ข้อสอบมาตรฐานชั้นปีวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษา ป.5

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 27

ตารางวิเคราะห์ ข้อสอบมาตรฐานชั้นปี วิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้ ภาษา) ชุ ดที่ 1

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5

มฐ.
มฐ. ท. 1.1 มฐ. ท 2.1 มฐ. ท 3.1 มฐ. ท 4.1 ท
ข้ อ
5.1
1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 4
1 P
2 P
3 P
4 P
5 P
6 P
7 P
8 P
9 P
10 P
11 P
12 P
13 P
14 P
15 P
16 P
17 P
18 P
19 P
20 P
21 P
22 P
23 P
24 P
25 P
26 P
27 P
28 P
29 P
30 P

ตารางวิเคราะห์ ข้อสอบมาตรฐานชั้นปี วิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้ ภาษา) ชุ ดที่ 1


ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 (ต่ อ)

ข้ อ มฐ. ท. 1.1 มฐ. ท 2.1 มฐ. ท 3.1 มฐ. ท 4.1 มฐ.


1
5.1
1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 4
31 P
32 P
33 P
34 P
35 P
36 P
37 P
38 P
39 P
40 P
41 P
42 P
43 P
44 P
45 P
46 P
47 P
48 P
49 P
50 P

ข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุ ดที่ 1 กลุ่มสาระภาษาไทย


วิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้ ภาษา) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 จำนวน 50 ข้ อ

ให้ กาเครื่องหมาย  ทับตัวอักษรหน้ าคำตอบที่ถูกต้ อง


ข้ อ 1. - 3. คำที่กำหนดให้ อ่านว่า
1. อย่
จันาทรา
งไร
ก. จัน - ทะ - รา ข. จัน - ซา
ค. จัน - ทรา ง. จัน - ทา

2
2. แถลง
ก. แถ - ลง ข. ถะ - แหลง
ค. ถะ - แลง ง. แถง
3. กษัตริย์
ก. กะ - สัด ข. กะ - สัด - ตริ
ค. กะ- สัด - ตะ - ริ ง. กะ - สัด - ตระ
4. เวลา 10.00 น. อ่านว่าอย่างไร
ก. เว - ลา - สิ บ - จุด - สูน - สูน - นา - ลิ - กา
ข. เว - ลา - สิ บ - จุด - สูน -สูน - นอ
ค. เว - ลา - สิ บ - นา - ที
ง. เว - ลา - สิ บ - นา - ลิ - กา
5. ข้อใดเว้นจังหวะวรรคตอนในการอ่านกลอนสุ ภาพไม่ ถูกต้ อง
ก. แม้นเป็ นไม้ / ให้พี่ / นี้เป็ นนก
ข. ได้เกาะกก / กิ่งไม้ / อยูไ่ พรสัณฑ์
ค. แม้นเป็ นนารี / ผล / วิมลจันทร์
ง. ขอให้ฉนั / เป็ นพระยา / วิชาธร
6. ข้อใดแบ่งวรรคตอนในการอ่านร้อยแก้วได้ถูกต้อง
ก. การศึกษาความเป็ นมา / ของชนชาติไทยทำให้ / เราเกิดความภาคภูมิใจในบรรพบุรุษ / ของไทย
ข. สถานที่ต่างๆ ที่คนในสมัยก่อน / ได้ร่วมกันก่อสร้างไว้บน / แผ่นดินไทยเป็ นเวลานาน
ค. ในท้องถิ่นแต่ละแห่ง / จะมีศาสนาเป็ นที่ยดึ เหนี่ยวทาง / จิตใจของคน / ในชุมชน
ง. พระมหากษัตริ ยไ์ ทย / ทรงเป็ นศูนย์รวมจิตใจของคนในชาติ

7. “ลมแล้งหอบไอแล้งมาล้อมฟ้ า แดดสาดแสงร้ อนจ้ ามาแผดเผา” จากโวหารนี้ ตรงกับฤดูกาลใด


ก. ฤดูร้อน ข. ฤดูใบไม้ผลิ
ค. ฤดูใบไม้ร่วง ง. ฤดูหนาว
8. “นทีไม่ ได้ มาโรงเรียน เขานอนคางเหลืองอยู่ที่บ้าน” สำนวน คางเหลือง ในประโยคนี้ มีความหมาย
ว่าอย่างไร
ก. นอนพักผ่อนอย่างสบายใจ
ข. ป่ วยหนักจนแทบเสี ยชีวิต
ค. คางเปื้ อนสี เหลืองล้างไม่ออก
ง. ต่อมน้ำลายบริ เวณใต้หูอกั เสบและบวม
9. คำว่า “กล้วย” จากข้อความใด มีความหมายว่า “ง่ ายมาก”
ก. เรื่ องกล้วยๆ
ข. กล้วยเชื่อม
ค. ลิงกินกล้วย
ง. ตัดกล้วย

