Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 51

หน่วยที่ 6

การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ความเป็นมาของการจัดการเรียนรู้
แบบบูรณาการ
“การศึกษาจะต้องพัฒนาผู้เรียนในลักษณะเบ็ดเสร็จ
ในตัว มิใช่พัฒนาเพียงเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือด้านใน
ด้านหนึ่งเท่านั้น” แฮร์บาร์ท (Herbart: 1890) ดิวอี้
(Dewey: 1933)
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

องค์รวม

สภาพจริง หลากหลาย

บูรณาการ

ปฏิบัติจริง ร่วมกัน

ธรรมชาติ
พรบ.2542 สอดคล้องกับ
ครูจัดการเรียนรู้
Learning style
ผู้เรียนสาคัญที่สุด หลากหลาย
ของผู้เรียน
ความหมายของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

การบูรณาการ หมายถึง การทาให้สมบูรณ์ (Integration)


คือ การทาหน่วยย่อยๆ ที่สัมพันธ์กันมาผสมกลมกลืนเป็น
หนึ่งเดียวให้ครบสมบูรณ์ในตัวเอง (พิมพันธ์ เดชะคุปต์
และคณะ, 2550)
การบูรณาการ หมายถึง การนาเอาศาสตร์สาขาวิชาต่างๆ
ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมาผสมผสานเข้าด้วยกัน
(สุวิทย์ มูลคา และคณะ, 2543)
สรุปการบูรณาการ

นาความรู้ไป จัดการเรียนรู้
ใช้ หลากหลาย

ผู้เรียน
เชื่อมโยง
ปรับเปลี่ยน
ศาสตร์ต่างๆ
พฤติกรรม
ความสาคัญของการบูรณาการ
ผู้เรียนเข้าใจความสัมพันธ์ของวิชาต่างๆ กับชีวิตจริง

ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ทม
ี่ ีความหมาย

ผู้เรียนเกิดการถ่ายโอนความรู้สู่ภายนอกห้องเรียน

ลดความซ้าซ้อนของเนื้อหาวิชา

ตอบสนอง Multiple Intelligences ของผู้เรียน

ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
จุดมุ่งหมายของการบูรณาการ

ทุกสิ่งมีความสัมพันธ์ แก้ปัญหาได้ด้วย มีส่วนร่วมในการ


ซึ่งกันและกัน ตนเอง เรียนรู้โดยตรง

ตอบสนองความ เข้าใจความคิดรวบ
เรียนรู้ที่จะทางาน
สนใจของนักเรียนแต่ ยอดที่เรียนได้อย่าง
ร่วมกัน
ละคน ลึกซึ้ง

พัฒนาค่านิยม ส่งเสริมความคิด
คุณธรรม จริยธรรม สร้างสรรค์
ลักษณะของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
1. การบูรณาการระหว่างความรู้และกระบวนการเรียนรู้
2. การบูรณาการระหว่างพัฒนาการทางความรู้และพัฒนาการ
ทางจิตใจ
3. การบูรณาการระหว่างความรู้และการกระทา
4. การบูรณาการระหว่างสิ่งที่เรียนในโรงเรียนกับสิ่งที่อยู่ใน
ชีวิตประจาวัน
5. การบูรณาการระหว่างวิชาต่างๆ
ธารง บัวศรี (2542)
ลักษณะของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (ต่อ)

1. การบูรณาการการเรียนการสอนเชิงเนื้อหาวิชา
1.1 การบูรณาการทั้งหมด (Total Integration)
1.2 การบูรณาการเป็นบางส่วน (Partial Integration)
2. การบูรณาการเรียนการสอนเชิงวิธีการ

เสริมศรี ไชยศร
ประเภทของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

การบูรณาการทางการศึกษา
1. หลักสูตรบูรณาการ (curriculum integration)
2. การบูรณาการการเรียนการสอน (instructional
integration)
ประเภทของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (ต่อ)

การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยใช้กลุ่มสาระ
การเรียนรู้เป็นหลัก
1. การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้
(Intradisciplinary integration)
2. การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระเรียนรู้
(Interdisciplinary integration)
Interdisciplinary integration

infusion

Interdisciplinary parallel
team integration instruction

multidisciplinary
instruction
ข้อควรคานึงในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

1. พิจารณาถึงสาระการเรียนรู้ จุดประสงค์และระดับชั้น
ของผู้เรียน
2. ต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
3. ควรวางแผนจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ควบคู่ไปกับ
การจัดทาโครงสร้างเวลาเรียน
4. ควรให้ครูมีความรู้ความเข้าใจ เห็นถึงประโยชน์และ
ความจาเป็นของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดทาหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ

