Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

CHEMISTRY : UNIT 2 อะตอมและสมบัติธาตุ ห้องเรียนพิเศษ โรงเรียนนารีนุกูล

ตารางธาตุ periodic table

วิวฒ
ั นาการองการสร้างตาราง
ธาตุ
1. โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ กฎชุดสาม แบ่งธาตุออกเป็นหมู่ หมู่ละ 3 ธาตุ ตามสมบัติที่
คล้ายกัน โดยเรียงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก พบว่ามวลอะตอมของธาตุที่อยู่ตรงกลางจะเป็นค่าเฉลี่ย
ของธาตุตัวบนและตัวล่าง
X มวลอะตอม X + มวลอะตอม Z
Y มวลอะตอมอง
I Y =
2
Z

Li
Na มวลอะตอมอง
=9 =
↓ Na = 23

2. จอห์น นิวแลนด์ กฎออกเทฟ (law of octaves) เรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก


พบว่าธาตุที่ 8 จะมีสมบัติเหมือนกับธาตุที่ 1 เสมอ (ไม่รวมธาตุไฮโดรเจนและแก๊สเฉื่อย) แต่จัดได้ถึง Ca เท่านั้น

Li Be B C N O F
Na Mg Al Si P S Cl
K Ca

3. ยูลอิ ุสโลทาร์ ไมเออร์ และ ดมีตรี อิวาโนวิช เมนเดเลเยฟ กฎพิรอิ อดิก (periodic)
- เรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก
- ธาตุจะมีสมบัติคล้ายกันจัดไว้ในหมู่เดียวกัน
- เว้นช่องว่างเอาไว้สำหรับธาตุที่คิดว่าน่าจะมีแต่ยังไม่มีการค้นพบ

4. เฮนรี โมสลีย์ จัดเรียงธาตุตามเลขอะตอม

ตารางธาตุในปัจจุบนั ปรับปรุงมาจากตารางธาตุของเมนเดเลเยฟ แต่เรียงธาตุตามเลขอะตอม


ครูพิชญาดา/ครูสิทธิศกั ดิ์ 43
CHEMISTRY : UNIT 2 อะตอมและสมบัติธาตุ ห้องเรียนพิเศษ โรงเรียนนารีนุกูล

ตารางธาตุปจั จุบนั

3 45 6IB = IP 2B

แบ่งธาตุในแนวตั้งออกเป็น 18 หมู่ (group) โดยแบ่งเป็นกลุ่ม A และ B อย่างละ 8 หมู่


แนวนอนเรียกว่าคาบ มี 7 คาบ (period)

ธาตุกลุ่ม A คือธาตุ หมู่ IA – VIIIA เรียกธาตุกลุ่มนี้ว่า เรพรีเซนเททีฟ (representative) หรือ ธาตุหมู่


หลัก (main group element)

ธาตุกลุ่ม B คือธาตุที่อยู่ระหว่าง IIA กับ IIIA เริ่มตั้งแต่คาบที่ 4 เรียกว่า ธาตุแทรนซิชัน (transition)


ธาตุกลุ่ม B แบ่งออกเป็น 8 หมู่ เช่นเดียวกัน คือหมู่ IB – VIIIB แต่หมู่ VIIIB จะมี 3 แถว และธาตุกลุ่ม B ยังแบ่งย่อย
ออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มแลนทาไนด์และกลุ่มแอคทิไนด์ เรียกว่าธาตุแทรนซิชันชั้นใน (inner transition element) ซึ่ง
ไม่พบในธรรมชาติแต่เป็นธาตุที่สังเคราะห์ขึ้น
representative

transition

lanthanide series
Inner transition
actinide series

ครูพิชญาดา/ครูสิทธิศกั ดิ์ 44
CHEMISTRY : UNIT 2 อะตอมและสมบัติธาตุ ห้องเรียนพิเศษ โรงเรียนนารีนุกูล

ชือ่ เฉพาะของธาตุบางหมู่

หมู่ธาตุ ชือ่ เฉพาะประจำหมู่


IA alkaline metals
metals = โลหะ
IIA alkaline earth metals nonmetals = อโลหะ
VIIA halogen metalloids = กึ่งโลหะ
VIIIA noble gas/ inert gas
IB coinage metals