3
อ่ านข้ อความที่กำหนด แล้วตอบคำถามข้ อ 10. -
12.
คนที่รักคุณพ่อคุณแม่ตอ้ งทำให้คุณพ่อคุณแม่สบายใจ จะทำอะไร จะพูดอะไร
จะไป
ที่ไหน จะเกี่ยวข้องกับใคร ก็ตอ้ งนึกไว้เสมอว่า เรื่ องนี้จะทำให้คุณพ่อคุณแม่ของเรา
เดือดเนื้อร้อนใจหรื อไม่ ถ้าเรื่ องอันใดที่เราทำลงไปแล้ว ทำให้คุณพ่อคุณแม่เดือดเนื้อ
ร้อนใจ เราไม่ควรทำเรื่ องนั้น ถ้าเราขืนทำเรื่ องนั้นไป เราก็ไม่เป็ นลูกที่สมบูรณ์ ไม่เป็ นลูก
ที่รักคุณพ่อคุณแม่
พระเทพวิสุทธิ เมธี (ปั ญญานันท
ภิกขุ)
10. ลูกที่สมบูรณ์ คือลูกที่ปฏิบตั ิอย่างไร
ก. ไปเที่ยวห้างสรรพสิ นค้าบ่อยๆ
ข. มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
ค. ตั้งใจเล่าเรี ยนหนังสื อ
ง. คบเพื่อนมาก
11. จากข้อความนี้ ผูใ้ ดควรปฏิบตั ิตามมากที่สุด
ก. พ่อแม่ ข. ลูก
ค. นักเรี ยน ง. ญาติผใู ้ หญ่
12. จากข้อความ ผูเ้ ขียนต้องการให้ผอู้ ่านปฏิบตั ิอย่างไร
ก. ดูแลพ่อแม่ยามแก่เฒ่า
ข. หาความสุ ขมาให้พอ่ แม่
ค. คอยรับใช้พอ่ แม่ตลอดเวลา
ง. ประพฤติดีให้พอ่ แม่สบายใจ
13. ข้อใดไม่ ใช่ ประโยชน์ของการอ่านฉลากยา หรื อเอกสารกำกับยา
ก. ทำให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง
ข. ใช้ยาได้ถูกต้องและปลอดภัย
ค. ทำให้ทราบข้อควรปฏิบตั ิในการใช้ยา
ง. ทราบวัน เดือน ปี ที่ผลิตยา และวันหมดอายุของยา
14. มิ้นต้องการอ่านเพื่อความเพลิดเพลิน มิ้นควรเลือกอ่านงานในข้อใด
ก. ป้ ายโฆษณา ข. พจนานุกรม
ค. เอกสารทางราชการ ง. เรื่ องสั้น
15. ใครมีมารยาทในการอ่าน
ก. อิ๋วพับมุมหนังสื อเพื่อที่เวลาอ่านครั้งต่อไปจะได้ทราบว่าอ่านถึงไหน
ข. อ้อมอ่านหนังสื อในใจในห้องสมุด
ค. โออ่านหนังสื อไปพลาง รับประทานอาหารไปพลาง
ง. แอ้ยนื่ ศีรษะเข้าไปอ่านหนังสื อที่เพื่อนกำลังอ่านอยู่

4
16. ข้อใดไม่ ควรปฏิบตั ิในการคัดลายมือ
ก. เขียนเส้นตัวอักษรหนักเท่ากันทุกตัว
ข. เขียนเว้นช่องไฟให้เท่ากันสม่ำเสมอ
ค. เขียนตัวอักษรเรี ยงจากเล็กไปหาใหญ่
ง. ขีดฆ่าคำที่เขียนผิด แล้วเขียนคำนั้นใหม่
17. การเขียนบัตรอวยพร สิ่ งใดไม่ จำเป็ นต้องเขียน
ก. ที่อยูข่ องผูเ้ ขียน
ข. ชื่อผูเ้ ขียน และชื่อผูร้ ับ
ค. โอกาสในการเขียนอวยพร
ง. ข้อความที่แสดงความยินดี

18. ข้อใดเป็ นประโยชน์ที่ได้รับจากการเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง


ก. จับใจความสำคัญของเรื่ องได้
ข. สามารถแสดงความคิดเห็นได้
ค. ทำให้เนื้อเรื่ องมีความสมบูรณ์
ง. ทำให้เรื่ องมีรายละเอียดมากขึ้น
19. ใครปฏิบตั ิตนในการเขียนย่อความไม่ ถูกต้ อง
ก. หญิงบันทึกใจความสำคัญก่อน จึงนำมาเขียนเรี ยบเรี ยงด้วยสำนวนตัวเอง
ข. แก้มอ่านเรื่ องที่จะย่ออย่างน้อย 2 ครั้ง แล้วจึงบันทึกใจความสำคัญ
ค. จอยเขียนย่อนิทานตามรู ปแบบการย่อนิทาน
ง. กุ๊กใช้อกั ษรย่อเพราะจะได้ไม่ตอ้ งเขียนคำยาวๆ
20. การเขียนจดหมายถึงแม่ ควรใช้ค ำขึ้นต้นว่าอย่างไร
ก. สวัสดีครับคุณแม่ที่นบั ถือ
ข. กราบเท้าคุณแม่ที่น่ารัก
ค. กราบเท้าคุณแม่ที่เคารพ
ง. คุณแม่ที่รัก
21. ข้อใดไม่ ใช่ ประโยชน์ของการเขียนแสดงความรู ้สึก
ก. ทำให้คนที่เรารักรับรู้ได้
ข. แสดงความรู้สึกนึกคิด
ค. ฝึ กเขียนให้สวยงาม
ง. รู ้ถึงจิตใจของคน
22. ใครปฏิบตั ิตนไม่ เหมาะสมในการกรอกแบบรายการ
ก. น้อยลงชื่อทุกครั้ง
ข. นุ่นใช้ภาษากระชับ ชัดเจน

