีเอชและช่วยการตกตะกอน มีผลต่อความยุ่งยาก
ในการใช้งาน รวมไปถึงความยากง่ายในการเก็บรักษา รายละเอียดของการเลือกใช้
สารเคมี มีดงั นี้

สารเคมีที่ใช้ :
จากหลักการของวิธีการนี้ คือ การเติม สารประกอบจาพวก แคลเซียม (Ca2+) ให้ไปจับ
กับฟอสเฟต (PO43-) รวมไปถึงไอออน อื่น ๆที่ละลายอยู่ในน้ า (Foreign ions) เช่ น
แมกนี เซี ยม แคลเซี ย ม เป็ นต้น รวมไปถึ งโลหะหนัก ให้ เช่ น เหล็ก ทองแดง แล ะ
สังกะสี ร่ วมกับการปรับค่าพีเอชของน้ าด้วยสารละลายด่าง (ปูนขาว พีเอช ในช่วง 8-
10) จะทาให้ไอออนในน้ ารวมตัวกันและตกตะกอนลงมา ดังนั้นสารเคมีที่ใช้ในการ
ตกตะกอนผลึกปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตที่ใช้หลักๆจะได้แก่ ปูนขาว และ สารประกอบ
ฟอสเฟตละลายน้ า (ตารางที่ 10-2 แสดงชนิ ดของสารเคมีที่ใช้สาหรั บการผลิต ปุ๋ ย
แคลเซียมฟอสเฟตและราคาขายในท้องตลาด)

การเติมปูนขาว หรื อ แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Calcium hydroxide) มีสูตรทางเคมีคือ


Ca(OH)2) การเติมปูนขาวมีวตั ถุประสงค์เพื่อการปรับสภาพพีเอชของน้ าให้สูงเพิ่มมาก
ขึ้นตามต้องการ (หรื อเพิ่มเพิ่มค่ าพีเอชของน้ าให้เป็ นด่าง) และการใช้ปูนขาวในการ
ตกตะกอนจะทาให้ได้ไอออนของแคลเซียมและการปรับพีเอชได้พร้อมกันในครั้งเดียว
จึงถือเป็ นการใช้สารเคมีเดียวเพื่อสองวัตถุประสงค์ แต่ว่าการใช้ปูนขาวอาจมีขอ้ จากัด
บางประการ คื อ ปูน ขาวสามารถละลายน้ าได้น้อยหรื อเมื่อละลายน้ าจะอยู่ในสภาพ
ของเหลวข้นๆ (Surry) ที่สภาวะเป็ นกลาง ดังนั้นเมื่อเติมลงไปในถังปฏิกิริยาในสภาพ
ของแข็ งจึ งต้อ งใช้ร ะยะเวลาการกวนผสมที่ น านเพื่อ ให้สารหรื อไอออนในน้ าท า
ปฏิกิริยากัน ทั้งนี้ก่อนการนาไปใช้งานจึงต้องเตรี ยมให้อยู่ในรู ปของเหลวข้นก่อนจะ
ช่วยประหยัดระยะเวลาในการผสมสารเคมีเพื่อให้เกิดปฏิกิริยา (หรื อ เป็ นการช่วยลด
ใช้จ่ายของพลังงานที่ใช้ในการผสมสารเคมี)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-9


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ข้อดีของการใช้ปูนขาว
- เป็ นการเติมสารเคมีที่ช่วยการตกตะกอน (แคลเซียม) และปรับค่าพีเอชของน้ าใน
ครั้งเดียว
- การใช้งานและการเก็บรักษาทาได้ง่าย (เมื่อเที ยบกับโซเดียมไฮดรอกไซด์หรื อ
โซดาไฟที่ตอ้ งการการเก็บรักษาอย่างระมัดระวังเนื่ องจากเป็ นสารที่เกิดปฏิกิริยา
รุ นแรง)
ข้อจากัดของการใช้ปูนขาว
- ปูนขาวสามารถละลายน้ าได้บางส่วน จึงต้องการระยะเวลากวนผสมสารเคมีนาน
และใช้ปริ มาณมากมากกว่าเพื่อเกิดการปฏิกิริยาหรื อการตกตะกอนปุ๋ ย

การเติมสารประกอบฟอสเฟต (โซเดียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต- NaH2PO4) การเติม


ฟอสเฟต มีวตั ถุประสงค์เพื่อช่วยการตกตะกอนกับแคลเซียม และไอออนอื่นๆในน้ า
ทั้งนี้ ในน้ าเสี ยฟาร์ มสุ กรบางแห่ งอาจมีค่าปริ มาณของฟอสเฟตน้อยกว่าเมื่อเทียบกับ
ปริ มาณของไอออนอื่ น ๆ เช่ น แคลเซี ย ม แมกนี เ ซี ย ม เป็ นต้น ดัง นั้ นการเติ ม
สารประกอบฟอสเฟตลงไปในจานวนเพียงเล็กน้อยจะช่วยทาให้เกิดการสร้างตะกอน
ผลึกได้ดีข้ ึน ทาให้ประสิทธิภาพในการกาจัดธาตุอาหารในน้ าเสี ยหรื อคุณภาพน้ าทิ้งดี
ขึ้น และยังทาให้ได้ผลิต ผล (ปุ๋ ย) ที่มีปริ มาณและคุณภาพของธาตุอาหารในตะกอน
น้ าเสียนั้นสูงขึ้นอีกด้วย

เกณฑ์ดา้ นการใช้งานและการเก็บรักษาสารเคมี
พิจารณาความยุง่ ยากในการใช้งานจากจานวนของสารเคมีที่ใช้เพื่อการตกตะกอนเช่น
หนึ่งชนิดจะมีความยุง่ ยากในการใช้งานและการเก็บรักษาน้อยกว่า และนอกจากนี้ชนิด
ของสารเคมี เช่น ปูนขาว จะมีความสะดวกในการใช้งานมากกว่าเนื่ อ งจากมีขอ้ ควร
ระวังในการใช้งานน้อยกว่า (เทียบกับ โซดาไฟ)

ระดับคะแนน 1 การใช้งานและการเก็บรักษามีความยุง่ ยากมาก


ระดับคะแนน 2 การใช้งานและการเก็บรักษามีความยุง่ ยากปานกลาง
ระดับคะแนน 3 การใช้งานและการเก็บรักษามีความสะดวกปานกลาง
ระดับคะแนน 4 การใช้งานและการเก็บรักษามีความสะดวก

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-10


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

2) คุณภาพตะกอน หรือ ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตจากการตกตะกอนทางเคมี (ตัวถ่วงน้ าหนัก 40


คะแนน)

2.1) ปริมาณตะกอน
ปริ มาณตะกอนที่ได้หรื อปริ มาณปุ๋ ยที่ได้ มาจากการชัง่ น้ าหนักตะกอนที่ผา่ นการอบให้
แห้งที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส

เกณฑ์ดา้ นปริ มาณตะกอน มีดงั นี้

ระดับคะแนน 1 น้ าหนักตะกอนน้อยมาก
ระดับคะแนน 2 น้ าหนักตะกอนปานกลาง
ระดับคะแนน 3 น้ าหนักตะกอนมาก
ระดับคะแนน 4 น้ าหนักตะกอนมากที่สุด

2.2) ปริมาณผลึกแคลเซียมฟอสเฟต ตะกอนสลัดจ์ที่ตกผลึกได้จะนามาศึกษา ลักษณะของ


ตะกอนและองค์ประกอบต่างๆที่อยูใ่ นตะกอน จากภาพถ่ายกาลังขยายสูงด้วยอุปกรณ์
ถ่ายภาพที่ ใช้ก ล้องกาลังขยายสูง (SEM) และ การวัด องค์ประกอบของธาตุ ต่ างใน
ตะกอน (EDS)

เกณฑ์ดา้ นปริ มาณผลึก มีดงั นี้

ระดับคะแนน 1 พบผลึกแคลเซียมฟอสเฟตน้อยมาก
ระดับคะแนน 2 พบผลึกแคลเซียมฟอสเฟตปานกลาง
ระดับคะแนน 3 พบผลึกแคลเซียมฟอสเฟตมาก
ระดับคะแนน 4 พบผลึกแคลเซียมฟอสเฟตมากที่สุด

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-11


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

3) คุณภาพนา้ (ตัวถ่วงน้ าหนัก 30 คะแนน)


น้ าทิ้งหลังจากผ่านการตกตะกอนแล้วจะนามาวิเคราะห์หาค่าพารามิเตอร์ ต่างดังนี้ เพื่อการ
ทิ้งลงสู่แหล่งน้ าหรื อการนาไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ ได้แก่
- ค่าพีเอชของน้ า
- ค่าซีโอดี (COD)
- ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity)
- ค่าไนโตรเจน (TKN)
- ค่าฟอสฟอรัส (TP)
- ค่าโลหะหนักต่างๆ (ได้แก่ Cu, Zn, Fe, Mg, Na, K)
คุณภาพน้ าทิ้งจะนามาประเมินเพื่อเปรี ยบเทียบ โดยใช้ความสามารถในการบาบัดน้ าเสี ย
แต่ละพารามิเตอร์ก่อนเข้ากระบวนการและออกจากกระบวนการนามาเปรี ยบเทียบ (ร้อยละ
ของค่าความสกปรกที่บาบัดได้) และใช้ค่ามาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกรและอุตสาหกรรม
มาประกอบการให้คะแนน

เกณฑ์ดา้ นคุณภาพน้ า มีดงั นี้


ระดับคะแนน 1 มีค่าสูงเกินเกินเกณฑ์มาตรฐานน้ าทิ้ง
ระดับคะแนน 2 มีค่าปานกลาง
ระดับคะแนน 3 มีค่าต่า
ระดับคะแนน 4 มีค่าต่ามาก

4) กฎหมาย (น้ าหนัก 100 คะแนน)


เกี่ยวข้องกับคุณภาพน้ าทิ้งถ้าคุณภาพน้ าทิ้งใดมีค่าไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ าทิ้งจากกรม
ควบคุมมลพิษ จะถือว่าชุ ดตัว อย่างนั้น ไม่ผ่านการคัด เลือกไป เช่ น กรณี ข องการตกตะกอน
แคลเซียมฟอสเฟตที่ pH = 10

เกณฑ์ดา้ นกฎหมาย มีดงั นี้


ระดับคะแนน 0 ไม่ผา่ นเกินเกณฑ์มาตรฐานน้ าทิ้ง
ระดับคะแนน 100 ผ่านเกินเกณฑ์มาตรฐานน้ าทิ้ง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-12


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 10-3 รายละเอียดชุดตัวอย่างการศึกษาการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตจากน้ าเสีย

ชื่อตัวอย่าง รายละเอียด (การเติมปูนขาวเพื่อการปรับพีเอช)

1 Ca-7-1:0-ww ไม่มีการปรับ pH = 7.4 , ไม่มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4)


2 Ca-8-1:0-ww pH = 8 , ไม่มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4)
3 Ca-9-1:0-ww pH = 9 , ไม่มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4)
4 Ca-10-1:0-ww pH = 10 , ไม่มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4)

5 Ca-7-1:1-ww ไม่มีการปรับ pH = 7.4 , มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4) อัตราส่ วน 1:1 (Mg:P)


6 Ca-8-1:1-ww pH = 8 , มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4) อัตราส่ วน 1:1 (Mg:P)
7 Ca-9-1:1-ww pH = 9 , มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4) อัตราส่ วน 1:1 (Mg:P)
8 Ca-10-1:1-ww pH = 10 , มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4) อัตราส่ วน 1:1 (Mg:P)

9 Ca-7-2:1-ww ไม่มีการปรับ pH = 7.4 , ไม่มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4)


10 Ca-8-2:1-ww pH = 8 , มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4) อัตราส่ วน 2:1 (Mg:P)
11 Ca-9-2:1-ww pH = 9 , มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4) อัตราส่ วน 2:1 (Mg:P)
12 Ca-10-2:1-ww pH = 10 , มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4) อัตราส่ วน 2:1 (Mg:P)

--- ชุดการทดลองที่ 4, 8 และ 12 มีค่าพีเอชเท่ากับ 10 ซึ่ งเกินมาตรฐานน้ าทิ้ง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-13


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 10-4 การให้คะแนนและน้ าหนักความสาคัญของแต่ละปัจจัยการศึกษาเพื่อพิจารณาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมในการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต

Ca-10-1:0

Ca-10-1:1

Ca-10-2:1
Ca-7-1:0

Ca-8-1:0

Ca-9-1:0

Ca-7-1:1

Ca-8-1:1

Ca-9-1:1

Ca-7-2:1

Ca-8-2:1

Ca-9-2:1
ข้ อพิจารณา

1 สารเคมีทใี่ ช้ 120 120 120 90 60 90 90 60 30 120 90 60 30


2 ตะกอนหรือปุ๋ย 160 40 60 40 100 60 80 100 140 60 100 120 160
3 คุณภาพนา้ ทิง้ 120 68 79 71 71 83 83 60 79 68 75 83 79
4 อืน่ ๆ กฎหมาย 100 100 100 100 0 100 100 100 0 100 100 100 0
รวมคะแนน 500 328 359 301 231 333 353 320 249 348 365 363 269
ลาดับคะแนน 3 6 4 5 1 2
1 ปริมาณสารเคมี 30 4 4 3 2 3 3 2 1 4 3 2 1
1.1 ราคา (จานวน*ปริ มาณ) 4 4 3 2 3 3 2 1 4 3 2 1
1.2 ความยากง่ายในการเก็บรักษา 4 4 3 2 3 3 2 1 4 3 2 1
2 ปริมาณตะกอน 40 1 1.5 1 2.5 1.5 2 2.5 3.5 1.5 2.5 3 4
2.1 น้ าหนักตะกอน 1 2 1 3 2 2 3 4 2 2 3 4
2.2 ปริ มาณผลึก 1 1 1 2 1 2 2 3 1 3 3 4
3 คุณภาพนา้ ทิง้ 30 2.3 2.6 2.4 2.4 2.8 2.8 2.0 2.6 2.3 2.5 2.8 2.6
3.1 pH 3 3 2 2 2 3 1 2 1 2 2 1
3.2 ซี โอดี (COD) 2 3 3 3 1 3 2 3 3 3 3 3
3.3 ฟอสเฟต (TP) 3 3 4 4 1 1 1 2 1 1 3 4
3.4 ไนโตรเจน (TKN) 1 1 1 1 3 2 1 3 1 1 3 1
3.5 ค่าความเป็ นด่าง (ALK) 2 1 1 1 4 2 2 1 2 2 2 2
3.6 โลหะหนัก (Cu, Zn) 3 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4
3.7 แมกนีเซี ยม (Mg) 2 2 2 3 4 4 4 4 4 4 4 4
3.8 โพแทสเซี ยม (K) 2 4 2 1 3 3 1 2 2 3 1 2

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-14


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

10.1.3 ผลการคัดเลือกปัจจัยที่เหมาะสมต่อการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต


จากผลการศึก ษาชุด ตัว อย่างในการทดลองน ามาให้ค ะแนนและทาการถ่ว งน้ าหนัก โดยผล
การศึกษาสามารถสรุ ป ได้เป็ นประเด็นดังนี้
- ชุดการทดลองที่มีก ารปรับค่าพีเอช เท่ากับ 10 จะตัด ออกจากตัวเลือกในการนาไปใช้งาน
เนื่องจากว่ามีคุณภาพน้ าทิ้งเกินค่าเกณฑ์มาตรฐาน (pH = 5.5-9)
- จากผลการคัดเลือกชุดทดลองที่เหมาะสมในการตกตะกอนปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต จากน้ าทิ้ง
ฟาร์ มสุ กรที่ผ่านระบบบาบัดแบบก๊าซชีวภาพ จานวน 1 ลูกบาศก์เมตร แบ่งออกได้เป็ น 2
ตัวเลือก ดังนี้
ตัวเลือกที่ 1) การผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตโดยการเติมสารประกอบฟอสเฟต
ตัวเลือกที่ 2) การผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตโดยไม่มีการเติมสารประกอบฟอสเฟต

รายละเอียดของปริ มาณสารเคมีที่ใช้และปุ๋ ยที่ผลิตได้แสดงดังนี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-15


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตัวเลือก 1 : น้ าทิ้งฯปริ มาณ 1 ลูกบาศก์เมตร ปรับพีเอชของน้ าด้วยสารละลายปูนขาว อยู่ในช่วง พีเอช 8


ถึง 9 (pH 8~9) โดยการเติมปูนขาวประมาณ (0.4-1.5 กิโลกรัม) ร่ วมกับ การเติมฟอสฟอรัสจานวน
เล็กน้อย (0.5-0.7 กิโลกรัม) หรื ออัตราส่วนแมกนีเซียมต่อตะกอนในปริ มาณ 1.3 – 2.5 กิโลกรัม ปริ มาณ
ของสารเคมีที่เหมาะสมเทียบกับราคาแสดงในตารางที่ 10-5

ฟอสเฟต (NaH2PO4 )
0.5-0.7 กก.

ระบบผลิต ปุ๋ ยแคลเซียม


น้ าทิ้งฯ น้ าทิ้ง
(1 ลบ.ม.) พีเอช  8.0 - 9.0,
1 ลบ.ม. [มีปริ มาณฟอสเฟตในน้ าทิ้ง = ตะกอน
60~80 มก.ล].
(ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต)
1.3 - 2.5 กิโลกรัม

ปูนขาว หรื อ แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2)


0.4-1.5 กก.

ตารางที่ 10-5 ปริ มาณของสารเคมีที่เหมาะสมเทียบกับราคาของตัวเลือกที่ 1


ชนิดสารเคมีที่ใช้ ปริมาณ ราคา
กิโลกรัม/ลบ.ม (บาท/ ลบ.ม)
ฟอสเฟต (as Na2HPO4) 0.7 18
ปูนขาวสาหรับปรับพีเอชให้ได้ 8-9 0.4 - 1.5 11 - 53
ปริ มาตะกอนที่ได้ 1.3 - 2.5

ปริ มาณฟอสเฟตที่กาจัดได้(%)* - -
ปริ มาณไนโตรเจนที่กาจัดได้ (%) 31 - 36
ราคาสารเคมีรวม (บาท) 29 - 71

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-16


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตัวเลือก 2 : น้ าทิ้งฯปริ มาณ 1 ลูกบาศก์เมตร ปรับพีเอชของน้ าด้วยสารละลายปูนขาว อยู่ในช่วง พีเอช 8


ถึง 9 (pH 8~9) โดยการเติมปูนขาวประมาณ (0.34 - 0.8 กิโลกรัม) ปริ มาณของสารเคมีที่เหมาะสมเทียบ
กับราคาแสดงในตารางที่ 10-6

ระบบผลิต ปุ๋ ยแคลเซียม


น้ าทิ้งฯ น้ าทิ้ง
(1 ลบ.ม.) พีเอช  8.0 - 9.0
1 ลบ.ม. [ปริ มาณฟอสเฟตในน้ าทิ้ง =
ตะกอน
60~80 มก.ล.]
(ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต)
0.8-1 กิโลกรัม

ปูนขาวหรื อ แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2)


0.4-0.9 กก.

ตารางที่ 10-6 ปริ มาณของสารเคมีที่เหมาะสมเทียบกับราคาของตัวเลือกที่ 2


ชนิดสารเคมีที่ใช้ ปริมาณ ราคา
กิโลกรัม/ลบ.ม (บาท/ ลบ.ม)
ฟอสเฟต (Na2HPO4) ไม่เติม -
ปูนขาวสาหรับปรับพีเอชให้ได้ 8-9 0.4 - 0.9 11 - 26
ปริ มาณตะกอนที่ได้ 0.8- 1.0

ปริ มาณฟอสเฟตที่กาจัดได้(%) 76 - 92 -
ปริ มาณไนโตรเจนที่กาจัดได้(%) 17 - 22
ราคาสารเคมีรวม (บาท) 11 - 26

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-17


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

การดาเนินระบบของ ตัวเลือกที่ 1) มีการเติมสารประกอบฟอสเฟตลงไปจานวนเพียงเล็กน้อย


แต่จะทาให้ได้ปริ มาณตะกอนที่เพิ่มมากขึ้น เนื่ องจากฟอสเฟตสามารถตกตะกอนได้เพิ่มขึ้นร่ วมกับ
แคลเซียมและไอออนอื่นๆในน้ า ทาให้คุณภาพน้ าทิ้งดีข้ ึนด้วยถ้ามีการควบคุมการเติมฟอสเฟตลงไป
อย่างเหมาะสม ดังนั้นการดาเนินระบบจึงมีความจาเป็ นที่จะต้องมีการควบคุมที่ดี เช่นในกรณี คุณภาพ
น้ าทิ้งที่เข้าระบบไม่สม่าเสมอ เช่น มีปริ มาณฟอสเฟต มีค่าแคลเซียมรวมทั้งไอออนอื่นๆในน้ าไม่ค่อย
คงที่ อาจทาให้สารฟอสเฟตที่เติมลงไปไม่สามารถตกตะกอนลงมาได้หมดตกค้างอยู่ในน้ าและหลุดไป
กับแหล่งน้ าธรรมชาติ ดังนั้นในการดาเนิ นระบบด้วยการใช้ ตัวเลือกที่ 1 จึงต้องพึงระมัดระวังในการ
ดูแลและควบคุมระบบ โดยการควบคุมคุณภาพน้ าก่อนเข้าระบบ และวัดปริ มาณค่าฟอสเฟตก่อนปล่อย
ออกในการปรั บระบบแต่ ละครั้ ง หรื อการเวีย นน้ ากลับเข้าระบบอีก ครั้ งเพื่ อเพิ่มประสิ ทธิ ภ าพการ
ตกตะกอนที่จะเป็ นการช่วยควบคุมปริ มาณฟอสเฟตในน้ าน้ าทิ้งให้ได้ประสิทธิภาพ แม้ว่าในปั จจุบนั ค่า
ฟอสเฟตในน้ าทิ้งนั้นยังไม่ได้มีการกาหนดไว้มาตรฐานน้ าทิ้ง

ตัวเลือกที่ 2) การผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตโดยไม่มีการเติมสารประกอบฟอสเฟต ตัวเลือกนี้


แม้ว่าจะทาให้ได้ปุ๋ยแคลเซียมฟอสเฟตในปริ มาณที่นอ้ ยกว่า แต่ทว่าอาจเป็ นตัวเลือกที่เหมาะสมสาหรับ
ฟาร์มสุ กรที่มีค่าความสกปรกในน้ าเสี ยไม่คงที่ ฟาร์ มที่ไม่มีบ่อพักน้ า และทาการทิ้งน้ าเสี ยที่ผ่านการ
บาบัดแล้วลงสู่แหล่งน้ าธรรมชาติ โดยที่ตวั เลือกนี้มีขอ้ ได้เปรี ยบในค่าใช้จ่ายของสารเคมีที่ถูกกว่า และ
การเก็บรักษาสารเคมีสะดวกว่า คือ ต้องการแต่การเติมปูนขาวเพียงอย่างเดียวเพื่อให้ได้ปุ๋ยแคลเซียม
ฟอสเฟต จึงทาให้ตวั เลือกนี้มีการควบคุมระบบในการทางานสามารถทาได้ง่ายและสะดวกกว่า

10.1.4 การประเมินทางเศรษฐศาสตร์ เบือ้ งต้นสาหรับอุปกรณ์สาธิตสาหรับผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต


หรือปุ๋ ยอะพาไทต์
อุปกรณ์ผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีขนาด 2,000 ลิตร มีศกั ยภาพที่จะผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรื อ
ปุ๋ ยอะพาไทต์ได้ 4 กิโลกรัม โดยใช้ระยะเวลาการผลิตประมาณ 48 ชัว่ โมง หรื อ 2 วัน ดังนั้นภายใน 1 ปี
จะสามารถผลิตปุ๋ ยอะพาไทต์ได้ 720 กิโลกรัม คิดเป็ นมูลค่า 28,800 บาท (เนื่ องจากประเทศไทยยังไม่มี
การดาเนินการผลิตปุ๋ ยอะพาไทต์ในเชิงธุรกิจ จึงต้องใช้ราคาปุ๋ ยอะพาไทต์อา้ งอิงจากต่างประเทศในราคา
40 บาทต่อกิโลกรัม อ้างอิงจาก Gaterell et al., 2000 “An economic and environmental evaluation of the
opportunities for substituting phosphorus recovered from waste water treatment works in existing UK
fertilizer markets”, Environmental Technology vol. 21 pages 1067-1084) ต้นทุนสารเคมีที่ใช้มูลค่า
ประมาณ 50 บาทต่อครั้งการผลิต หรื อ ประมาณ 9,000 บาทต่อปี

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-18


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

วิธีการคานวณ
1) ระยะเวลาคืนทุน =

เงินลงทุน = 78,285 บาท


รายได้ในแต่ละปี = 19,800 บาท
ระยะเวลาโครงการ = 5 ปี (ค่าเสื่อมของอุปกรณ์)
ระยะเวลาคืนทุน =

ดังนั้น ระยะเวลาคืนทุน = 3.9538 ปี

2) นาระยะเวลาคืนทุนไปเปิ ดตาราง Present Value of an Annuity (มูลค่าปัจจุบนั ของเงิน


เท่ากันทุกงวด) ใช้ตาราง PVIFAi,n ระยะเวลาโครงการ 5 ปี จะได้อตั ราลดค่า
โดยประมาณ อยูร่ ะหว่าง 8% กับ 9% (หรื อใช้ สูตรดังต่ อไปนี ใ้ นการหาค่ า IRR)

CF0 = เงินลงทุนครั้งแรก = 78,285 บาท


CFt = รายได้สุทธิในปี ที่ t = 19,800 บาท
t = ระยะเวลาโครงการ = 5 ปี
IRR (i) = ผลตอบแทนในโครงการ

3) นาอัตราลดค่ามาหาผลต่าง แล้วหาอัตราผลตอบแทนของโครงการ
อัตราลดค่า ปัจจัยลดค่า (ตาราง PVIFAi,n) รายได้สุทธิ รายปี มูลค่าปัจจุบนั
8% 3.9927 19,800 บาท 79,055.46 บาท
9% 3.8897 19,800 บาท 77,016.06 บาท
1% ผลต่าง 2,039.40 บาท

หากเปรี ยบเทียบมูลค่าปัจจุบนั ที่ 9% = 77,016.06 บาท กับ เงินลงทุนของโครงการ คือ 78,285


บาท ผลต่างคือ 1,268.94 บาท นาไปหาอัตราเปรี ยบเทียบ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-19


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ผลต่างของมูลค่าปัจจุบนั = 2,039.40 บาท อัตราลดค่าต่างกัน 1%


ผลต่างของมูลค่าปัจจุบนั = 1,268.94 บาท อัตราลดค่าต่างกัน = 0.6%

ดังนั้น อัตตราผลตอบแทนในโครงการ (IRR) = 9% - 0.6%


= 8.4%

เกณฑ์ในการตัดสินใจสาหรับ วิธี IRR นั้นจะถือว่าน่าลงทุนทุกโครงการที่มีอตั ตราผลตอบแทน


ในโครงการมากกว่าต้นทุน (ทั้งนีข้ นึ ้ อยู่กับความต้ องการของผู้ลงทุนว่ าต้ องการ IRR กี่เปอร์ เซ็นต์ ถ้า
มากกว่ า IRR ของโครงการก็ถือว่ าไม่น่าลงทุน )

10.1.5 ศักยภาพในการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตหรือปุ๋ ยอะพาไทต์ ในฟาร์ มสุ กรขนาดต่างๆ


เนื่องจากอุปกรณ์การผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีสาธิตในโครงการฯ เป็ นอุปกรณ์ตน้ แบบซึ่งยังต้องการ
การพัฒ นาต่ อไปเพื่อรองรั บปริ มาณน้ าทิ้งที่ ผ่านระบบก๊าซชีว ภาพทั้งระบบ ในเบื้ องต้น พบว่า หาก
สามารถนาน้ าที่ผา่ นระบบผลิตก๊าซชีวภาพเข้าสู่ระบบผลิตปุ๋ ยอะพาไทต์ ศักยภาพในการผลิตปุ๋ ยอะพา
ไทต์ในฟาร์มสุกรขนาดต่างๆ ดังแสดงในตาราง 10-7 (ใช้ระยะเวลาการผลิต 2 วันต่อครั้ง)
ตาราง 10-7 แสดงศักยภาพในการผลิตปุ๋ ยอะพาไทต์ในฟาร์มสุกรขนาดต่างๆ
จานวนสุ กร (ตัว) ปริ มาณปุ๋ ยอะพาไทต์ต่อครั้ งการผลิต มูลค่าโดยประมาณ
โดยประมาณ (ก.ก.) (บาท)
500 25 1,000
1,000 50 2,000
5,000 250 10,000

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-20


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

10.2 การผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า หรือปุ๋ ยสตรูไวท์ (Struvite)

10.2.1 ทฤษฏีการการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า หรือปุ๋ ยสตรูไวท์ (Struvite)


การผลิตปุ๋ ยละลายช้า ซึ่งมีชื่อเรี ยกทางเคมีว่าปุ๋ ยแมกนี เซียม-แอมโมเนี ย-ฟอสเฟต จากน้ าทิ้งฯ
ฟาร์ มสุ กร ทาได้โดยตกตะกอน แมกนี เซียม (Magnesium, Mg2+) แอมโมเนี ย (Ammonium, NH4+) และ
ฟอสเฟต (Phosphate, PO43-) ที่ ละลายอยู่ในน้ าเสี ยให้รวมตัวเกิด เป็ นผลึก ของแข็งและตกตะกอนแยก
ออกมาจากน้ า ดังนั้นการตกตะกอนผลึกปุ๋ ยแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต สามารถทาได้โดยควบคุม
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องให้มีสภาพที่เหมาะสมต่อการตกผลึก ดังนี้
- อัตราส่วนของปริ มาณ แมกนีเซียม (Mg2+) แอมโมเนีย (NH4+) และฟอสเฟต (PO43-)
- ค่าพีเอชที่เหมาะสมต่อการตกตะกอนผลึก (pH ช่วง 7.5-10)
- อัตราการกวนผสมสารเคมี
- ระยะเวลาการตกตะกอน
- และปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ความขุ่น
สมการทางเคมีของการเกิดการตกตะกอนผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต แสดงดังนี้

pH  8-10 (NaOH)

Mg2+ + NH4+ + HPO42- + 6H2O  MgNH4PO4„6H2O 


ผลึกแมกนีเซี ยม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต

รูปที่ 10-4 สมการทางเคมีของการเกิดการตกตะกอนผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต

ปริ มาณของสารเคมีที่ใช้ในการตกตะกอนธาตุอาหารในน้ าเสี ยเป็ นปั จจัยหลักในการกาหนด


ความคุม้ ค่าทางเศรษฐศาสตร์ เนื่ องจากปริ มาณของสารเคมีที่ใช้จ ะเป็ นส่ วนหลักในการกาหนดราคา
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินระบบของการผลิตปุ๋ ยแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟตจากน้ าทิ้งฯ แสดงในรู ปที่
10-5 และตารางที่ 10-7แสดงรายละเอียดของสารเคมีที่ใช้และวัตถุประสงค์

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-21


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

- ฟอสเฟต (Na2HPO4 )
- แมกนีเซียม (MgCl2.6H2O)

ระบบผลิตปุ๋ ยแมกนีเซียม-
น้ าทิ้งฯ น้ าทิ้ง
แอมโมเนีย-ฟอสเฟต
พีเอช  8-10 ตะกอนปุ๋ ย แมกนีเซียม
แอมโมเนียม ฟอสเฟต

- โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)

รูปที่ 10-5 ระบบของการผลิตปุ๋ ยแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟตจากน้ าทิ้งฯ

ตารางที่ 10-7 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต

แหล่งธาตุ สารเคมี วัตถุประสงค์

ฟอสเฟต(PO43-) Na2HPO4 เพื่อปรับปริ มาณฟอสเฟตในน้ าเสี ย


แมกนีเซียมคลอไรด์
แมกนีเซียม (Mg) เพื่อปรับปริ มาณแมกนีเซียมในน้ าเสีย
(MgCl2.6H2O)
โซดาไฟ หรื อ โซเดียมไฮดรอก
ด่ าง เพื่อปรับค่าพีเอชหรื อกรด-ด่างของน้ าเสีย
ไซด์ (NaOH )

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-22


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

10.2.2 แนวทางการพิจารณาตัวเลือกที่เหมาะสมต่อการผลิตปุ๋ ยแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟตจาก


นา้ เสียฟาร์ มสุ กรจากผลการศึกษาในห้ องปฏิบัตกิ าร

จากลัก ษณะและปั จ จัยต่ า งๆที่ เกี่ ยวข้องกับการตกตะกอน ปุ๋ ย แมกนี เซี ย ม-แอมโมเนี ยม-
ฟอสเฟต จากการนาธาตุอาหารของพืชที่อยู่ในน้ าเสี ยกลับมาใช้ประโยชน์โดยการตกตะกอนผลึกทาง
เคมี จะสามารถนามาจัดลาดับความสาคัญของปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาและคัดเลือกวิธีการที่
เหมาะสมจากการศึกษาในห้องปฏิบตั ิการ ที่จะสามารถนาไปปฏิบตั ิใช้จริ งในการกาหนดค่าพารามิเตอร์
เบื้องต้นสาหรับแบบจาลองต้นแบบ
ในการคิด ค่ าใช้จ่ายของการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า : ปุ๋ ย แมกนี เซียม-แอมโมเนี ยม-
ฟอสเฟต จากผลการศึ ก ษาในห้อ งปฏิ บัติ ก ารจะน ามาประเมิ น เพื่ อ ศึ ก ษาความเป็ นไปได้ท าง
เศรษฐศาสตร์ ทั้งนี้ การคิดค่าใช้จ่ายจะไม่นา ค่าใช้จ่าย ด้านพลังงาน ค่าการติดตั้งอุปกรณ์ และอื่นๆ เช่น
ค่าน้ า เข้ามารวมอยู่ดว้ ย จะมีเพียงแต่ ค่าใช้จ่ายในเรื่ องของปริ มาณสารเคมีที่ใช้ในการศึก ษาทดลอง
เท่านั้น
ตั้งแต่เริ่ ม สารเคมีที่นามาใช้ในการตกตะกอนผลึกทางเคมีน้ นั มีหลายชนิ ดแตกต่างกันออกไป
ตามแต่ จุด ประสงค์และผลของปฏิกิริ ยาที่ได้ เช่ น สารเคมีที่เติ มลงไปเพื่อการปรั บค่า ฟอสเฟต และ
แมกนีเซียมในน้ า และสารเคมีที่เติมลงไปเพื่อปรับสภาพพีเอชของน้ า ทั้งนี้ ปริ มาณสารเคมีที่ใช้เพื่อให้
เกิ ด การตกตะกอนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพจะเป็ นตัว กาหนดค่ าใช้จ่ายที่เกิ ดขึ้ น จากกระบวนการ และ
ปริ มาณการเติมสารเคมีจะมีผลต่อปริ มาณและคุณภาพของตะกอนที่ได้รวมถึงคุณภาพน้ าทิ้งด้วยเช่นกัน
ดังนั้นเกณฑ์การพิจารณาจะประกอบด้วย ประเด็นดังนี้ (1) สารเคมีที่ใช้ (2) คุณภาพตะกอน
(3) คุณภาพนา้ ทิง้ และ (4) กฎหมาย โดยมีรายละเอียดดังนี้

1) สารเคมีที่ใช้ (คะแนนเต็ม 120)


- ราคาของสารเคมีที่ใช้เพื่อการตกตะกอน
- ความยากง่ายในการเก็บรักษาสารเคมี

2) คุณภาพตะกอน (คะแนนเต็ม 160)


- ปริ มาณตะกอน
- ปริ มาณสารอาหารในตะกอน (N, P, Mg)
- ปริ มาณโลหะหนัก

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-23


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

:. เพื่อให้ได้ค่าเหมาะสมในการผลิต ปุ๋ ย แมกนี เซี ยม-แอมโมเนี ยม-ฟอสเฟต จากน้ าเสี ย


ฟาร์มสุกร หลังจากที่ตกตะกอนผลึกได้ น้ าใสส่วนบนจะนาไปวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้ง โดย
มีพารามิเตอร์ที่นาไปศึกษาได้แก่

3) คุณภาพนา้ ทิง้ (คะแนนเต็ม 120)


- ค่าพีเอชของน้ าทิ้ง
- ค่าซีโอดี (COD)
- ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity)
- ค่าไนโตรเจน (TKN)
- ค่าฟอสฟอรัส (TP)
- ค่าโลหะหนักต่างๆ (ได้แก่ Cu, Zn, Fe, Mg, Na, K)

4) กฎหมาย (คะแนนเต็ม 100)

ในการเปรี ยบเทียบปัจจัยในการตกตะกอนผลึกที่เหมาะสมจากผลการศึกษาในห้องปฏิบตั ิการ


จะน ามาเปรี ยบเที ยบ ประเด็นทั้ง 4 ประเด็น ซึ่ งจะมีร ายละเอีย ดการพิจ ารณาในหัว ข้อย่อย วิธีก าร
ประเมินเริ่ มการทาการให้น้ าหนักคะแนนในแต่ละหัวข้อย่อยและทาการเฉลี่ยรวมสรุ ปคะแนนในแต่ละ
ประเด็นเพื่อให้ได้คะแนนในประเด็นหลัก หลังจากนั้นคะแนนที่ได้ในแต่ละประเด็นหลักมาทาการถ่วง
น้ าหนักตามความสาคัญ เพื่อคัดเลือกค่าที่เหมาะสมต่อการนาไปใช้งานต่อไป โดยคะแนนรวมทั้งหมด
เท่ากับ 500 คะแนน (รายละเอียดของแต่ละชุดการศึกษาแสดงในตาราง ที่ 10-9) ตารางที่ 10-10 แสดง
การประเมินตัวเลือกที่เหมาะสมต่อการตกตะกอน ปุ๋ ย แมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต
โดยรายละเอียดในแต่ ละประเด็น เพื่อจัด ทาเกณฑ์สาหรับการพิจารณาเพื่อคัดเลือกวิธีก ารที่
เหมาะสม มีดงั นี้

1) สารเคมีที่ใช้ (ตัวถ่วงน้ าหนัก 30 คะแนน)

ปริ มาณสารเคมีที่ใช้เพื่อให้เกิ ด การตกตะกอนอย่างมีประสิ ทธิ ภ าพจะเป็ นตัว ก าหนด


ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น รวมไปถึงการควบคุมค่าพารามิเตอร์อื่นๆ เช่น ค่าพีเอชที่เหมาะสม และ
อัตราการกวน เพื่อให้เกิดการสร้างตะกอนอย่างมีประสิ ทธิภาพ นอกจากนี้ การนาสารเคมี
ไปใช้และการเก็บรักษาก็เป็ นประเด็นที่มีความสาคัญต่อการนาไปใช้ ซึ่งจากประเด็นต่างๆ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-24


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีเพื่อนามาคัด เลือกวิธีการที่เหมาะสม จะแบ่งออกเป็ นประเด็นย่อย


ดังนี้ (1.1) ราคาหรื อค่าใช้จ่ายของสารเคมีที่ใช้ และ (2) ความยากง่ายในการเก็บรักษา

1.1) ราคาหรือค่าใช้ จ่ายของสารเคมีที่ใช้


การคานวนค่าใช้จ่ายด้านสารเคมี จากผลการศึกษาด้านปริ มาณของสารเคมีที่ใช้ในแต่ละชุด
การทดลองการตกตะกอนธาตุอาหารเพื่ อผลิต ปุ๋ ย แมกนี เซียม-แอมโมเนี ยม-ฟอสเฟตจะ
นามาคานวณเป็ นราคาของสารเคมีต่อหน่วยที่ใช้ท้งั หมดต่อปริ มาณน้ า 1 ลูกบาศก์เมตร ราคา
ของสารเคมีที่ใช้ต่อหน่วยแสดงในตารางที่ 10-8

ตารางที่ 10-8 ชนิดของสารเคมีที่ใช้สาหรับการผลิตปุ๋ ย และราคา


ชื่อสารเคมี เกรด ราคา (บาท/กก.)

ฟอสเฟต(P) NaH2PO4 อุตสาหกรรม(Commercial) 25

แมกนีเซียม (Mg) MgCl2.6H2O อุตสาหกรรม(Commercial) 24

ด่ าง NaOH (Pellet) อุตสาหกรรม(Commercial) 38

การคานวณด้านราคาค่าใช้ใช้ของสารเคมีแต่ละชนิด

ปริมาณของสารเคมีที่ใช้ x ราคาของสารเคมีต่อหน่ วย = ราคาของสารเคมีที่ใช้ สาหรับน้า 1 ลูกบาศก์ เมตร

ในแต่ละชุดการทดลองมีการปรับค่าพีเอชให้เท่ากับ (pH) เท่ากับ 8, 9 และ 10 ทั้งนี้ จะ


ให้ได้ว่าเมื่อปรับค่าพีเอชของน้ าให้สูงเพิ่มมากขึ้นจึงต้องการการเติมปริ มาณโซดาไฟที่
เพิ่ ม มากขึ้ น ท าให้ร าคาของสารเคมี ที่ ใ ช้เ พื่อ การปรั บ ค่ า พีเ อชของน้ าเพิ่ม สู ง ขึ้ น
นอกจากนี้จานวนชนิดของสารเคมีที่เติมลงไปเพื่อให้เกิดการสร้างตะกอนที่มากขึ้นจะ
เป็ นส่ ว นหนึ่ งของค่ า ใช้จ่ า ยของสารเคมี อีก ด้ว ย ผลการค านวณราคาของสารเคมี
ทั้งหมดที่ ใช้เพื่อการตกตะกอนผลึก ต่อปริ มาตรน้ า 1 ลูก บาศก์เมตร ของแต่ ละชุ ด
การศึกษา แสดงในรู ปภาพ 10-6 และตารางที่ 10-9 แสดงรายละเอียดชุดการศึกษา จาก
ช่วงราคาของสารเคมีที่ใช้จากการศึกษาในห้องปฏิบตั ิการนามากาหนดเป็ นเกณฑ์ได้
ดังนี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-25


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

เกณฑ์ดา้ นราคาค่าใช้จ่ายของสารเคมี
พิจ ารณาจากราคารวมของสารเคมีที่ เ ติ มลงไปทั้ง หมด (แสดงในรู ปที่ 10-3) เพื่ อ
จุดประสงค์ในการปรับพีเอชและการช่วยสร้างตะกอน เกณฑ์ดา้ นราคาค่าใช้จ่ายของ
สารเคมี มีดงั นี้

ระดับคะแนน 1 ราคาสารเคมีสูงมาก
ระดับคะแนน 2 ราคาสารเคมีสูง
ระดับคะแนน 3 ราคาสารเคมีนอ้ ย
ระดับคะแนน 4 ราคาสารเคมีนอ้ ยมาก

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-26


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 10-6 ปริ มาณของสารเคมีที่ใช้ในแต่ละชุดตัวอย่างของการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า:


แมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต จากน้ าเสีย 1 ลูกบาศก์เมตร
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-27
SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

1.2) ความยากง่ ายในการเก็บรักษาสารเคมี

การเลือกใช้สารเคมีเพื่อการปรับค่าพีเอชและช่วยการตกตะกอน มีผลต่อความยุ่งยาก
ในการน ามาใช้งาน รวมไปถึงความยากง่ายในการเก็บรั ก ษา รายละเอียดของการ
เลือกใช้สารเคมี มีดงั นี้

สารเคมีที่ใช้ :
สารเคมีที่ใช้ในการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า: แมกนี เซียม-แอมโมเนี ย-ฟอสเฟต
จากหลัก การของวิ ธี ก ารนี้ คื อ การเติ ม สารประกอบจ าพวก แมกนี เ ซี ย ม (Mg2+)
ฟอสเฟต (PO43-) หรื อแอมโมเนียม (NH4+) ให้จบั กับไอออนที่ตอ้ งการ ร่ วมกับการปรับ
ค่าพีเอชของน้ าด้วยสารละลายด่างด้วยโซดาไฟหรื อโซเดียมไฮดรอกไซด์ เพื่อให้เกิด
ผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนี ย-ฟอสเฟต (MgNH3PO46H2O) ดังนั้นสารเคมีที่ใช้หลักๆ
จะได้แก่ (ตารางที่ 10-8 แสดงชนิดของสารเคมีที่ใช้สาหรับการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด
ละลายช้า: แมกนีเซียม-แอมโมเนี ย-ฟอสเฟตและราคาสารเคมีที่ใช้) รู ปที่ 10-5 แสดง
ระบบการผลิตการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า: แมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต

การเติมโซดาไฟ หรื อ โซเดียมไฮดรอกไซด์ (Sodium hydroxide, NaOH) การใช้


โซดาไฟในการตกตะกอนนั้นจะเพิ่มค่าพีเอชของน้ าให้เหมาะสมต่อการตกผลึก (หรื อ
ทาให้น้ ามีสภาพเป็ นด่างมากขึ้น) ที่จะช่วยให้ไอออนของแมกนีเซียม (Mg2+) ฟอสเฟต
(PO43-) และ แอมโมเนี ยม (NH4+) ในน้ ารวมตัวกันและตกตะกอนลงมา แต่ทว่าการ
โซดาไฟอาจมีขอ้ ควรระวังในการเก็บรักษาสารเคมี เนื่ องจากเป็ นสารเคมีที่ สามารถ
ทาปฏิกิริยารุ นแรงและเกิดความร้อนเมื่อนาไปละลายน้ า

ข้อดีของการใช้โซดาไฟ
- ละลายน้ าได้ดีสามารถทาปฏิกิริยาได้อย่างรวดเร็ว

ข้อจากัดของการใช้โซดาไฟ
- ข้อควรระวังในการใช้งานและการเก็บรักษาสารเคมี เนื่องจากเป็ นสารเคมีที่
สามารถทาปฏิกิริยารุ นแรงและเกิดความร้อนเมื่อนาไปละลายน้ า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-28


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

การเติมสารประกอบฟอสเฟต (โซเดียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต- NaH2PO4) ในน้ าเสี ย


ฟาร์ มสุ ก รบางแห่ งอาจมีค่ าปริ มาณของฟอสเฟตน้อยกว่าเมื่อเที ยบกับปริ มาณของ
ไอออนอื่นๆ ในน้ า ดังนั้นการเติมสารประกอบฟอสเฟตลงไปในจานวนเพียงเล็กน้อย
จะสามารถทาให้เกิดการสร้างตะกอนผลึกได้ดีข้ ึน ทั้งทาให้ประสิ ทธิภาพในการกาจัด
ธาตุอาหารในน้ าเสีย เช่น แมกนีเซียม หรื อ แอมโมเนีย ทาให้น้ าทิ้งมีคุณภาพดีข้ ึน และ
ยังทาให้ได้ผลิตผลที่มีปริ มาณและคุณภาพของสารอาหารในตะกอนน้ าเสียนั้นดีข้ ึนอีกด้วย

1.1) ค่าพีเอชที่เหมาะสมในการตกตะกอน (pH)


ค่าพีเอชมีผลต่อการตกตะกอนผลึกต่างๆจากน้ าเสีย โดยค่าพีเอชของน้ ามีค่าสูงเพิ่มมาก
ขึ้น จะทาให้เกิ ด การตะกอนลงมามากขึ้น แต่ ทว่าค่าตกตะกอนที่มากที่ สุดของผลึก
แมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต จะอยูใ่ นช่วง 8.5-9.5 ค่าพีเอชที่ใช้ในการศึกษา มี 4
สภาวะดังนี้ 1) ไม่มีการปรับพีเอช (พีเอชของน้ าเสี ยฟาร์ มสุ กรในการศึกษา เริ่ มต้น มี
ค่าอยู่ในช่วง pH =7.4 - 7.6) 2) pH = 8.0, 3) pH = 9.0 และ 4) pH = 10.0 แต่ทว่า
ข้อจากัดของการเลือกใช้ค่าพีเอชจะเกี่ยวข้องกับเกณฑ์ของของคุณภาพน้ าทิ้งจากฟาร์ม
สุ กร ที่ จากัด ไว้ในช่วง pH = 5.0-9.0 (www.pcd.go.th) ดังนั้นชุดทดลองที่ คุณภาพ
น้ าทิ้งที่ผา่ นการตกตะกอนมีค่าพีเอชมากกว่า 9.0 นั้นอาจจะไม่เหมาะสมนัก

1.2) อัตราเร็วในการกวนผสม
อัตราเร็ วในการกวนผสมและระยะเวลาการตกตะกอน มีผลต่อการทาปฏิกิริยาระหว่าง
สารเคมีที่เติมลงไปกับไอออนในน้ าเสี ยที่ ตอ้ งการให้ตกตะกอนลงมา และการสร้าง
ขนาดผลึกหรื อตะกอน ในการศึกษาในห้องปฏิบตั ิการ ในแต่ละชุดการทดลองจะใช้
น้ าเสี ย 1 ลิต ร ใช้อตั ราการกวนเร็ ว เพื่ อให้สารเคมีท าปฏิ กิ ริ ยากัน เป็ น ระยะเวลา
20 นาที หลังจากนั้นปล่อยให้สารตกตะกอนลงมา จากผลการศึกษาพบว่าตะกอนที่ได้
จากการใช้สาระละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ มีระยะเวลาในการตกตะกอนช้ากว่าเทียบ
กับ ตะกอนที่ได้จากการใช้ปูนขาว-แนวทางของการผลิตปุ๋ ยแคลเซียม-ฟอสเฟต)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-29


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

เกณฑ์ดา้ นการใช้งานและการเก็บรักษาสารเคมี
พิจารณาความยุง่ ยากในการใช้งานจากจานวนของสารเคมีที่ใช้เพื่อการตกตะกอนเช่น
หนึ่งชนิดจะมีความยุง่ ยากในการใช้งานและการเก็บรักษาน้อยกว่า และนอกจากนี้ชนิด
ของสารเคมี เช่น โซดาไฟ ใช้ปริ มาณน้อยกว่าเนื่องจากละลายน้ าได้ดี แต่ทว่าจะมีความ
สะดวกในการใช้งานน้อยกว่า เนื่องจากมีขอ้ ควรระวังที่ตอ้ งคานึ งถึง (เทียบกับ การใช้
ปูนขาว)

ระดับคะแนน 1 การใช้งานและการเก็บรักษามีความยุง่ ยากมาก


ระดับคะแนน 2 การใช้งานและการเก็บรักษามีความยุง่ ยากปานกลาง
ระดับคะแนน 3 การใช้งานและการเก็บรักษามีความสะดวกปานกลาง
ระดับคะแนน 4 การใช้งานและการเก็บรักษามีความสะดวก

2) คุณภาพตะกอน หรือ ผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต จากการตกตะกอนทางเคมี


(ตัวถ่วงน้ าหนัก 40 คะแนน)

2.1) ปริมาณตะกอน
ปริ มาณตะกอนที่ได้หรื อปริ มาณปุ๋ ยที่ได้ มาจากการชัง่ น้ าหนักตะกอนที่ผา่ นการอบให้
แห้งที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส

เกณฑ์ดา้ นปริ มาณตะกอน มีดงั นี้

ระดับคะแนน 1 น้ าหนักตะกอนน้อยมาก
ระดับคะแนน 2 น้ าหนักตะกอนปานกลาง
ระดับคะแนน 3 น้ าหนักตะกอนมาก
ระดับคะแนน 4 น้ าหนักตะกอนมากที่สุด

2.2) ปริ มาณผลึก แมกนี เซี ย ม-แอมโมเนี ย -ฟอสเฟต ตะกอนสลัด จ์ที่ต กผลึก ได้จ ะน ามา
ศึก ษา ลัก ษณะของตะกอนและองค์ป ระกอบต่ า งๆที่ อ ยู่ในตะกอน จากภาพถ่ า ย
ก าลังขยายสู ง ด้ว ยอุป กรณ์ ถ่ ายภาพที่ ใ ช้ก ล้องก าลังขยายสู ง (SEM) และ การวัด
องค์ประกอบของธาตุต่างในตะกอน (EDS)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-30


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

เกณฑ์ดา้ นปริ มาณผลึก มีดงั นี้

ระดับคะแนน 1 พบผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟตน้อยมาก
ระดับคะแนน 2 พบผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต ปานกลาง
ระดับคะแนน 3 พบผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต มาก
ระดับคะแนน 4 พบผลึกแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต มากที่สุด

3) คุณภาพนา้ ทิง้ (ตัวถ่วงน้ าหนัก 30 คะแนน)


น้ าทิ้งหลังจากผ่านการตกตะกอนแล้วจะนามาวิเคราะห์หาค่าพารามิเตอร์ ต่างดังนี้ เพื่อการ
ทิ้งลงสู่แหล่งน้ าหรื อการนาไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ ได้แก่
- ค่าพีเอชของน้ า
- ค่าซีโอดี (COD)
- ค่าความเป็ นด่าง (Alkalinity)
- ค่าไนโตรเจน (TKN)
- ค่าฟอสฟอรัส (TP)
- ค่าโลหะหนักต่างๆ (ได้แก่ Cu, Zn, Fe, Mg, Na, K)
คุณภาพน้ าทิ้งจะนามาประเมินเพื่อเปรี ยบเทียบ โดยใช้ความสามารถในการบาบัดน้ าเสี ย
แต่ละพารามิเตอร์ก่อนเข้ากระบวนการและออกจากกระบวนการนามาเปรี ยบเทียบ (ร้อยละ
ของค่าความสกปรกที่บาบัดได้) และใช้ค่ามาตรฐานน้ าทิ้งจากฟาร์มสุกรและอุตสาหกรรม
มาประกอบการให้คะแนน

เกณฑ์ดา้ นคุณภาพน้ า มีดงั นี้


ระดับคะแนน 1 มีค่าสูงเกินเกินเกณฑ์มาตรฐานน้ าทิ้ง
ระดับคะแนน 2 มีค่าปานกลาง
ระดับคะแนน 3 มีค่าต่า
ระดับคะแนน 4 มีค่าต่ามาก

4) กฎหมาย (น้ าหนัก 100 คะแนน)


เกี่ยวข้องกับคุณภาพน้ าทิ้งถ้าคุณภาพน้ าทิ้งใดมีค่าไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ าทิ้งจากกรม
ควบคุมมลพิษ จะถือว่าชุ ดตัว อย่างนั้น ไม่ผ่านการคัด เลือกไป เช่ น กรณี ข องการตกตะกอน
แคลเซียมฟอสเฟตที่ pH = 10
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-31
SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

เกณฑ์ดา้ นกฎหมาย มีดงั นี้


ระดับคะแนน 0 ไม่ผา่ นเกินเกณฑ์มาตรฐานน้ าทิ้ง
ระดับคะแนน 100 ผ่านเกินเกณฑ์มาตรฐานน้ าทิ้ง

ตารางที่ 10-9 รายละเอียดตัวอย่างในการศึกษาการตกตะกอนปุ๋ ยแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต


ชื่อตัวอย่ าง รายละเอียด

1 Na-7-1:0-ww ไม่มีการปรับ pH = 7.4 , ไม่มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4)


2 Na-8-1:0-ww pH = 8 , ไม่มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4)
3 Na-9-1:0-ww pH = 9 , ไม่มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4)
4 Na-10-1:0-ww pH = 10 , ไม่มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4)

5 Na-7-1:1-ww ไม่มีการปรับ pH = 7.4 , มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4) อัตราส่ วน 1:1 (Mg:P)


6 Na-8-1:1-ww pH = 8 , มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4) อัตราส่ วน 1:1 (Mg:P)
7 Na-9-1:1-ww pH = 9 , มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4) อัตราส่ วน 1:1 (Mg:P)
8 Na-10-1:1-ww pH = 10 , มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4) อัตราส่ วน 1:1 (Mg:P)

9 Na-7-2:1-ww ไม่มีการปรับ pH = 7.4 , ไม่มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4)


10 Na-8-2:1-ww pH = 8 , มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4) อัตราส่ วน 2:1 (Mg:P)
11 Na-9-2:1-ww pH = 9 , มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4) อัตราส่ วน 2:1 (Mg:P)
12 Na-10-2:1-ww pH = 10 , มีการเติมฟอสเฟต (NaH2PO4) อัตราส่ วน 2:1(Mg:P)

--- ชุดการทดลองที่ 4, 8 และ 12 มีค่าพีเอชเท่ากับ 10 ซึ่ งเกินมาตรฐานน้ าทิ้ง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-32


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 10-10 การให้คะแนนและน้ าหนักความสาคัญของแต่ละชุดการทดลองเพื่อพิจารณาพารามิเตอร์ที่เหมาะสมต่อการผลิตปุ๋ ยแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต

Na-10-2:1-
Na-10-1:0

Na-10-1:1
Na-7-1:0

Na-8-1:0

Na-9-1:0

Na-7-1:1

Na-8-1:1

Na-9-1:1

Na-7-2:1

Na-8-2:1

Na-9-2:1
ข้ อพิจารณา คะแนน

1 สารเคมีทใี่ ช้ 120 120 120 120 90 90 90 60 30 120 120 90 60


2 ตะกอนหรือปุ๋ย 160 40 100 100 120 40 120 100 120 40 120 100 80
3 คุณภาพนา้ ทิง้ 120 90 83 86 83 90 83 79 75 94 86 90 83
4 อืน่ ๆ กฎหมาย (ค่า pH) 100 100 100 100 0 100 100 100 0 100 100 100 0
รวมคะแนน 500 350 403 406 293 320 393 339 225 354 426 380 223
ลาดับตัวเลือก 5 3 2 4 6 1
ถ่วงน้ าหนัก
1 ปริมาณสารเคมี 30 4 4 4 3 3 3 2 1 4 4 3 2
1.1 ราคา (จานวน*ปริ มาณ) 4 4 4 3 3 3 2 1 4 4 3 2
1.2 ความยากง่ายในการเก็บรักษา 4 4 4 3 3 3 2 1 4 4 3 2
2 ปริมาณตะกอน 40 1 2.5 2.5 3 1 3 2.5 3 1 3 2.5 2
2.1 น้ าหนักตะกอน 1 1 2 4 1 2 2 4 1 2 2 2
2.2 ปริ มาณผลึก 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2
3 คุณภาพนา้ ทิง้ 30 3.0 2.8 2.9 2.8 3.0 2.8 2.6 2.5 3.1 2.9 3.0 2.8
3.1 ค่าพีเอช (pH) 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1
3.2 ซี โอดี (COD) 1 2 4 4 3 3 3 3 2 1 2 3
3.3 ฟอสเฟต (TP) 4 4 4 4 1 1 1 1 2 2 2 2
3.4 ไนโตรเจน (TKN) 4 2 2 2 2 2 2 2 2 4 4 3
3.5 ค่าความเป็ นด่าง (ALK) 4 3 1 1 4 1 1 1 3 1 2 1
3.6 โลหะหนัก (Cu, Zn) 3 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4
3.7 แมกนีเซี ยม (Mg) 2 2 3 3 3 4 4 4 4 4 4 4
3.8 โพแทสเซี ยม (K) 2 2 3 3 3 4 4 4 4 4 4 4

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-33


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

10.2.3 ผลการคัดเลือกปัจจัยที่เหมาะสมต่อการผลิตปุ๋ ยผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า: แมกนีเซียม-


แอมโมเนีย-ฟอสเฟต
จากผลการศึก ษาชุด ตัว อย่างในการทดลองน ามาให้ค ะแนนและทาการถ่ว งน้ าหนัก โดยผล
การศึกษาสามารถสรุ ป ได้เป็ นประเด็นดังนี้
- ชุดการทดลองที่มีการปรับค่าพีเอช เท่ ากับ 10 จะตัดออกจากตัวเลือกในการนาไปใช้งาน
เนื่องจากว่ามีคุณภาพน้ าทิ้งเกินเกณฑ์มาตรฐาน (pH 5.5-9.0)
- จากผลการคัด เลื อ กชุ ด ทดลองที่ เ หมาะสมในการผลิ ต ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด ละลายช้า :
แมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟตจากน้ าทิ้งฟาร์ มสุ กรที่ผ่านระบบบาบัดแบบก๊าซชีวภาพ
จานวน 1 ลูกบาศก์เมตร แบ่งออกได้เป็ น 2 ตัวเลือก ดังนี้

ตัวเลือกที่ 1) การผลิตปุ๋ ยแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต โดยการเติมสารประกอบ


ฟอสเฟต
ตัวเลือกที่ 2) การผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า: แมกนี เซียม-แอมโมเนี ย-ฟอสเฟต
ฟอสเฟตโดยไม่มีการเติมสารประกอบฟอสเฟต

รายละเอียดของปริ มาณสารเคมีที่ใช้และปุ๋ ยที่ผลิตได้ในแต่ละตัวเลือกแสดงดังนี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-34


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตัวเลือก 1 : น้ าทิ้งฯ 1 ลูกบาศก์เมตร ทาการปรับพีเอชของน้ าด้วย โซดาไฟให้ได้พีเอชอยูใ่ นช่วง 8 ถึง 9 อยู่


โดยการโซดาไฟประมาณ (0.1 - 0.5 กิ โลกรั ม) ร่ ว มกับ การเติ มฟอสฟอรั สจ านวนเล็ก น้อย (0.7
กิโลกรัม) จะทาให้ได้ ตะกอนในปริ มาณ 0.8-1.0 กิโลกรัม หรื อปรับปริ มาณการเติมสารเคมีต่อปริ มาณ
ธาตุอาหารในน้ าเสี ย แมกนี เซียมต่อฟอสฟอรัส 2:1 (Mg:P) ปริ มาณของสารเคมีที่เหมาะสมเทียบกับ
ราคาแสดงในตารางที่ 10-11

ฟอสเฟต (NaH2PO4 ) 0.7 กก.

ระบบผลิตปุ๋ ยแมกนีเซี ยม-


น้ าทิ้งฯ น้ าทิ้ง
แอมโมเนีย-ฟอสเฟต
1 ลบ.ม. พีเอช  8.0 - 9.0 ตะกอน
[ปริ มาณฟอสเฟตในน้ าเสี ย = (ปุ๋ ยแมกนีเซียม-
60~80 มก./ล.]
แอมโมเนียม-ฟอสเฟต)
0.5-1.0 กิโลกรัม
โซดาไฟ หรื อ โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)
0.1 – 0.5 กก.

ตารางที่ 10-11 ปริ มาณของสารเคมีที่เหมาะสมเทียบกับราคาของตัวเลือกที่ 1


ชนิดสารเคมีที่ใช้ ปริมาณ ราคา
กิโลกรัม/ลบ.ม (บาท/ ลบ.ม)
ฟอสเฟต (as Na2HPO4) 0.7 18
ปูนขาวสาหรับปรับพีเอชให้ได้ 8-9 0.1- 0.5 3 - 14
ปริ มาณตะกอนที่ได้ 0.5 – 1.0

ปริ มาณฟอสเฟตที่กาจัดได้(%)* - -
ปริ มาณไนโตรเจนที่กาจัดได้ (%) 68
ราคาสารเคมีรวม (บาท) 21 - 32

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-35


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตัวเลือก 2 : น้ าทิ้งฯ 1 ลูกบาศก์เมตร ทาการปรับพีเอชของน้ าด้วยโซดาไฟ ให้ได้พีเอชอยูใ่ นช่วง 8 ถึง 9


โดยการเติ มโซดาไฟ ประมาณ (0.1 - 0.4 กิ โลกรั ม) ร่ ว มกับ การเติ มฟอสฟอรั สจ านวนเล็ก น้อย
(0.7 กิโลกรัม) จะทาให้ได้ ตะกอนในปริ มาณ 0.4- 0.7 กิโลกรัม ปริ มาณของสารเคมีที่เหมาะสมเทียบ
กับราคาแสดงในตารางที่ 10-12

ระบบผลิตปุ๋ ยแมกนีเซี ยม-


น้ าทิ้งฯ น้ าทิ้ง
แอมโมเนีย-ฟอสเฟต
1 ลบ.ม. พีเอช  8.0 - 9.0
ตะกอน
[ปริ มาณฟอสเฟตในน้ าเสี ย
(ปุ๋ ยแมกนีเซียม-
= 60~80 มก./ล.]
แอมโมเนียม-ฟอสเฟต)
0.4 - 0.7 กิโลกรัม
โซดาไฟ หรื อ โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)
0.1 – 0.3 กก.