ตาม แผนภูมิ การจัดทาหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ


หน่วยที่ 7
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม
ประเภทความบกพร่อง 9 ประเภท
1. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น
2. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
3. บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
4. บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย
หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ
5. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
6. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา
7. บุคคลที่มีปัญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์
8. บุคคลออทิสติก
9. บุคคลพิการซ้อน
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวมเป็นการเปิดโอกาส
ให้ เ ด็ ก ที่ มี ค วามต้ อ งการพิ เ ศษหรื อ พิ ก ารได้ เ ข้ า
เรียนรู้สังคมและสิ่งแวดล้อมของชั้นเรียนเด็กปกติ
จุดประสงค์เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกันทางสังคม
เกิดการยอมรับในความเป็นมนุษย์ สร้างความเข้าใจ
และเห็นอกเห็นใจกัน นับเป็นนโยบายการศึกษาที่
สร้างสรรค์ความเป็นคน และความสมบูรณ์ทางสังคม
วิวัฒนาการของการจัดการศึกษา
สาหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การศึกษาปกติ การศึกษาพิเศษ
(Regular (Special
Education) Education)

การเรียนร่วม
(Integrated Education or
Mainstreaming)

การเรียนรวม
(Inclusive
Education)
ความหมายของการเรียนรวม
ภาษาอังกฤษ Inclusive Education มาจากรากศัพท์ภาษา
ลาตินว่า “includo” หมายถึง การรวมเข้าด้วยกัน (Karten)
สรุป การเรียนรวม หมายถึง การจัดการศึกษาให้
เด็กทุกคน ทาให้เด็กที่มีความต้องการพิเศษได้เข้าเรียนใน
โรงเรียนกับเด็กทั่วไปโดยโรงเรียนให้การยอมรับ เอาใจใส่
ให้การช่วยเหลือสนับสนุนในฐานะเป็นสมาชิกคนหนึง่ ของ
โรงเรียนโดยไม่มีการแบ่งแยก เด็กทุกคนจะได้รับ
การศึกษาที่เหมาะสมกับความสามารถ เด็กทุกคนจะได้
เรียนไปกับเพื่อนในสภาพแวดล้อมเดียวกัน
ลักษณะของการเรียนรวม
การจัดการศึกษาพิเศษเรียนร่วม (integrated
education) หมายถึง การจัดให้เด็กและเยาวชนพิการที่
ได้รับการเตรียมความพร้อมก่อนเรียนร่วมกับนักเรียน
ทั่วไปในโรงเรียนปกติ
ลักษณะของการเรียนรวม (ต่อ)
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (inclusive
education) หมายถึง การศึกษาสาหรับทุกคน(education
for all, EFA) โดยรับเด็กและเยาวชนพิการหรือมีความ
บกพร่องเข้ามาเรียนตั้งแต่เริ่มเข้ารับการศึกษากับนักเรียน
ทั่วไปและจัดให้มีบริการตามความต้องการจาเป็นพิเศษของ
แต่ละบุคคล