5
ค. แนนกรอกรายการให้ครบทุกช่อง
ง. นิดใช้อกั ษรย่อทุกช่องเพื่อประหยัดเวลา
23. ใครเขียนเรื่ องตามจินตนาการ
ก. ต่อเขียนรายงานส่ งครู
ข. เต้เขียนจดหมายลาครู
ค. ติ๋วเขียนนิทานตามความคิดของตนเอง
ง. ตู๋คดั ลอกบทกลอนที่ชอบลงในสมุด

24. การปฏิบตั ิในข้อใดจัดว่าไม่ มีมารยาทในการเขียน


ก. เขียนด้วยลายมือที่สวยงาม
ข. เขียนประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
ค. ลบคำที่เขียนผิดให้สะอาดแล้วจึงเขียนใหม่
ง. คัดลอกงานของผูอ้ ื่นมาเป็ นงานของตนเอง
25. ถ้าเพื่อนพูดแสดงความคิดเห็นแล้วนักเรี ยนไม่เห็นด้วย ควรพูดว่าอย่างไร
ก. ฉันว่ามันไม่เข้าท่าเลย ควรทำแบบนี้ดีกว่า
ข. ตามที่เธอพูดมาก็น่าสนใจนะ แต่ฉนั คิดว่า…
ค. ฉันไม่เห็นด้วยกับเธอเลยซักนิด
ง. ฉันว่าเธอคิดผิดนะ คิดใหม่ดีกว่า
ฟังครู อ่านเรื่องที่กำหนด แล้วตอบคำถามข้ อ 26. -
27.
26. เหตุใดนกน้ำจึงสามารถลอยตัวอยูบ่ นผิวน้ำได้นานๆ
ก. เพราะมีนิ้วเท้าเป็ นพังผืด
ข. เพราะมีน ้ำหนักตัวเบา
ค. เพราะมีถุงลมขนาดใหญ่ในร่ างกาย
ง. เพราะมีความสามารถในการว่ายน้ำ
27. จากเรื่ องที่ฟัง สัตว์ปีกชนิดใดไม่ ใช่ นกน้ำ
ก. นกกระยาง ข. นกอีลุม้
ค. หงส์ ง. นกนางนวล
28. ข้อใดไม่ ใช่ แนวทางวิเคราะห์เรื่ องที่ฟังและดู
ก. วิเคราะห์แนวคิดของเรื่ อง
ข. วิเคราะห์คุณค่าทางสังคมของเรื่ อง
ค. วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของเรื่ อง
ง. วิเคราะห์แนวทางการแต่งเรื่ อง
29. ใครพูดรายงานได้เหมาะสม
ก. ทินใช้เวลาพูดนานเป็ นพิเศษ
ข. เก๋ มีสื่อประกอบการพูดรายงาน

6
ค. กมลไม่เปิ ดโอกาสให้ผฟู้ ังซักถาม
ง. จ้อยพูดด้วยน้ำเสี ยงราบเรี ยบอยูต่ ลอด

30. ใครปฏิบตั ิตนในการดูละครเวทีไม่ เหมาะสม


ก. นิวปรบมือเมื่อละครจบ
ข. นัดนำสัตว์เลี้ยงมาดูดว้ ย
ค. หนิงดูละครอย่างตั้งใจตั้งแต่ตน้ จนจบ
ง. หน่อยกล่าวขอโทษเมื่อเดินผ่านผูท้ ี่ชมละครอยู่
31. ข้อใดควรปฏิบตั ิขณะฟังวิทยากรบรรยายความรู ้
ก. เลือกฟังเฉพาะเรื่ องที่สนใจ
ข. นำขนมมากิน เพื่อจะได้ไม่ง่วง
ค. คุยกับเพื่อนเบาๆ เพื่อจะได้ไม่เบื่อ
ง. จดบันทึกใจความสำคัญของเรื่ องที่ฟัง
32. ประโยคใดมีค ำบุพบทบอกเวลา
ก. รถวิ่งอยูบ่ นถนน
ข. ฉันตั้งใจทำความดีในวันเกิด
ค. ผลไม้น้ ีซ้ื อมาตั้งแต่กลางวันแล้ว
ง. เขาขยันอ่านหนังสื อเพื่อให้สอบผ่าน
33. “_______เธอขยัน________สอบได้ คะแนนดี” ควรเติมคำสันธานในข้อใด
ก. แม้...เพื่อ ข. ถึง...แต่
ค. เพราะ...จน ง. เพราะ...จึง
34. ข้อความใดไม่ มีค ำอุทานเสริ มบท
ก. เข้ามากินน้ำกินท่าเสี ยก่อนสิ
ข. รี บๆ ทำเข้า มัวแต่นงั่ เศร้าโศกอยูน่ นั่ แหละ
ค. เธอจะร้องห่มร้องไห้ท ำไมให้เสี ยเวลา
ง. คุณควรเข้าวัดเข้าวาเสี ยบ้างนะ จิตใจจะได้ไม่ฟงซ่ ุ้ าน
35. “นักเรียนทูลเกล้าฯ ถวายช่ อดอกไม้ ...สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี”
ควรเติมคำใดลงในช่องว่าง
ก. แด่ ข. แก่
ค. เพื่อ ง. ให้

อ่ านประโยคที่กำหนด แล้วตอบคำถามข้ อ 36. -


37.