ตารางที่ 10-12 ปริ มาณของสารเคมีที่เหมาะสมเทียบกับราคาของตัวเลือกที่ 2


ชนิดสารเคมีที่ใช้ ปริมาณ ราคา
กิโลกรัม/ลบ.ม (บาท/ ลบ.ม)
ฟอสเฟต (as Na2HPO4)
ปูนขาวสาหรับปรับพีเอชให้ได้ 8-9 0.1 - 0.3 4-13
ปริ มาณตะกอนที่ได้ 0.4 -0.7

ปริ มาณฟอสเฟตที่กาจัดได้(%)* 84
ปริ มาณไนโตรเจนที่กาจัดได้ (%) 26
ราคาสารเคมีรวม (บาท) 4 - 13

การดาเนินระบบของ ตัวเลือกที่ 1) มีการเติมสารประกอบฟอสเฟตลงไปจานวนเพียงเล็กน้อย


แต่จะทาให้ได้ปริ มาณตะกอนที่เพิ่มมากขึ้น เนื่ องจากฟอสเฟตสามารถตกตะกอนได้เพิ่มขึ้นร่ วมกับ
แมกนี เซี ยม แคลเซี ยมและไอออนอื่น ๆในน้ า ทาให้คุ ณ ภาพน้ าทิ้งดีข้ ึ นด้ว ยถ้ามีก ารควบคุ มการเติ ม
ฟอสเฟตลงไปอย่างเหมาะสม ดังนั้นการดาเนินระบบจึงมีความจาเป็ นที่จะต้องมีการควบคุมที่ดี เช่นใน
กรณี คุณภาพน้ าทิ้งที่เข้าระบบไม่สม่าเสมอ เช่น มีปริ มาณฟอสเฟต แมกนี เซียม รวมทั้งไอออนอื่นๆใน
น้ าไม่ค่อยคงที่ อาจทาให้สารฟอสเฟตที่เติมลงไปไม่สามารถตกตะกอนลงมาได้หมด หลงเหลือตกค้าง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-36


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

อยูใ่ นน้ า และหลุดไปกับแหล่งน้ าธรรมชาติ ดังนั้นในการดาเนินระบบด้วยการใช้ ตัวเลือกที่ 1 จึงต้องพึง


ระมัดระวังในการดูแลและควบคุมระบบ โดยการควบคุมคุณภาพน้ าก่อนเข้าระบบ และวัดปริ มาณค่า
ฟอสเฟตก่อนปล่อยออกในการปรั บระบบแต่ละครั้ ง หรื อการเวียนน้ ากลับเข้าระบบอีก ครั้งเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการตกตะกอนที่จะเป็ นการช่วยควบคุมปริ มาณฟอสเฟตในน้ าน้ าทิ้งให้ได้ประสิ ทธิภาพ
แม้ว่าในปัจจุบนั ค่าฟอสเฟตในน้ าทิ้งนั้นยังไม่ได้มีการกาหนดไว้มาตรฐานน้ าทิ้ง
ทั้งนี้ น้ าทิ้งฟาร์ มสุ กรที่ผ่านการบาบัดแบบผลิต ก๊าซชี วภาพที่ มีปริ มาณแมกนี เซียมต่า อาจใช้
วิธีการเติมแมกนี เซียม ในรู ปของแมกนี เซียมคลอไรด์ (MgCl2)ให้มีค่าอัตราส่ วนโมลเท่ ากับโมลของ
ฟอสเฟตในน้ าเพื่อตกตะกอนปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า: แมกนี เซียม-แอมโมเนี ย-ฟอสเฟต ได้เช่นกัน
ทั้งนี้การเติมปริ มาณสารเคมีน้ นั จะต้องการการคานวณอย่างเหมาะสมและเหมาะกับปริ มาณธาตุอาหาร
ในน้ าเสียเพื่อทาให้เกิดตะกอนปุ๋ ยที่มีคุณภาพ และได้น้ าทิ้งที่มีคุณภาพอีกด้วย

ตัวเลือ กที่ 2) การผลิตปุ๋ ยแมกนี เซี ยม-แอมโมเนี ย -ฟอสเฟต โดยไม่มีก ารเติ มสารประกอบ
ฟอสเฟต ตัวเลือกนี้แม้ว่าจะทาให้ได้น้ าหนักปุ๋ ยในปริ มาณที่นอ้ ยกว่า แต่ทว่าอาจเป็ นตัวเลือกที่เหมาะสม
สาหรับฟาร์มสุกรที่มีค่าความสกปรกในน้ าเสียที่ไม่สม่าสมอ ฟาร์มที่ไม่มีบ่อพักน้ า และทาการทิ้งน้ าเสีย
ที่ผา่ นการบาบัดแล้วลงสู่แหล่งน้ าธรรมชาติ โดยที่ตวั เลือกนี้มีขอ้ ได้เปรี ยบในค่าใช้จ่ายของสารเคมีที่ถูก
กว่า และการเก็บรักษาสารเคมีสะดวกว่า คือ ต้องการแต่การเติมโซดาไฟเพียงอย่างเดียวเพื่อให้ได้ปุ๋ย
ฟอสเฟตชนิดละลายช้า: แมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต จึงทาให้ตวั เลือกนี้มีการควบคุมระบบในการ
ทางานสะดวกกว่า

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-37


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

11.2.4 การประเมินทางเศรษฐศาสตร์ เบือ้ งต้นสาหรับอุปกรณ์สาธิตสาหรับผลิตปุ๋ ยแมกนีเซียม-


แอมโมเนีย-ฟอสเฟต หรือ ปุ๋ ยสตรูไวท์
อุปกรณ์ผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีขนาด 2,000 ลิตร มีศกั ยภาพที่จะผลิตปุ๋ ยแมกนี เซียม-แอมโมเนี ย-
ฟอสเฟต หรื อ ปุ๋ ยสตรู ไวท์ ได้ 2 กิโลกรั ม โดยใช้ระยะเวลาการผลิตประมาณ 48 ชัว่ โมง หรื อ 2 วัน
ดังนั้นภายใน 1 ปี จะสามารถผลิตปุ๋ ยสตรู ไวท์ได้ 360 กิโลกรัม คิดเป็ นมูลค่า 14,400 บาท (เนื่ องจาก
ประเทศไทยยังไม่มีการดาเนินการผลิตปุ๋ ยสตรู ไวท์ในเชิงธุรกิจ จึงต้องใช้ราคาปุ๋ ยสตรู ไวท์อา้ งอิงจาก
ต่างประเทศในราคา 40 บาทต่ อกิ โ ลกรั ม อ้างอิงจาก Gaterell et al., 2000 “An economic and
environmental evaluation of the opportunities for substituting phosphorus recovered from waste water
treatment works in existing UK fertilizer markets”, Environmental Technology vol. 21 pages 1067-
1084) ต้นทุนสารเคมีที่ใช้มลู ค่าประมาณ 37.5 บาทต่อครั้งการผลิต หรื อ ประมาณ 6,750 บาทต่อปี
วิธีการคานวณ
1) ระยะเวลาคืนทุน =

เงินลงทุน = 78,285 บาท


รายได้ในแต่ละปี = 7,650 บาท
ระยะเวลาโครงการ = 5 ปี (ค่าเสื่อมของอุปกรณ์)
ระยะเวลาคืนทุน =

ดังนั้น ระยะเวลาคืนทุน = 10.2333 ปี

2) นาระยะเวลาคืนทุนไปเปิ ดตาราง Present Value of an Annuity (มูลค่าปัจจุบนั ของเงิน


เท่ากันทุกงวด) ใช้ตาราง PVIFAi,n ระยะเวลาโครงการ 5 ปี (หรื อใช้ สูตรดังต่ อไปนี ใ้ น
การหาค่ า IRR)

CF0 = เงินลงทุนครั้งแรก = 78,285 บาท


CFt = รายได้สุทธิในปี ที่ t = 7,650 บาท
t = ระยะเวลาโครงการ = 5 ปี
IRR (i) = ผลตอบแทนในโครงการ
78,285 = + + + +
IRR = -19.9%
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-38
SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

เกณฑ์ในการตัดสินใจสาหรับ วิธี IRR นั้นจะถือว่าน่าลงทุนทุกโครงการที่มีอตั ตราผลตอบแทน


ในโครงการมากกว่าต้นทุน แต่ในที่น้ ี IRR เท่ากับ -19.9% ดังนั้น ทางที่ปรึ กษาเห็นว่าไม่เหมาะสมที่จะ
ลงทุนสร้างระบบผลิตปุ๋ ยแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต หรื อ ปุ๋ ยสตรู ไวท์

10.2.5 ศักยภาพในการผลิตปุ๋ ยแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟตหรือปุ๋ ยสตรูไวท์ ในฟาร์ มสุ กรขนาด


ต่างๆ
เนื่องจากอุปกรณ์การผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีสาธิตในโครงการฯ เป็ นอุปกรณ์ตน้ แบบซึ่งยังต้องการ
การพัฒ นาต่ อไปเพื่อรองรั บปริ มาณน้ าทิ้งที่ ผ่านระบบก๊าซชีว ภาพทั้งระบบ ในเบื้ องต้น พบว่า หาก
สามารถนาน้ าที่ผา่ นระบบผลิตก๊าซชีวภาพเข้าสู่ระบบผลิตปุ๋ ยสตรู ไวท์ ศักยภาพในการผลิตปุ๋ ยสตรู ไวท์
ในฟาร์มสุกรขนาดต่างๆ ดังแสดงในตาราง 10-7 (ใช้ระยะเวลาการผลิต 2 วันต่อครั้ง)
ตาราง 10-7 แสดงศักยภาพในการผลิตปุ๋ ยสตรู ไวท์ในฟาร์มสุกรขนาดต่างๆ
จานวนสุ กร (ตัว) ปริ มาณปุ๋ ยสตรู ไวท์ต่อครั้ งการผลิต มูลค่าโดยประมาณ
โดยประมาณ (ก.ก.) (บาท)
500 12 500
1,000 25 1,000
5,000 125 5,000

11.2.6 การนาตะกอนแมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟตไปใช้ เป็ นปุ๋ ยทางการเกษตร


จากอดีตจนถึงปัจจุบนั อุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตจะให้ความสนใจกับแหล่งวัตถุดิบที่
จะน ามาผลิ ต ปุ๋ ยฟอสเฟตที่ ก าลัง จะหมดไป จากหน่ ว ยงาน European Fertilizer Manufacturer
Association ในปี ค.ศ. 2000 ได้คาดการณ์ปริ มาณแหล่งวัตถุดิบของการผลิตนั้นสามารถนามาใช้อีกได้
เพียง 100 – 250 ปี (EVANS, 2005) ดังนั้นอุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตเหล่านี้ จึงพยายามที่ จะหา
แหล่งฟอสเฟตที่สามารถทดแทนได้ วัตถุดิบในการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตโดยทัว่ ไปมาจากแร่ หินฟอสเฟต
(Phosphate rock) ที่ประกอบไปด้วยสารประกอบแคลเซียมฟอสเฟต (Calcium phosphate) ดังนั้นไม่ว่า
อย่างไรก็ตามตะกอนฟอสฟอรัสที่ได้จากกระบวนการบาบัดน้ าเสียก็ไม่สามารถเป็ นแหล่งวัตถุดิบให้กบั
โรงงานผลิต ปุ๋ ยฟอสเฟตที่ ตอ้ งใช้แร่ หิน ฟอสฟอรั สจ านวนมหาศาลอย่างถาวรได้ แต่ ท้ งั นี้ ตะกอน
ฟอสเฟตที่ ได้ก ารนาธาตุอาหารของพืชในน้ าที่ ผ่านจากระบบบาบัด จะเป็ นฟอสเฟตที่อยู่ในรู ปที่พืช
สามารถน าไปใช้ง านได้เ ลย ในประเทศสหรั ฐ อเมริ กา อัง กฤษ และ ญี่ ปุ่ น ได้มี ก ารน าตะกอน
แมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟต หรื อ สตรู ไวท์ มาใช้เป็ นปุ๋ ยทางการเกษตรมาเป็ นระยะเวลานานแล้ว
การจาหน่ายปุ๋ ยชนิดนี้จะจาหน่ายในรู ปปุ๋ ยเม็ด “Granulate Struvite” เพื่อความสะดวกในการใช้งานและ
ลดการฟุ้ งกระจาย ทั้งนี้ขนาดของเม็ดปุ๋ ยจะมีผลต่อการแพร่ กระจ่ายของธาตุอาหาร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-39


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

โรงงานผลิตปุ๋ ยสตรู ไวท์ (ICI) ได้ผลิตจะจาหน่ายปุ๋ ยสตรู ไวท์ภายใต้ ยี่ห้อ “N-Mag” เนื่ องจาก
ปุ๋ ยชนิดนี้เป็ นปุ๋ ยที่ให้ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ แมกนีเซียม แบบละลายช้า จาหน่ ายให้กบั บริ ษทั
ที่มีความต้องการซื้อเพื่อนาไปผสมกับธาตุอาหารชนิดอื่น เช่น โพแทสเซียม และจัดจาหน่ายภายใต้ยหี่ อ้

รูปที่ 10-7 ปุ๋ ย MagAmp®K จาหน่ ายในออสเตเรี ย (http://www.jpr.net.au/magamp.htm)

อย่างไรก็ต ามหลายที่ พยายามที่ จ ะให้ชื่อที่ นิ ยาม ปุ๋ ยแมกนี เซี ยม-แอมโมเนี ยม-ฟอสเฟตว่า
“MAP” ซึ่งมาจาก Magnesium Ammonium Phosphate แต่ทว่าชื่อดังกล่าวทาให้เกิดความสับสนระหว่าง
ผูซ้ ้ือ เนื่ องจากเกิดความเข้าใจผิดกับปุ๋ ย โมโน-แอมโมเนี ยม ฟอสเฟต (Mono-ammonium phosphate)
ดังนั้นการใช้ชื่อปุ๋ ยชนิดนี้ว่าสตรู ไวท์อาจสร้างความเข้าใจได้ง่ายกว่า

10.2.5 ราคาปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า: แมกนีเซียม-แอมโมเนีย-ฟอสเฟตในตลาด


ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า: แมกนี เซียม-แอมโมเนี ย-ฟอสเฟตนั้นสามารถนาไปใช้เป็ นปุ๋ ยทาง
การเกษตร หรื อ ผสมกับผลิต ภัณฑ์ชนิ ดอื่น เพื่อให้มีสมบัติ ให้ได้เป็ นปุ๋ ยตามต้องการ นอกจากนี้ ปุ๋ ย
ฟอสเฟตชนิดละลายช้า: แมกนี เซียม-แอมโมเนี ย-ฟอสเฟต เป็ นการผลิตโดยการนาฟอสเฟตในน้ าเสี ย
กลับมาใช้ประโยชน์ (Nutrient recovery) จึ งถือได้ว่า ปุ๋ นชนิ ด นี้ เป็ นผลิต ภัณ ฑ์สีเขี ย ว หรื อ Green
recycle product ที่จาหน่ายกันในประเทศ ญี่ปุ่น อังกฤษ และแคนาดา

ราคาปุ๋ ย MAP จากการบาบัดน้ าเสี ย ยังไม่ได้มีการก าหนดราคาในตลาดโลก (Turker and


Celen, 2007) มีเพียงบางประเทศที่ทาการกาหนดราคาปุ๋ ย MAP เพื่อจาหน่ายทางการค้า ได้แก่

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-40


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

- 464 €/tonne Australia. 2006 (according to Shu et al., 2006 “An economic evaluation of
phosphorus recovery as struvite from digester supernatant”, Bioresource Technology 97,
pages 2211-2216)
- 250 EUR/ton (11,250 บาท/ตัน - 45 บาท = 1 EUR) รวมค่าใช้จ่ายด้านการขนส่ งแล้ว
2001. ถ้านา MAP ไปผสมกับผลิตภัณฑ์อื่นและโพแทสเซียมเพื่อให้ได้เป็ นปุ๋ ยที่มีสมบัติ
เฉพาะทางจะสามารถขายได้ 1,000 – 2,000 yen (27-55 บาท) ต่ อ 20กิโลกรั ม -ถุง
(according to Ueno &Fuji, 2002 “Three years experience of operating and selling
recovered struvite from full-scale plant”, Environmental Technology, Vol. 22. pp 1373-
1381)
- UK£ 217 – 865 = 320 – 1290 € UK (according to Gaterell et al., 2000 “An economic and
environmental evaluation of the opportunities for substituting phosphorus recovered from
waste water treatment works in existing UK fertilizer markets”, Environmental
Technology vol. 21 pages 1067-1084)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-41


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 10-12 ราคาปุ๋ ยแมกนีเซียมฟอสเฟตจากการบาบัดน้ าเสียมาจาหน่ายทางการค้า


ประเทศ ราคาต่ อตัน บาทต่ อกิโลกรั ม ที่มา
ออสเตเรี ย 464 EUR (1EUR = 45) 20 Shu et al., 2006

ญี่ปนุ่ 250 (1EUR = 45) 11 Ueno &Fuji., 2002

1,000 – 2,000 (Yen) 27-25 ต่อถุง (20 กิโลกรัม)**

อังกฤษ 320 – 1290 EUR (1EUR = 45) 14 - 58 Gaterell et al.


** ราคาเมื่อเอาสตรู ไวท์ที่ได้การบาบัดน้ าเสี ยไปผสมกับดินและธาตุอาหารอื่น เช่น โพแทสเซี ยม ให้ได้ตามสู ตรปุ๋ ยที่
ขายในท้องตลาด

10.3 ข้ อดีของเพิม่ การมูลค่านา้ ทิง้ ฯโดยการตกตะกอนธาตุอาหารในนา้ เสียกลับมาใช้ ใหม่เป็ นปุ๋ ยอินทรีย์


เคมี
10.3.1 ข้ อดีทางด้ านเศรษฐศาสตร์
ข้อดีที่ได้จากการบาบัดน้ าเสียโดยการกาจัดฟอสเฟตออกจากน้ าด้วยการตกผลึกสารอาหารใน
น้ าเสียซึ่งจะทาให้ได้ตะกอนที่สามารถนาไปเป็ นปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีทางการเกษตร มีหลายประการด้วยกัน
เช่น เป็ นการลดปริ มาณการเกิดตะกรันที่เกิดจากการสะสมของสารประกอบ แมกนี เซียม แอมโมเนี ย
ฟอสเฟต หรื อ สตรู ไวท์ ในระบบบาบัด ซึ่งตะกอนเหล่านี้ เกิดได้เองตามธรรมชาติ และก่อให้เกิดการ
อุดตันภายในระบบท่อของระบบบาบัดน้ าเสี ย หรื อ ในบ่อพักน้ า ก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายในเรื่ องการซ่อม
บารุ งรักษา วิธีการตกตะกอนผลึกธาตุอาหารของพืชที่เจือปนอยู่ในน้ าเสี ยด้วยการตกตะกอนทางเคมี
ยัง เป็ นการบ าบัด น้ าเสี ย ที่ มี ฟ อสฟอรั ส และรวมไปถึ ง แอมโมเนี ย (ด้ว ยการตกตะกอนผลึ ก ปุ๋ ย
แมกนีเซียม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต) ในขั้นตอนเดียวกัน จึงเป็ นการปรับปรุ งคุณภาพน้ าทิ้งก่อนปล่อยลง
สู่สิ่งแวดล้อม แต่อย่างไรก็ดีความสาเร็ จในการนาไปใช้ของวิธีการนี้ จะขึ้นอยู่กบั ความเป็ นไปได้ทาง
เศรษฐศาสตร์ เนื่ อ งมาจากการก าจัด ฟอสฟอรั สในน้ าเสี ย ด้ว ยการตกผลึก ทางเคมีน้ ัน จะขึ้ น อยู่ก ับ
ค่าใช้จ่ายที่มาจากในส่วนของการผลิต ซึ่งได้แก่ ค่าใช้จ่าย ของการเติมสารเคมี การซ่อมบารุ งระบบ และ
พลังงาน และราคาของปุ๋ ยที่นาไปจาหน่ายในรู ปของปุ๋ ยทางการเกษตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-42


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ค่าใช้จ่ายของการผลิตปุ๋ ยจากตะกอนสลัดจ์ของระบบบาบัดน้ าเสียทางเคมี จะขึ้นอยู่กบั ปริ มาณ


ของสารเคมีที่ใช้ นอกจากนี้ ค่ าใช้จ่ ายในด้านพลังงาน ที่ ใช้ให้ก ารกวนผสมสารเคมีเพื่อให้เกิ ด การ
ตกผลึก การศึกษาของต่างประเทศในส่ วนใหญ่น้ นั จะพบว่าในการกาจัดฟอสฟอรัสในน้ าเสี ยด้วยการ
ตกตะกอนธาตุอาหารในน้ าเสี ย จะต้องการเติมสารเคมีที่ช่วยในการตกตะกอน เช่น กรณี การผลิตปุ๋ ย
แมกนี เซียม-แอมโมเนี ยม-ฟอสเฟต ที่ใช้การเติม แมกนี เซียมคลอไรด์ (Magnesium chloride, MgCl2)
สารประกอบฟอสเฟต (NaH2PO4) ในปริ มาณที่เหมาะสมต่ อการเกิ ดผลึกแมกนี เซียม-แอมโมเนี ยม-
ฟอสเฟต (Mg:N:P) ร่ วมกับการเติม โซเดียมไฮดรอกไซด์ (Sodium hydroxide, NaOH) เพื่อปรับค่าพีเอช
ของน้ าให้มีความเหมาะสมต่อการตกตะกอน
10.3.2 ข้ อดีด้านสิ่งแวดล้อม

1) ลดมลพิษทางสิ่งแวดล้อม (Potential Pollution Reduction)


เป็ นการช่วยลดปรากฏการยูโทฟิ เคชัน (Eutrophication) เนื่ องจากเป็ นการช่วยลดปริ มาณ
สารอาหารที่ อยู่ในน้ าเสี ย (ฟอสฟอรัส และ ไนโตรเจน) ออกจากน้ าทิ้ งจากฟาร์ มสุ กรที่
ปล่อยลงสู่ แหล่งน้ าสาธารณะ เนื่ องจากสารอาหารสาหรั บพืชเหล่านี้ จ ะไปช่ ว ยเร่ งการ
เจริ ญเติบโตของพืชน้ า เช่น สาหร่ าย (Algae) ที่เมื่อพืชน้ าเหล่านี้ เจริ ญเติบโตรวดเร็ วอย่าง
ผิดปกติ จนทาให้แหล่งน้ านั้นเน่ าเสี ยและส่ งผลกระทบต่อสิ่ งมีชีวิตที่ อาศัยอยู่และระบบ
นิเวศในแหล่งน้ าเป็ นวงกว้าง
2) ลดปริมาณตะกอนสลัดจ์ (Sludge reduction)
วิธี ก ารก าจัด ตะกอนสลัด จ์ที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพเป็ นปั ญ หาหลัก ของวิ ธีก ารบ าบัด น้ าเสี ย
กระบวนการบาบัดน้ าเสี ยด้วยการตกตะกอนผลึกแมกนี เซียม-แอมโมเนี ยม-ฟอสเฟต จะ
เกิดปริ มาณตะกอนสลัดจ์นอ้ ยกว่า ร้อยละ 8 – 31 (Le Corre et al., 2009) ระบบตกตะกอน
เคมีทวั่ ไป

3) การนาตะกอนสลัดจ์ที่ได้ มศี ักยภาพในการนาไปใช้ เป็ นปุ๋ ย (Use as Fertilizer)


ตะกอนสลัดจ์ที่ได้มีส่วนประกอบของแมกนีเซียม-แอมโมเนี ย-ฟอสเฟต หรื อสตรู ไวท์ ซึ่ง
สามารถนาไปใช้เป็ นปุยทางการเกษตร ซึ่งมีองค์ประกอบของสารอาหารของพืช ได้แก่
ฟอสฟอรั ส ไนโตรเจน และ แมกนี เซียม ซึ่งพบว่ามีประสิ ทธิภ าพใช้ได้เที ยบเท่ ากับปุ๋ ย
ประเภท โมโนแคลเซี ยมฟอสเฟส (Monocalcium phosphate, MCP) (Le Corre et al.,
2009) ซึ่งละลายน้ าได้น้อย (0.018 กรัม ในน้ า 100 มิลลิลิตร) ซึ่งเป็ นข้อดีการใช้ในระยะ
ยาว หรื อ เปรี ยบเสมือนปุ๋ ยละลายช้า ซึ่งใช้ใส่เพียงครั้งเดียวตลอดฤดูการเพาะปลูก โดยไม่

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-43


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

มีอนั ตรายต่ อพืชผลทางการเกษตร ยังพบว่าในปั จ จุ บัน ได้มีก ารน าปุ๋ ย มาจ าหน่ ายใน
รู ปแบบทางการค้า เช่น ในประเทศญี่ปุ่น (Ueno and Fuji, 2001)

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-44


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

11.4 การประเมินความเหมาะสมทางเทคนิค เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม โดยการเปรียบเทียบกับการ


ใช้ ประโยชน์ ในรูปแบบอืน่ ๆ

ทั้งนี้นอกจากแนวทางการเพิ่มมูลค่าของน้ าที่ผา่ นการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ โดยการ


นาไปผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี ซึ่งก็คือ ผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า (ปุ๋ ยสตรู ไวท์) และผลิตปุ๋ ยแคลเซียม
ฟอสเฟต (ปุ๋ ยอะพาไทด์) แล้ว ยังสามารถนาน้ าที่ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในรู ปแบบอื่นๆ ได้อีก อาทิ ใช้เป็ นปุ๋ ยโดยตรง ใช้ในการผลิตพลังงาน ใช้เพื่อผลิตพืชอาหาร
และใช้ผลิตพืชที่สามารถนามาทาเป็ นพลังงานทดแทน ดังนี้

(1) การนาไปใช้เป็ นปุ๋ ยอินทรี ยน์ ้ า (Wastewater as fertilizer and irrigation water)
(2) การนาไปใช้ในการผลิตพลังงานจากระบบเซลล์เชื้อเพลิงชีวภาพ (Microbial Fuel Cell,
MFC)
(3) การนาไปใช้ในการเพาะเลี้ยงพืชสาหรับผลิตเป็ นแหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์และผลิต
เป็ นพลังงานทดแทน อาทิ การเพาะเลี้ยงสาหร่ าย และการเพาะเลี้ยงแหน
(4) การนาไปใช้ในเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าสาหรับผลิตเป็ นแหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์

ซึ่งในแนวทางเลือกในการนาน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ ไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ นั้น มีท้ งั ข้อดี


และข้อจ ากัดแตกต่างกัน ดังนั้นจึ งนาเครื่ องมือทางเศรษฐศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อม (Cost and benefit
Analysis, CBA) มาทาการประเมิน ความเหมาะสมทางเทคนิ ค เศรษฐศาสตร์ สิ่ งแวดล้อม ในการ
วิเคราะห์ตน้ ทุนและผลประโยชน์รวมของโครงการฯ ซึ่งจะอธิบายได้ถึงข้อดีและข้อจากัด ของแต่ละ
แนวทางในการนาน้ าที่ผา่ นการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพมาเพิ่มมูลค่า รวมทั้งประโยชน์ที่ได้จาก
การใช้พลังงานจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพร่ วมด้วย โดยรายละเอียดในแต่ละแนวทางเลือกอื่นๆ มีดงั นี้

แนวทางที่ 1 : การนาไปใช้ เป็ นปุ๋ ยอินทรีย์นา้ (Wastewater as fertilizer and irrigation water)
น้ าที่ผา่ นระบบบาบัดน้ าเสียแบบผลิตก๊าซชีวภาพ สามารถนาไปใช้เป็ นปุ๋ ยอินทรี ยแ์ บบน้ า เพื่อ
การเพาะปลูกพืชพลังงาน เช่น ข้าวโพด มันสาปะหลัง อ้อย และ ปาล์มน้ ามัน รวมทั้งใช้ในการเพาะปลูก
พืชเศรษฐกิจ เช่น ข้าว เนื่องจากน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ นั้น มีปริ มาณสารอินทรี ย ์ สารอาหารและแร่ ธาตุ
ละลายอยู่ในรู ปที่พืชสามารถน าไปใช้ได้โดยตรง เช่ น ฟอสเฟต (PO43-) ไนเตรด (NO32-) แอมโมเนี ย
(NH4+) โพแทสเซียม (K+) แคลเซียม (Ca2+) และ แมกนี เซียม (Mg+) เป็ นต้น ทั้งนี้ น้ าที่ผ่านการบาบัดฯ
สามารถนาไปใช้เพื่อทดแทนหรื อลดปริ มาณการใช้ปุ๋ยเคมีในการเพาะปลูก ซึ่งถือเป็ นการช่วยลดต้นทุน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-45


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ค่าใช้จ่ายให้ก ับเกษตรกร ซึ่ งสารอาหารและแร่ ธาตุ ที่จาเป็ นต่อพืชที่พบในน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ จาก


ฟาร์มสุกร แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม ได้แก่
(1) ธาตุอาหารหลัก (N-P-K) ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ในรู ปของ ไนเตรด (NO32-) และแอมโมเนี ย
(NH4) ฟอสฟอรัส (P) ในรู ปของ ฟอสเฟต (PO43-) และโพแทสเซียม (K+)
(2) ธาตุอาหารรอง ได้แก่ แร่ ธาตุต่างๆ เช่น แคลเซียม (Ca2+) แมกนีเซียม (Mg2+) และซัลเฟอร์
กลุ่มพืชที่สามารถใช้ปุ๋ยอินทรี ย น์ ้ าจากน้ าที่ผ่านระบบบาบัดน้ าเสี ยแบบผลิตก๊าซชี วภาพจาก
ฟาร์ มสุ ก ร แบ่งได้เป็ น 2 กลุ่ม คื อ พืชที่ ให้น้ ามันสาหรั บใช้ผลิต ไบโอดีเซล (Biodiesel) ได้โดยตรง
ได้แก่ ปาล์มน้ ามัน และพืชที่สามารถนาไปผลิตเอทานอล ได้แก่ อ้อย ข้าวโพด และ มันสาปะหลัง ซึ่ง
พืชในกลุ่มนี้ จะมีส่ว นของแป้ งและน้ า ตาลเป็ นองค์ป ระกอบอยู่เป็ นจ านวนมาก ซึ่ งเมื่อ น าไปผ่า น
กระบวนการหมัก (Fermentation) จะสามารถเปลี่ยนแป้ งและน้ าตาลให้กลายเป็ นแอลกอฮอล์ และเมื่อ
นาแอลกอฮอล์ที่ได้จากการหมักนี้ ไปผ่านกระบวนการกลัน่ จะได้แอลกอฮอล์ที่มีความบริ สุทธิ์สูง ซึ่ง
สามารถนาไปใช้เป็ นพลังงานทดแทนได้ต่อไป
จากการส่งเสริ มและสนับสนุนปลูกพืชพลังงานจากทางภาครัฐฯ ไม่ว่าจะเป็ นการส่ งเสริ มการ
ปลูกปาล์มน้ ามัน อ้อย ข้าวโพด และ มันสาปะหลัง ทาให้มีความต้องการการเพิ่มพื้นที่ทางการเกษตร
รวมทั้งส่งผลกระทบต่อการใช้ประโยชน์ที่ดิน และส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังการเพิ่มปริ มาณการใช้ปุ๋ย
โดยการหาแหล่งปุ๋ ยให้เกษตรเพื่ อส่ งเสริ มการเพาะปลูก พืชพลังงานจึงเป็ นสิ่ งสาคัญที่ ควรได้รับการ
สนับสนุนจากภาครัฐ ดังนั้นการนาน้ าที่ผ่านการบาบัดน้ าเสี ยด้วยระบบการผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์ ม
สุกร จะสามารถเป็ นแหล่งปุ๋ ยน้ าอินทรี ยเ์ พื่อทดแทนปุ๋ ยเคมี และลดภาระรายจ่ายค่าปุ๋ ยเพื่อการเพาะปลูก
ของเกษตรกรได้โดยตรง

ข้ อดีและข้อจากัดของการนาน้าที่ผ่านการบาบัดฯ ไปใช้ เป็ นปุ๋ ยอินทรีย์นา้ สรุปได้ดังนี้

ข้ อดี
1) การนาไปใช้งานทาได้สะดวก โดยไม่ตอ้ งผ่านกระบวนการแปรรู ปใดๆ
2) พืชสามารถนาแร่ ธาตุอาหารไปใช้ได้โดยตรง เหมือนการใช้ปุ๋ยน้ า
3) ลดภาระค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ ยให้เกษตรกร

ข้ อจากัด
1) การขนส่งปุ๋ ยน้ าในระยะไกลทาได้ไม่สะดวก เนื่องจากเป็ นการขนส่งน้ าปริ มาณมาก
2) สิ่งเจือปนในน้ าเสียที่เป็ นอันตรายต่อมนุษย์ เช่น โลหะหนัก เชื้อโรคและพยาธิ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-46


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

3) การปนเปื้ อนของธาตุอาหาร ลงสู่แหล่งน้ าใต้ดิน และ แหล่งน้ าธรรมชาติ เนื่องจากธาตุ


อาหารอยูใ่ นรู ปละลายน้ า

แนวทางที่ 2: การนาไปใช้ ในการผลิตพลังงานจากระบบเซลล์เชื้อเพลิงชีวภาพ (Microbial Fuel Cell)


เซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ย หรื อ เซลอิเล็ก โทรไลซิ สแบคที เรี ย (Microbial Electrolysis Cell,
MEC) จัดเป็ นเซลล์เชื้อเพลิงที่ผลิตไฟฟ้ าอีกรู ปแบบหนึ่ ง ซึ่งอาศัยหลักการของย่อยสลายมวลชีวภาพ
(Biomass) หรื อสารอินทรี ยด์ ว้ ยแบคทีเรี ย ในขั้นตอนการย่อยสลายมวลชีวภาพหรื อสารอินทรี ยน์ ้ นั จะ
ทาให้ได้พลังงานไฟฟ้ าและน้ าเป็ นผลิตภัณฑ์ ดังนั้นเซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยจึงนับเป็ นอีกแนวทางเลือก
หนึ่งสาหรับการผลิตพลังงานสะอาด หรื อนามาใช้เป็ นพลังงานทดแทนพลังงานในรู ปแบบอื่นต่อไป
โดยทั่ว ไปเทคโนโลยีที่ ใ ช้ใ นการผลิ ต พลัง งานไฟฟ้ าจากเซลล์เ ชื้ อ เพลิ ง แบคที เ รี ยนั้ น
มีความสัมพันธ์กบั อีกหลายปัจจัย ได้แก่ อุปกรณ์ที่ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้ า อาทิเช่น ชนิ ดของโลหะที่ใช้
ทาขั้วแอโนด (Anodes) และขั้วแคโทด (Cathodes) ซึ่งมีความสัมพันธ์กบั ขนาดของพื้นที่ผิวสาหรับ
ขั้วแอโนดและแคโทดร่ วมด้วย นอกจากนี้ ปัจจัยอีกประการหนึ่ งสาคัญ คือ กระบวนการทางชีวภาพ
โดยเฉพาะชนิ ดของแบคที เรี ยที่มีค วามสามารถในการย่อยสลายสารอิน ทรี ยแ์ ละถ่ายเทอิเล็ก ตรอน
ระหว่างเซลล์ ซึ่งกลุ่มของแบคทีเรี ยที่นามาใช้มีหลายชนิด ที่ได้นามาใช้ในงานศึกษากระบวนการผลิต
ก๊าซไฮโดรเจนของ MEC อาทิเช่น แบคทีเรี ยในกลุ่มของ -, -, - หรื อ -protepbacteria ซึ่งเป็ นกลุ่ม
แบคทีเรี ยจากตะกอนก้นแม่น้ า หรื อแหล่งน้ าเสีย (Bruce E. Logan and John M. Regan, 2006) ซึ่งก๊าซ
ไฮโดรเจนที่ได้จากกระบวนการผลิต ถือเป็ นพลังงานสะอาด สามารถนามาใช้เป็ นพลังงานทดแทน
น้ ามันเชื้อเพลิงได้ ดังแสดงในรู ป

แผนผังแสดงการนาเซลล์เชือ้ เพลิงแบคทีเรียไปใช้ งาน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-47