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม
(Inclusive Education)
หลักการคือ “เด็กเลือกโรงเรียนไม่ใช่โรงเรียนเลือก
เด็ก และเด็กทุกคนควรมีสิทธิจะเรียนรวมกันโดยทาง
โรงเรียนและครูจะต้องเป็นผู้ปรับสภาพแวดล้อม
หลักสูตร การประเมินผล วัตถุประสงค์ ฯลฯ เพื่อครู
และโรงเรียนสามารถจัดการเรียนการสอนเพื่อ
สนองตอบความต้องการของนักเรียนทุกคนและ
เฉพาะบุคคล”
การศึกษาแบบเรียนร่วม
(Integrated Education or Mainstreaming)
การเรียนร่วม หมายถึง การจัดให้เด็กที่มีความ
ต้องการพิเศษและเด็กพิการเข้าไปในระบบการศึกษา
ทั่วไปตามกระบวนการเรียนการสอน หลักสูตรและชั้น
เรียนที่เด็กปกติทั่วไปเรียน เพื่อให้เด็กที่เข้ามาเรียนร่วม
ได้เรียนรู้สังคมและการศึกษาเพื่อปรับตัวได้ ไม่มีการ
ปรับการจัดการศึกษาสิ่งใดเป็นพิเศษ
ถ้านักเรียนสามารถเข้าเรียนร่วมในโรงเรียนปกติได้
จะเชิญให้ผู้ปกครองเข้ามาร่วมมือกับครูในการวางแผนการ
เรียนการสอนให้เหมาะสมกับเด็กเป็นรายบุคคล (Individual
Education Plan, IEP)
จุดประสงค์ของการเรียนรวม
1. เรียนรูส้ ังคม และปรับตัวให้เข้ากับสังคมปกติได้อย่างมี
ความสุขและไม่เป็นปัญหาสังคมในอนาคต
2. สังคมและธรรมชาติการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติจะ
เป็นตัวกระตุ้นเด็กที่มีความต้องการพิเศษหรือพิการให้ฟื้นคืน
สภาพได้มากที่สุด เด็กที่เข้าเรียนร่วมจะเกิดการรับรู้ มีการ
ปรับตัวระหว่างการเรียนร่วม ภาวะนี้เรียกว่าสังคมบาบัด
3. ผลข้างเคียงที่ได้ตามมาคือเด็กปกติได้เรียนรู้และเข้าใจผู้
ร่วมสังคมที่พิการ หรือมีความต้องการพิเศษได้
“Learning to Live Together”
ปรัชญาการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม
มนุษย์เป็นส่วนหนึง่ ของสังคมมีความเป็นอยู่เกี่ยวข้องซึง่ กัน
และกันคนต้องมีเพื่อน เมื่อเล็กก็ต้องการเพื่อนเล่น ในวัยเรียน
ก็ต้องการเพื่อนเรียนเพื่อนเล่น เพื่อนร่วมกิจกรรม โตเป็น
ผู้ใหญ่ต้องการเพื่อนคู่คิด
หลักการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม
1. เริ่มเมื่อเด็กอายุยังน้อย
2. ให้โอกาสครูตัดสินใจเลือกรับเด็กพิเศษเข้ามาเรียนรวม
3. สถานศึกษาต้องมีความพร้อม โดยเฉพาะครู
4. ชี้แจงให้ทุกฝ่ายเข้าใจถึงบทบาท ความรับผิดชอบ
5. มีอุปกรณ์เหมาะสม เพียงพอ
หลักการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (ต่อ)
6. มีแผนการศึกษาสาหรับเด็กเป็นรายบุคคล (Individual Education
Program)
7. ไม่ควรแยกเด็กที่มีความต้องการพิเศษออกจากเด็กปกติ
8. การประเมินผลอย่างสม่าเสมอ
9. ศึกษาข้อบกพร่องของการจัดการเรียนอยู่เสมอ เพื่อปรับปรุงแก้ไข
ยุทธศาสตร์ในการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม

1. ความเท่าเทียมกัน
2. จัดองค์กรให้เอื้อต่อการบรรลุเป้าหมายของการเรียนรวม
3. พัฒนาบุคลากรให้มีเจตคติ ความรู้ ความเข้าใจและ
ความสามารถในการจัดการเรียนรวม
4. จัดให้เด็กทุกคนเรียนในสภาพแวดล้อมที่มีขีดจากัดน้อย
ที่สุด
5. ปรับหลักสูตร ออกแบบการเรียนการสอนและการวัด
ประเมินผล และจัดทา IEP
ยุทธศาสตร์ในการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (ต่อ)

6. เน้นเด็กเป็นศูนย์กลาง
7. จัดให้ความช่วยเหลืออานวยความสะดวก
(Accommodation)
8. จัดระบบเปลี่ยนผ่าน (Transition) สู่การเรียนในระดับสูงขึ้น
หรือประกอบอาชีพ
9. ออกแบบ Universal design เพื่อให้นักเรียนทุกคนเข้าถึง
บริการต่างๆ
ยุทธศาสตร์ในการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (ต่อ)

10. มีทีมงาน/คณะกรรมการที่ร่วมกันแก้ปัญหาและตัดสินใจ
11. สนับสนุนการทางานร่วมกัน โดยมีบุคคลหลายสาขา
วิชาชีพเข้ามาช่วยงาน
12. จัดการศึกษาที่ได้มาตรฐานและมีระบบประกันคุณภาพ
13. จัดให้มีการบริหารสถานศึกษาเรียนรวม โดยใช้ชุมชนเป็น
ฐาน (Community based Inclusive Education)
รูปแบบการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม
1. ชั้นเรียนปกติเต็มวัน
2. ชั้นเรียนปกติเต็มวันและบริการปรึกษาหารือ
3. ชั้นเรียนปกติเต็มวันและบริการครูเดินสอน
4. ชั้นเรียนปกติเต็มวันและบริการสอนเสริม
5. ชั้นเรียนพิเศษและชั้นเรียนปกติ
6. ชั้นเรียนพิเศษในโรงเรียนปกติ
การจัดชั้นเรียน 3 ลักษณะ
ลักษณะที่ 1 ห้องเรียนปกติ
ลักษณะที่ 2 ห้องเรียนบาบัด
ลักษณะ ที่ 3 ห้องเรียนพิเศษ
หน่วยที่ 8
การสร้างบรรยากาศและการจัดการ
ชั้นเรียนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ความหมายของการจัดบรรยากาศ
ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
คือ การจัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกับการเรียนรู้
เพื่อช่วยเสริมให้บรรยากาศเป็นที่น่าสนใจ และจูงใจให้ผู้เรียน
ไม่เบื่อหน่ายต่อการเรียน นอกจากนั้นยังช่วยแก้ปัญหาในการ
ปกครองชั้นและแก้ปัญหาเรื่องวินยั ได้อีกด้วย
จุดมุ่งหมายของการจัดบรรยากาศให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้
1. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
ของผู้เรียน
2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้
3. เพื่อส่งเสริมการอยู่รวมกันในชั้นเรียนให้มีมนุษย์สม
ั พันธ์ที่ดี การเป็นผู้นา
และผู้ตามที่ดี
4. เพื่อให้การสอนของครูผู้สอนบรรลุตามจุดประสงค์ทตี่ ั้งไว้
5. เพื่อส่งเสริมสภาพแวดล้อมให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เรียน
ความสาคัญของการจัดบรรยากาศให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้

การเรียน ระเบียบ
สุขภาพที่ดี
ราบรื่น วินัย

สนใจ สมาชิกที่ดี
เจตคติที่ดี
บทเรียน ของสังคม
บรรยากาศที่พึงปรารถนาที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้

Challenge Freedom Respect


บรรยากาศที่พึงปรารถนาที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ (ต่อ)

Warmth Control Success


อิทธิพลของบรรยากาศต่อการเรียนรู้
บรรยากาศที่ดีจะช่วยสนับสนุนให้ผู้เรียนได้เต็ม
ความสามารถ และส่งเสริมความร่วมมือระหว่างครูผู้สอน
และผู้เรียน และระหว่างผู้เรียนด้วยกัน จะช่วยให้ผู้เรียนมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง มีความสามารถในการแก้ปัญหา
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีเจตคติที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
ประเภทของบรรยากาศในชั้นเรียน
1. บรรยากาศทางกายภาพ (Physical Atmosphere)
1.1 การจัดโต๊ะเรียนและเก้าอี้ของผู้เรียน
1.2 การจัดโต๊ะครูผู้สอน
1.3 การจัดป้ายนิเทศ
1.4 การจัดสภาพห้องเรียน
1.5 การจัดมุมต่างๆ ในห้องเรียน
ประเภทของบรรยากาศในชั้นเรียน (ต่อ)
2. บรรยากาศทางจิตวิทยา (Psychological Atmosphere)
2.1 บุคลิกภาพของครูผู้สอน
2.2 พฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน
2.3 เทคนิคการปกครองชั้นเรียนของครูผู้สอน
2.4. ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน
แนวทางจัดการบรรยากาศในชั้นเรียน
1. ปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียนเกิดขึ้นได้ทั้งระหว่างครูผู้สอนและผู้เรียน
2. ใช้วธิ ีการสอนที่หลากหลายและเน้นกิจกรรมกลุ่ม
การบริหารจัดการชั้นเรียนให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้
หลักการบริหารจัดการชั้นเรียน
1. ยืดหยุ่น
2. สร้างเสริมความรู้ทุกด้าน
3. สภาพแวดล้อมที่ดี
4. เสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดีงาม
5. ความเป็นระเบียบ
6. สร้างเสริมประชาธิปไตย
7. เอื้อต่อหลักสูตร
ลักษณะของชั้นเรียนที่ดี

เอื้อต่อการ อิสรเสรี
สีสันที่น่าดู
เรียน ภาพ

มีความ
คุ้มค่า อบอุ่น
พร้อม
รูปแบบการบริหารจัดการชั้นเรียน
1. ชั้นเรียนแบบธรรมดา
โต๊ะเรียนของผู้เรียนอาจเป็นโต๊ะเดี่ยวหรือโต๊ะคู่ก็ได้ ผู้สอนจะ
เป็นผู้รอบรู้ในด้านต่างๆ (ไม่เอื้อต่อการสอนตามหลักสูตรใหม่)
2. ชั้นเรียนแบบนวัตกรรม
โต๊ะครูผู้สอนไม่จาเป็นต้องอยู่หน้าชั้น ผู้สอนจะเป็นผู้กากับ
และแนะแนวเอื้ออานวยต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้
เทคนิควิธีสอนใหม่ๆ

You might also like