7
“พ่ อของสันติปลูกผักซึ่งเป็ นพันธุ์ด”ี
36. ข้อใดคือส่ วนขยายกรรม
ก. ของสันติ ข. ซึ่ ง
ค. ผัก ง. ซึ่ งเป็ นพันธุ์ดี
37. ข้อใดคือส่ วนขยายประธาน
ก. ของสันติ ข. ปลูกผัก
ค. พ่อ ง. พันธุ์ดี
38. ข้อใดไม่ ใช่ ประโยค 2 ส่ วน
ก. ฝนตกหนักมาก
ข. นิดหัวเราะเสี ยงดัง
ค. ลิงปี นต้นมะพร้าว
ง. น้องว่ายน้ำอย่างสนุกสนาน
39. ภาษาถิ่นอีสานในข้อใดมีความหมายตรงกับคำว่า มะละกอ
ก. บักอึด ข. บักหุ่ง
ค. บักนัด ง. บักสี ดา
40. ภาษาถิ่นในข้อใดมีความหมายแตกต่างจากคำว่า อร่ อย
ก. ลำ ข. แซบ
ค. ม่วน ง. หรอย
41. “อีแม่ไปกาด” มีความหมายว่าอย่างไร
ก. คุณแม่ไปตลาด ข. คุณแม่ไปซื้ อผักกาด
ค. คุณแม่ไปเที่ยว ง. คุณแม่ไปซื้ อสับปะรด
42. ข้อใดคือความหมายของคำราชาศัพท์วา่ เสวย
ก. นัง่ ข. นอน
ค. ยืน ง. กิน
43. “พีข่ ับรถวนเวียนไปมา ทำให้ ฉันมึนหัวจนอยากอ้ วก” จากข้อความ ควรใช้ค ำสุ ภาพแทนคำว่า
หัว และ อ้วก ตามข้อใด
ก. ศีรษะ / คายอาหาร ข. สมอง / ขย้อน
ค. ศีรษะ / อาเจียน ง. กะโหลกศีรษะ / บ้วนอาหาร

44. คำใดเป็ นคำที่มาจากภาษาจีน


ก. พรรษา ข. กวยจับ๊
ค. กาแฟ ง. บันเทิง
45. “บัณฑิตใหม่ หน้ าใสปิ๊ ง” จากข้อความ คำใดเป็ นคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ก. บัณฑิต ข. ใหม่
ค. หน้า ง. ปิ๊ ง
46. “ดอกไม้ ที่แสนสวย กลิน่ ______หอมชื่นใจ” ควรเติมคำใดลงในช่องว่าง จึงเหมาะสม

8
ก. ร่ำรวย ข. ระทวย
ค. สลวย ง. ระรวย
47. “พูดไม่ ออกเหมือน__________” ควรเติมสำนวนใด
ก. น้ำท่วมทุ่ง
ข. น้ำท่วมบ้าน
ค. น้ำท่วมปาก
ง. เป่ าสาก
48. ข้อใดมีความหมายใกล้เคียงกับสำนวน “นกสองหัว”
ก. ตีหลายหน้า ข. จับปลาสองมือ
ค. จับแพะชนแกะ ง. เหยียบเรื อสองแคม
อ่านบทอาขยานที่ก ำหนด แล้วตอบคำถามข้อ 49. -
50.
ผู้ร้ ู ดเี ป็ นผู้เจริญ
มวลผูช้ ูปรี ชา เสาะวิทยาไม่ห่างเหิน
ผิดชอบกอบไม่เกิน รู ้ด ำเนินตามเหตุผล
ชื่อว่าปรี ชาดี ผิดชอบมีพิจารณ์ยล
ผูน้ ้ นั จักพลันดล พิพฒั น์พน้ จักพรรณนา
ควรเราผูเ้ ยาว์วยั จงใฝ่ ใจการศึกษา
อบรมบ่มวิทยา ปรุ งปรี ชาให้เชี่ยวชาญ
ขั้นนี้จกั ชี้วา่ มีปัญญาไม่สมฐาน
ต้องหัดดัดสันดาน กอบวิจารณ์ใช้ปัญญา
พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ)

49. ใครปฏิบตั ิตนตรงกับบทอาขยาน


ก. อ้วนช่วยสอนการบ้านให้เพื่อน
ข. นุชขยันอ่านหนังสื อต่างๆ
ค. โอ๋ ปรับปรุ งนิสยั ของตนเอง
ง. นิ้งทำบุญตักบาตรอยูเ่ สมอ
50. บทอาขยานนี้ มีสาระสำคัญอย่างไร
ก. ควรยกย่องเชิดชูผทู้ ี่มีความรู้
ข. คนฉลาดย่อมสามารถคิดตัดสิ นเรื่ องต่างๆ ได้ดี
ค. การแสวงหาวิชาความรู้ ทำให้เราเป็ นคนมีความรับผิดชอบ
ง. การแสวงหาวิชาความรู้ ทำให้เรามีความรู ้และเจริ ญก้าวหน้า

9
....