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ขั้นตอนการทางานของเซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรีย
เซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยสามารถผลิตกระแสไฟฟ้ าได้โดยการเปลี่ยนเซลลูโลส (Cellulose) และ
สารอินทรี ยท์ ี่ยอ่ ยสลายได้ให้กลายเป็ นก๊าซไฮโดรเจน (H2) ได้โดยตรง ซึ่งขั้นตอนการทางานของเซลล์
เชื้อเพลิงแบคทีเรี ย เริ่ มจากการนาวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้ เช่น นาเศษพืชหรื อผัก เศษวัสดุต่างๆ มา
ผ่านขั้นตอนการหมักและเกิดเป็ นกรดน้ าส้ม หรื อ กรดแอซิติก (Acetic acid) หรื อ นาน้ าตาลกลูโคส
หรื อเซลลูโลสมาหมักให้เปลี่ยนเป็ นกรดแอซิติกก็ได้ จากนั้นนามาใส่ ลงในเซลล์อิเล็กโทรไลซิส ซึ่ง
ประกอบด้วยขั้นไฟฟ้ า 2 ขั้น คือ ขั้วแอโนด (Anode) และ ขั้วแคโทด (Cathode) ทั้งนี้ ที่ข้ วั แอโนด
(Anode) จะมีการยึดเกาะของแบคทีเรี ย หรื อ อาจผ่านขั้นตอนการเคลือบด้วยไบโอฟิ ลม์ (Biofilm) ที่
ภายในมีแบคทีเรี ยอาศัยอยูภ่ ายในไบโอฟิ ลม์ และเมื่อแบคทีเรี ยที่อยู่ที่ข้ วั แอโนดเกิดการย่อยสลายกรด
แอซิติก จะทาให้ได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และแบคทีเรี ยจะเกิดการปลดปล่อยอิเล็กตรอน (e-)
ออกมา และได้โปรตอน (H+) อยูใ่ นสารละลาย ซึ่งอิเล็กตรอนเหล่านี้จะเคลื่อนที่เข้าจากขั้วแอโนดและ
ผ่านไปยังขั้วแคโทด โดยอาศัยทางเชื่อม (Bridge) ทาให้เกิดการหมุนเวียนของประจุไฟฟ้ า และเกิดเป็ น
กระแสไฟฟ้ าอ่อนๆ และโปรตอน (H+) ที่อยู่ในสารละลายจะทาหน้าที่รับอิเล็กตรอน (e-) และเกิ ดเป็ น
ก๊าซไฮโดรเจน (H2) หรื อบางเทคโนโลยีอาจใช้เยื่อเลือกผ่าน (Porous Electron Membrane : PEM) ซึ่ง
ทาหน้าที่คดั กรองเฉพาะโปรตอน (H+) ในสารละลายให้ไหลผ่านไปยังขั้วแคโทด ก็จะทาให้เกิดก๊าซ
ไฮโดรเจน และได้กระแสไฟฟ้ าเช่นกัน

การไหลเวี ย นของอิ เ ล็ก ตรอนและโปรตรอนในเซลล์เ ชื้ อ เพลิ ง แบคที เ รี ยจะท าให้ เ กิ ด


กระแสไฟฟ้ าอย่างอ่อนขึ้น ซึ่งจากการศึกษา พบว่า แบคทีเรี ยที่สามารถทนต่ออุณหภูมิสูง (Exothermic)
สามารถผลิต กระแสไฟฟ้ าได้ประมาณ 0.2 โวลต์ (เมื่อเปรี ยบเที ยบกับไฮโดรเจนอิเล็ก โทรดปกติ )
ถึงแม้ว่าจะค านวณหักลบปริ มาณไฮโดรเจนที่ผลิต ได้บางส่ วนที่ จะต้องใช้เป็ นแหล่งเชื้อเพลิงเพื่อให้
กระบวนการผลิตไฮโดรเจนเกิดขึ้นต่อไปได้ กระบวนการอิเล็กโทรไลซิสเซลล์แบคทีเรี ย (Microbial
electrolysis cell process) นี้ ก็ยงั ให้พลังงานมากกว่าพลังงานไฟฟ้ าที่ใช้ในกระบวนการถึงร้อยละ 144
เมื่อเปรี ยบเทียบกับกระบวนการไฮโดรไลซิสของน้ า (Water hydrolysis) ซึ่งเป็ นกระบวนการทัว่ ไปที่ใช้
ในการผลิตไฮโดรเจนซึ่งมีประสิทธิภาพเพียงร้อยละ 50-70
ทางเลือกอืน่ สาหรับการนาเซลล์เชือ้ เพลิงแบคทีเรียไปใช้
เซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยยังสามารถนาไปใช้เพื่อผลิตปุ๋ ยใช้ภายในฟาร์ มขนาดใหญ่ได้โดยไม่
จาเป็ นต้องสัง่ ซื้อปุ๋ ยจากโรงงาน ฟาร์มขนาดใหญ่สามารถผลิตไฮโดรเจนได้เองจากเศษไม้โดยใช้เซลล์
เชื้อเพลิงแบคทีเรี ย และใช้ไนโตรเจนจากอากาศในการผลิตแอมโมเนี ยหรื อกรดไนตริ ก แอมโมเนี ย
สามารถน ามาใช้เป็ นปุ๋ ยได้เลยหรื อสามารถน ามาใช้ในกระบวนการผลิต ปุ๋ ยแอมโมเนี ยมไนเตรด -
ซัลเฟต หรื อฟอสเฟต
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-48
SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ข้ อดีและข้อจากัดของการนาเซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรียไปใช้ สามารถสรุปได้ ดงั นี้

ข้ อดี
1) ได้พลังงานไฟฟ้ าเป็ นผลิตภัณฑ์จากกระบวนการย่อยสลายอินทรี ยใ์ นน้ าเสียของจุลินทรี ย ์
2) ได้น้ าสะอาดเป็ นผลพลอยได้จากกระบวนการผลิต
3) น้ าเสียที่ผา่ นกระบวนการบาบัดมีความสกปรกน้อยลง

ข้ อจากัด
1) เทคโนโลยีน้ ีส่วนใหญ่เป็ นศึกษาวิจยั ในห้องปฏิบตั ิการ อุปกรณ์ตน้ แบบขนาดใหญ่ยงั
ไม่ได้รับความนิยมเนื่องจากค่าใช้จ่ายในการลงทุนสูง
2) เนื่องจากเซลล์เชื้อเพลิงแบคทีเรี ยนี้ ยงั อยู่ระหว่างการวิจยั ในระดับห้องปฏิบตั ิการวิจยั
จึงสามารถผลิตปริ มาณไฟฟ้ าได้ไม่มากนัก
3) มีความซับซ้อนและยุง่ ยากในการควบคุมระบบเพื่อเลี้ยงจุลินทรี ย ์ และควบคุมชนิดและ
สายพันธุข์ องจุลินทรี ยท์ ี่จะนามาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้ า
4) ค่าใช้จ่ายสูงในการลงทุน และ ติดตั้งระบบ

แนวทางที่ 3: การนาไปใช้ ในการเพาะเลีย้ งพืชสาหรับผลิตเป็ นแหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์ และผลิตเป็ น


พลังงานทดแทน อาทิ การเพาะเลีย้ งสาหร่ าย และการเพาะเลีย้ งแหน
(1) การเพาะเลีย้ งสาหร่ าย

การใช้สาหร่ ายในการบาบัดน้ าเสี ยขั้นหลังนั้นมีการศึกษามาเป็ นระยะเวลานาน ในปั จจุบนั มี


ความพยายามที่จะพัฒนาสายพันธุส์ าหร่ ายที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่อให้สามารถย่อยสลายค่าความสกปรก
ในน้ าเสียได้อย่างรวดเร็ ว และทนทานต่อสภาวะแวดล้อมต่างๆ ได้ดี เช่น ทนต่อการเปลี่ยนแปลงของ
อุณหภูมิ ทนต่อสภาพความเป็ นกรด-ด่าง ทนต่อสภาพความเป็ นพิษ เป็ นต้น ในปั จจุบนั แนวคิดการใช้
สาหร่ ายบาบัดน้ าเสีย ยังพิจารณาไปถึงผลพลอยได้ที่เป็ นมวลชีวภาพ (Biomass) ของสาหร่ าย และนาไป
จ าหน่ า ยทางการค้า เนื่ อ งจากเป็ นแหล่ ง โปรตี น ในอาหารสัต ว์ ตัว อย่า งเช่ น สาหร่ า ยเกลี ยวทอง
(Spirulina) เป็ นสาหร่ ายสายพันธุท์ ี่นิยมนามาใช้ในการบาบัดน้ า โดยพบว่าสาหร่ ายในตระกูลนี้ มีขอ้ ดี
ดังนี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-49


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

1) เก็บเกี่ยวได้ง่าย เนื่องจากสาหร่ ายสายพันธุน์ ้ ี มีการเจริ ญเติบโตเป็ นกลุ่มก้อน


2) มีการเจริ ญเติบโตรวดเร็ ว
3) มีปริ มาณโปรตีนเป็ นองค์ประกอบสูง (ร้อยละ 60-70 ของน้ าหนักแห้ง)
4) สามารถใช้เป็ นส่วนผสมในอาหารสัตว์ และนาไปเป็ นอาหารให้กบั ลูกปลา
5) มีองค์ประกอบของสารประกอบจาพวกกรดไขมันเป็ นจานวนมาก ที่นาไปผลิตเป็ นยาบารุ ง
6) เมือ่ นาไปทาให้แห้งสามารถนาไปใช้เป็ นสารดูดซับทางชีวภาพ (Bioadsorbent) ในเพื่อการ
บาบัดโลหะหนักที่ละลายอยูใ่ นน้ าเสีย
7) บางสายพันธุส์ ามารถเจริ ญเติบโตได้ดีที่ค่าความเป็ นด่างสูง ทาให้ลดการปะปนของ
สาหร่ ายชนิดอื่น
8) บางสายพันธุม์ ีความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมได้ดี

การเพาะเลีย้ งสาหร่ ายสไปรูลนิ ่ า


จากการศึกษาของ ศาสตรจารย์ ดร.วันชัย ดีเอกนามกูล ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี โครงการ
สนับสนุ น การพัฒ นาเทคโนโลยีข องอุต สาหกรรมไทย (ITAP) สานัก งานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) พบว่า สาหร่ ายสไปรู ลิน่า เป็ นพืชที่มี สารซีแซนทิน (Zeaxanthin) ที่เป็ น
สารเร่ งสี มีประโยชน์ในการน ามาเป็ นส่ วนประกอบของอาหารปลา เช่น น ามาใช้เป็ นส่ ว นผสมใน
อาหารปลาทองเพื่อเร่ งให้มีสีสนั สวยงาม ทั้งนี้น่าจะนาสาหร่ ายชนิดนี้มาใช้เป็ นส่ วนผสมในอาหารสัตว์
ชนิดอื่นๆได้ดว้ ย เช่น กุง้ โดยการวิจยั ทาบนพื้นฐานของการนาน้ าจากปุ๋ ยหมักมูลสัตว์หรื อซากพืชมาใช้
ในการเลี้ ย งเพื่ อ ลดต้น ทุ น เพราะหากใช้ปุ๋ ยเคมี จ ะมี ต ้น ทุ น ที่ สู ง กว่ า และไม่ คุ ้ม กับ การใช้เ ป็ น
ส่วนประกอบในอาหารของสัตว์ ซึ่งการเลี้ยงสาหร่ ายแบบเดิมจะใช้ปุ๋ยเคมีท้ งั หมด ซึ่งทาให้ตน้ ทุนการ
เพาะเลี้ยงมีมลู ค่าสูง ดังนั้นสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั ได้เสนอการเลี้ยงสาหร่ ายแบบใหม่ โดย
ใช้น้ าหมักซึ่งประกอบด้วยมูลสัตว์และซากพืชทุกชนิด เช่น ต้นกล้วย มะม่วง หรื อมะละกอ ซึ่งแม้ว่าจะ
มีโปรตีนน้อยกว่า แต่ก็เพียงพอที่จะนาไปเป็ นอาหารสัตว์ และได้รับการยอมรับจากผูป้ ระกอบการว่ามี
คุณภาพเพียงพอ

ขั้นตอนในการเลีย้ งสาหร่ าย
นาหัวเชื้อใส่ ประมาณ 1 ใน 10 ส่ วน ได้แก่ น้ า 10 ลิตร หัวเชื้อ 1 ลิตร มาเลี้ยงในบ่ออนุ บาล
ลักษณะเป็ นบ่อปูน เพื่อให้ควบคุมได้ในพื้นที่จากัด ทาให้เกิดประสิ ทธิภาพในการให้ปุ๋ยและดูแลได้
ทัว่ ถึง หลังจากระยะเวลาหนึ่ งเดื อนจึงขยายไปในบ่ อที่ มีพ้ืนที่ ใหญ่ กว่าและเลี้ยงต่ อไปอีก ประมาณ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-50


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

20 วัน แต่ท้งั นี้จะขึ้นอยูก่ บั แสงแดดเป็ นองค์ประกอบหลัก เนื่ องจากหากไม่มีแสงแดดการเจริ ญเติบโต


ของสาหร่ ายก็จะช้าลงไปด้วย เมื่อสาหร่ ายเติบโตเต็มบ่อใหญ่แล้วจึงเริ่ มเก็บเกี่ยว โดยใช้วิธีสูบเข้ามาใน
ถุงกรองที่มีลกั ษณะคล้ายถุงกาแฟ น้ าที่เหลือก็จะทาเป็ นหัวเชื้อได้ต่อไป จากนั้นนาตัวสาหร่ ายมาเกลี่ย
ให้เป็ นแผ่นบางในถาด นาไปตากในห้องอบพลาสติก ทิ้งไว้สองวันให้แห้ง แล้วร่ อนออกมาเป็ นเกล็ด
เก็บรวบรวมนาไปบรรจุขาย

ข้อดีของการเลี้ยงสาหร่ ายชนิดนี้ คือ สามารถเจริ ญเติบโตในอาหารที่มีราคา ผูเ้ ลี้ยงสามารถเก็บ


ผลผลิตได้ทุกวัน โดยใช้เครื่ องมือน้อยกว่า ที่สาคัญในการเพาะเลี้ยงจะใช้พ้ืนที่ ปุ๋ ย และน้ าน้อยกว่าการ
เพาะปลูกพืชอื่น ขณะที่ผลผลิตที่ได้น่าจะมีตลาดรองรับที่ดี เนื่ องจากเมื่อนาไปผสมเป็ นอาหารกุง้ แล้ว
พบว่า มีค วามแตกต่ างจากอาหารกุ้งทัว่ ไป มีส่ว นผสมที่ สาคัญหลายชนิ ด อาทิ เช่น เบต้าแคโรที น
โปรตีน และไขมัน รวมถึงเกลือแร่ 20 กว่าชนิ ด ทาให้เป็ นจุด เด่น ที่ เหนื อกว่าอาหารกุ้งสู ต รอื่น ใน
ท้องตลาด
ข้ อดีและข้อจากัดของวิธีการนี้ได้ สรุปดังนี้

ข้ อดี
1) ผลผลิตมีมลู ค่าสูง และตลาดรองรับที่ดี
2) น้ าทิ้งฯที่ผา่ นกระบวนการบาบัดมีความสกปรกน้อยลง

ข้ อจากัด
1) มีค วามยุ่งยากในเตรี ย มน้ าที่ จะนามาใช้ในการเพาะเลี้ยงสาหร่ าย เนื่ องจาก
สาหร่ ายต้องการน้ าสะอาด และกึ่งน้ าเค็ม (ในบางสายพันธุ)์
2) เมื่อทาการเพาะเลี้ย งไประยะเวลาหนึ่ ง สาหร่ ายอาจมีก ารกลายพันธุ์ทาให้
ผลิตผลลดลง

(2) การเพาะเลีย้ งแหน เพือ่ เป็ นแหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์ และใช้ ในการผลิตเอทานอล

น้ าทิ้งที่ได้จากระบบบาบัดน้ าเสียแบบก๊าซชีวภาพ ส่ งไปยังบ่อพักน้ าสามารถนาไปเลี้ยงพืชน้ า


จาพวกตระกูลแหน (Lemnaceae or duckweed) สาหรับการบาบัดน้ าเสี ยในขั้นที่ 3 (Tertiary treatment)
เพื่อบาบัดสิ่งเจือปนในน้ า เช่น สารอาหาร และผลิตภัณฑ์เป็ นแหน นาไปเลี้ยงสัตว์ หรื อ ผลิตเอทานอล
จากอดีตกระบวนการบาบัดน้ าเสียขั้นที่ 3 โดยใช้พืชน้ า เช่น จอก และแหน เป็ นวิธีการที่นิยมใช้กนั มา
เป็ นระยะเวลานานกว่า 20 ปี แต่ว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้ หรื อ แหน เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ไม่สามารถสร้ างประโยชน์

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-51


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ทางการค้าเท่าที่ควร การนาไปใช้งานในอดี ตจึงเป็ นเพียง การนาแหนไปใส่ เป็ นปุ๋ ยพืชสดในการทา


เกษตรกรรม หรื อ เป็ นอาหารเลี้ยงปลา เป็ นต้น
ในภาวะปัญหาด้านการใช้พลังงานและภาวะโลกร้อน (Climate change) ทาให้เกิดความท้าทาย
ในการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับพลังงานจากชีวมวล (Biomass) ที่เป็ นแหล่งเชื้อเพลิงทดแทนแหล่งคาร์ บอน
ที่ ม าจากสารปิ โตรเคมี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่ม พื ชที่ น ามาผลิต พลัง งานที่ มี ก ารถกเถีย งกัน อย่า ง
กว้างขวาง เมื่อเพิม่ พื้นที่การเพาะปลูกนั้นมีผลกระทบต่อการใช้ประโยชน์จากที่ดิน และ ความต้องการ
ปุ๋ ยทางการเกษตรที่จะต้องรองรับอย่างเพียงพอเมื่อทาการเพาะปลูกกันมากขึ้น นักวิจยั ชาวสหรัฐอเมริ กา
(Cheng and Stomp, 2009) ได้คน้ พบว่าพืชตระกูลแหน (Lemnaceae or duckweed) มีแป้ งและโปรตีนเป็ น
องค์ประกอบอยู่เป็ นจานวนมาก ซึ่งสามารถนาไปแหล่งโปรตีนสาหรับอาหารสัตว์ หรื อเป็ นแหล่งแป้ ง
(Starch) สาหรับการผลิตเอทานอล นอกจากนี้น้ าเสียที่มาจากการเลี้ยงสัตว์สามารถเป็ นแหล่งอาหารอย่างดี
ให้พืชตระกูลนี้ เนื่องจากในน้ าเสียมีสารอาหารที่เป็ นประโยชน์ต่อพืช พืชจาพวกนี้ จะใช้สารอินทรี ยแ์ ละ
แร่ ธาตุต่างๆ ในน้ า โดยเฉพาะ ไนโตรเจน และฟอสฟอรัสในการเจริ ญเติบโต จึงเป็ นการลดค่าความสกปรก
ในน้ าได้อีกทางหนึ่ง
การนาไปใช้ ประโยชน์ จากการเพาะเลีย้ งแหน
1) แหนที่มีโปรตีนเป็ นองค์ประกอบ ประมาณร้อยละ 15 ถึง 45 สามารถนาไปใช้เป็ นวัตถุดิบ
ในการผลิตอาหารสัตว์เศรษฐกิจ และ อาหารปลา
2) แหนสามารถนาไปเป็ นวัต ถุดิบสาหรั บการผลิต แป้ ง และน าไปผลิตเอทานอล ซึ่งจาก
การศึกษาการนาแหนมาผลิตเอทานอล โดยใช้เอนไซม์ที่นามาใช้กบั การย่อยแหน ทาให้
ได้ผลิตภัณฑ์คือแป้ ง จากนั้นทาการย่อยแป้ ง (Hydrolysate) โดยผ่านกระบวนการหมัก
(Fermentation) โดยใช้ยีสต์ (Yeast) ได้ผลิต ภัณ ฑ์ที่เป็ นเอทานอล ดังนั้นแหนมีความ
เหมาะสมต่อการเป็ นพืชพลังงานในการผลิตเอทานอล และอาจมีตน้ ทุนที่ในการผลิตเอทานอล
ที่ต่ากว่าข้าวโพดจาก โดยจากผลการศึกษาในระดับพบอีกว่า แหนจะให้แป้ งเป็ นผลผลิต
ในอัตราประมาณ 28 ตัน/เฮกแตร์/ปี (ton/hectare/year) เมื่อเปรี ยบเทียบกับแป้ งที่ผลิตจาก
ข้าวโพด จะมีประมาณ 5.0 ตันต่อเฮกแตร์ ต่อปี พบว่า แหนมีศกั ยภาพในการผลิตมากกว่า
ข้าวโพดถึง 6 เท่า นอกจากนี้ แหนยังไม่ตอ้ งการการตัดให้เป็ นชิ้ นขนาดเล็ก (Grinding)
และไม่ต ้องการบด (Milling) ก่อนกระบวนการหมัก ซึ่ งเป็ นการช่ ว ยลดพลังงานจาก
เครื่ องจักรที่ใช้ที่เป็ นค่าใช้จ่ายหลักในการผลิตเอทานอลจากข้าวโพด นอกจากนี้ ปริ มาณ
โปรตี น ที่ อยู่ในแหน (ร้ อยละ 15 ถึง 45 ของน้ าหนัก แห้ง) มีปริ มาณมากกว่าข้าวโพด
(ร้อยละ 9) ซึ่งข้อดีในกรณี การใช้แหนเพื่อการผลิตเอทานอล

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-52


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ข้ อดีและข้อจากัดของวิธีการการนาน้าที่ผ่านการบาบัดฯ ไปเลีย้ งแหนเพือ่ เป็ นแหล่ งพลังงานเอทานอล


และอาหารสัตว์ สรุปได้ดังนี้

ข้ อดี
1) วิธีการนาน้ าทิ้งไปใช้ ง่ายและสะดวก ได้แหนเป็ นผลิตภัณฑ์
2) การเลี้ยงแหน สามารถทาได้ง่าย และ เก็ยเกี่ยวได้ไม่ยงุ่ ยาก
3) แหนเป็ นผลิตภัณฑ์ที่สามารถให้เป็ นแหล่งโปรตีนในในอาหารสัตว์ และ
แหล่ง วัต ถุ ดิ บ (แป้ ง) สาหรั บ ผลิต เอทานอลเพื่อ เป็ นแหล่ งพลังงาน
ทดแทน
4) น้ าทิ้งที่ผา่ นระบบชนิดนี้ ทาให้มีค่าความสกปรกลดลง

ข้ อจากัด
1) การนาแหนไปผลิตเอทานอลนั้นยังอยูใ่ นระดับห้องปฏิบตั ิการ
2) การนาแหนไปผลิตอาหารสัตว์ ต้องคานึ งถึงสิ่ งปนเปื้ อน เช่น สารพิษในพืช
และโลหะหนัก
3) เกษตรกรต้องมีพ้นื ที่สาหรับจัดสร้างบ่อพักน้ าเสียสาหรับการเลี้ยงแหน

แนวทางที่ 4: การนาไปใช้ ในเพาะเลีย้ งสัตว์นา้ สาหรับผลิตเป็ นแหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์

(1) การเพาะเลีย้ งไรแดง


การเพาะเลี้ ย งไรแดงในบ่ อดิ น เป็ นวิธีก ารที่ ใช้ต ้น ทุ น ในระยะเริ่ มงานน้อย และสามารถ
เพาะเลี้ยงไรแดงได้ครั้งละมากๆ ตามขนาดของที่ดิน แต่มีขอ้ เสี ยอยู่เหมือนกัน เพราะอาจมีสิ่งปนเปื้ อน
หรื อศัตรู ของไรแดงเข้ามาปะปนอยูไ่ ด้ง่าย และอาจก่อให้เกิดความเสียหายได้ครั้งละมากๆ เช่นกัน

การดาเนินการการเพาะเลี้ยงไรแดงในบ่อดิน
1) เตรี ยมบ่อดิน ขนาดประมาณ 200-800 ตารางเมตร จานวนกี่บ่อก็ได้ แล้วแต่เป้ าหมายในการ
ผลิต โดยกาจัดวัชพืชและสิ่งสกปรกภายในบ่อ ปรับพื้นบ่อให้เรี ยบ อัดดินให้แน่น แล้วตาก
บ่อไว้ 2-3 วัน
2) สูบน้ าเข้าบ่อโดยกรองด้วยอวนมุง้ สี เขียวที่หัวดูดน้ า และที่ปลายท่อส่ งน้ าให้กรองด้วยผ้า
กรองแพลงตอน ให้น้ ามีระดับสูงประมาณ 25-40 เซนติเมตร แล้วเติมน้ าเขียวลงไปเพื่อเป็ น

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-53


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

หัวเชื้อประมาณ 2,000 ลิตร และสารเอนไซม์ชีวภาพคุณภาพดี ประมาณ 500 ซีซี หรื อ 2


แก้วน้ าดื่ม
3) ใส่ปุ๋ยและอาหารของไรแดง ตามสูตร ดังนี้
ถ้าไม่มีอามิ-อามิ ใช้ข้ ีไก่ ประมาณ 1 กิโลกรัม ต่อพื้นที่บ่อ 10 ตารางเมตร หลังจากนี้
ประมาณ 3-4 วัน น้ าจะเริ่ มมีสีเขียว
4) เติมเชื้อไรแดงมีชีวิตประมาณ 2 กิโลกรัม ถ้ามีเครื่ องปั๊มลมก็ควรให้อากาศแก่น้ าในบ่อเพาะ
ไรแดงด้วย
5) เริ่ มเก็บเกี่ยวผลผลิตไรแดงได้ต้งั แต่วนั ที่ 4 - 7 ซึ่งระยะนี้ ไรแดงจะมีปริ มาณหนาแน่ นมาก
ควรรี บเก็บเกี่ ยวให้มากที่สุด หลังจากนี้ ปริ มาณไรแดงจะเบาบางลง จึงควรเติมอาหาร
ประเภทที่ ถูก ย่อยสลายได้รวดเร็ ว เช่ น น้ าถัว่ เหลื อง น้ าเขี ย ว ร า เลือดสัต ว์สดๆ ปุ๋ ย
วิทยาศาสตร์ และปุ๋ ยคอก โดยเติมเพียงครึ่ งหนึ่ งของในตอนเริ่ มต้น ไรแดงจะเพิ่มจานวน
ขึ้นอีกภายใน 2 - 3 วัน เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตไรแดงได้ หลังจากนั้น 2 - 3 วัน ปริ มาณจะ
ลดลงก็เติมอาหารลงไปอีกในอัตราเดิม ไรแดงจะเพิ่มขึ้นอีกครั้ง แต่เพิ่มในอัตราที่น้อยกว่า
ครั้งที่ผา่ นมา เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตไรแดงแล้ว ควรล้างบ่อแล้วเริ่ มต้นเพาะในรอบใหม่ต่อไป
เพราะจากประสบการณ์ที่นกั วิชาการได้รับการเพาะไรแดงโดยวิธีน้ ี ไรแดงจะมีผลผลิตดีอยู่
ไม่เกิน 15 วัน

ข้ อดีและข้อจากัดของวิธีการการนาน้าที่ผ่านการบาบัดฯ ไปเลีย้ งไรแดง สรุปได้ดังนี้

ข้ อดี
1) ผลผลิตไรแดง สามารถขายได้
2) เป็ นแหล่งโปรตีนสาหรับอาหารเลี้ยงปลา
3) วิธีการเลี้ยงไรแดงง่ายไม่ยงุ่ ยาก
4) เงินลงทุนไม่สูง

ข้ อจากัด
1) ต้องการพื้นที่ในการสร้างบ่อเพื่อเลี้ยงไรแดง
2) อาจมีสิ่ง ปนเปื้ อน หรื อ ศัต รู ข องไรแดงเข้ามาปะปนอยู่ไ ด้ง่ าย และอาจ
ก่อให้เกิดความเสียหายได้ครั้งละมากๆ เช่นกัน
3) ความต้องการของตลาดมีนอ้ ย และจากัดเฉพาะกลุ่ม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-54


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ในส่วนของการประเมินความเหมาะสมทางเทคนิค เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม โดยใช้เครื่ องมือ


ทางเศรษฐศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อม (Cost and benefit Analysis, CBA) เพื่อการวิเคราะห์ตน้ ทุนและ
ผลประโยชน์รวมของโครงการฯ รวมทั้งประโยชน์ที่ได้จากการใช้พลังงานจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ
ซึ่งจะนาข้อมูลของแนวทางการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพในการผลิตปุ๋ ย
อิน ทรี ยเ์ คมี ซึ่ งก็คื อ ผลิต ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด ละลายช้า (ปุ๋ ยสตรู ไวท์) และผลิต ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต
(ปุ๋ ยอะพาไทด์) มาวิเคราะห์เปรี ยบเทียบทั้งข้อดีและข้อจากัดของแต่ละแนวทางเลือกอื่น ๆ อาทิ การ
นาไปใช้เป็ นปุ๋ ยอิน ทรี ย น์ ้ า การน าไปใช้ในการผลิต พลังงานจากระบบเซลล์เชื้อเพลิงชี วภาพ การ
นาไปใช้ในการเพาะเลี้ยงพืชสาหรับผลิตเป็ นแหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์และผลิตเป็ นพลังงานทดแทน
และการนาไปใช้ในเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าสาหรับผลิตเป็ นแหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์ ดังแสดงในตาราง
สรุ ปนี้

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-55


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางสรุป การประเมินความเหมาะสมทางเทคนิ ค เศรษฐศาสตร์ สิ่ งแวดล้อม โดยใช้เครื่ องมือทางเศรษฐศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อม (Cost and benefit
Analysis, CBA) ในการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลประโยชน์รวมของโครงการฯ
ข้ อดีและข้ อจากัด

แนวทาง การนานา้ ทีผ่ ่ านการบาบัดฯ การวิเคราะห์ ต้นทุน ของการดาเนินการในแต่ ละแนวทาง แนวทางการใช้ พลังงาน
ไปใช้ ประโยชน์
ข้ อดี ข้ อจากัด

แนวทางหลัก
การผลิตปุ๋ย - การใช้อุปกรณ์สาหรับการผลิตปุ๋ ยเคมีอินทรี ย์ - สามารถทาได้ง่าย โดยอ่าน - แนวทางนี้เหมาะสาหรับ
ฟอสเฟตชนิด
- เพื่อลดปริ มาณสาร คู่มือการผลิตปุ๋ ยเคมีอินทรี ย ์ น้ าเสี ยที่มีปริ มาณของสาร
- สามารถนาก๊าซ
อย่างง่าย เช่น ใช้ถงั น้ าขนาดเล็กที่มีอยู่แล้ว
ฟอสฟอรัสและ ชีวภาพที่เหลือจาก
ละลายช้ า หรือ และ แรงงานคนในการกวนผสมน้ าที่ผ่านการ จากน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ หรื อ แมกนีเซี ยม หรื อ แอมโมเนียม
แอมโมเนียมที่ละลายอยู่ ระบบบาบัดน้ าเสี ย
บาบัดฯ กับสารเคมี จะมีทาให้มีค่าใช้จ่ายใน รับคาแนะนาเพิ่มเติมจาก หรื อ ฟอสเฟต ละลายปนอยู่
ปุ๋ยแมกนีเซียม - ในน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ แบบผลิตก๊าซชีวภาพ
การผลิตปุ๋ ยเคมีอินทรี ยน์ อ้ ยมาก คือ มีค่าใช้จ่าย ผูเ้ ชี่ยวชาญในเรื่ องของ
แอมโมเนียม - - มีค่าใช้จ่ายครั้งแรกในการ มาใช้ให้เกิด
- ได้ผลพลอยได้ คือ ในการซื้ อสารเคมีเท่านั้น พลังงานทดแทนจากกระทรวง
ฟอสเฟต หรือ ติดตั้งระบบ และถังปฏิกรณ์ ประโยชน์สูงสุ ด โดย
ปุ๋ ยเคมีอินทรี ยท์ าง พลังาน
- หากต้องการผลิตปุ๋ ยเคมีอินทรี ยใ์ ห้ได้ปริ มาณ ในการเพิม่ กาลังการผลิต ใช้เป็ นพลังงาน
ปุ๋ยสตรู ไวท์ การเกษตร หรื อวัตถุดิบ
ในการผลิตปุ๋ ย มากขึ้น หรื อ การผลิตปุ๋ ยเชิงอุตสาหกรรรม จะ - สามารถลดปริ มาณฟอสเฟต - มีค่าใช้จ่ายต่อเนื่องจากการเติม สาหรับขับเคลื่อน
มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนเบื้องต้นในส่ วนของ และแอมโมเนี ย ที ่ ล ะลายอยู ใ
่ น อุปกรณ์ไฟฟ้ าต่างๆ
สารเคมีในการผลิตปุ๋ ย
การติดตั้งอุปกรณ์การผลิตปุ๋ ยและมีค่าใช้จ่าย น ้ าเสี ยได้
ม ากภายในครั ้ ง เดี ย ว เช่น ปั๊ มสูบน้ า เครื่ อง
- มีค่าใช้จ่ายต่อเนื่องในการซ่ อม
ต่อเนื่องในส่ วนของการซื้ อสารเคมีในการผลิต - ได้ปุ๋ยเคมีอินทรี ย ์ คือ กวนผสม
บารุ งอุปกรณ์ต่างๆ
ปุ๋ ยเคมีอินทรี ย ์ แต่ท้ งั นี้การผลิตในลักษณะนี้ ปุ๋ ยสตรู ไวท์ ซึ่ งสามารถนาไป
สามารถซื้ อสารเคมีได้ในราคาที่ถูกลง ขาย เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่
เนื่องจากสามารถคานวนปริ มาณสารเคมีที่ ผูป้ ระกอบการ
ต้องการใช้ในระยะยาวได้ จะช่วยทาให้ซ้ื อ
- นาปุ๋ ยเคมีอินทรี ยท์ ี่ผลิตได้ไป
สารเคมีได้ในราคาที่ถูกลง ซึ่ งจะช่วยลดต้นทุน
ใช้ในการเพิ่มผลผลิตทาง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-56