การเรียกชือ่ ธาตุตามระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry)

การเรียกชือ่ ธาตุทมี่ ีเลขอะตอมตัง้ แต่ 100 ขึน้ ไป มีหลักการดังนี้

- เขียนชื่อธาตุเรียงลำดับตามระบบตัวเลขเป็นภาษาละติน ดังนี้
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
nil un bi tri quad pent hex sept oct enn
นิล อูน ไบ ไตร ควอด เพนต์ เฮกซ์ เซปต์ ออกต์ เอนน์

- ถ้าพยัญชนะติดกัน 3 ตัวให้ตัดออก 1 ตัว


- ถ้าสระติดกัน 2 ตัดให้ตัดออก 1 ตัว
- ลงท้ายเสียงเป็น – ium
#I houtrixum
Urt
- การเขียนสัญลักษณ์ของธาตุให้ใช้อักษรตัวแรกของจำนวนนับแต่ละตัวมาเขียนเรียงกัน โดยอักษรตัว
แรกเขียนตัวพิมพ์ใหญ่
114
Energo
adire

ครูพิชญาดา/ครูสิทธิศกั ดิ์ 45
CHEMISTRY : UNIT 2 อะตอมและสมบัติธาตุ ห้องเรียนพิเศษ โรงเรียนนารีนุกูล

Exercise

1. จงเขียนชื่อและสัญลักษณ์ของธาตุตอ่ ไปนี้

เลขอะตอม ชือ่ สัญลักษณ์


104 Until quadium Ung
105
Untilpentium Unp
106
109
110
113
118
919 ennunenul v ตา Eve
- -

2. จงบอกเลขอะตอมของธาตุตอ่ ไปนี้
1. Ununpentium ……………………….
115
3. Puh …………………………
516 ~

2. Unnilseptium ……………………….
107 4. Tqo …………………………
348 /

ห ก -- - -
-

125 <
- -

อน อ
12

↳ og ธ 59

spเ uf"adoptissetdispl
เ 25ap353 3355 ad

595 = 125 1

ครูพิชญาดา/ครูสิทธิศกั ดิ์ 46
รี
ย่
บ่
วูลี
รี
ลั
ง้
CHEMISTRY : UNIT 2 อะตอมและสมบัติธาตุ ห้องเรียนพิเศษ โรงเรียนนารีนุกูล

ขนาดอะตอม (atomic size)

การบอกขนาดอะตอมบอกด้วยรัศมีอะตอม (r)

1. รัศมีโลหะ สำหรับอะตอมโลหะในผลึกโลหะ ซึง่ ยึดเหนีย่ วกันด้วยพันธะโลหะ ถ้านำระยะระหว่าง


นิวเคลียสของอะตอมโลหะที่อยู่ใกล้กันมากที่สุดมาหารด้วย 2 จะได้รัศมีอะตอมของโลหะ

metallic bond length

ระยะห่างระหว่างนิวเคลียส
รัศมีโลหะ = nucleus
2

metallic radius

2. รัศมีโควาเลนต์ คือระยะทางครึ่งหนึ่งของความยาวพันธะโควาเลนต์

ความยาวพันธะ 198 pm
รัศมีโควาเลนต์ =
2

Cl Cl
74 pm

H H 99 pm
กรณีอะตอมชนิดเดียวกัน

37 pm

กรณีอะตอมตางชนิดกัน สามารถหารัศมีอะตอมได้เมื่อทราบความยาวพันธะ เช่น CCl4 มี


ความยาวพันธะ C–Cl 176 pm สามารถหารัศมีอะตอมของ C ได้ดังนี้

รัศมีอะตอมของ C = ความยาวพันธะ – รัศมีอะตอมของ Cl


= 176-99
= 77 pm
ครูพิชญาดา/ครูสิทธิศกั ดิ์ 47
CHEMISTRY : UNIT 2 อะตอมและสมบัติธาตุ ห้องเรียนพิเศษ โรงเรียนนารีนุกูล

3. รัศมีแวนเดอร์วาลส์ คือ ระยะทางครึ่งหนึ่งของระยะระหว่างนิวเคลียสของอะตอมที่อยู่ใกล้กันที่สุด