ตารางวิเคราะห์ ข้อสอบมาตรฐานชั้นปี วิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้ ภาษา) ชุ ดที่ 2


ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5

มฐ.
มฐ. ท. 1.1 มฐ. ท 2.1 มฐ. ท 3.1 มฐ. ท 4.1 ท
ข้ อ
5.1
1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 4
1 P
2 P
3 P
4 P
5 P
6 P
7 P
8 P
9 P
10 P
11 P
12 P
13 P

10
14 P
15 P
16 P
17 P
18 P
19 P
20 P
21 P
22 P
23 P
24 P
25 P
26 P
27 P
28 P
29 P
30 P

ตารางวิเคราะห์ ข้อสอบมาตรฐานชั้นปี วิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้ ภาษา) ชุ ดที่ 2


ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 (ต่ อ)

มฐ.
มฐ. ท. 1.1 มฐ. ท 2.1 มฐ. ท 3.1 มฐ. ท 4.1 ท
ข้ อ
5.1
1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 4
31 P
32 P
33 P
34 P
35 P
36 P
37 P
38 P
39 P
40 P
41 P
42 P
43 P
44 P
45 P
46 P
47 P
48 P
49 P

11
50 P

ข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุ ดที่ 2 กลุ่มสาระภาษาไทย


วิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้ ภาษา) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 จำนวน 50 ข้ อ

ให้ กาเครื่องหมาย  ทับตัวอักษรหน้ าคำตอบที่ถูกต้ อง


1. ประโยคใดมีค ำควบกล้ำแท้
ก. อันที่จริ งแล้ว เธอนัน่ แหละคือขโมย
ข. ฉันจะยกทรัพย์สินที่มีอยูใ่ ห้กบั เธอ
ค. หัวหน้าทราบเรื่ องราวของมารุ ตแล้ว
ง. เขาประสบอุบตั ิเหตุจนเป็ นเจ้าชายนิทรา
2. ข้อใดไม่ ใช่ อกั ษรนำทั้งหมด
ก. สละสลวย สวิง สลาก ข. สร้าง สลัว เสร็ จ
ค. สรุ ป สว่าง สลึง ง. สลับ สลด สลบ

ข้อ 3. - 5. ข้อใดอ่านไม่ ถูก


ต้ อง
3. ก. ปาฏิหาริ ย ์ อ่านว่า ปา - ติ - หา - ริ
ข. โทรศัพท์ อ่านว่า โท - ระ - สับ
ค. กรรมพันธุ์ อ่านว่า กำ - มะ - พัน
ง. พระลักษมณ์ อ่านว่า พระ - ลัก
4. ก. โทร. 034 - 511272 อ่านว่า โทร - สู น - สาม - สี่ - ห้า - หนึ่ง - หนึ่ง - สอง - เจ็ด - สอง
ข. พ.ศ. 2554 อ่านว่า พุด - ทะ - สัก - กะ - หราด - สอง - พัน - ห้า - ร้อย - ห้า - สิ บ - สี่
ค. ทูลเกล้าฯ อ่านว่า ทูน - เกล้า - ทูน - กระ - หม่อม
ง. ฯพณฯ อ่านว่า พะ - นะ - หัว - เจ้า - ท่าน
5. ก. ในสวนมีผลไม้หลายชนิด เช่น มะม่วง กล้วย ส้มโอ ฯลฯ อ่านว่า ใน - สวน - มี - ผน - ละ - ไม้
- หลาย - ชะ - นิด - เช่น - มะ - ม่วง - กล้วย - ส้ม - โอ - ละ
ข. เมืองหลวงของไทย คือ กรุ งเทพฯ อ่านว่า เมือง - หลวง - ของ - ไทย - คือ - กรุ ง - เทบ - มะ - หา

12
- นะ - คอน
ค. วันหนึ่ง ๆ ฉันไม่เห็นเธอทำอะไร อ่านว่า วัน - หนึ่ง - หนึ่ง - ฉัน - ไม่ - เห็น - เทอ - ทำ - อะ - ไร
ง. นักเรี ยนคัด ก - ฮ อ่านว่า นัก - เรี ยน - คัด - กอ - ถึง - ฮอ