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางสรุป การประเมินความเหมาะสมทางเทคนิ ค เศรษฐศาสตร์ สิ่ งแวดล้อม โดยใช้เครื่ องมือทางเศรษฐศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อม (Cost and benefit
Analysis, CBA) ในการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลประโยชน์รวมของโครงการฯ
ข้ อดีและข้ อจากัด

แนวทาง การนานา้ ทีผ่ ่ านการบาบัดฯ การวิเคราะห์ ต้นทุน ของการดาเนินการในแต่ ละแนวทาง แนวทางการใช้ พลังงาน
ไปใช้ ประโยชน์
ข้ อดี ข้ อจากัด
ในการผลิตปุ๋ ยได้ การเกษตรได้ ซึ่ งถือเป็ นการ
ลดค่าใช้จ่ายในการซื้ อปุ๋ ยเคมี
- การนาก๊าซชีวภาพที่เหลือจากระบบบาบัด น้า อีกทางหนึ่ง
เสี ยแบบผลิตก๊าซชีวภาพมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุ ด โดยใช้เป็ นพลังงานสาหรับ - การขนส่ งทาได้สะดวก
ขับเคลื่อนอุปกรณ์ไฟฟ้ าต่างๆ เช่น ปั๊ มสูบน้ า เนื่องจากปุ๋ ยสตรู ไวท์อยู่ในรู ป
เครื่ องกวนผสม ซึ่ งถือเป็ นการช่วยประหยัด ของแข็ง
ค่าใช้จ่ายอีกทางหนึ่ง - ช่วยลดการปนเปื้ อนของธาตุ
อาหารลงสู่แหล่งน้ าใต้ดิน
และ แหล่งน้ าธรรมชาติ
- มีโรงงานต้นแบบขนาดใหญ่
(Full scale) ที่ผลิตปุ๋ ยในเชิง
อุตสาหกรรม
- เพิ่มรายได้ให้แก่
ผูป้ ระกอบการในการขาย
ปุ๋ ยเคมีอินทรี ย ์
- เพิ่มแรงจูงในการใช้ระบบผลิต
ก๊าซชีวภาพในฟาร์มสุ กร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-57


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางสรุป การประเมินความเหมาะสมทางเทคนิ ค เศรษฐศาสตร์ สิ่ งแวดล้อม โดยใช้เครื่ องมือทางเศรษฐศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อม (Cost and benefit
Analysis, CBA) ในการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลประโยชน์รวมของโครงการฯ
ข้ อดีและข้ อจากัด

แนวทาง การนานา้ ทีผ่ ่ านการบาบัดฯ การวิเคราะห์ ต้นทุน ของการดาเนินการในแต่ ละแนวทาง แนวทางการใช้ พลังงาน
ไปใช้ ประโยชน์
ข้ อดี ข้ อจากัด

แนวทางหลัก
การผลิตปุ๋ย - เพื่อลดปริ มาณ - การใช้อุปกรณ์สาหรับการผลิตปุ๋ ยเคมีอินทรี ย์ - สามารถทาได้ง่าย โดยอ่าน - แนวทางนี้เหมาะสาหรับ
แคลเซียมฟอสเฟต คู่มือการผลิตปุ๋ ยเคมีอินทรี ย ์ น้ าเสี ยที่มีปริ มาณของสาร
- สามารถนาก๊าซ
ฟอสฟอรัสและแคลเซี ยม อย่างง่าย เช่น ใช้ถงั น้ าขนาดเล็กที่มีอยู่แล้ว
ชีวภาพที่เหลือจาก
หรือ ที่ละลายอยู่ในน้ าเสี ย และ แรงงานคนในการกวนผสมน้ าที่ผ่านการ จากน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ หรื อ แคลเซี ยม หรื อ ฟอสเฟต
ระบบบาบัดน้ าเสี ย
บาบัดฯ กับสารเคมี จะมีทาให้มีค่าใช้จ่ายใน รับคาแนะนาเพิ่มเติมจาก ละลายปนอยู่
ปุ๋ยอะพาไทด์ - ได้ผลพลอยได้ คือ แบบผลิตก๊าซ
การผลิตปุ๋ ยเคมีอินทรี ยน์ อ้ ยมาก คือ มีค่าใช้จ่าย ผูเ้ ชี่ยวชาญในเรื่ องของ
ปุ๋ ยเคมีอินทรี ยท์ าง - มีค่าใช้จ่ายครั้งแรกในการ ชีวภาพมาใช้ให้เกิด
ในการซื้ อสารเคมีเท่านั้น พลังงานทดแทนจากกระทรวง
การเกษตร หรื อวัตถุดิบ ติดตั้งระบบ และถังปฏิกรณ์ ประโยชน์สูงสุ ด
พลังาน
ในการผลิตปุ๋ ย - หากต้องการผลิตปุ๋ ยเคมีอินทรี ยใ์ ห้ได้ปริ มาณ ในการเพิ่มกาลังการผลิต โดยใช้เป็ นพลังงาน
มากขึ้น หรื อ การผลิตปุ๋ ยเชิงอุตสาหกรรรม จะ - สามารถลดปริ มาณฟอสเฟตที่ - มีค่าใช้จ่ายต่อเนื่องจากการเติม สาหรับขับเคลื่อน
มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนเบื้องต้นในส่ วนของ ละลายอยู่ในน้ าเสี ยได้มาก อุปกรณ์ไฟฟ้ าต่างๆ
สารเคมีในการผลิตปุ๋ ย
การติดตั้งอุปกรณ์การผลิตปุ๋ ยและมีค่าใช้จ่าย ภายในครั ้ ง เดี ยว เช่น ปั๊ มสูบน้ า
- มีค่าใช้จ่ายต่อเนื่องในการซ่ อม
ต่อเนื่องในส่ วนของการซื้ อสารเคมีในการผลิต - ได้ปุ๋ยเคมีอินทรี ย ์ คือ เครื่ องกวนผสม
บารุ งอุปกรณ์ต่างๆ
ปุ๋ ยเคมีอินทรี ย ์ แต่ท้ งั นี้การผลิตในลักษณะนี้ ปุ๋ ยอะพาไทด์ ซึ่ งสามารถ
สามารถซื้ อสารเคมีได้ในราคาที่ถูกลง นาไปขาย เพื่อเพิ่มรายได้
เนื่องจากสามารถคานวนปริ มาณสารเคมีที่ ให้แก่ผปู้ ระกอบการ
ต้องการใช้ในระยะยาวได้ จะช่วยทาให้ซ้ื อ
- นาไปใช้เป็ นวัตถุดิบในการ
สารเคมีได้ในราคาที่ถูกลง ซึ่ งจะช่วยลดต้นทุน
ผลิตปุ๋ ย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-58


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางสรุป การประเมินความเหมาะสมทางเทคนิ ค เศรษฐศาสตร์ สิ่ งแวดล้อม โดยใช้เครื่ องมือทางเศรษฐศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อม (Cost and benefit
Analysis, CBA) ในการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลประโยชน์รวมของโครงการฯ
ข้ อดีและข้ อจากัด

แนวทาง การนานา้ ทีผ่ ่ านการบาบัดฯ การวิเคราะห์ ต้นทุน ของการดาเนินการในแต่ ละแนวทาง แนวทางการใช้ พลังงาน
ไปใช้ ประโยชน์
ข้ อดี ข้ อจากัด
ในการผลิตปุ๋ ยได้ - การขนส่ งทาได้สะดวก
เนื่องจากผลิตภัณฑ์อยู่ในรู ป
- การนาก๊าซชีวภาพที่เหลือจากระบบบาบัด น้า ของแข็ง
เสี ยแบบผลิตก๊าซชีวภาพมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุ ด โดยใช้เป็ นพลังงานสาหรับ - ช่วยลดการปนเปื้ อนของธาตุ
ขับเคลื่อนอุปกรณ์ไฟฟ้ าต่างๆ เช่น ปั๊ มสูบน้ า อาหารลงสู่แหล่งน้ าใต้ดิน
เครื่ องกวนผสม ซึ่ งถือเป็ นการช่วยประหยัด และ แหล่งน้ าธรรมชาติ
ค่าใช้จ่ายอีกทางหนึ่ง - มีโรงงานต้นแบบขนาดใหญ่
(Full scale) ที่ผลิตปุ๋ ยในเชิง
อุตสาหกรรม
- เพิม่ รายได้ให้แก่
ผูป้ ระกอบการในการขาย
ปุ๋ ยเคมีอินทรี ย ์
- เพิ่มแรงจูงในการใช้ระบบ
ผลิตก๊าซชีวภาพในฟาร์มสุ กร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-59


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางสรุป การประเมินความเหมาะสมทางเทคนิ ค เศรษฐศาสตร์ สิ่ งแวดล้อม โดยใช้เครื่ องมือทางเศรษฐศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อม (Cost and benefit
Analysis, CBA) ในการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลประโยชน์รวมของโครงการฯ
ข้ อดีและข้ อจากัด

แนวทาง การนานา้ ทีผ่ ่ านการบาบัดฯ การวิเคราะห์ ต้นทุน ของการดาเนินการในแต่ ละแนวทาง แนวทางการใช้ พลังงาน
ไปใช้ ประโยชน์
ข้ อดี ข้ อจากัด

แนวทางเลือกอืน่

แนวทางที่ 1 - เป็ นการนาน้าที่ผ่านการ - ไม่มีค่าใช้จ่ายในการลงทุน หรื อ มีค่าใช้จ่าย - สามารถนาน้ าที่ผ่านการบาบัด - การขนส่ งปุ๋ ยอินทรี ยน์ ้ าใน - สามารถนาก๊าซ
การนาไปใช้ เป็ น บาบัดฯ ไปใช้โดยตรง ในการลงทุนต่ามาก เมื่อเปรี ยบเทียบกับ ฯ ไปใช้งานได้โดยตรง โดย ระยะไกลทาได้ไม่สะดวก ชีวภาพที่ได้จาก
ปุ๋ยอินทรีย์นา้ ในการเป็ นปุ๋ ยอินทรี ยน์ ้ า แนวทางอื่นๆ ไม่ตอ้ งผ่านกระบวนการแปร ระบบบาบัดน้ าเสี ย
สาหรับสาหรับการปลูก รู ปใดๆ
- อาจมีสิ่งเจือปนในน้าเสียที่เป็ น แบบผลิตก๊าซ
เนื่องจาก สามารถนาน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ ไป อันตรายต่อมนุษย์ เช่น โลหะ
พืชพลังงาน (อาทิ เช่น ชีวภาพที่เหลือมาใช้
ใช้ได้โดยตรง หรื อ อาจใช้เครื่ องสูบน้ าสูบเข้า - ใช้เป็ นปุ๋ ยอินทรี ยน์ ้ า ในการ หนัก เชื้อโรคและพยาธิ
อ้อย ข้าวโพด และ มัน เป็ นเชื้อเพลิงสาหรับ
สู่แปลงเพาะปลูกพืช เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ซึ่ ง
- อาจทาให้เกิดการปนเปื้ อนของ เครื่ องสูบน้ าเข้าสู่
สาปะหลัง) และ พืช จะส่ งผลทาให้เพิม่ รายได้
ธาตุอาหารลงสู่แหล่งน้ าใต้ดิน แปลงเพาะปลูก
ให้แก่ผปู้ ระกอบการอีกทาง
เศรษฐกิจ (ข้าว) และ แหล่งน้ าธรรมชาติ
หนี่ง
เนื่องจากธาตุอาหารอยู่ในรู ป
- พืชพลังงานและพืชเศรษฐกิจ ละลายน้ า
สามารถนาธาตุอาหารที่ละลาย
อยู่ในน้ าไปใช้ได้โดยตรง

- ลดภาระรายจ่ายเรื่ องการซื้ อ
ปุ๋ ยสาหรับการเพาะปลูกพืช

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-60


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางสรุป การประเมินความเหมาะสมทางเทคนิ ค เศรษฐศาสตร์ สิ่ งแวดล้อม โดยใช้เครื่ องมือทางเศรษฐศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อม (Cost and benefit
Analysis, CBA) ในการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลประโยชน์รวมของโครงการฯ
ข้ อดีและข้ อจากัด

แนวทาง การนานา้ ทีผ่ ่ านการบาบัดฯ การวิเคราะห์ ต้นทุน ของการดาเนินการในแต่ ละแนวทาง แนวทางการใช้ พลังงาน
ไปใช้ ประโยชน์
ข้ อดี ข้ อจากัด

แนวทางที่ 2
การนาไปใช้ ในการ - มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนสูง
ผลิตพลังงานจาก
- สามารถผลิตเป็ นพลังงาน - ได้พลังงานไฟฟ้ า ซึ่ งถือเป็ น - เทคโนโลยีน้ีส่วนใหญ่เป็ น - ได้พลังงานไฟฟ้ า
ไฟฟ้ า และนามาใช้เป็ น - ต้องนาเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ รวมทั้ง การผลิตพลังงานสะอาด จาก ศึกษาวิจยั ในห้องปฏิบตั ิการ และน้ าบริ สุทธิ์ เป็ น
ระบบเซลล์
พลังงานทดแทนพลังงาน มีค่าใช้จ่ายในการดาเนินการค่อนข้างมาก กระบวนการย่อยสลายอินทรี ย ์ ผลิตภัณฑ์จาก
เชื้อเพลิงชีวภาพ
ในน้ าเสี ยของจุลินทรี ย ์ - ระบบการผลิตต้นแบบขนาด กระบวนการย่อย
ในรู ปแบบอื่นต่อไป แนวทางนี้จึงยังไม่เป็ นที่นิยมมากน้ก
(Microbial ใหญ่ยงั ไม่ได้รับความนิยม
สลายสารอินทรี ย ์
- ถือเป็ นการผลิตพลังงาน - - ได้น้ าบริ สุทธิ์ เป็ นผลพลอยได้ เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการลงทุน
Fuel Cell, สะอาด และเป็ นมิตรต่อ สูง
- น้ าเสี ยที่ผ่านกระบวนการ
MFC) สิ่ งแวดล้อม
บาบัดมีความสกปรกน้อยลง - มีความซับซ้อนและยุ่งยากใน
- ได้น้ าบริ สุทธิ์ เป็ นผล การดูและระบบ เพื่อเลี้ยง
พลอยได้ จุลินทรี ย ์ และควบคุมชนิดและ
สายพันธุ ์ของจุลินทรี ยท์ ี่จะ
นามาใช้

- ค่าใช้จ่ายในการลงทุนและ
ติดตั้งระบบสูง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-61


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางสรุป การประเมินความเหมาะสมทางเทคนิ ค เศรษฐศาสตร์ สิ่ งแวดล้อม โดยใช้เครื่ องมือทางเศรษฐศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อม (Cost and benefit
Analysis, CBA) ในการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลประโยชน์รวมของโครงการฯ
ข้ อดีและข้ อจากัด

แนวทาง การนานา้ ทีผ่ ่ านการบาบัดฯ การวิเคราะห์ ต้นทุน ของการดาเนินการในแต่ ละแนวทาง แนวทางการใช้ พลังงาน
ไปใช้ ประโยชน์
ข้ อดี ข้ อจากัด

แนวทางที่ 3
การนาไปใช้ ในการ
เพาะเลีย้ งพืช
สาหรับผลิตเป็ น
แหล่งโปรตีนใน
อาหารสั ตว์ และ
ผลิตเป็ นพลังงาน
ทดแทน

3.1 การเลีย้ ง - เพื่อบาบัดน้าเสียและได้ - มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนไม่มากนัก - มีรายได้จากการขายสาหร่ าย - มีความยุ่งยากในเตรี ยมน้าที่จะ - สามารถนาก๊าซ


สาหร่ าย สาหร่ ายเป็ นแหล่ง เมื่อเปรี ยบเทียบกับแนวทางอื่นๆ แห้งและสด ในการนาไปผลิต นามาใช้ในการเพาะเลี้ยง ชีวภาพที่ได้จาก
(Algae & โปรตีนในอาหารสัตว์ เป็ นแหล่งโปรตีนในอาหาร สาหร่ าย เนื่องจากสาหร่ าย ระบบบาบัดน้ าเสี ย
เนื่องจาก สามารถนาน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ ไป
Spirulina) สัตว์ ต้องการน้ าสะอาด และ แบบผลิตก๊าซ
ใช้ได้โดยตรง หรื อ อาจใช้เครื่ องสูบน้ าสูบ
กึ่งน้ าเค็ม (ในบางสายพันธุ ์) ชีวภาพที่เหลือมาใช้
เข้าสู่แปลงเพาะเลี้ยงสาหร่ าย - ผลผลิตมีมลู ค่าสูง
เป็ นเชื้อเพลิงสาหรับ
- มีตลาดรองรับที่ดี - สาหร่ ายอาจมีการกลายพันธุ์ เครื่ องเติมอากาศ
จากการสาหร่ ายชนิดอื่นๆ ที่มี
- น้ าทิ้งฯที่ผ่านการเลี้ยงสาหร่ าย อยู่เดิม ซึ่ งจะทาให้การควบคุม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-62


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางสรุป การประเมินความเหมาะสมทางเทคนิ ค เศรษฐศาสตร์ สิ่ งแวดล้อม โดยใช้เครื่ องมือทางเศรษฐศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อม (Cost and benefit
Analysis, CBA) ในการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลประโยชน์รวมของโครงการฯ
ข้ อดีและข้ อจากัด

แนวทาง การนานา้ ทีผ่ ่ านการบาบัดฯ การวิเคราะห์ ต้นทุน ของการดาเนินการในแต่ ละแนวทาง แนวทางการใช้ พลังงาน
ไปใช้ ประโยชน์
ข้ อดี ข้ อจากัด
มีความสกปรกน้อยลง การผลิตทาได้ยาก รวมทั้ง
คุณภาพการผลิตอาจลดลง

- ต้องใช้พ้นื ที่ในการเพาะเลี้ยง
สาหร่ าย ซึ่ งจะต้องเป็ นพื้นที่ที่
มีบริ เวณกว้าง มีแสงแดงส่ อง
ถึงในการเป็ นแหล่งพลังงานใน
การสังเคราะห์แสงของพืช

3.2 เลีย้ งแหน - เพื่อบาบัดน้ าทิ้งขั้นหลัง - มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนไม่มากนัก - ถือเป็ นการนาน้ าที่ผ่านการ - การนาแหนไปผลิตเอทานอล - สามารถนาก๊าซ
(Duckwee และได้แหนเป็ นแหล่ง เมื่อเปรี ยบเทียบกับแนวทางอื่นๆ บาบัดฯ ไปใช้ได้โดยตรง นั้นยังอยู่ในระดับห้อง ชีวภาพที่ได้จาก
โปรตีนสาหรับอาหาร - การเพาะเลี้ยงแหนสามารถทา ปฏิบตั ิการ ระบบบาบัดน้ าเสี ย
d)
สัตว์ ได้ง่ายและ เก็บเกีย่ วได้ ไม่ แบบผลิตก๊าซ
- การนาแหนไปผลิตอาหารสัตว์ ชีวภาพที่เหลือมา
- แหนเป็ นพืชที่มีศกั ยภาพ ยุ่งยาก ต้องคานึงถึงสิ่ งปนเปื้ อน เช่น
ใช้เป็ นเชื้อเพลิง
ในการผลิตเอทานอล - เป็ นผลิตภัณฑ์ที่สามารถให้ สารพิษในพืช และโลหะหนัก
สาหรับเครื่ องเติม
เป็ นแหล่งโปรตีนในอาหาร
- ต้องใช้พ้นื ที่ในการเพาะเลี้ยง อากาศ
สัตว์
แหน ซึ่ งจะต้องเป็ นพื้นที่ที่มี
- เป็ นแหล่งวัตถุดิบ (แป้ ง)
- แหนเป็ นพืชที่มี
บริ เวณกว้าง มีแสงแดงส่ องถึ ง
ศักยภาพในการ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-63


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางสรุป การประเมินความเหมาะสมทางเทคนิ ค เศรษฐศาสตร์ สิ่ งแวดล้อม โดยใช้เครื่ องมือทางเศรษฐศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อม (Cost and benefit
Analysis, CBA) ในการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลประโยชน์รวมของโครงการฯ
ข้ อดีและข้ อจากัด

แนวทาง การนานา้ ทีผ่ ่ านการบาบัดฯ การวิเคราะห์ ต้นทุน ของการดาเนินการในแต่ ละแนวทาง แนวทางการใช้ พลังงาน
ไปใช้ ประโยชน์
ข้ อดี ข้ อจากัด
สาหรับผลิตเอทานอลเพื่อเป็ น ในการเป็ นแหล่งพลังงานใน ผลิตเอทานอล
แหล่งพลังงานทดแทน การสังเคราะห์แสงของพืช

- น้ าทิ้งที่ผ่านระบบชนิดนี้ ทา
ให้มีค่าความสกปรกลดลง

แนวทางที่ 4

การนาไปใช้ ใน
เพาะเลีย้ งสั ตว์ นา้
สาหรับผลิตเป็ น
แหล่งโปรตีนใน
อาหารสั ตว์

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-64


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางสรุป การประเมินความเหมาะสมทางเทคนิ ค เศรษฐศาสตร์ สิ่ งแวดล้อม โดยใช้เครื่ องมือทางเศรษฐศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อม (Cost and benefit
Analysis, CBA) ในการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลประโยชน์รวมของโครงการฯ
ข้ อดีและข้ อจากัด

แนวทาง การนานา้ ทีผ่ ่ านการบาบัดฯ การวิเคราะห์ ต้นทุน ของการดาเนินการในแต่ ละแนวทาง แนวทางการใช้ พลังงาน
ไปใช้ ประโยชน์
ข้ อดี ข้ อจากัด

การเพาะเลีย้ ง – สามารถนาน้ าที่ผ่านการ - มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนไม่มากนัก - มีรายได้จากการเพาะเลี้ยง - ต้อ งการพื้นที่ในการสร้ างบ่ อ - สามารถนาก๊าซ


ไรแดง บาบัดฯ ไปใช้ได้ เมื่อเปรี ยบเทียบกับแนวทางอื่นๆ ไรแดง โดยใช้ไรแดงเป็ น เพื่อเลี้ยงไรแดง ชีวภาพที่ได้จาก
โดยตรง โดยใช้เป็ น แหล่งโปรตีนสาหรับอาหาร ระบบบาบัดน้ าเสี ย
เลี้ยงปลา
- ความต้องการของตลาดมีน้อย แบบผลิตก๊าซ
แหล่งอาหารสาหรับ และจากัดเฉพาะกลุ่ม
การเพาะเลี้ยงไรแดง ซึ่ ง ชีวภาพที่เหลือมา
- การเพาะเลี้ยงไรแดง สามารถ
ไรแดงที่ได้น้ นั แหล่ง ทาได้ง่าย และมีข้ นั ตอนไม่
- อาจมีสิ่งปนเปื้ อนหรื อศัตรูของ ใช้เป็ นเชื้อเพลิง
โปรตีนในอาหารสัตว์ ไรแดงเข้ามาปะปนอยู่ได้ง่าย สาหรับเครื่ องเติม
ยุ่งยาก
และอาจก่อให้เกิดความ อากาศ
- มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนน้อย เสี ยหายได้ครั้งละมากๆ
เช่นกัน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 10-65


SPK/EGY/RT5204/10P1508/RT010 rev.3
บทที่ 11
การประเมินความเหมาะสมทางด้ าน เทคนิค
เศรษฐศาสตร์ และสิ่ งแวดล้ อม
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บทที่ 11
การนาเสนอรู ปแบบการบริหารจัดการในระดับชุมชน

11.1 การบริหารจัดการในระดับชุมชน
ลักษณะการบริ หารจัดการองค์กรระดับชุมชนที่ได้รับ การยอมรับ คือ วิสาหกิจชุมชน ซึ่งเน้น
การค้นหาศักยภาพของตนเองและพัฒนาศักยภาพไปสู่การพึ่งพาตนเอง ทั้งในชุมชนและระหว่างชุมชน
พร้อมพัฒนากระบวนการเรี ยนรู้ของชุมชนให้สามารถจัดการตนเอง จัดการชุมชน ตลอดจนทรัพยากร
ในชุมชน เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม
ในการบริ หารจัดการปุ๋ ยอิน ทรี ยเ์ คมีที่ได้จ ากน้ าทิ้ งที่ผ่านระบบก๊าวชี วภาพ ถือเป็ นวิสาหกิ จ
ชุมชนขนาดเล็กที่สามารถพัฒนาให้เข้มแข็งได้ ดังนั้นการบริ หารจัดการโครงการจึงเน้นให้ประชาชนมี
ส่วนร่ วม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการดาเนิ นงานและยังเป็ นองค์กรประชาชนที่หน่ วยงานของรัฐ
สามารถเข้าสนับสนุนหรื อให้การช่วยเหลือได้สะดวกขึ้น ดังนั้นในการดาเนินงานด้านการมีส่วนร่ วมจึง
มีความสาคัญและจาเป็ นต้องทาความเข้าใจและเริ่ มดาเนิ นการตั้งแต่การร่ วมวางแผนและร่ วมบริ หาร
จัดการโครงการให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ซึ่งจะเป็ น
การเพิ่มขีดความสามารถขององค์กรให้สามารถบริ หารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

11.2 วัตถุประสงค์
การดาเนิ นกิจกรรมการมีส่วนร่ วมของชุมชนภายใต้โครงการศึกษาการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผ่านการ
บาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มสุกรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง มีวตั ถุประสงค์ ดังนี้
(1) เพื่อให้ประชาชนในชุ มชนรั บ ทราบ และเข้าใจถึงผลประโยชน์ ข้อดี -ข้อเสี ย แนวทาง และ
วิธีการในการจัดการน้ าที่ผา่ นการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อนามาใช้ประโยชน์
(2) เพื่อจัด ทาการศึกษาและน าเสนอรู ปแบบให้ชุมชนเข้าไปมีส่ว นร่ ว มในการด าเนิ น การ และ
บริ หารจัดการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

11.3 แนวทางการดาเนินการมีส่วนร่ วมของชุมชน


ในการมีส่วนร่ วมของชุมชนนั้น เป้ าหมายเพื่อให้ชุมชนเห็นความสาคัญ และมีความต้องการใน
การจัดตั้งองค์กรผูผ้ ลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีจากน้ าทิ้งที่ผา่ นระบบผลิตก๊าซชีวภาพ วิธีการคือสร้างความเข้าใจ
อย่างถูกต้องให้กบั เกษตรกรกลุ่มเป้ าหมาย เช่น ผูน้ าชุมชน เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงสุกร และประชาชนทัว่ ไปที่
สนใจโครงการ เพื่อให้ได้รับทราบข้อดีของการจัดตั้งกลุ่ม รู ปแบบการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน และการ
บริ หารจัดการวิสาหกิจชุมชนที่ประสบความสาเร็ จที่ผา่ นมา

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 11-1


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT0011 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ทั้งนี้ลกั ษณะการจัดตั้งองค์กรเพื่อสนับสนุ นการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีสามารถแบ่งได้ออกเป็ นสอง


รู ปแบบ คือ 1) จัดตั้งสหกรณ์ผผู้ ลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี 2) ปรับโครงสร้างสหกรณ์ฟาร์ มสุ กรที่มีอยู่แล้ว โดย
เพิ่มหน่วยงานย่อยเข้าไปสนับสนุนการผลิตปุ๋ ยฯ

11.3.1 การจัดตั้งสหกรณ์ผ้ผู ลิตปุ๋ ยอินทรีย์เคมี


เน้นการมีส่วนร่ วมของผูน้ าชุมชน ได้แก่ กานัน ผูใ้ หญ่บา้ น และประธาน อ.บ.ต. วางโครงสร้าง
องค์กร และวิธีการดาเนินงาน เพื่อรองรับการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี เน้นมีส่วนร่ วมของชุมชนในการตั้ง
องค์กรรวมถึงมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการ อันมีข้นั ตอนดังต่อไปนี้
1) ทาความเข้าใจกับชุมชนในการวางโครงสร้างสหกรณ์ผผู้ ลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี โดยอธิบายถึง
ความ สาคัญ และความจาเป็ นในการจัดตั้งองค์กรถึงข้อดี -เสี ยในการดาเนิ นงาน ผลสาเร็ จ
และอุปสรรค รวมถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นในระยะสั้น และระยะยาวหากมีการดาเนิ น
โครงการ
2) อธิบายโครงสร้างขององค์กรผูผ้ ลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี และวิธีการบริ หารองค์กรให้แก่ผนู้ าของ
ชุมชน เจ้าของฟาร์ม และเกษตรกรที่สนใจได้เข้าใจ เพื่อขอความเห็น ข้อเสนอแนะ ให้เกิด
การมีส่วนร่ วมในการจัดตั้งองค์กร
3) ผูน้ าชุมชน ได้แก่ กานัน ผูใ้ หญ่บา้ น และประธาน อ.บ.ต. เป็ นผูม้ ีบทบาทในการดาเนินงาน
ในการคัดเลือกผูน้ าองค์กร คณะกรรมการบริ หาร คณะที่ปรึ กษา ตลอดจนสมาชิกที่จะเข้า
ร่ วมโครงการ
4) ปลูกจิตสานึ กความเป็ นเจ้าของมีข้ นั ตอนดาเนิ นงาน เมื่อได้กรอบโครงสร้างขององค์กร
อย่างคร่ าวๆ แล้ว ให้สมาชิกทั้งหมดหรื อให้มากที่สุด ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและร่ วม
ตัดสิ นใจ เพื่อวางหลักเกณฑ์ให้กบั กรรมการบริ หาร ซึ่งจะใช้เป็ นกรอบการดาเนิ น งาน
ต่อไป
5) คณะกรรมการบริ หารองค์ก ร ต้องบริ หารงานให้เป็ นไปในทิ ศทางที่ ต อบสนองความ
ต้องการของสมาชิกส่วนใหญ่ และมีความสอดคล้องกับนโยบายของรัฐในการดาเนินงาน
6) คณะกรรมการจะต้องเรี ยกประชุมสามัญ หรื อวิสามัญประจาปี อย่างน้อย 1-2 ครั้งต่อปี เพื่อ
ร่ วมกาหนดนโยบายและแผนงานในแต่ละปี เกี่ยวกับด้านการตลาด การจัดการด้านการ
เตรี ยมวัตถุดิบ
7) การประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลข่าวสาร จะต้องดาเนิ นงานอย่างต่อเนื่ องและสม่าเสมอ โดยใช้
เอกสารเผยแพร่ คือ แผ่นพับ วีดีทศั น์ และคู่มือในการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 11-2


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT0011 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

8) หน่ ว ยงานราชการที่ เ กี่ ย วข้อ งจะต้อ งให้ ก ารสนั บ สนุ น เสริ มสร้ า งหรื อพัฒ นาขี ด
ความสามารถขององค์กรให้มากยิง่ ขึ้น โดยเน้นการฝึ กอบรม จัดประชุมสัมมนา การดูงาน
นอกสถานที่

วัตถุประสงค์ของสหกรณ์ผ้ผู ลิตปุ๋ ยอินทรีย์เคมี


 เพื่อส่ งเสริ มให้ผปู้ ระกอบการฟาร์ มสุ ก ร เกษตรกร และผูม้ ีส่วนเกี่ ยวข้องในชุมชน เห็ นถึง
ประโยชน์ของการเพิ่มมูลน้ าทิ้งที่ผา่ นระบบผลิตก๊าซชีวภาพ ที่สามารถนากลับมาเพิ่มมูลค่าจาก
การผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี เป็ นรายเสริ มอีกทางหนึ่งให้แก่ชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
 เพื่อส่งเสริ มให้มีการใช้ปุ๋ยอินทรี ยเ์ คมีในชุมชน เกษตรกรปลูกพืชในพื้นที่สามารถหาซื้อปุ๋ ยได้
ในราคาที่เหมาะสมโดยไม่ผา่ นพ่อค้าคนกลาง
 เป็ นแหล่งประชาสัมพันธ์ความรู้ในการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีให้แก่ชุมชน และผูท้ ี่สนใจ

โครงสร้ างสหกรณ์ผ้ผู ลิตปุ๋ ยอินทรีย์เคมี

ฝ่ ายบริหารจัดการ

ฝ่ ายผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี ฝ่ ายการตลาดและประชาสัมพันธ์ ฝ่ ายการเงิน

1) ฝ่ ายบริหาร ทาหน้าที่
 กาหนดนโยบายแนวทางการดาเนินงานร่ วมกับคณะกรรมการอื่นๆ พร้อมกากับดูแลการ
ดาเนิ นงานให้เป็ นไปตามข้อกาหนด
 ประสานความร่ วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ เพื่อวางแผนการดาเนินงาน
 กาหนดวาระการประชุมเพื่อให้กลุ่มฯ มุ่งเน้นไปในทิศทางเดียวกัน
2) ฝ่ ายการผลิตปุ๋ ยอินทรีย์เคมี ทาหน้าที่
 รวบรวมปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีจากสมาชิกในรู ปแบบธนาคารปุ๋ ย และจัดทาบัญชีปุ๋ยอินทรี ยเ์ คมี
ของเกษตรกรรายบุคคล
 จัดซื้อวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ ยฯ เพื่อสนับสนุนด้านการผลิตให้แก่สมาชิก ได้แก่ สารเคมี
โรงเก็บปุ๋ ยฯ อุปกรณ์บรรจุปุ๋ยฯ และอุปกรณ์ผลิตอื่นๆ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 11-3


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT0011 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