(แก๊สเฉือ่ ย) หรือหาจากโมเลกุล 2 โมเลกุลที่สัมผัสกัน เช่นโมเลกุลของแก๊สไฮโดรเจน 2 โมเลกุล

Ar Ar H
H H H

188 pm 120 pm

- รัศมีโควาเลนต์……………รัศมีแวนเดอร์วาล
เพราะ………………………………………………………………………………………………
- การเปรียบเทียบรัศมีอะตอม (ขนาดอะตอม) จะใช้รัศมีโลหะและรัศมีโควาเลนต์
- กรณีแก๊สเฉื่อย (8A) อะตอมจะอยู่เดี่ยว ๆ เพราะฉะนั้นการวัดรัศมีอะตอมจะวัดรัศมีแวนเดอร์วาล

Example

จากข้อมูลทีก่ ำหนดให้ จงความความพันธะเฉลีย่ C-O ใน CO2

ความยาวพันธะโมเลกุลของโบรมีน (Br2) = X pm
ความยาวพันธะเฉลี่ยของ C-Br ใน CBr4 = Y pm
ความยาวพันธะของโมเลกุลออกซิเจน (O2) = Z pm

ครูพิชญาดา/ครูสิทธิศกั ดิ์ 48
CHEMISTRY : UNIT 2 อะตอมและสมบัติธาตุ ห้องเรียนพิเศษ โรงเรียนนารีนุกูล

สมบัตขิ องธาตุหมู่ A

1. ขนาดอะตอม

ขนาดอะตอม ∝ ระดับชัน้ พลังงาน (n)


1
ขนาดอะตอม ∝
จำนวนโปรตอน

สรุปได้ว่า

- ในหมู่เดียวกัน ขนาดอะตอมจะเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง เนื่องจากระดับพลังงานเพิ่มขึ้น


- ในคาบเดียวกัน ขนาดอะตอมจะเล็กลงจากซ้ายไปขวา

ครูพิชญาดา/ครูสิทธิศกั ดิ์ 49
CHEMISTRY : UNIT 2 อะตอมและสมบัติธาตุ ห้องเรียนพิเศษ โรงเรียนนารีนุกูล

2. ขนาดไอออนบวกและไอออน
ลบ

ขนาดไอออนบวก ขนาดไอออนบวกจะมีขนาดเล็กกว่าขนาดของอะตอมเดิม

เช่น ขนาดของ Na+ < Na

ธาตุชนิดเดียวกันเมื่อเกิดเป็นไอออนบวก ไอออนที่เสีย e– มากที่สุดจะมีขนาดเล็กที่สุด หรือท่องว่า


ยิ่งบวกมาก ยิ่งเล็กมาก

เช่น ...........................................................................................

ขนาดไอออนลบ ขนาดไอออนลบจะมีขนาดใหญ่กว่าขนาดของอะตอมเดิม

เช่น ขนาดของ F– > F

ธาตุชนิดเดียวกันเมื่อเกิดเป็นไอออนลบ ไอออนที่รับ e– มากที่สุดจะมีขนาดใหญ่ที่สุด หรือท่องว่า ยิ่งลบ


มาก ยิ่งใหญ่มาก

เช่น ...........................................................................................

ครูพิชญาดา/ครูสิทธิศกั ดิ์ 50
CHEMISTRY : UNIT 2 อะตอมและสมบัติธาตุ ห้องเรียนพิเศษ โรงเรียนนารีนุกูล

การเปรียบเทียบขนาดไอออน + และ –

- กรณีที่มีจำนวน e– เท่ากัน (isoelectronic ions) ใช้หลัก


ยิ่งบวก ยิง่ เล็ก ยิง่ ลบ ยิง่ ใหญ่
- กรณีจำนวน e– ไม่เท่ากัน ให้พิจารณาที่เลขอะตอม
ถ้าระดับ n มากใหญ่มาก
ถ้า n เท่ากันยึดหลัก ยิง่ บวกมาก ยิง่ เล็กมาก ยิง่ ลบมาก ยิง่ ใหญ่,มาก

ครูพิชญาดา/ครูสิทธิศกั ดิ์ 51

You might also like