6. ข้อใดแบ่งวรรคตอนการอ่านบทร้อยกรองไม่ ถูกต้ อง
ก. พระโอรส / รู้แจ้ง / ไม่แคลงจิต
ข. รำคาญ / คิดเสี ยใจ / มิใคร่ หาย
ค. ด้วยแม่กลับ / อัปลักษณ์ / เป็ นยักษ์ร้าย
ง. ก็ฟมู ฟาย / ชลนา / โศกาลัย
7. “ธงชัยเป็ นผู้ชายที่มีรูปร่ างสันทัด” คำในข้อใดมีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า สั นทัด มากที่สุด
ก. ถนัด ข. ต่ำเตี้ย
ค. ใหญ่โต ง. ปานกลาง
8. คำว่า “ติด” ในข้อใด หมายถึง ค้างอยู่
ก. เธอติดเงินฉัน 5 บาท
ข. เขาเป็ นพ่อม่ายลูกติด
ค. เขาติดใจเธอ
ง. มะขามติดฝัก
9. ประโยคในข้อใดมีค ำที่มีความหมายโดยนัย
ก. อำเภอนี้อยูไ่ กลปื นเที่ยง
ข. บ้านของนุ่นอยูไ่ กลมาก
ค. หิ นก้อนนั้นมีรูปร่ างแปลกตา
ง. เธอสวมสร้อยที่ร้อยด้วยลูกปัด

อ่ านเรื่องที่กำหนด แล้วตอบคำถามข้ อ 10. -


12.
ข่ าวน่ ากลัว
ข่าวในทีวีบางครั้งก็ดูน่ากลัวมากสำหรับเด็กๆ เช่น ข่าวฆ่ากันตาย รถชนกันยับเยิน
เหล่านี้อาจมีผลต่อความรู้สึกนึกคิดของเด็กๆ ถ้าเลี่ยงไม่ได้ ก็ควรอธิ บายสถานการณ์ในข่าว
ให้เด็กเข้าใจ เช่น อุบตั ิเหตุเกิดขึ้นได้ทุกเวลา หรื อความขัดแย้งที่ขาดสติกอ็ าจทำให้คน
ฆ่าฟันกันได้ แต่ครอบครัวที่อบอุ่นมัน่ คง จะเป็ นเกราะป้ องกันเด็กๆ จากสิ่ งที่น่ากลัวและ
สะเทือนอารมณ์ได้เป็ นอย่างดี
สหทัยมูลนิธิ
10. ข่าวประเภทใดที่มีผลต่อความรู้สึกของเด็กในทางที่ไม่ดี
ก. ข่าวกีฬา ข. ข่าวเศรษฐกิจ
ค. ข่าวอาชญากรรม ง. ข่าวบันเทิง

13
11. ผูเ้ ขียนบทความนี้ มีจุดประสงค์อย่างไร
ก. สัง่ สอน ข. แนะนำ
ค. ปรารภ ง. ตักเตือน
12. ถ้าหลีกเลี่ยงข่าวที่น่ากลัวไม่ได้ ควรทำอย่างไร
ก. ไม่ให้เด็กดูข่าวอีก
ข. ปล่อยให้เด็กลืมไปเอง
ค. บอกเด็กว่าไม่ใช่เรื่ องจริ ง
ง. อธิบายสถานการณ์ในข่าวให้เด็กเข้าใจ
13. หากต้องการทราบที่มาของคำว่า เอกสาร ควรอ่านจากงานเขียนเชิงอธิ บายในข้อใด
ก. เอกสารกำกับยา ข. ข่าวสารทางราชการ
ค. เอกสารแนะนำการใช้วสั ดุอุปกรณ์ ง. พจนานุกรม
14. วรรณคดี จัดเป็ นหนังสื อประเภทใด
ก. บันเทิงคดี ข. สารคดี
ค. ตำรา ง. ศิลปะ
15. ข้อใดไม่ ควรปฏิบตั ิในการอ่าน
ก. อ่านออกเสี ยงคำควบกล้ำชัดเจน
ข. นัง่ หรื อยืนอ่านในท่าที่สบาย
ค. ตะโกนอ่านเสี ยงดังๆ
ง. จับใจความสำคัญของเรื่ องที่อ่าน
16. ใครปฏิบตั ิตนในการคัดลายมือไม่ ถูกต้ อง
ก. ป๋ อมเขียนสระ โ สูงเป็ น 2 เท่าของตัวอักษรปกติ
ข. ตัก๊ เขียนตัวอักษร ญ กว้างกว่าตัวอักษรปกติ 2 เท่า
ค. วีเขียนตัวอักษร พ ให้เส้นทแยงสู งเท่าหัวตัวอักษร พ
ง. เดือนเขียนเลขไทยสูงเพียงครึ่ งเดียวของตัวพยัญชนะ
17. สิ่ งที่สำคัญที่สุดในการเขียนอวยพรคือข้อใด
ก. การใช้ภาษาให้เหมาะกับผูร้ ับ
ข. การเขียนชื่อผูเ้ ขียน
ค. การเขียนชื่อผูร้ ับ
ง. วัน - เวลาที่เขียน

18. เรื่ องใดควรใช้แผนภาพความคิดแบบความคิดรวบยอด


ก. ก้านกล้วยผจญภัย ข. พาหนะที่ใช้ในการคมนาคม
ค. “อยุธยา” แหล่งมรดกโลก ง. สิ่ งแวดล้อมในสังคม
19. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเขียนย่อความ
ก. ใช้ค ำสรรพนามบุรุษที่ 1