 ตรวจสอบคุณภาพปุ๋ ยฯที่ผลิตได้ให้เป็ นไปตามมาตรฐานของกรมวิชาการเกษตร รวมถึง


ส่งเสริ มให้ความรู้ในการผลิตปุ๋ ยให้กบั เกษตรกรที่สนใจ
3) ฝ่ ายการตลาดและประชาสัมพันธ์ ทาหน้าที่
 จัดเตรี ยมกลยุทธ์การตลาดที่เหมาะสม
 เตรี ยมความพร้อมในด้านการประชาสัมพันธ์ผา่ นเอกสาร คื อ แผ่นพับ โปสเตอร์ วีดีทศั น์
 จัดทาแผนการประชาสัมพันธ์ผา่ นสื่อท้องถิ่น เช่น วิทยุชุมชน หนังสือพิมพ์ทอ้ งถิ่น และ
สถานีโทรทัศน์ทอ้ งถิ่น
4) ฝ่ ายการเงิน ทาหน้าที่
 จัดทาบัญชีรายได้ และค่าใช้จ่ายของสหกรณ์ให้เป็ นระบบ
 จัดทาบัญชีวตั ถุดิบและปริ มาณปุ๋ ยที่รวบรวมได้
 คานวณผลตอบแทนให้แก่สมาชิกในทุกๆ 6 เดือน
 รายงานผลการดาเนินงานให้แก่ที่ประชุมรับทราบในการประชุมประจาปี และประชุม
วิสามัญ

11.3.2 การปรับโครงสร้ างสหกรณ์ฟาร์ มสุ กรที่มอี ยู่แล้ว ให้ สนับสนุนการผลิตปุ๋ ยอินทรีย์เคมีฯ


จังหวัดนครปฐมเป็ นที่ต้งั ของโครงการฯ และอุปกรณ์สาธิต มีจานวนฟาร์มสุกรอยูเ่ ป็ นจานวนมาก
ผูผ้ ลิตปุ๋ ยฯ คือ เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงสุกร มีการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนในลักษณะสหกรณ์ผเู้ ลี้ยงสุกรอยูแ่ ล้ว คือ
สหกรณ์ผเู้ ลี้ยงสุ กร เพื่อลดขั้นตอนในการจัดตั้งวิสาหกิจแห่งใหม่ จึงควรที่จะใช้ลกั ษณะสหกรณ์ผเู้ ลี้ยง
สุกรเป็ นแกนหลักในการดาเนินการ

สหกรณ์ผ้เู ลีย้ งสุกร

ประธานกลุ่ม

ฝ่ ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ ฝ่ ายการตลาด

ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี พลังงาน สุกร ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 11-4


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT0011 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ฝ่ ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ เป็ นหน่วยงานใหม่ ทาหน้าที่ พัฒนากระบวนการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี และ


สนับสนุนความรู้ดา้ นระบบผลิตก๊าซชีวภาพในฟาร์มสุกร
ฝ่ ายการตลาดของสหกรณ์ผเู้ ลี้ยงสุกรณ์ เป็ นฝ่ ายที่มีอยูแ่ ล้วในองค์กร จะทาหน้าที่หลักคือ 1.
จัดซื้อปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีจากสมาชิกในราคาที่เหมาะสม 2. จัดทาการตลาดสาหรับปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีซ่ึงสามารถ
ใช้ฝ่ายการตลาดเดิมเป็ นแกนหลัก ซึ่งมีความพร้อมในด้านการประสานงานกับชุมชนและหน่วยงาน
ราชการ
แนวทางการปรับโครงสร้ างสหกรณ์ฟาร์ มสุ กรที่มอี ยู่แล้ว ให้ สนับสนุนการผลิตปุ๋ ยอินทรีย์เคมีฯ
(1) กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุ รักษ์พลังงาน (พพ.) จะต้องเป็ นผูน้ าเสนอโครงการฯ
ผ่านทางชุมชนของฟาร์มสุกร โดยอาจนาเสนอผ่านทางสหกรณ์ผเู้ ลี้ยงสุ กร หรื อสมาคมผู้
เลี้ ย งสุ ก ร ฯลฯ โดยน าเอกสารเผยแพร่ ใ ห้ค วามรู้ ถึง การน าน้ าเสี ย จากการบาบัด ผ่า น
กระบวนการก๊าซชีวภาพฯ มาทาให้เกิดประโยชน์
(2) เมื่อเผยแพร่ จนเป็ นที่รู้จกั วิธีการทาปุ๋ ยดังกล่าวแล้วนั้น ชาวบ้านผูม้ ีฟาร์ มสุ กรขนาดกลาง
สามารถนาไปปฏิบตั ิจริ งและผลิตปุ๋ ยได้แล้ว จะรวบรวมผลิตภัณฑ์ที่จะทาให้เกิดประโยชน์
สูงสุด อาจทาได้โดยผ่านทางสหกรณ์ที่มีอยูแ่ ล้ว

เพื่อไม่ให้เกิดภาระในองค์กรมากเกินไป การตั้งฝ่ ายพัฒนาผลิตภัณฑ์อาจใช้บุคลากรที่มีความรู้


ความสามารถ ที่เป็ นสมาชิกขององค์กร โดยมีหน้าที่ดงั ต่อไปนี้
ฝ่ ายพัฒนาผลิตภัณฑ์
1. แนะน าการผลิต ก๊าซชี ว ภาพอย่างถูก ต้อง โดยติ ด ต่ อ พพ. เพื่ อให้ค วามรู้ โดยวิทยากร
ตลอดจนเผยแพร่ เอกสารต่างๆ
2. แนะนาการผลิตปุ๋ ยจากน้ าเสียหลังจากการผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อให้เกิดประสิ ทธิภาพในการ
ผลิตสูงสุด โดยการสนับสนุนจาก พพ. ในการให้ความรู้ และเอกสารต่างๆ
3. ตรวจสอบคุณภาพอย่างสม่าเสมอ โดยนาตัวอย่างปุ๋ ยที่ผลิตได้ส่งให้กรมวิชาการเกษตรเพื่อ
วิเคราะห์ตรวจสอบคุณภาพ
ฝ่ ายการตลาดด้ านปุ๋ ยอินทรีย์เคมี
1. จัดซื้อปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีที่ผลิตได้จากสมาชิก และจัดเก็บเพื่อรอการจาหน่าย
2. ติดต่อผูใ้ ช้ปุ๋ยโดยผ่านทางกลุ่มสหกรณ์หรื อชมรมเกษตรกรประจาท้องถิ่น หรื อกลุ่มชาวไร่
ผูป้ ลูกไม้ประดับ ผูจ้ ดั สวน
3. ติดตามราคาตลาด เพื่อการปรับเพิ่มราคาขึ้นลงตามความเหมาะสม
4. ประชาสัมพันธ์ผ่านทางท้องถิ่น โดยอาศัยการจัดงานของท้องถิ่น ตลาดการเกษตร เคเบิ้ล
ท้องถิน่ วิทยุชุมชน ฯลฯ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 11-5


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT0011 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

พพ. มี ห น้า ที่ ส นับ สนุ น ให้ค วามร่ วมมือ ในการจัด วิ ท ยากร เอกสารเผยแพร่ และติ ด ตาม
ประเมินผล เพื่อให้ชุมชนดังกล่าวสามารถปฏิบตั ิการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

11.4 ผลลัพธ์ ที่คาดว่าจะเกิดขึน้ กับชุมชน


(1) ผูป้ ระกอบการฟาร์มสุกร เกษตรกร และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องในชุมชนมีส่วนร่ วม เห็นประโยชน์
ของการเพิ่มมูลน้ าทิ้งที่ผา่ นระบบผลิตก๊าซชีวภาพ ที่สามารถนากลับมาเพิ่มมูลค่าจากการผลิต
ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี เป็ นการเพิ่มรายได้ใช้แก่ชุมชนอีกทางหนึ่ง
(2) ประชาชนมีส่วนร่ วมในการพัฒนาการองค์ความรู้และผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรี ยเ์ คมีที่ผลิตได้จากน้ า
ที่ผา่ นระบบผลิตก๊าซชีวภาพอย่างยัง่ ยืน ด้วยตนเอง และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน
ในลัก ษณะบูร ณาการ โดยสานัก วิจ ัย ค้น คว้าพลังงาน พพ. ให้ก ารสนับสนุ น ด้านถ่ายทอด
เทคโนโลยีทางวิชาการด้านการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีในฟาร์มสุกรและข้อมูลอื่นๆ ที่สาคัญ
(3) เป็ นการเพิ่มศัก ยภาพของชุมชนในการวางแผนและการพัฒนาตนเอง ในด้านการพัฒนาการ
เกษตรเพื่อเพิ่ม มูลค่ าสิ น ค้า ปรั บปรุ ง คุ ณ ภาพสิ น ค้า วางแผนในการบริ หารจัด การเพื่อใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน
(4) เป็ นการจัดความพร้อมในการกระจายผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรี ยเ์ คมีไปยังกลุ่มลูกค้าที่สนใจ

11.5 ประโยชน์ ที่จะได้ รับจากการดาเนินงานของกลุ่มผู้ผลิตปุ๋ ยอินทรีย์เคมีจากฟาร์ มสุ กร


ภาครัฐ
 เป็ นการส่ งเสริ มให้มีการผลิตปุ๋ ยใช้เองภายในประเทศ
 ลดการนาเข้าปุ๋ ยเคมีจากต่างประเทศ
ภาคประชาชน
 ผูป้ ระกอบการฟาร์ ม สุ ก ร และสมาชิ ก อื่ น ๆ ในกลุ่ ม ฯ มี ร ายเพิ่ ม จากการขายปุ๋ ยฯ
นอกเหนือจากอาชีพหลักของตน สร้างโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจชุ มชนอย่างเข้มแข็ง
 น้ าทิ้งหลังการผลิตปุ๋ ยมีคุณภาพดีข้ ึน ส่งผลให้คุณภาพแหล่งน้ าในชุมชนดีข้ ึนด้วย
 ประชาชนสามารถใช้ปุ๋ยที่ผลิตขึ้นเองในท้องถิ่น หาซื้อได้ง่ายเป็ นการลดต้นทุนการเกษตร
โดยไม่ผา่ นพ่อค้าคนกลาง
 ชุมชนมีโอกาสได้เรี ยนรู้ร่วมกัน เรี ยนรู้ในการแก้ไขปัญหา ส่งผลให้ชุมชนมีความเข้มแข็งขึ้น

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 11-6


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT0011 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

11.6 การนาเสนอแนวทางและจัดทากลยุทธ์ เพือ่ ส่ งเสริมในการจาหน่ ายผลิตภัณฑ์ที่ได้ ในเชิงพาณิชย์

11.6.1 สภาพตลาดปุ๋ ย
สถานการณ์ปุ๋ยในปัจจุบัน
จากผลการศึกษาพบว่า ประเทศไทยยังไม่มีแหล่งวัตถุดิบที่จะนามาผลิตปุ๋ ยเคมีในเชิงพาณิ ชย์ได้
จึงทาให้ตอ้ งนาเข้าปุ๋ ยเคมีจากต่างประเทศเป็ นหลัก โดยในช่วงปี 2537-2546 มีปริ มาณการนาเข้าปุ๋ ยเคมี
ปี ละประมาณ 3.18-3.84 ล้านตัน มูลค่า 13,049-25,747 ล้านบาท และปริ มาณการใช้ปุ๋ยเคมีได้เพิ่มขึ้น
จาก 3.39 ล้านตันในปี 2537 เป็ น 3.95 ล้านตันในปี 2546 ส่วนปุ๋ ยอินทรี ยน์ ้นั ในประเทศไทยมีวตั ถุดิบ
เพียงพอที่จะนามาใช้ในการผลิต รวมทั้งเกษตรกรสามารถผลิตขึ้นใช้เองได้โดยใช้วตั ถุดิบในไร่ นา ดังนั้น
ในภาวะปัจจุบนั ที่ปุ๋ยเคมีมรี าคาแพงและกระแสการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในปัจจุบนั จึงทาให้ปริ มาณการ
ใช้ปุ๋ยอินทรี ยม์ ีแนวโน้มเพิม่ มากขึ้น
ส่วนการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความต้องการใช้ปุ๋ยเคมีในการเกษตรพบว่า ส่วนใหญ่จะ
มีปัจจัยด้านราคาปุ๋ ยเคมี ราคาผลผลิต พื้นที่เพาะปลูก ปริ มาณผลผลิต และผลการเปลี่ยนแปลงทาง
เทคโนโลยีและสิ่งเอื้ออานวยที่เกื้อกูลต่อการใช้ปุ๋ยเคมีในการผลิตพืชเป็ นตัวกาหนด และจากการประมาณ
การความต้องการใช้ปุ๋ยเคมีพบว่าความต้องการใช้ปุ๋ยเคมีในการผลิตพืชโดยรวมนับแต่ปี 2546-2550 มี
แนวโน้มเพิม่ ขึ้นโดยตลอด กล่าวคือ เพิม่ ขึ้นจากประมาณ 3.88-3.89 ล้านตัน ในปี 2546 เป็ น 4.32-4.40
ล้านตันในปี 2550 หรื อมีอตั ราเพิ่มเฉลี่ยประมาณร้อยละ 2.73-3.14 ซึ่งเมื่อพิจารณาความต้องการใช้
ปุ๋ ยเคมีของพืชแต่ละกลุ่มปรากฏว่า พืชที่มีความต้องการใช้ปุ๋ยเคมีมากที่สุด คือ ข้าวนาปี รองลงมาคือ
ไม้ผลและไม้ยนื ต้น พืชไร่ ข้าวนาปรัง และผัก ไม้ดอกและไม้ประดับ ตามลาดับ
เนื่องจากความต้องการใช้ปุ๋ยในการผลิตพืชมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยตลอด และการต้องพึ่งพาการ
นาเข้าปุ๋ ยเคมีจากต่างประเทศซึ่งมีราคาค่อนข้างแพงเมื่อ เทียบกับราคา ผลผลิตที่เกษตรกรขายได้ ดังนั้น
จึงควรแนะนาและส่งเสริ มให้เกษตรกรมีความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ย ที่ถกู ต้องเหมาะสมกับชนิดของ
ดินและพืช สนับสนุนให้เกษตรกรผสมปุ๋ ยเคมีใช้เอง และมีการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยจ์ ากวัสดุเหลือใช้ในไร่ นา
ให้มากขึ้น รวมทั้งส่งเสริ มให้มีการใช้ปุ๋ยแบบผสมผสานคือใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ ย อินทรี ยห์ รื อปุ๋ ยชีวภาพ
ในอัตราที่เหมาะสมในการผลิตพืชแต่ละชนิด ซึ่งการใช้ปุ๋ยแบบผสมผสานจะช่วยลดการใช้ปุ๋ยเคมีได้
ส่วนหนึ่ง และยังเป็ นการช่วยเพิ่มอินทรี ยวัตถุในดินทาให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตาม ธรรมชาติมาก

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 11-7


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT0011 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

11.6.2 ปัญหาของการพัฒนาอุตสาหกรรมปุ๋ ยเคมี


ปัญหาด้ านการผลิต
 ไทยไม่สามารถผลิตแม่ปุ๋ยใช้เองได้ เพราะต้นทุนสูง จึงต้องนาเข้า
 ไทยต้องพึ่งพาวัตถุดิบหลักสาคัญจากต่างประเทศหรื อทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ผลิตวัตถุดิบ
พื้น ฐาน เช่ น แก๊สธรรมชาติ (Natural Gas) ในประเทศยังคงมีตน้ ทุ น ต่อหน่ ว ยสูงกว่า
ประเทศอื่นๆ
 ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีการผลิตจากต่างประเทศ
 ขนาดการผลิตในประเทศยังไม่ใหญ่พอที่จะมี Economy of Scales เนื่องจากขนาดตลาดใน
ประเทศไม่ใหญ่พอที่จะผลิตในปริ มาณมากๆ
 ปุ๋ ยเคมีเป็ นสินค้าควบคุม การปรับราคาต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมการค้าภายใน
 ปุ๋ ยเคมีเป็ นสินค้าตามฤดูกาลการผลิตทางการเกษตร โดยจะมีการใช้ปุ๋ยมากที่สุดในช่วงฤดู
ฝนและในช่วงปลายปี จะใช้ปุ๋ยน้อยที่สุด

ปัญหาด้ านภาครัฐบาลและเอกชน
 ผูผ้ ลิต/ ผูผ้ สมปุ๋ ยที่ซ้ือวัตถุดิบต่างๆ ในประเทศจะไม่ได้รับการยกเว้นภาษีมลู ค่าเพิ่ม ผูผ้ ลิต
จาต้องสัง่ ซื้อจากต่างประเทศแทน ทาให้เงินทุนบางส่วนไหลออกนอกประเทศ
 ความร่ วมมือระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐด้านข่าวสารข้อมูลยังมีอยูน่ อ้ ย ทาให้ความ
ช่วยเหลือของภาครัฐที่มีต่อภาคเอกชนอาจมีความล่าช้า

11.6.3 กลยุทธ์ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมปุ๋ ยเคมี


1. รัฐควรเร่ งทาการสารวจและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ ที่เป็ นวัตถุดิบของอุต สาหกรรม
ปุ๋ ยเคมี เพื่อประเมินศักยภาพทางด้านวัตถุดิบและด้านการผลิตในประเทศ กล่าวคือกรณี
ที่ไม่มีทรัพยากรที่จาเป็ นต่ อการผลิต แนวทางการพัฒนาในอนาคตควรจะเปลี่ยนไปใน
ทิศทางใด กรณี ที่มีทรัพยากรที่จาเป็ นครบในประเทศ ควรที่จะส่งเสริ มการใช้ทรัพยากรใน
ประเทศเพื่อเป็ นการลดการนาเข้า ลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มมูลค่าให้กบั ปุ๋ ยเคมีที่มีการใช้
วัตถุดิบภายในประเทศอีกด้วย

2. รั ฐควรปรั บปรุ งกฎหมายภาษี มูล ค่ าเพิ่ม ให้เกิ ด ความเสมอภาคกัน ระหว่ างผูผ้ ลิต ที่ ซ้ื อ
วัตถุดิบภายในประเทศกับ ผูผ้ ลิตที่นาเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 11-8


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT0011 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

3. รัฐควรส่ งเสริ มให้ผผู้ ลิตปุ๋ ยเชิงประกอบสามารถผลิตแม่ปุ๋ยออกจาหน่ ายแก่ผผู้ ลิตปุ๋ ยเชิ ง


ผสมในประเทศเพื่อ ลดการน าเข้า แม่ปุ๋ ยจากต่ างประเทศ อีก ทั้ง ยังเป็ นการสนับ สนุ น
อุตสาหกรรมในประเทศและโครงการผสมปุ๋ ยใช้เองของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
4. ภาครัฐและภาคเอกชนควรร่ วมมือเริ่ มการทาวิจยั และพัฒนา (R&D) ปรับปรุ งคุณภาพปุ๋ ย
อินทรี ยใ์ ห้สามารถทดแทนปุ๋ ยเคมีได้บา้ ง เพื่อช่ วยลดการนาเข้าวัต ถุดิบจากต่างประเทศ
โดยสนับสนุนให้ลดการใช้ปุ๋ยเคมีของเกษตรกรลงเพื่อรักษาสภาพดินและสิ่ งแวดล้อมตาม
ธรรมชาติ
5. ภาครัฐและเอกชนควรร่ วมมือกันอย่างจริ งจังในการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่จาเป็ นเพื่อจะได้รับ
ข้อมูลที่ถกู ต้อง ทันเวลา อีกทั้งยังจะได้นาข้อมูลเหล่านี้ มาเป็ นประโยชน์ในการปรับปรุ ง
แก้ไขหรื อ พัฒนาอุตสาหกรรมปุ๋ ยต่อไปในอนาคต

11.6.4 กลยุทธ์ เพือ่ ส่ งเสริมในการจาหน่ ายผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้ ในเชิงพาณิชย์


แนวทางและกลยุทธ์ เพือ่ ส่ งเสริมในการจาหน่ าย
1. สหกรณ์ผผู้ ลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีตอ้ งมีการประสานงานกับหน่วยงานรัฐ
รายละเอียด
สหกรณ์ฯ ประสานงานกับสานักงานเกษตรจังหวัด ในการประชาสัมพันธ์ปุ๋ยอินทรี ยเ์ คมี
ทั้งสองประเภท โดยผ่านโครงการส่งเสริ มความรู้ดา้ นเกษตรต่างๆ รวมถึงการสนับสนุนในการแนะนา
วิธีการใช้ปุ๋ยอินทรี ยเ์ คมีร่วมกับปุ๋ ยอินทรี ยจ์ ากมูลสัตว์อื่นๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพสาหรับพืชเศรษฐกิจ
ต่างๆ ในจังหวัด

2. จัดทาแปลงทดลองสาธิตเพื่อสร้างความเชื่อมัน่ ในการใช้ปุ๋ย
รายละเอียด
1. เนื่ องจากเกษตรกรในจังหวัด นครปฐมมีค วามนิ ย มซื้ อ ปุ๋ ยอิน ทรี ย ใ์ ช้เอง ปั จ จัยที่ มี
อิทธิ พลต่ อการตัด สิ น ใจในการใช้ปุ๋ยชนิ ด ใหม่คื อ การที่ ต นเองได้ทดลองใช้ปุ๋ยและผลผลิต ที่ ได้ดี
มากกว่าการใช้ปุ๋ยอื่นๆ ปัจจัยลาดับรองลงมา คือ การบอกกล่าวจากเพื่อนบ้านหรื อกลุ่มเกษตรกร ดังนั้น
วิธีการส่ งเสริ มให้เกษตรกรให้ได้ใช้ตวั อย่างปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีอาจจะทดลองในแปลงเกษตรในหมู่บา้ น
หรื อแปลงเกษตรของหัวหน้ากลุ่มเกษตรกรในพื้นที่

2. ให้การสนับสนุนกลุ่มเกษตรกรที่นิยมใช้ปุ๋ยอินทรี ยใ์ นจังหวัดนครปฐม อันได้แก่ ข้าว


และหน่อไม้ฝรั่ง ในการจัดทาแปลงเกษตรสาธิตการใช้ปุ๋ยอินทรี ยเ์ คมี โดยมีช่วงระยะเวลาให้เกษตรกร
ใช้ปุ๋ยฟรี รวมทั้งจัดโครงการเยีย่ มชมแปลงเกษตรสาธิตฯ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 11-9


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT0011 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

3. ประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีที่ผลิตได้


รายละเอียด
กลุ่มเป้ าหมายหลัก ในการส่ งเสริ มการขาย คื อ กลุ่มเกษตรกรที่ มีก ารใช้ปุ๋ยอิน ทรี ยใ์ น
จังหวัดมีค วามรู้ในการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมกับคุณภาพดิน ในท้องถิ่นอยู่แล้วเป็ นอันดับหนึ่ ง ดังนั้นการ
ส่งเสริ มการจาหน่ายในกลุ่มเกษตรอินทรี ยห์ รื อเกษตรกรแนวหน้าของปุ๋ ยอินทรี ยน์ ่าที่จะส่งผลสาเร็ จใน
ระยะเวลาสั้นที่สุด

4. การให้สิทธิประโยชน์ในการนาปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีแก่เกษตรกรเพื่อนาไปใช้ก่อน และชาระค่า


ปุ๋ ยฯหลังจากขายผลผลิตได้
รายละเอียด
โดยปกติ เกษตรกรจะต้องมีก ารจัดซื้ อปุ๋ ยมาใช้สาหรับการเพาะปลูก ของตนเองอยู่แล้ว
ดังนั้นจึงควรมีการให้นาปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีไปใช้ก่อน หลังจากขายผลผลิตได้จึงนาเงินมาชาระค่าปุ๋ ยฯ โดย
ไม่คิดดอกเบี้ย

SWOT Analysis
จุดแข็ง
1. สามารถทดแทนการใช้ปุ๋ยอินทรี ยจ์ ากมูลสัตว์ โดยนาปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีผสมในอัตราส่วนที่
เหมาะสม (50:50)
2. มีศกั ยภาพที่จะผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีได้ในปริ มาณพอเพียงกับความต้องการของเกษตรใน
พื้นที่ เนื่องจากแหล่งวัตถุดิบหลักอยูใ่ นท้องถิ่น
3. ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีมีคุณสมบัติที่ดีกว่าเมื่อเทียบกับปุ๋ ยเคมี ดังนี้
3.1 ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีประเภทอะพาไทด์ มีส่วนประกอบหลักของแคลเซียมช่วยปรับปรุ ง
ดินให้ดีข้ ึน โดยเฉพาะคุณสมบัติทางฟิ สิกส์และเคมีของดิน เช่น ความโปร่ ง ความร่ วนซุย ความสามารถ
ในการอุ ม้ น้ าและธาตุ อ าหารพื ช ของดิ น ดี ข้ ึ น โดยปกติ ปุ๋ ยเคมีจ ะเน้น เฉพาะธาตุ อ าหารหลัก คื อ
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม
3.2 ปุ๋ ยอิน ทรี ยเ์ คมีประเภทสตรู ไวท์สามารถผสมใช้ก ับ แม่ปุ๋ย เพื่อทดแทนแร่ ธาตุ
ฟอสเฟตตามต้องการ ซึ่งปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีที่ผสมได้สามารถใช้กบั พืชเศรษฐกิจชนิดต่างๆ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 11-10


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT0011 rev.1
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

จุดอ่อน
1. มีปริ มาณธาตุอาหารหลักของพืชต่าเมื่อเทียบกับปุ๋ ยเคมี
2. ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีที่ผลิตได้ใช้ระยะผลิตประมาณ 5 – 7 วัน (การผลิตปุ๋ ย และการตากแดด) ซึ่ง
ปริ มาณและคุณภาพที่ผลิตได้ผนั ผวนตามฤดูกาล
3. ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีเป็ นปุ๋ ยชนิดใหม่ การประชาสัมพันธ์ความรู้ดา้ นการผลิต – วิธีการนาใช้จึงมี
บทบาทสาคัญมาก เนื่องจากเกษตรกรนิยมใช้ปุ๋ยอินทรี ยจ์ ากมูลสัตว์โดยตรง
4. เกษตรกรยังมีความเชื่อว่าปุ๋ ยเคมีใช้ได้ดีกว่าปุ๋ ยประเภทอื่นๆ โดยเฉพาะในกรณี ที่ตอ้ งการ
เร่ งการเจริ ญเติบโตและไม่เชื่อมัน่ ว่าจะสามารถใช้ปุ๋ยประเภทอื่นทดแทนได้ท้งั หมด
5. ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีไม่สามารถนาไปใช้ในการเพาะปลูกได้โดยตรง ต้องนาไปผสมกับปุ๋ ยชนิ ด
อื่น จึงมีคุณสมบัติดอ้ ยกว่าเมื่อเทียบกับปุ๋ ยอินทรี ย ์
5.1 ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีประเภทอะพาไทด์ มีส่วนประกอบหลักเป็ นแคลเซียม แต่ไม่มีธาตุ อาหาร
หลักของพืช ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม จึงทาให้ตอ้ งใช้ร่วมกับปุ๋ ยอินทรี ยซ์ ่ึงมีธาตุ
อาหารหลักในการเตรี ยมดินก่อนการเพาะปลูก
5.2 ปุ๋ ยอิ น ทรี ย์เ คมี ป ระเภทสตรู ไ วท์ (0-15-0) มี ส่ ว นประกอบของธาตุ อ าหารหลัก คื อ
ฟอสฟอรัส เพียงชนิ ด เดี ยว ซึ่ งยังไม่สามารถนาไปใช้ในการเพาะปลูกได้โดยตรง เพราะยังขาดธาตุ
อาหารหลักอีกสองชนิด คือ ไนโตรเจน และโพแทสเซียม ดังนั้นหากต้องการใช้ในการเพาะปลูกจึงต้อง
ไปนาผสมกับแม่ปุ๋ยเคมีไนโตรเจนและแม่ปุ๋ยโพแทสเซียมตามสัดส่วนที่เหมาะสมกับพืชแต่ละประเภท

โอกาส
1. ได้รับการสนับสนุนด้านเทคโนโลยี พพ.
2. ปุ๋ ยเคมีมีราคาสูง และไม่สามารถผลิตใช้ในประเทศเองได้
3. ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีที่ผลิตได้ เป็ นที่ยอมรับในต่างประเทศช่วยทาให้ผลผลิตการเกษตรดีข้ ึน
4. หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนหันมารณรงค์ให้เกษตรกรหันมาใช้ปุ๋ยอินทรี ยม์ ากขึ้น
5. ราคาปุ๋ ยเคมีเพิ่มขึ้นทุกปี จึงเป็ นแรงกดดันให้เกษตรกรต้องลดต้นทุนการเพาะปลูก

อุปสรรค
1. เป็ นอุตสาหกรรมที่ Barrier to Entry ต่า คู่แข่งรายใหม่เข้ามาได้ง่าย
2. มีสินค้าทดแทนปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีหลายชนิด
3. การแข่งขันที่รุนแรงของผูค้ า้ ปุ๋ ยเคมี ทาให้มีแนวโน้มการแข่งขันด้านราคามากขึ้น

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 11-11


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT0011 rev.1
บทที่ 12
การนาเสนอรู ปแบบการบริหารจัดการในระดับชุมชน
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบั ดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บทที่ 12
คู่มือวิธีการเพิม่ มูลค่ าน้าที่ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชีวภาพ

จากการสนับสนุ นและส่ งเสริ มให้ฟาร์ มสุ กรได้รับประโยชน์จากการใช้ระบบจัดการของเสี ย


และน้ าเสีย ด้วยเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพ (Biogas Technology) ทาให้ผปู้ ระกอบกิจการฟาร์ มสุ กร
สามารถ ลดภาระค่ าใช้จ่ ายในส่ วนของต้น ทุ น การผลิต และส่ งผลทาให้มี ได้มากขึ้ น ทั้งยังช่ ว ยลด
ผลกระทบต่อแหล่งน้ าตามธรรมชาติได้อีกทางหนึ่งด้วย ทั้งนี้น้ าที่ผา่ นการบาบัดด้วยระบบบาบัดแล้วมัก
ถูกนาไปใช้เป็ นน้ าล้างคอกสุกรหรื อนาไปรดน้ าต้นไม้เท่านั้น
ดังนั้น กรมพัฒ นาพลังงานทดแทน และอนุ รัก ษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้เล็งเห็ น ถึง
ความสาคัญของการใช้ทรัพยากรน้ าให้เกิดประโยชน์อย่างคุม้ ค่ามากที่สุด จึงได้มุ่งศึกษาหาวิธีการและ
แนวทางในการเพิ่มมูลค่ าน้ าที่ ผ่านการบาบัด จากระบบผลิต ก๊าซชีว ภาพ โดยการน าธาตุ อาหารที่ มี
ประโยชน์สาหรับพืชซึ่งละลายอยูใ่ นน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ด้วยวิธีการตกตะกอน
ธาตุอาหารต่างๆ โดยเลือกใช้สารเคมีที่เหมาะสม และนามาผลิตเป็ นผลิตภัณฑ์เคมีอินทรี ยช์ นิดใหม่ ซึ่งก็
คือ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite)” และ“ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” เรี ยกอีกชื่อ
หนึ่งว่า “ปุ๋ ยสตรู ไวท์ (Struvite)”
กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน จึงหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า
คู่มือการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรื อ ปุ๋ ยอะพาไทด์ และปุ๋ ยแมกนีเซียมแอมโมเนียมฟอสเฟต หรื อ
ปุ๋ ยสตรู ไวท์ จะเป็ นประโยชน์และสามารถถ่ายทอดให้ผปู้ ระกอบกิจการฟาร์มสุกรในการทาปุ๋ ยเคมี
อินทรี ยไ์ ด้อย่างเป็ นรู ปธรรม

12.1 รายละเอียดของปุ๋ ย
12.1.1 แคลเซียมฟอสเฟต หรือ ปุ๋ ยอะพาไทด์
ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรือปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite) คือ ปุ๋ ยที่มีผลึกของแร่ ธาตุ 2 ชนิดรวมตัวกัน
คือ มีแร่ ธาตุแคลเซียมและฟอสเฟตเป็ นองค์ประกอบ มีชื่ อทางในการค้าว่า “ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite)”
โดยทัว่ ไป แร่ แคลเซียมฟอสเฟต หรื อ แร่ อะพาไทด์ เกิดจากการสะสมของมูลและซากสัตว์ (นก หรื อ
ค้า งคาว) ซึ่ ง ในลัก ษณะนี้ มัก เกี่ ย วข้อ งกับ หิ น ปู น โดยเกิ ด จากการละลายของฟอสเฟต ซึ่ ง เป็ น
ส่ ว นประกอบของมูล และซากสัต ว์ที่ ทับ ถม และซึ ม แทรกเข้า ไปในหิ น ปูน จากการส ารวจของ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 12-1


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT012
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบั ดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

กรมทรั พ ยากรธรณี พบแหล่ งหิ น ฟอสเฟตเกื อบทุ ก ภาคของประเทศ เช่ น จังหวัด ลาพูน สุ โขทัย
เพชรบูรณ์ กาญจนบุรี ราชบุรี กระบี่ สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต เลย พังงา และร้อยเอ็ด

12.1.2 การผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตหรือ ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite) จากนา้ ทีผ่ ่านการบาบัดจากระบบ