14
ข. ใช้อกั ษรย่อเพื่อให้เรื่ องสั้นลง
ค. เขียนเรี ยบเรี ยงเรื่ องเป็ นสำนวนของตนเอง
ง. ใช้เครื่ องหมายวรรคตอนเพื่อเน้นข้อความที่สำคัญ
20. ข้อใดไม่ ควรปฏิบตั ิในการเขียนจดหมาย
ก. เขียนชื่อที่อยูข่ องผูร้ ับและผูส้ ่ งให้ชดั เจน
ข. ใช้กระดาษเขียนจดหมายสี เข้มๆ เช่น สี น ้ำเงิน
ค. เขียนโดยใช้ลายมือที่อ่านง่าย และใช้ภาษาสุ ภาพ
ง. เขียนโดยใช้ค ำขึ้นต้นและคำลงท้ายถูกต้องเหมาะกับผูร้ ับ
21. ข้อความใดเป็ นการเขียนแสดงความรู ้สึก
ก. ทุกคนควรช่วยกันส่ งเสริ มการอนุรักษ์พนั ธุ์ปลาหายาก
ข. ผมมีความสุ ขกับความสำเร็ จที่เกิดจากความวิริยะของผม
ค. ในน้ำทะเลลึก จะเป็ นเขตที่มืดหรื อมีแสงเพียงสลัวๆ เท่านั้น
ง. ผูช้ ำนาญในการใช้ภาษา จะใช้ภาษาได้ถูกต้อง
22. ใครปฏิบตั ิตนไม่ เหมาะสมในการกรอกแบบรายการ
ก. นกอ่านคำชี้แจงของแบบรายการให้เข้าใจก่อนแล้วจึงกรอกข้อมูล
ข. นิดเขียนเครื่ องหมายยัติภงั ค์ลงในช่องที่ไม่มีขอ้ มูลจะกรอก
ค. แนนขีดฆ่าข้อความที่เขียนผิด แล้วจึงเขียนข้อความใหม่
ง. น้อยอ่านทบทวนข้อความที่กรอกอีกครั้งเพื่อตรวจสอบ
23. ใครไม่ปฏิบตั ิตามขั้นตอนของการเขียนเรื่ องตามจินตนาการ
ก. อ๊อดคัดลอกเรื่ องที่ตอ้ งการเขียนเก็บไว้
ข. อูด๊ เขียนโครงเรื่ องของเรื่ องที่ตอ้ งการเขียน
ค. เอ้เขียนเรี ยบเรี ยงเรื่ องให้ได้ใจความ
ง. อี๊ดคิดเรื่ องที่ตอ้ งการจะเขียน

24. ใครไม่ มีมารยาทในการเขียน


ก. มิ้งตรวจสอบความถูกต้องของรายงานที่ตนเองเขียน
ข. แมวเขียนบทความโดยใส่ แหล่งที่มาของข้อมูลทุกครั้ง
ค. หมิวเขียนประกาศโดยคำนึงถึงเหตุผลมากกว่าความรู ้สึกส่ วนตน
ง. เหมยเขียนโฆษณาโจมตีสินค้าของบริ ษทั คู่แข่ง
25. การพูดแสดงความคิดเห็นในข้อใดถูกต้องเหมาะสม
ก. โฆษณาสิ นค้านี้ ตีพิมพ์ในสื่ อต่างๆ มากมาย
ข. โฆษณาสิ นค้านี้ มีดาราซึ่ งเป็ นที่รู้จกั ดีร่วมแสดงด้วย
ค. โฆษณาสิ นค้านี้ สะท้อนให้เห็นถึงความต้องการของผูค้ นในสังคมปั จจุบนั
ง. โฆษณาสิ นค้านี้ ใช้งบประมาณในการถ่ายทำสู ง

15
ฟังครู อ่านเรื่องที่กำหนด แล้วตอบคำถามข้ อ 26. -
28.
26. คำพูดที่นกั ปราชญ์โบราณกล่าวไว้ตรงกับข้อใด
ก. ความรู้คือประทีป ข. ความเพียบพร้อมคือความสามัคคี
ค. สามัคคีคือพลัง ง. ความเจริ ญย่อมนำมาสู่ ความพร้อมเพรี ยง
27. ผูเ้ ขียนเรื่ องมีเจตนาอย่างไร
ก. ชื่นชม ข. เทศนา
ค. ชี้แนะ ง. รำพึงรำพัน
28. “อะไรที่จะเป็ นยานให้ ข้ามไปถึงความเจริญได้ เสมอด้ วยความพร้ อมเพรียงไม่ มี” ข้อความนี้
หมายความว่าอย่างไร
ก. เราไม่มีทางเจริ ญได้ถา้ ขาดยานสำคัญ
ข. ความพร้อมเพรี ยงของหมู่คณะทำให้เกิดสุ ข
ค. เครื่ องมือที่น ำไปสู่ ความเจริ ญมีเพียงอย่างเดียวเท่านั้น
ง. ไม่มีหลักธรรมใดที่จะนำไปสู่ ความเจริ ญได้ดีเท่ากับความพร้อมเพรี ยง
29. ข้อใดไม่ ควรปฏิบตั ิในการพูดรายงาน
ก. พูดรายงานโดยใช้ภาษากระชับ ชัดเจน
ข. ทำความเข้าใจเรื่ องที่รายงานก่อนพูด
ค. พูดรายงานให้จบอย่างรวดเร็ ว
ง. แยกประเด็นสำคัญเป็ นข้อๆ ก่อนพูด