ผลิตก๊าซชีวภาพของฟาร์ มสุ กร
ผลการศึกษาค้นคว้าเพื่อหาวิธีการและแนวทางในการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผ่านการบาบัดจากระบบ
ผลิตก๊าซชีวภาพที่เหมาะสมและให้ประโยชน์สูงสุด ก็คือ การนาธาตุอาหารที่มีประโยชน์สาหรับพืชซึ่ง
ละลายอยู่ในน้ าที่ ผ่านการบาบัด ฯ มาใช้ให้เกิ ด ประโยชน์ ด้ว ยวิธีการตกตะกอนธาตุอาหารต่ างๆ ที่
ละลายอยูใ่ นน้ าโดยเลือกใช้สารเคมีที่เหมาะสม และนามาทาปฏิกิริยาทางเคมีในน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ
เพื่อให้เกิดการสร้างสารประกอบเคมีอินทรี ย ร์ ู ปแบบใหม่ๆ และนามาผลิตเป็ นผลิตภัณฑ์เคมีอินทรี ย ์
ชนิดใหม่ ซึ่งก็คือ “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต” หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite)”
ซึ่งจากผลการวิเคราะห์คุณภาพของน้ าที่ผา่ นระบบบาบัดฯ พบว่า มีธาตุ อาหารที่เป็ นประโยชน์
ต่อพืชละลายปนอยูน่ ้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ ในรู ปของไอออนและสารประกอบต่างๆ เป็ นจานวนมาก อาทิ
ไอออนของแอมโมเนี ยม (Ammonium, NH4+) ฟอสเฟต (Phosphate, PO43-) โปแตสเซียม (Potassium,
K+) แมกนีเซียม (Magnesium, Mg2+) แคลเซียม (Calcium, Ca2+) โซเดียม (Sodium, Na+) และธาตุอาหาร
อื่น ๆ เป็ นต้น ทั้ง นี้ เมื่ อท าการเติ ม สารเคมี ที่เ หมาะสมลงไปในน้ าที่ ผ่า นระบบบ าบัด ฯ จะทาให้
เกิ ด ปฏิกิริ ยาเคมีร ะหว่างไอออนต่ างๆ ที่ ละลายอยู่ในน้ า และทาให้เกิ ด การสร้ างสารประกอบเคมี
อินทรี ยร์ ู ปแบบใหม่ๆ ขึ้น ซึ่งสารประกอบเคมีอินทรี ยเ์ หล่านี้ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้
ทั้งนี้ข้นั ตอนในการผลิตสารประกอบเคมีอินทรี ยช์ นิ ดใหม่ หรื อ ผลิต “ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต”
หรื อ “ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite)” นั้น มีข้ นั ตอนไม่ยุ่งยากและสามารถทาได้ง่าย โดยเริ่ มจากการนาน้ าที่
ผ่านการบาบัดฯ มาประมาณ 2,000 ลูกบาศก์เมตร และปรับให้น้ ามีค่าพีเอส (pH) ประมาณ 8.5 โดยการ
เติมสารเคมี คือ ปูนขาว หรื อ สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2) และทาการกวนผสมให้สาร
ผสมละลายเข้ากันให้เป็ นเนื้อเดียวกัน ซึ่งหลังจากเติมสารเคมีแล้ว ธาตุอาหารต่างๆ ตะกอนจะตกลงสู่
ก้นถังและตะกอนทั้งหลายที่เกิดขึ้นจะมีส่วนประกอบของธาตุ อาหารที่พืชสามารถนาไปใช้ประโยชน์
ต่อไปได้ เช่น ฟอสฟอรัส (P) แคลเซียม (Ca) และธาตุอื่นๆ เป็ นต้น ซึ่งเมื่อทาการแยกตะกอนที่ได้ออก
จากน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ และนาตะกอนมาตากยังลานตากตะกอนเพื่อใช้ความร้อนจากแสงอาทิตย์ทา
ให้ต ะกอนแห้ง สนิ ท จะได้ผลิตภัณ ฑ์ของสารประกอบเคมีอิน ทรี ย ์ชนิ ด ใหม่ ซึ่ งก็คื อ ปุ๋ ยแคลเซี ยม
ฟอสเฟต หรื อ ปุ๋ ยอะพาไทด์ (Apatite) นัน่ เอง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 12-2


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT012
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบั ดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

12.1.3 ขั้นตอนผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรือ ปุ๋ ยอะพาไทด์

1 นาน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ ปริ มาตร 2,000 ลูกบาศก์ลิตร (2 คิว) มาใส่ไว้ในถังพักน้ า


2 วัดค่าพีเอส (pH) ของน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ เพื่อจะได้ทาการปรับค่าพีเอส (pH) ให้น้ าที่ผ่าน
การบาบัดฯ มีค่า pH  8.5 และเติมปูนขาว 2-3 กิโลกรัม ในน้ าที่ผา่ นการบาบัด
3 ใช้เครื่ องมือกวนผสมน้ าและโซดาไฟให้เข้ากัน และกวนผสมจนกระทั้งของแข็งละลายจนหมด
4 พักน้ าทิ้งไว้เป็ นเวลา 2 วัน เพื่อทาให้ธาตุอาหารที่มีประโยชน์สาหรับพืชที่อยูใ่ นน้ าเกิดการ
ทาปฏิกิ ริ ยาเคมีต่ อกัน และทาให้เกิ ด การสร้ างสารประกอบเคมีอิน ทรี ยร์ ู ปแบบใหม่ๆ
ตกตะกอนลงสู่ส่วนล่างของถังพักน้ า
5 เปิ ดท่อระบายของถังพักน้ า เพื่อแยกเอาส่วนที่เป็ นตะกอนออกมาตากยังลานตากตะกอน
6 ตากตะกอนที่ลานตาก จนกว่าจะแห้ง ซึ่งตะกอนที่ได้มีส่วนผสมของปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต
หรื อ ปุ๋ ยอะพาไทด์ 7-8 กิโลกรัม
7 นาปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตหรื อ ปุ๋ ยอะพาไทด์ ใส่ ลงในถุงปิ ดสนิ ดขนาด 5-15 กิโลกรัม เพื่อ
นาไปจาหน่ายต่อไป

12.2 ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า หรื อ ปุ๋ ยสตรูไวท์ (Struvite)


ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า หรื อ ปุ๋ ยสตรูไวท์ (Struvite) คือ ปุ๋ ยที่มีผลึกของแร่ ธาตุ 3 ชนิด
รวมตัวกัน โดยมีแร่ ธาตุ คือ แมกนีเซียม แอมโมเนียม และฟอสเฟต เป็ นองค์ประกอบ มีชื่อทางใน
การค้าว่า “ปุ๋ ยสตรู ไวท์ (Struvite)” ทั้งนี้ปุ๋ยสตรู ไวท์ถือเป็ นผลึกจากแร่ ฟอสเฟตที่เกิดได้ตามธรรมชาติ
หรื ออาจพบการสะสมผลึกสตรู ไวท์ในรู ปของตะกรันตามชิ้นส่วนต่างๆ ของระบบบาบัดน้ าเสีย ซึ่งเมื่อ
อยูใ่ นรู ปผลึกของแข็งจะมี สีขาวจนถึงเหลืองอ่อน หรื อ สี น้ าตาล
12.2.1 การผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า หรือ ปุ๋ ยสตรู ไวท์ (Struvite) จากน้าที่ผ่านการบาบัดจาก
ระบบผลิตก๊าซชีวภาพของฟาร์ มสุ กร
ผลการศึกษาค้นคว้าเพื่อหาวิธีการและแนวทางในการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผ่านการบาบัดจากระบบ
ผลิตก๊าซชีวภาพที่เหมาะสมและให้ประโยชน์สูงสุด ก็คือ การนาธาตุอาหารที่มีประโยชน์สาหรับพืชซึ่ง
ละลายอยู่ในน้ าที่ ผ่านการบาบัด ฯ มาใช้ให้เกิ ด ประโยชน์ ด้ว ยวิธีการตกตะกอนธาตุอาหารต่ างๆ ที่
ละลายอยูใ่ นน้ าโดยเลือกใช้สารเคมีที่เหมาะสม และนามาทาปฏิกิริยาทางเคมีในน้ าที่ผ่านการบาบัดฯ
เพื่อให้เกิดการสร้างสารประกอบเคมี อินทรี ยร์ ู ปแบบใหม่ๆ และนามาผลิตเป็ นผลิตภัณฑ์เคมีอินทรี ย ์
ชนิดใหม่ ซึ่งก็คือ “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า” หรื อ “ปุ๋ ยแมกนีเซียมแอมโมเนี ยมฟอสเฟต” หรื อ เรี ยก
อีกชื่อหนึ่งว่า “ปุ๋ ยสตรู ไวท์ (Struvite)”

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 12-3


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT012
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบั ดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ซึ่งจากผลการวิเคราะห์คุณภาพของน้ าที่ผา่ นระบบบาบัดฯ พบว่า มีธาตุอาหารที่เป็ นประโยชน์


ต่อพืชละลายปนอยูน่ ้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ ในรู ปของไอออนและสารประกอบต่างๆ เป็ นจานวนมาก อาทิ
ไอออนของแอมโมเนี ยม (Ammonium, NH4+) ฟอสเฟต (Phosphate, PO43-) โปแตสเซียม (Potassium,
K+) แมกนีเซียม (Magnesium, Mg2+) แคลเซียม (Calcium, Ca2+) โซเดียม (Sodium, Na+) และธาตุอาหาร
อื่น ๆ เป็ นต้น ทั้ง นี้ เมื่ อท าการเติ ม สารเคมี ที่เ หมาะสมลงไปในน้ าที่ ผ่า นระบบบ าบัด ฯ จะทาให้
เกิ ด ปฏิกิริ ย าเคมีร ะหว่างไอออนต่ างๆ ที่ ละลายอยู่ในน้ า และทาให้เกิ ด การสร้ างสารประกอบเคมี
อินทรี ยร์ ู ปแบบใหม่ๆ ซึ่งสารประกอบเคมีอินทรี ยเ์ หล่านี้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้
ทั้งนี้ข้นั ตอนในการผลิตสารประกอบเคมีอินทรี ยช์ นิดใหม่ หรื อ ผลิต “ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลาย
ช้า” หรื อ “ปุ๋ ยสตรู ไวท์ (Struvite)” นั้น มีข้นั ตอนไม่ยงุ่ ยากและสามารถทาได้ง่าย โดยเริ่ มจากการนาน้ าที่
ผ่านการบาบัดฯ มาประมาณ 2,000 ลูกบาศก์เมตร และปรับให้น้ ามีค่าพีเอส (pH) ประมาณ 8.5 โดยการ
เติมสารเคมี คือ โซดาไฟ หรื อ สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และทาการกวนผสมให้สาร
ผสมละลายเข้ากันให้เป็ นเนื้อเดียวกัน ซึ่งหลังจากเติมสารเคมีแล้วธาตุอาหารต่างๆ ที่ละลายอยู่ในน้ าจะ
เกิดการทาปฏิกิริยาเคมีต่อกัน และตกตะกอนลงก้นถังซึงตะกอนที่เกิดขึ้นจะมีส่วนประกอบของธาตุ
อาหารที่ พื ช สามารถน าไปใช้ป ระโยชน์ ต่ อ ไปได้ เช่ น มี ส่ ว นประกอบของธาตุ ไ นโตรเจน ( N)
ฟอสฟอรั ส (P) โปรแตสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) และแมกนี เซียม (Mg) เป็ นต้น ซึ่ งเมื่อทาการแยก
ตะกอนที่ได้ออกจากน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ และนาตะกอนมาตากยังลานตากตะกอนเพื่อใช้ความร้อนจาก
แสงอาทิต ย์ทาให้ต ะกอนแห้งสนิ ท จะได้ผลิต ภัณฑ์ข องสารประกอบเคมีอินทรี ยช์ นิ ดใหม่ ซึ่ งก็คื อ
“ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้า หรื อ ปุ๋ ยสตรู ไวท์ (Struvite) นัน่ เอง

12.2.2 ขั้นตอนผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตชนิดละลายช้ า หรือ ปุ๋ ยสตรูไวท์

1. นาน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ ปริ มาตร 1,000 ลูกบาศก์ลิตร (1 คิว) มาใส่ไว้ในถังพักน้ า


2. วัดค่าพีเอส (pH) ของน้ าที่ผา่ นการบาบัดฯ เพื่อจะได้ทาการปรับค่าพีเอส (pH) ให้น้ าที่ผ่าน
การบาบัดฯ มีค่า pH  8.5 และเติมโซดาไฟ 2-3 กิโลกรัม ในน้ าที่ผา่ นการบาบัด
3. ใช้เครื่ องมือกวนผสมน้ าและโซดาไฟให้เข้ากัน และกวนผสมจนกระทั้งของแข็งละลายจนหมด
4. พักน้ าทิ้งไว้เป็ นเวลา 2 วัน เพื่อทาให้ธาตุอาหารที่มีประโยชน์สาหรับพืชที่อยูใ่ นน้ าเกิดการ
ทาปฏิกิ ริ ยาเคมีต่ อกัน และทาให้เกิ ด การสร้ างสารประกอบเคมีอิน ทรี ยร์ ู ปแบบใหม่ๆ
ตกตะกอนลงสู่ส่วนล่างของถังพักน้ า
5. เปิ ดท่อระบายของถังพักน้ า เพื่อแยกเอาส่วนที่เป็ นตะกอนออกมาตากยังลานตากตะกอน
6. ตากตะกอนที่ลานตาก จนกว่าจะแห้ง ซึ่งตะกอนที่ ได้มีส่ว นผสมของปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด
ละลายช้า หรื อ ปุ๋ ยสตรู ไวท์ 2-3 กิโลกรัม
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 12-4
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT012
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบั ดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

7. นาปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ดละลายช้า หรื อ ปุ๋ ยสตรู ไวท์ ใส่ ลงในถุงปิ ดสนิ ดขนาด 5-15 กิโลกรัม
เพื่อนาไปจาหน่ายต่อไป

12.3 รู ปภาพแสดงขั้นตอนการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต และ ปุ๋ ยอะพาไทด์ ปุ๋ ยฟอสเฟตชนิ ด


ละลายช้ า หรือปุ๋ ยสตรูไวท์ (Struvite)

ขั้นตอนที่ 1 : สู บนา้

ขั้นตอนที่ 2 : วัดค่าพีเอส (pH) ของนา้ และเติมปูนขาว

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 12-5


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT012
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบั ดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ขั้นตอนที่ 3 : กวนผสมให้ สารละลายเป็ นเนือ้ เดียวกัน

ขั้นตอนที่ 4 : พักนา้ ทิง้ ไว้..... วัน เพือ่ รอการตกตะกอนของธาตุอาหารที่มปี ระโยชน์ สาหรับพืช

ขั้นตอนที่ 5 : เปิ ดท่ อระบายของถังพักนา้ เพือ่ แยกเอาส่ วนที่เป็ นตะกอนออกมาตากยังลานตาก


ตะกอน

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 12-6


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT012
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบั ดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ขั้นตอนที่ 6 : ตากตะกอนที่ลานตาก จนกว่ าจะแห้ ง ซึ่ งตะกอนที่ไ ด้ มีส่วนผสมของปุ๋ ยแคลเซีย ม


ฟอสเฟต หรือ ปุ๋ ยอะพาไทด์

ขั้นตอนที่ 7 : บรรจุปุ๋ยแคลเซียมฟอสเฟต หรือ ปุ๋ ยอะพาไทด์ ใส่ ลงในถุง เพือ่ นาไปจาหน่ ายต่อไป

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 12-7


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT012
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบั ดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

12.4 ชุดอุปกรณ์ผลิตปุ๋ ยอะพาไทด์ และปุ๋ ยสตรูไวท์

ถังผลิตปุ๋ ย 2,000 ลิตร

ตู้คอนโทรล

ปั๊มสารเคมี

ถังสารละลายกรด-ด่ าง

ถังสารตกตะกอน

รูปที่ 12-1 อุปกรณ์ผลิตปุ๋ ย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 12-8


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT012
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบั ดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางที่ 12-1 ประมาณราคาอุปกรณ์การผลิตปุ๋ ย


ลาดับที่ รายการ จานวน หน่ วย รวม (บาท)
1 ปรับพื้นที่ 1 ครั้ง 1,000
2 เสาเข็ม หกเหลี่ยมกลวง ขนาด 0.15*3.00 เมตร 15 ต้น 3,600
3 ทรายหยาบอัดแน่น 1 ลบ.ม. 450
4 ค่าไม้แบบ (350 ตร.ม.) 1 ชุด 500
5 คอนกรี ต โครงสร้าง 1 ลบ.ม. 2,600
6 เหล็กเสริ ม ขนาด 9 มม. (7 เส้น 10 เมตร) 35 กก. 1,330
7 ตะปู 0.5 กก. 13
8 ลวดผูกเหล็ก 0.3 กก. 15
รวม 9,508
8 ท่อ PVC ขนาด 1/2' 12 ม. 360
9 ท่อ PVC ขนาด 1' 8 ม. 400
10 ท่อ PVC ขนาด 2' 8 ม. 720
11 Ball vale pvc dia ขนาด 1/2" 4 ชุด 840
12 Ball vale pvc dia ขนาด 1" 2 ชุด 700
14 Ball vale pvc dia ขนาด 2" 1 ชุด 490
15 Fitting 1 ชุด 4,464
16 Support+Acc 1 ชุด 1,739
17 ค่าแรงติดตั้ง Tank +Pump 1 ตัว 1,000
18 ค่าขนส่ ง + ค่าดาเนินการ 1 ตัว 1,070
รวม 11,783
19 Reactor Tank 2000 litre 1 ชุด 30,000
20 Support For Tank 1 ชุด 10,620
21 Tank 100 litre 1 ชุด 630
22 Tank 100 litre 1 ชุด 800
23 PH meter 1 ชุด 2,033
24 Submersible pump 1 ชุด 3,690
25 Circulate Pump 1 ชุด 3,210
26 อื่น ๆ 1 ชุด 2,000
รวม 52,983
27 ตู ้ control และระบบไฟฟ้ า และอื่น ๆ 1 ชุด 5,000
28 ค่าติดตั้งตู ้ control +สายไฟ+support 1 ตัว 2,087
รวม 7,087
Total cost 81,360

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 12-9


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT012
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบั ดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

12.5 ข้ อดีของการผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรือปุ๋ ยอะพาไทด์

a. ประโยชน์ ทไี่ ด้ในส่ วนของภาคการเกษตรและสิ่งแวดล้อม

(1) ถือเป็ นวิ ธีก ารน าสารละลายฟอสเฟตที่ ละลายอยู่ใ นน้ ามาใช้ให้เกิ ด ประโยชน์ต่ อการ
เกษตรกรรม
(2) ช่วยลดผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้อม อัน เกิ ดจากการปล่อยน้ าทิ้งที่มีปริ มาณสารอาหารที่ มี
ประโยชน์ต่ อพืชลงสู่แหล่งน้ า และส่ งผลทาให้ว ชั พืชน้ าเจริ ญ เติ บโตอย่างรวดเร็ ว แย่ง
ออกซิเจนที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิตของสัตว์น้ า ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อระบบนิ เวศทางน้ า
โดยตรง คือ ทาให้สตั ว์น้ าตายเป็ นจานวนมาก เนื่ องจากในแหล่งน้ าขาดออกซิเจน ทาให้
เกิดน้ าเน่ าเสี ย และท้ายที่ สุดส่ งผลกระทบมาสู่ประชาชนที่อาศัยและใช้แหล่งน้ าในการ
ดารงชีวิต

b. ประโยชน์ จากการนาปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรือ ปุ๋ ยอะพาไทด์ ไปใช้ โดยตรง


โดยส่วนใหญ่การผลิตปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟตในทางการค้า มักนาหิ นฟอสเฟตมาเป็ น
วัตถุดิบในการผลิตปุ๋ ยเคมีฟอสเฟตในทางอุตสาหกรรม และนามาใช้เป็ นปุ๋ ยโดยตรง แต่การนา
หินฟอสเฟตมาใช้เป็ นปุ๋ ยโดยตรง พบว่า ไม่สามารถปลดปล่อยให้ธาตุฟอสฟอรัส ซึ่งเป็ นธาตุ
อาหารที่มีประโยชน์ต่อพืชได้ กล่าวคือ มีปริ มาณฟอสฟอรัสที่ละลายออกมาและพืชสามารถ
นาไปใช้ได้เพียง 1–2% เท่านั้น ซึ่งไม่เพียงพอกับความต้องการของพืช
ดังนั้นหากสามารถผลิตปุ๋ ยเคมีอินทรี ย ์ ที่มีส่วนประกอบของแคลเซียมฟอสเฟตได้ จะ
เป็ นการช่วยเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของพืช อีกทั้ง ปุ๋ ยแคลเซียมฟอสเฟต หรื อ ปุ๋ ยอะพาไทด์ มี
ศักยภาพเพียงพอที่จะนาไปใช้เป็ นปุ๋ ยเพื่อการเกษตร

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 12-10


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT012
บทที่ 13
คู่มอื วิธีการเพิม่ มูลค่ านา้ ที่ผ่านการบาบัดจากระบบผลิต
ก๊ าซชีวภาพ
โครงการศึกษาการเพิ่มมูลค่าน้าทีผ่ า่ นการบาบัดจากระบบผลิ ตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุกรตามแนวทางเศรษฐกิ จพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บทที่ 13
การจัดทาแผ่นพับ และสื่ อวิดีทัศน์

บริ ษทั ที่ปรึ กษา ได้วางแผนการดาเนินงานจัดทาสื่อวีดีทศั น์ในโครงการศึกษาการเพิ่มมูลค่าน้ าที่


ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มสุกรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเสนอให้ก บั กรม
พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุ รักษ์พลังงาน (พพ.) โดยมีรายละเอียดการดาเนิ นการจัดทาสื่ อวี ดีทศั น์
แบ่งออกเป็ นหัวข้อ ดังนี้

13.1 การจัดทาวิดที ัศน์ แสดงขั้นตอนและผลการดาเนินโครงการ

บริ ษทั ที่ปรึ กษา ได้ดาเนินการคัดเลือกฟาร์มสุกรที่มีศกั ยภาพในการจัดทาสื่ อวีดีทศั น์จานวน 1


แห่ง จากฟาร์มที่เข้าร่ วมโครงการทั้งหมด 4 แห่ง โดยการคัดเลือกฟาร์ มสุ กรสาหรับการถ่ายทาวีดีทศั น์
นั้น บริ ษทั ที่ปรึ กษาได้คดั เลือกตามความเหมาะสมสอดคล้องกับขั้นตอนการดาเนินโครงการภาคสนาม
และการติดตั้งอุปกรณ์สาธิตการผลิตปุ๋ ย โดยฟาร์ มสุ กรที่ได้รับการคัดเลือก คือ ประชาฟาร์ ม จังหวัด
นครปฐม
13.1.1 รูปแบบและแนวทางการจัดทาสื่อวีดีทศั น์

บริ ษทั ที่ปรึ กษา ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในการผลักดันการเพิ่มมูลค่าน้ าทิ้งฯ ในฟาร์ สุกรให้


เกิดประโยชน์สูงสุด จึงได้กาหนดรู ปแบบและแนวทางการจัดทาวีดีทศั น์ โดยนาเสนอหลักการ วิธีการ
ดาเนิ น โครงการ แนวทางการเพิ่มมูลค่ าน้ าฯ รวมถึงความยัง่ ยืนที่ จะเกิด ขึ้ น โดยมีรู ปแบบและแนว
ทางการจัดทาดังนี้
 จัดทาวีดีทศั น์ความยาวไม่นอ้ ยกว่า 30 นาที (เนื้อหาความยาวขึ้นกับความเหมาะสม)
 แสงถึงความเป็ นมาของโครงการ
 แสดงถึงแนวทางในการเพิ่มมูลค่าน้ าฯ จานวน 2 แนวทาง คือ การผลิตปุ๋ ยอะพาไทต์ และการ
ผลิตปุ๋ ยสตรู ไวท์
 การนาเสนอวิธีการผลิตปุ๋ ยในห้องทดลอง และ Animation แสดงวิธีการผลิตปุ๋ ยทั้งสองประเภท
จากอุปกรณ์สาธิต
 บทสัมภาษณ์จากเจ้าของกิจการฟาร์มสุกรที่เข้าร่ วมโครงการ แสดงถึงผลสาเร็ จของโครงการฯ
 รายละเอียดประกอบอื่นๆ เช่น บทสัมภาษณ์เกษตรกรผูใ้ ช้ปุ๋ยอินทรี ยจ์ ากฟาร์มสุกรในการเพิ่ม
ผลผลิต เพื่อส่งเสริ มลักษณะการนาปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีที่ได้จากฟาร์มสุกรไปใช้
 สถานที่ถ่ายทาทุกจุด ที่ได้รับการอนุญาตจากฟาร์มสุกร และห้องทดลอง ก่อนดาเนินการถ่ายทา
บริษัท ทีม เอ็นเนอร์ ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด 13-1
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT013
โครงการศึกษาการเพิ่มมูลค่าน้าทีผ่ า่ นการบาบัดจากระบบผลิ ตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุกรตามแนวทางเศรษฐกิ จพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

13.1.4 เนือ้ หาเสียงบรรยาย และภาพทีใ่ ช้

บริ ษทั ที่ปรึ กษาได้จดั ทา Story Board นาเสนอการถ่ายทาวิดีทศั น์ และขออนุ มตั ิความเห็ นชอบ
จาก พพ. เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2552 ดังมีรูปแบบดังต่อไปนี้

เสียงบรรยาย ภาพที่ใช้
โลโก้ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน หรื อ พพ. ได้ส่งเสริ ม


สนับสนุนให้ฟาร์ มปศุสัตว์มีการติดตั้งระบบบาบัดน้ าเสี ยและผลิตก๊าซชีวภาพ
เพื่อใช้เป็ นพลังงานทดแทนในฟาร์ มและครัวเรื อน ทั้งยังช่วยรักษาคุณภาพ
สิ่ งแวดล้อมจากการจัดการน้ าทิง้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ

น้ าทิ้งที่ออกจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ หากปล่อยทิ้งลงสู่ แหล่งน้ าธรรมชาติ


อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม พพ. จึงได้ดาเนินการ “โครงการศึ กษา
การเพิ่ มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตาม
แนวทางเศรษฐกิ จพอเพี ยง” เพื่อสร้างแรงจูงใจในการผลิตและใช้ก๊าซชีวภาพ
รวมทั้งส่ งเสริ มให้มีการจัดการสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืนต่อไปในอนาคต เป็ น
การนาทรัพยากรไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

พพ. ได้สนับสนุนและส่ งเสริ มให้ฟาร์ มปศุสัตว์ทวั่ ประเทศได้มีการติดตั้ง


ระบบผลิตก๊าซชีวภาพ และสามารถนาก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้ไปใช้เป็ นพลังงาน
ทดแทนในกิจกรรมต่างๆ ภายในฟาร์ ม เช่น ใช้ทดแทนน้ ามันเชื้อเพลิงสาหรับ
พัดลมในเล้า ใช้ทดแทนก๊าซหุงต้มในครัวเรื อน อย่างไรก็ตามน้ าทิ้งที่ผ่านการ
บาบัดแล้วส่ วนใหญ่ยงั ไม่มีการนาไปใช้ประโยชน์อย่างจริ งจัง พพ.จึงมุ่งศึกษา
หาแนวทางในการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผ่านการบาบัดจากระบบก๊าซชีวภาพที่
เหมาะสมและเป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม โดยเริ่ มจากศึกษาลักษณะของน้ าทิง้ ฯ
โดยทาการเก็บตัวอย่างภาคสนามจากฟาร์ มปศุสัตว์ที่เข้าร่ วมโครงการ เพื่อทา
การวิเคราะห์องค์ประกอบ ซึ่ งผลการวิเคราะห์พบว่า น้ าทิ้งที่ออกจากระบบ
ผลิตก๊าซชีวภาพมีธาตุอาหารที่เป็ นประโยชน์ต่อพืชเจือปนอยู่ ได้แก่
ฟอสฟอรั ส ไนโตรเจน โพแทสเซียม แมกนีเซี ยม หากสามารถแยกธาตุอาหาร
เหล่านี้กลับมาใช้ประโยชน์ในรู ปปุ๋ ยทางการเกษตรจะสร้างรายได้และเป็ น

บริษัท ทีม เอ็นเนอร์ ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด 13-2


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT013
โครงการศึกษาการเพิ่มมูลค่าน้าทีผ่ า่ นการบาบัดจากระบบผลิ ตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุกรตามแนวทางเศรษฐกิ จพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ประโยชน์ต่อทั้งเกษตรกรและผูป้ ระกอบการฟาร์ มปศุสัตว์ ซึ่งสามารถสรุปได้


เป็ น 2 แนวทาง คือ แนวทางที่ 1 การผลิตปุ๋ ยแคลเซี ยม-ฟอสเฟต และแนวทาง
ที่ 2 การผลิตปุ๋ ยแมกนีเซี ยม-แอมโมเนียม-ฟอสเฟต

สั มภาษณ์ อาจารย์สุธา ขาวเธี ยร ในการแนะนาภาพรวมของปุ๋ ยทั้งสองที่ ผลิต


ได้

สั มภาษณ์ ตวั อย่ างเกษตรกรที่ ใช้ ปยอิ ุ๋ นทรี ย์จากฟาร์ มสุ กรในการเพาะปลูก

ขัน้ ตอนการนานา้ ที่ ผ่านระบบบาบัดก๊ าซชี วภาพมาผลิตปุ๋ ยแคลเซี ยมฟอสเฟต


และปุ๋ ยแมกนี เซี ยม-แอมโมเนี ยม-ฟอสเฟตในห้ องปฏิ บตั ิการ

1. เริ่ มจากการเก็บตัวอย่ างนา้ ทิ ้งที่ ออกจากระบบบาบัดนา้ เสี ยแบบผลิต


ก๊ าซชี วภาพของฟาร์ มปศุสัตว์ เพื่ อวิเคราะห์ คุณภาพนา้ จากนา้ ทิ ้งฯ 1
ลิตร
2. ทาการปรั บค่ าพี เอชของสารละลายผสม *สาหรั บการผลิตปุ๋ ย
แคลเซี ยมฟอสเฟตจะใช้ สารละลายปูนขาว และสารละลายโซดาไฟ
สาหรั บการผลิตปุ๋ ยแมกนี เซี ยม-แอมโมเนี ยม-ฟอสเฟต
3. กวนสารละลายผสมให้ เข้ ากัน ประมาณ 15 นาที
4. ตัง้ พักสารละลายผสมทิ ้งไว้ ให้ เกิ ดตะกอนผลึก ใช้ เวลาประมาณ 48
ชั่วโมง
5. แยกส่ วนตะกอนผลึกและส่ วนที่ เป็ นสารละลาย
6. หลังจากนั้นจึ งนาส่ วนตะกอนผลึก และสารละลายวิเคราะห์ หา
ปริ มาณปุ๋ ยแคลเซี ยมฟอสเฟต และปุ๋ ยแมกนี เซี ยม-แอมโมเนี ยม-
ฟอสเฟต ที่ เกิ ดขึน้
7. โดยผลการผลิตปุ๋ ยในสองลักษณะในห้ องปฏิ บตั ิการให้ คุณภาพและ
ปริ มาณเป็ นที่ น่าพอใจ
ขั้นตอนการทดลองดังกล่าวคือความรู ้เบื้องต้นสาหรับการออกแบบระบบ
ผลิตปุ๋ ยทั้งสอบประเภทในฟาร์ มปศุสัตว์ต่อไป

บริษัท ทีม เอ็นเนอร์ ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด 13-3


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT013
โครงการศึกษาการเพิ่มมูลค่าน้าทีผ่ า่ นการบาบัดจากระบบผลิ ตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุกรตามแนวทางเศรษฐกิ จพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

1. การผลิตปุ๋ ยแคลเซี ยมฟอสเฟต หรื ออะพาไทต์


หลักการคื อ เป็ นการแยกฟอสเฟตที่ ละลายอยู่ในนา้ ทิ ้งกลับมาอยู่ในรู ปที่ ใช้
ประโยชน์ ได้ โดยการตกตะกอนด้ วยแคลเซี ยม โดยใช้ ปูนขาว ให้ อยู่ในรู ป
สารประกอบแคลเซี ยมฟอสเฟต ปุ๋ ยแคลเซี ยมฟอสเฟตนั้น ------- มีลกั ษณะ
พื้นฐานเหมือนกับปุ๋ ยฟอสฟอรัส สามารถนาไปใช้ได้เหมือนการใช้ปยุ๋
ฟอสฟอรัส ที่ จะสามารถนาไปเป็ นปุ๋ ยละลายช้ ามากที่ ใส่ ให้ กับพื ชเพี ยงปี ละ1-
2 ครั้ ง หรื อ สาหรั บการใช้ เป็ นปุ๋ ยเพื่ อการเตรี ยมดินในการจัดทาแปลงเกษตร
หรื อสวนหย่ อมเพื่ อปลูกไม้ ยืนต้ นหรื อไม้ กระถาง นอกจากนี ้ยงั เป็ นการช่ วย
ลดปั ญหาการปนเปื ้ อนของธาตุอาหารของพื ชในนา้ ทิ ้ง ลงสู่ แหล่ งน้าผิ วดิน

2.การผลิตปุ๋ ยแมกนีเซี ยม แอมโมเนียม ฟอสเฟต หรื อ สตรูไวท์


ปุ๋ ยสตรู ไวท์ เป็ นผลพลอยได้จากจากการกาจัดฟอสฟอรัสที่เจือปนอยูใ่ นน้ า
ด้วยการตกตะกอนผลึกโดยอาศัยการตกตะกอนผลึกของ แมกนีเซี ยม-
แอมโมเนียม-ฟอสเฟต หรื อ สตรู ไวท์ ที่ละลายอยูใ่ นน้ าเสี ย ให้รวมตัวเกิดเป็ น
ผลึกของแข็งและตกตะกอนแยกออกมา ปุ๋ ยสตรู ไวท์ สามารถนาไปใช้เป็ นปุ๋ ย
ละลายช้าในการเกษตรหรื อ หรื อสามารถนาไปเป็ นปุ๋ ยละลายช้ามากที่ใส่
ให้กบั พืชเพียงปี ละ1-2 ครั้ง หรื อ สาหรับการใช้เป็ นปุ๋ ยเพื่อการเตรี ยมดินใน
การจัดทาแปลงเกษตรหรื อสวนหย่อมเพื่อปลูกไม้ยนื ต้นหรื อไม้กระถาง
นอกจากนี้ยงั เป็ นการช่วยลดปัญหาการปนเปื้ อนของธาตุอาหารของพืชในน้ า
ทิ้ง ลงสู่ แหล่งน้ าผิวดิน
ขั้นตอนการผลิตปุ๋ ยอะพาไทต์ และปุ๋ ยสตรูไวท์
ขั้นตอนที่ 1 : สูบน้ าหลังผ่านระบบผลิตก๊าซชีวภาพ จานวน 2 ลูกบาศก์เมตร มาไว้ในถัง
พักน้ า
ขั้นตอนที่ 2 : เติมปูนขาวหากต้องการผลิตปุ๋ ยอะพาไทต์ หรื อเติมโซดาไฟเพื่อผลิ ตปุ๋ ยสตรู
ไวท์ ในอัตราส่ วนที่เหมาะสม
ขั้นตอนที่ 3 : ผสมให้เป็ นเนื้ อเดี ยวกัน วัดค่ ากรด-ด่ างของน้ าและปรั บ ให้ได้ค่าที่ 8-9
โดยใช้ปูนขาว
ขั้นตอนที่ 4 : พักน้ าทิ้งไว้ 2 วัน เพื่อรอการตกตะกอนของปุ๋ ยที่มีประโยชน์สาหรับพืช
ขั้นตอนที่ 5 : เปิ ดท่อระบายของถังพักน้ า เพื่อแยกเอาส่ วนที่เป็ นปุ๋ ยออกมาตากยังลานตาก
ปุ๋ ย
ขั้นตอนที่ 6 : ตากปุ๋ ยที่ ลานตาก จนกว่าจะแห้ง ซึ่ งปุ๋ ยที่ ได้มีส่วนผสมของปุ๋ ยอะพาไทต์
หรื อ ปุ๋ ยสตรู ไวท์ ตามต้องการ
ขั้นตอนที่ 7 : บรรจุปุ๋ยอะพาไทต์ หรื อ ปุ๋ ยสตรู ไวท์ ใส่ ลงในถุง เพื่อนาไปจาหน่ายต่อไป

มูลค่ าปุ๋ ยอะพาไทต์ และปุ๋ ยสตรูไวท์ ที่ผลิตได้


หากพัฒนาระบบผลิตปุ๋ ยอะพาไทต์และปุ๋ ยสตรู ไวท์ จากน้ าที่ผ่านระบบผลิตก๊าซชีวภาพได้
ทั้งหมด ฟาร์มสุ กรขนาดต่างๆ มีศกั ยภาพที่จะผลิตปุ๋ ยได้ดงั นี้ ใช้ระยะการผลิตประมาณ 2
วัน
ฟาร์มสุ กรขนาด 500 ตัว จะสามารถผลิตปุ๋ ยปุ๋ ยอะพาไทต์ได้ 20 กิโลกรัม คิดเป็ นเงิน 800
บาทต่อครั้งการผลิต

บริษัท ทีม เอ็นเนอร์ ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด 13-4


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT013
โครงการศึกษาการเพิ่มมูลค่าน้าทีผ่ า่ นการบาบัดจากระบบผลิ ตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุกรตามแนวทางเศรษฐกิ จพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ฟาร์มสุ กรขนาด 1000 ตัว จะสามารถผลิตปุ๋ ยปุ๋ ยอะพาไทต์ได้ 30 กิโลกรัม คิดเป็ นเงิน
1200 บาทต่อครั้งการผลิต
ฟาร์มสุ กรขนาด 5000 ตัว จะสามารถผลิตปุ๋ ยปุ๋ ยอะพาไทต์ได้ 150 กิโลกรัม คิ ดเป็ นเงิน
6000 บาทต่อครั้งการผลิต
ฟาร์มสุ กรขนาด 500 ตัว จะสามารถผลิตปุ๋ ยสตรู ไวท์ ได้ 10 กิโลกรัม คิดเป็ นเงิน 400
บาทต่อครั้งการผลิต
ฟาร์มสุ กรขนาด 1000 ตัว จะสามารถผลิตปุ๋ ยสตรู ไวท์ ได้ 15 กิโลกรัม คิดเป็ นเงิน 600
บาทต่อครั้งการผลิต
ฟาร์ มสุ กรขนาด 5000 ตัว จะสามารถผลิตปุ๋ ยสตรู ไ วท์ ได้ 75 กิโลกรั ม คิ ด
เป็ นเงิน 3000 บาทต่อครั้งการผลิต
โครงการได้จดั ตั้งแปลงสาธิตสาหรับการผลิตปุ๋ ยทั้งสองประเภท โดยได้รับ
ความร่ วมมือจากประชาฟาร์ ม โดยสามารถอธิบายการผลิตปุ๋ ยทั้งสองประเภท
ได้ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ โดยใช้ก๊าซชีวภาพในฟาร์ มผลิตไฟฟ้ าป้ อนให้
อุปกรณ์ผลิตปุ๋ ย
สั มภาษณ์ ผู้ประกอบการฟาร์ มปศุสัตว์

การมีส่วนร่ วมของชุมชนในการนาแนวทางการเพิ่มมูลค่าน้ าไปใช้ให้เกิด


ประโยชน์จริ ง คือกลไกสาคัญในการดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อมให้กลับคืนสู่ สภาพ
เดิม สะท้อนถึงความสาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนอย่างยัง่ ยืน
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงอย่างแท้จริ ง

โลโก้ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

บริษัท ทีม เอ็นเนอร์ ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด 13-5


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT013
โครงการศึกษาการเพิ่มมูลค่าน้าทีผ่ า่ นการบาบัดจากระบบผลิ ตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุกรตามแนวทางเศรษฐกิ จพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

13.1.7 การบันทึกเทป
บริ ษทั ที่ปรึ กษา ได้จดั ตั้งทีมงานถ่ายทาวีดีทศั น์จานวน 1 ทีม โดยใช้มาตรฐานการถ่ายทาวีดี
ทัศน์ ในรู ปแบบ Digital ลงม้วนเทป Mini DV โดยใช้กล้อง DV-CAM Sony รุ่ น FX-1 และกาหนดแผน
ในการถ่ายทาวีดีทศั น์

13.1.8 การตัดต่อ
หลังจากที่ บริ ษทั ที่ปรึ กษา ได้ทาการถ่ายทาภาพวีดีทศั น์ที่สอดคล้องกับเนื้ อหาเสี ยงบรรยาย
และบทสัมภาษณ์ที่เกี่ยวข้อง ก็จะนาเทป Mini DV ที่ได้ทาการบันทึกในแต่ละส่วนมาทาการ Capture ลง
โปรแกรมเพื่อทาการตัดต่อ เรี ยบเรี ยงเรื่ องราวตาม Script และนาไปเพิ่มเติม Graphic เพื่อให้เกิดความ
น่าสนใจ

13.1.9 การใส่ เสียงพากย์


บริ ษ ัทที่ ปรึ ก ษา จะดาเนิ น การร่ างเนื้ อหาเสี ยงบรรยายเพื่อให้ค ณะกรรมการ พพ. ตรวจสอบ
หลังจากนั้น จะน ามาบัน ทึ ก เสี ย งพากย์ข องนัก พากย์ โดยรู ปแบบการบัน ทึ ก เสี ย งจะบัน ทึ ก ในห้อง
บัน ทึก เสี ยง พร้ อมเสี ยงเพลงดนตรี บรรเลงประกอบในรู ปแบบ Digital File และน ามาประกอบใน
ร่ วมกันในวีดีทศั น์

13.1.10 การจัดส่ งตัวอย่างวีดีทัศน์ ให้ พพ. ตรวจสอบ


หลังจากที่ได้ทาการตัดต่อ ใส่ ภาพ ใส่ เสี ยง ใส่ Affect ประกอบต่างๆ เป็ นที่เรี ยบร้อย บริ ษทั ที่
ปรึ กษา จะดาเนินการจัดส่งชิ้นงานที่ตดั ต่อสาเร็ จ เพื่อเสนอให้กบั คณะกรรมการ พพ. ตรวจสอบรู ปแบบ
การนาเสนอ และความถูกต้องอื่นๆ

13.1.11 รูปแบบสื่อบันทึกข้ อมูลในการจัดส่ งงานสื่อวีดีทัศน์


บริ ษทั ที่ปรึ กษา เล็งเห็นถึงความสะดวกในการใช้งานวีดีทศั น์ ที่ได้จดั ทาขึ้น เพื่อให้ พพ. ได้รับ
ประโยชน์ และความสะดวกในการใช้งานสูงสุด จึงได้จดั ส่งสื่อที่จะบันทึกข้อมูลในรู ปแบบ DVD ความ
ละเอียดสูง

13.2 การจัดทาแผ่นพับประชาสัมพันธ์โครงการ
หลังจากการดาเนินโครงการฯ เสร็ จสิ้น ที่ปรึ กษาจะทาการสรุ ปรายละเอียดการดาเนินการพร้อม
ทั้งข้อมูลเบื้องต้นสาหรับแนวทางการเพิ่มมูลค่าน้ าทิ้งที่ผา่ นระบบก๊าซชีวภาพฟาร์มสุกรทั้งสองแนวทาง
เพื่อจัดทาแผ่นพับสาหรับการประชาสัมพันธ์องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการต่อไป

บริษัท ทีม เอ็นเนอร์ ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด 13-6


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT013
โครงการศึกษาการเพิ่มมูลค่าน้าทีผ่ า่ นการบาบัดจากระบบผลิ ตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุกรตามแนวทางเศรษฐกิ จพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

รูปที่ 13-1 ภาพแผนพับสาหรับการประชาสัมพันธ์โครงการ

บริษัท ทีม เอ็นเนอร์ ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด 13-7


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT013
ภาคผนวก ก.
ภาคผนวก ข.
ภาคผนวก ค.
ภาคผนวก ง.
บทที่ 14
การจัดทาแผ่ นพับ และสื่ อวิดทิ ัศน์
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บทที่ 14
สรุปผลการสั มมนาแถลงผลการดาเนินงาน

ที่ ป รึ กษาได้ด าเนิ น การจัด สัม มนาเผยแพร่ ผลการด าเนิ น งานให้แ ก่ บุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้อ ง
หน่ วยงานของภาครัฐและภาคเอกชน สถาบันการศึก ษาและผูส้ นใจทัว่ ไป ตาม TOR ข้อ 4.12 เพื่อ
นาเสนอผลการศึกษาโครงการและขยายผลการศึกษาการเพิ่มมูลค่าน้ าที่ผ่านการบาบัดจากระบบผลิต
ก๊าซชีวภาพจากฟาร์ มสุ ก ร เพื่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุ ดแก่กลุ่มเป้ าหมาย โดยที่ปรึ ก ษาได้ดาเนิ น การ
ดังต่อไปนี้

14.1 การรับสมัครผู้เข้ าร่ วมสัมมนา


ที่ปรึ ก ษาได้ดาเนิ นรั บสมัค รผูเ้ ข้าร่ ว มสัมมนา มีกลุ่มเป้ าหมายจ านวน 100 คน ทั้งนี้ ปรึ ก ษา
ได้รับความร่ วมมือจาก เกษตรจังหวัดนครปฐมและปศุสัตว์จงั หวัดนครปฐม ในส่ วนของฐานข้อมูล
ผูป้ ระกอบการฟาร์มสุ กรและเกษตรกร โดยที่ปรึ กษาได้ส่งหนังสื อเชิญเข้าร่ วมสัมมนา กาหนดการ
สัมมนาพร้อมแบบตอบรับเข้าร่ วมสัมมนา ตามรายละเอียดในเอกสารดังนี้

14.1.1 หนังสือเชิญเข้าร่ วมโครงการ


14.1.2 กาหนดการสัมมนา
14.1.3 ใบสมัครเข้าร่ วมสัมมนา

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-1


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

14.1.1 หนังสือเชิญเข้าร่ วมสัมมนา

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-2


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

14.1.2 กาหนดการสัมมนา

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-3


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

14.1.3 ใบสมัครเข้าร่ วมสัมมนา

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-4


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

14.2 การจัดเตรียมเอกสารประกอบการสัมมนา
ที่ปรึ กษาได้จดั เตรี ยมเอกสารเพื่อประกอบการสัมมนา ดังนี้
 แผ่นพับเผยแพร่ ผลการดาเนินงานโครงการ
 ขั้นตอนและวิธีการผลิตปุ๋ ย สตรู ไวท์ และปุ๋ ยอะพาไทด์ โดย ดร.อัมพิรา เจริ ญแสง
 แนวทางการพัฒนาโครงการเพื่อประโยชน์ของชุมชน โดย รศ.ดร.สุธา ขาวเธียร
 เอกสารเผยแพร่ ความรู้อื่น ๆ จากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
 แบบประเมินผลการจัดสัมมนา

14.3 การดาเนินการจัดสัมมนา
ที่ปรึ กษาได้ดาเนิ นการจัดสัมมนาขึ้นในวันศุกร์ ที่ 18 กันยายน 2552 ในระหว่างเวลา 08.30-
15.00 น. ณ ห้องศรี สง่า โรงแรมริ เวอร์ จ.นครปฐม โดยมีผเู้ ข้าร่ วมสัมมนาจานวนทั้งสิ้น 106 คน โดย
การสัมมนาประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้
09.30 – 09.45 พิธเี ปิดการสัมมนา
กล่าวรายงานความเป็นมาและวัตถุประสงค์โครงการ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สุธา ขาวเธียร
ผูจ้ ดั การโครงการ
09.45 – 10.00 กล่าวเปิ ดงานสัมมนาแถลงผลการดาเนินงาน
โดย นางจินตนา เหล่าฤชุพงศ์
ผูแ้ ทนจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน
10.00 – 10.30 สรุปผลการดาเนินโครงการ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สุธา ขาวเธียร
10.30 - 10.45 พักรับประทานอาหารว่างพร้อมรับชมวีดที ศั น์
10.45 - 11.45 แนวทางการเพิม่ มูลค่าน้ าทีผ่ า่ นการบาบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ
“ การผลิตปุ๋ยละลายช้า MAP : Magnesium Ammonium Phosphate หรือ
Struvite “ “ การผลิตปุ๋ยละลายช้า HAP : Calcuim Hydroxy Apatite “
โดย ดร.อัมพิรา เจริญแสง
11.45 - 12.00 แนวทางในการพัฒนาโครงการฯ เพื่อประโยชน์ของชุมชน
ถาม – ตอบ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สุธา ขาวเธียร
12.00 - 13.00 รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 –15.00 เยีย่ มชมแปลงสาธิตการผลิตปุ๋ยสตรูไวท์ และ ปุ๋ยอะพาไทด์
ณ ประชาฟาร์ม อ.สามพราน จ.นครปฐม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-5


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

14.4 รายชื่อผู้เข้ าร่ วมสัมมนา

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-6


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-7


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-8


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-9


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-10


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

14.5 สรุปผลการประเมินสัมมนา
เพื่อให้ทราบว่าโครงการสามารถบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการหรื อไม่ ปั ญหาอุปสรรค
ระหว่างการดาเนินโครงการ ข้อเสนอแนะ และแนวทางการแก้ไขปรับปรุ งการจัดงานสัมมนา เพื่อใช้
เป็ นข้อมูลในการปรับปรุ งให้การดาเนินงานในอนาคตมีความสมบูรณ์ยงิ่ ขึ้น
ในการวิเคราะห์ผลการสัมมนา เมื่อทาการรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามทั้งหมดจากผูเ้ ข้าร่ วม
สัมมนามาได้แล้ว ที่ปรึ กษาจะใช้วิธีทางสถิติเพื่อช่วยในการวิเคราะห์เพื่อจะได้ทราบว่าการสัมมนาแต่
ละครั้งบรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้งั ไว้หรื อไม่ มีสิ่งหนึ่งสิ่งใดบกพร่ องหรื อไม่ เพื่อจะได้นาไปแก้ไขในการ
ดาเนินการต่อไป โดยการวิเคราะห์ขอ้ มูลการประเมินได้ใช้การประเมินค่าแบบมาตราส่ วน โดยใช้หลัก
วิธีทางสถิติ ดังนี้

1. อัตราร้อยละ (Percentage)
2. การคานวณหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต (Arithmetic mean)
3. ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)
4. ระดับนัยสาคัญ (Significance level)

ค่าร้ อยละ (Percentage)


อัตราส่วนที่มีฐานเป็ น 100 ซึ่งโดยทัว่ ไปนิยมเสนอข้อมูลเบื้องต้น ด้วยค่าร้อยละ
ค่าร้อยละ = X x 100
N
X คือ ความถี่ของรายการนั้น
N คือ จานวนเต็มหรื อจานวนทั้งหมด

ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean)


ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนที่เก็บรวบรวมได้ท้งั หมดซึ่งเป็ นจุดสมดุลของคะแนนในกลุ่ม
ตัวอย่าง ค่าเฉลี่ยนี้หาได้จากการรวมคะแนนทั้งหมดหารด้วยจานวนตัวอย่าง
X =  fx
N
X คือ ค่าเฉลี่ย
 fx คือ ผลรวมสะสม
N คือ จานวนทั้งหมดของกลุ่มตัวอย่าง
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-11
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

เกณฑ์การวิเคราะห์ขอ้ มูลจากแบบประเมิน จะใช้การวิเคราะห์โดยการให้ค่าน้ าหนักคะแนน


ดังนี้
มากที่สุด น้ าหนักคะแนน เท่ากับ “5”
มาก น้ าหนักคะแนน เท่ากับ “4”
ปานกลาง น้ าหนักคะแนน เท่ากับ “3”
น้อย น้ าหนักคะแนน เท่ากับ “2”
น้อยที่สุด น้ าหนักคะแนน เท่ากับ “1”
แล้วนาข้อมูลมาหาค่าเฉลี่ย ( x )

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)


การกระจายโดยค่ าเฉลี่ยที่ ค ะแนนแต่ ละจ านวนเบนห่ างออกจากค่ าเฉลี่ย ซึ่ งเป็ นการวัด การ
กระจาย ที่นิยมใช้มากที่สุดในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานนี้ใช้เพื่อประกอบการพิจารณา
ว่าลักษณะ ข้อมูลเป็ นอย่างไร มีการกระจายออกจากค่าเฉลี่ยมากน้อยเพียงใด

 fx2  fx2 X
S.D. = หรื อ
N N

S.D. = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
x = ค่าคะแนน
f = จานวนผูต้ อบ
N = จานวนทั้งหมดของกลุ่มตัวอย่าง

ใช้หลักเกณฑ์ Summative scale = ช่วงคะแนน / จานวนช่วง = 4/5 = 0.8 เพือ่ ใช้แปลผลจากค่าเฉลี่ยดังนี้


ค่าเฉลี่ย ระหว่าง 4.21 – 5.00 ความหมายอยูใ่ นระดับ “มากที่สุด”
ค่าเฉลี่ย ระหว่าง 3.41 – 4.20 ความหมายอยูใ่ นระดับ “มาก”
ค่าเฉลี่ย ระหว่าง 2.61 – 3.40 ความหมายอยูใ่ นระดับ “ปานกลาง”
ค่าเฉลี่ย ระหว่าง 1.81 – 2.60 ความหมายอยูใ่ นระดับ “น้อย”
ค่าเฉลี่ย ระหว่าง 1.00 – 1.80 ความหมายอยูใ่ นระดับ “น้อยที่สุด”

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-12


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

สรุปผลการประเมินการสัมมนา
ที่ปรึ กษาได้สรุ ปผลการจัดสัมมนาจากผูเ้ ข้าร่ วมสัมมนา 387 คน สรุ ปได้ว่า ผูเ้ ข้าร่ วมสัมมนามี
ความพึงพอใจในสถานที่จดั สัมมนาอยู่ในระดับ มากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยที่ 4.29 รองลงมาได้แก่ การ
ให้บริ การของเจ้าหน้าที่จดั สัมมา อยู่ในระดับ มาก โดยมีค่ าเฉลี่ยที่ 4.19 และมีค วามพึงพอใจในสิ่ ง
อานวยความสะดวกต่าง ๆ ในระดับ มาก โดยมีค่าเฉลี่ยที่ 4.19
ตารางที่ 14-1 แสดงระดับค่าเฉลีย่ ของการประเมินการจัดสัมมนา

Average Sd
4.29 0.66
4.21 0.60
4.19 0.60
3.96 0.69
4.13 0.66
3.81 0.80
3.87 0.81
4.11 0.68
4.03 0.70
4.11 0.66
4.01 0.77
4.06 0.69

5.00
สถานที่ใ นการจัดงาน

การใหบริการของเจ
้ าหน
้ ้าที่
4.29
4.21 4.19
4.13 4.11 4.11
4.20 4.03 4.01 4.06 สิง่ อานวยความสะดวกต่าง ๆ
3.96
3.87
3.81
วัตถุประสงค์แ ละความเข ้าใจในการ
จัดสัมมนา
ความสะดวกในการลงทะเบีย น
3.40

ระยะเวลาในการจัดงาน

เนื้อหาในการสัมมนามีความเหมาะสม
2.60
การต ้อนรับของเจาหน
้ ้าที่จด
ั งาน

ความรูความเข
้ ้าใจในเรืองการจั
่ ด
สัมมนาเพิม
่ เติม
1.80
ความพึงพอใจจในการเข ้าร่วมสัมมนา

การนาความรูที
้ ่ได ้ไปพั ฒนาในหน่วยงาน

1.00 รวม
1

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-13


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

14.6 ภาพบรรยากาศในงานสัมมนา

ผู้เข้ าสัมมนาลงทะเบียนบริเวณหน้ างาน

คุณจินตนา เหล่าฤชุพงศ์ รศ.ดร.สุ ธา ขาวเธียร


กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ผูจ้ ดั การโครงการ
ประธานในพิธีเปิ ดการสัมมนา กล่าวรายงานความเป็ นมาและวัตถุประสงค์โครงการ

กล่าวรายงานวัตถุประสงค์โครงการ

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-14


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ดร.อัมพิรา เจริ ญแสง คุณจินตนา เหล่าฤชุพงศ์


บรรยายขั้นตอน/วิธีการผลิตปุ๋ ยสตรู ไวท์และปุ๋ ยอะพาไทด์ มอบของที่ระลึกให้แก่ฟาร์ มสุ กรที่เข้าร่ วมโครงการ

ภาพบรรยากาศการสัมมนา

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-15


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

การศึกษาดูงานแปลงสาธิตการผลิตปุ๋ ย ณ ประชาฟาร์ ม อ.สามพราน จ.นครปฐม

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 14-16


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT014
บทที่ 15
สรุ ปผลการสั มมนาแถลงผลการดาเนินงาน
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บทที่ 15
ปัญหา-อุปสรรค
ข้ อเสนอแนะการดาเนินโครงการ

15.1 ปัญหา-อุปสรรคในการดาเนินโครงการ
15.1.1 การติดต่อเพือ่ ให้ เกษตรกรเข้ าร่ วมงานสัมมนา
ปัญหา-อุปสรรค
การติดต่อสื่ อสารเพื่อเชิญเข้าร่ วมงานสัมมนา โดยปกติจะโทรศัพท์และส่ งโทรสารรายละเอียด
วัตถุประสงค์และกาหนดการงานสัมมนา แต่เนื่ องจากเกษตรส่ วนมากไม่มีเครื่ องโทรสารและช่วงเวลา
ทางานของเกษตรกรมักอยูใ่ นไร่ นาหรื อฟาร์ม จึงทาให้เกิดอุปสรรคในการติดต่อ
แนวทางการแก้ไข
ที่ ป รึ กษาแก้ปั ญ หาโดยการขอความร่ วมมื อ จากส านัก งานเกษตรจังหวัด นครปฐม ในการ
ประสานงานกับผูน้ าชุมชน และผูเ้ กี่ยวข้องให้กระจายข้อมูลงานสัมมนาอย่างทัว่ ถึง
ผลที่ได้
สามารถกระจายข้อมูลงานสัมมนาได้อย่างทัว่ ถึง จนมีผเู้ ข้าร่ วมงานสัมมนาเกินกว่าเป้ าหมายที่
กาหนด

15.1.2 การรับรองแนวทางการผลิตปุ๋ ยอินทรีย์เคมีท้งั สองชนิด เพือ่ ให้ สามารถนาไปใช้ ได้ จริง


ปัญหา-อุปสรรค
แนวทางการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีท้งั สองชนิด ผลทดลองที่ได้จากห้องทดลองเป็ นแนวทางเบื้องต้น
ไม่สามารถรับรองได้ว่า จะสามารถผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีและนาไปใช้ได้จริ ง
แนวทางการแก้ไข
ที่ปรึ กษาได้แก้ปัญหาโดยการทาระบบสาธิตในการผลิตปุ๋ ยทั้งสองแนวทาง ณ ประชาฟาร์ ม เพื่อ
ยืนยันว่า น้ าที่ผา่ นระบบผลิตก๊าชชีวภาพสามารถนาไปผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีท้ งั สองแนวทาง สอดคล้องกับ
กระบวนการปฏิบตั ิในห้องทดลอง
ผลที่ได้
สามารถผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีท้งั สองชนิดได้จริ ง และกองปฐพีวิทยา กรมวิชาการเกษตร ยอมรับผล
วิเคราะห์ธาตุอาหารสาหรับพืชว่า ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีที่ผลิตได้ท้งั สองแนวทาง สามารถนาไปใช้ประโยชน์ทาง
การเกษตรได้จริ ง

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 15-1


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT016
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

15.2 ข้ อเสนอแนะการดาเนินโครงการ
15.2.1 ด้ านผลการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์
เนื่องจากปุ๋ ยทั้งสองชนิดเป็ นปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีรูปแบบใหม่ ชึ่งอยูใ่ นขั้นตอนการทดลอง และยังไม่มี
จาหน่ายในประเทศไทย จึงทาให้ตอ้ งใช้ขอ้ มูลอ้างอิงจากต่างประเทศเป็ นหลัก ดังนั้นผลการประเมินความ
คุม้ ค่าทางเศรษฐศาสตร์จึงประกอบด้วยข้อมูลจากสองส่วน คือ ราคาต้นทุนระบบสาธิตการผลิตปุ๋ ยอินทรี ย ์
เคมี (มีมูลค่ าสู งเนื่ องจากเป็ นระบบต้น แบบ) และราคาปุ๋ ยอิน ทรี ย ์เคมีที่ คุ ณ สมบัติ ใ กล้เคี ยง กัน จาก
ต่างประเทศ
แนวทางการพัฒนา
ควรต้องมีการศึกษาเพื่อขยายผลโครงการต่อในอนาคต เนื่องจากโครงการนี้ เป็ นการวิเคราะห์และ
วิจยั (สาหรับโครงการขยายผลต่อจากโครงการนี้) เพื่อให้เกิดความถูกต้องและครบถ้วนสาหรับการพัฒนา
ระบบผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีเชิงธุรกิจต่อไปในอนาคต
15.2.2 ด้ านความมั่นใจของเกษตรกรในการนาปุ๋ ยอินทรีย์เคมีไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ทางการเกษตร
เนื่องจากปุ๋ ยทั้งสองชนิดที่ผลิตได้อยูใ่ นขั้นตอนการทดลอง การรับรองคุณภาพปุ๋ ยที่เหมาะสมทาง
การเกษตร ต้องได้รับความร่ วมมือจากหน่วยงานด้านเกษตรกรรมจากภาครัฐในการทดลองและการรับรอง
การนาไปใช้ทางด้านการเกษตร เช่น กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ชึ่งหน่ วยงาน
ดังกล่าว จะต้องทดลองเพาะปลูก (พืช แต่ ละชนิ ด ต้องใช้ระยะเวลาในการทดสอบไม่ต่ ากว่าหนึ่ งฤดู
เพาะปลูก)
แนวทางการพัฒนา
ดังนั้นการสร้างความมัน่ ใจให้แก่เกษตรกร จึงควรมีขยายผลการทดลองใช้ปุ๋ยอินทรี ยเ์ คมีท้ งั สอง
ชนิดในอนาคต โดยประสานงานกับกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในการนาปุ๋ ยอินทรี ย ์
เคมีท้งั สองชนิดทดลองใช้กบั พืชเศรษฐกิจชนิดต่างๆ

15.2.3 แรงจูงใจในการขยายผลในการทาระบบผลิตปุ๋ ยอินทรีย์เคมีในแต่ละฟาร์ มสุกร


เนื่องจากน้ าที่ผา่ นระบบผลิตก๊าชชีวภาพมีความหลากหลายในปริ มาณธาตุอาหารสาหรับการผลิต
ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี และความคุม้ ทุนทางธุรกิจ (Economy of scale) ยังไม่เกิดขึ้นเนื่องจากขนาดของระบบสาธิต
ในการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีมีศกั ยภาพที่จะผลิตได้ในปริ มาณที่จากัด เช่น
(1) ความคงที่ของความเข้มข้นของธาตุอาหารของพืชในปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีที่ผลิตได้
(2) ผลิต ภัณ ฑ์ปุ๋ยอิน ทรี ยเ์ คมีที่ผลิต ได้มีปริ มาณค่ อนข้างน้อย และระบบใช้เวลานานกว่า 48
ชัว่ โมงในการผลิต
(3) ต้นทุนสูงทางด้านการก่อสร้างระบบและต้นทุนสารเคมีค่อนข้างสูง จึงทาให้การคืนทุนใช้
เวลานาน
บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 15-2
SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT016
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

(4) ระยะเวลาทาให้ปุ๋ยฯ แห้ง ค่อนข้างนาน


แนวทางการพัฒนา
ควรจะมีการบริ หารจัดการในระดับชุมชนเพื่อให้เกิดโรงงานผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีสาหรับชุมชนที่มี
น้ าทิ้งจากระบบผลิตก๊าชชีวภาพในปริ มาณที่เหมาะสม ชึ่งจะทาให้เกิดความคุม้ ทุนทางธุรกิจมากกว่า ดัง
ตัวอย่างในต่างประเทศ (จากรายงานการศึกษาของ Ueno และ Fuji (2001) และ Ueno (2004) ประเทศ
ญี่ปุ่น ได้ ทาการเดินระบบโรงงานบาบัดน้าเสี ยชุมชน) ดังนั้นควรมีการขยายผลของโครงการฯ โดยเน้น
การเพิม่ ประสิทธิภาพให้แก่ระบบผลิตฯ เพื่อพัฒนาระบบให้มีศกั ยภาพชัดเจนขึ้นในรองรับปริ มาณน้ าทิ้ง
ของฟาร์มขนาดต่างๆ รวมถึงการทดลองขยายผลเพื่อลดต้นทุนการผลิตและลดขั้นตอนการผลิต ทั้งนี้ จาก
ข้อมูลการวิจยั ในต่างประเทศพบว่า โรงงานผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีจากน้ าเสียชุมชนสามารถผลิตปุ๋ ยอินทรี ยไ์ ด้
ในปริ มาณสู ง มีค วามคุ ้มทุ น ในการจัด การต้น ทุ น ระบบผลิต ปุ๋ ย และการทาการตลาดผลิต ภัณ ฑ์เพื่อ
ทดแทนปุ๋ ยเคมีอย่างชัดเจน จึงควรที่จะประสานงานในการติดต่อดูงานโรงงานผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมีสาหรับ
ชุมชนในต่างประเทศเพื่อขยายผลการศึกษาต่อไป

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จากัด 15-3


SPK/EGY/RT5205/10P1508/RT016
บทที่ 16
ปัญหา-อุปสรรค และข้ อเสนอแนะการดาเนินโครงการ
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

เอกสารอ้างอิง
Y. Ueno*, M. Fujii (2003), 3 years operating experience selling recovered struvite from full-scale
plant retrived from
L. E. de-Bashan1 and Y. Bashan (2007). Fertilizer potential of phosphorus recovered from wastewater
treatments Developments in Plant and Soil Sciences, First International Meeting on Microbial
Phosphate Solubilization, Volume 102, 179-184
M. R. Gaterell and R. Gar, R. Wilson, R. J. Gochin and J. N. Lester (2000) An economic and
environmental evaluation of the opportunity for substituting phosphorus recovered from wastewater
treatment works in existing UK fertilizer market. Environ. Sci. Technol. 21, 1067-1084

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด


SPK/EGY/RT5204/10P1508
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ผลการทดสอบปุ๋ ยสตรูไวท์

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด


SPK/EGY/RT5204/10P1508
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ผลการทดสอบปุ๋ ยสตรูไวท์ (เพิม่ )

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด


SPK/EGY/RT5204/10P1508
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ผลการทดสอบปุ๋ ยอะพาไทด์

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด


SPK/EGY/RT5204/10P1508
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

ตารางอ้ างอิงทางเศรษฐศาสตร์

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด


SPK/EGY/RT5204/10P1508
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด


SPK/EGY/RT5204/10P1508
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด


SPK/EGY/RT5204/10P1508
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด


SPK/EGY/RT5204/10P1508
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด


SPK/EGY/RT5204/10P1508
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด


SPK/EGY/RT5204/10P1508
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด


SPK/EGY/RT5204/10P1508
โครงการศึ กษาการเพิ่มมูลค่ านา้ ที่ ผ่านการบาบัดจากระบบผลิตก๊ าซชี วภาพฟาร์ มสุ กรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานฉบับสุ ดท้ าย

บริ ษทั ทีม เอ็นเนอร์ยี่ แมเนจเมนท์ จำกัด


SPK/EGY/RT5204/10P1508
เอกสารอ้ างอิง

You might also like