30. ใครปฏิบตั ิตนไม่ เหมาะสมในขณะฟังข่าว


ก. หนึ่งตั้งใจฟัง
ข. หนุ่ยจดบันทึกความรู้ที่ได้ระหว่างฟัง
ค. นิดจับใจความสำคัญของข่าวที่ฟัง
ง. เนยฟังข่าวพร้อม ๆ กับโทรศัพท์ไปเล่าให้เพื่อนฟัง
31. หากเพื่อนสนิททักนักเรี ยนว่า “สวัสดีจ้ะ...สบายดีไหมจ๊ ะ” นักเรี ยนควรตอบว่าอย่างไร จึงจะจัดว่า
มีมารยาทในการพูด
ก. สวัสดีจะ้ ...ฉันสบายดี แล้วเธอล่ะสบายดีไหม
ข. จ้ะ สวัสดีจะ้ สบายดีไหม
ค. เออ...มีไรหรื อจ้ะ
ง. อืม...หวัดดี เป็ นไงบ้างล่ะ
32. ประโยคในข้อใดไม่ มีค ำบุพบท
ก. ดาวบนท้องฟ้ าสุ กใสสว่าง
ข. ป๋ องไปต่างจังหวัดตั้งแต่เมื่อวาน
ค. ครู มอบรางวัลแก่นกั เรี ยนที่เป็ นเด็กดี

16
ง. เก่งชอบเล่นกีฬาบาสเกตบอลมาก
33. ประโยคในข้อใด มีค ำสันธานเชื่อมความเป็ นเหตุเป็ นผลกัน
ก. ปรางอ่านหนังสื อทุกวัน ดังนั้นเธอจึงสอบได้คะแนนดี
ข. ป๋ อมเรี ยนไม่เก่ง แต่ร้องเพลงเพราะมาก
ค. พอแป้ งมาถึงโรงเรี ยน ฝนก็ตกพอดี
ง. เธอจะไปทะเลหรื อไปน้ำตก
34. “แหม! ตั้งแต่ เธอทำงานที่บริษัทนี้ ดูเธอเป็ นผู้หลักผู้ใหญ่ ขนึ้ นะจ๊ ะ” คำในข้อใดเป็ นคำอุทาน
บอกอาการ
ก. ผูห้ ลักผูใ้ หญ่ ข. ตั้งแต่
ค. แหม! ง. นะจ๊ะ
35. ข้อใดใช้ค ำอุทานไม่ เหมาะสม
ก. โธ่! เจ็บจังเลย ข. โอ้โฮ! สวยจังเลย
ค. เอ๊ะ! นัน่ ใคร ง. ไชโย! ชนะแล้ว

36. ข้อใดเป็ นประโยค 2 ส่ วน


ก. แนนดูนาฬิกา
ข. นุ่นรดน้ำต้นไม้
ค. น้อยอ่านหนังสื อ
ง. น้องร้องไห้
37. ข้อใดเป็ นประโยค 3 ส่ วน
ก. แม่ทอดปลา
ข. นิดว่ายน้ำ
ค. มดนอนหลับ
ง. ตู๋หวั เราะเสี ยงดัง
38. “รถเมล์วงิ่ เร็วมาก” คำใดเป็ นบทขยาย
ก. รถ ข. เร็ วมาก
ค. วิง่ ง. เมล์

ข้ อ 39. - 40. จากเนือ้ เพลงที่กำหนด คำในข้ อใดเป็ นภาษาถิ่น


39. ทั“ไผโทรมาน้
้งหมด อ ฟังเสียงลอดสายใจกลั้น ผู้ชายคนนั้น สำคัญกว่ าอ้ าย แม่ นบ่ ...” (จากเพลง
ใครโทรมาหา ของ เอกพล มนต์ตระการ)
ก. กลั้น / แม่น ข. น้อ / นั้น
ค. ไผ / อ้าย ง. สำคัญ / บ่
40. “ข้ าเจ้ าเป็ นสาวเจียงใหม่ แหมบ่ เต้ าใดก็จะเป็ นสาวแล้ ว ตึงวันมีบ่าวมาแอ่ ว มาอู้มาแจว...”

17
(จากเพลง สาวเชียงใหม่ ของ สุ นทรี เวชานนท์)
ก. เจียงใหม่ / สาว ข. บ่เต้าใด / บ่าว
ค. แอ่ว / แล้ว ง. อู ้ / มา
41. “กินข้ าวอร่ อยจัง” พูดเป็ นภาษาถิ่นใต้วา่ อย่างไร
ก. กินข้าวหรอยจังฮู้ ข. กิ๋นข้าวลำแต้แต้
ค. กินข้าวแซบหลาย ง. กินข้าวหร่ อยมากเลย
42. ข้อใดมีความหมายตรงกับคำราชาศัพท์วา่ “ฉลองพระบาท”
ก. เท้า ข. ข้อเท้า
ค. ถุงเท้า ง. รองเท้า

43. ข้อใดไม่ ใช่ ค ำสุ ภาพ


ก. วัว ข. สุ นขั
ค. พูดปด ง. รับประทาน
44. ข้อใดเป็ นคำไทยแท้ท้ งั หมด
ก. กรม ฤๅษี ขิม เทป ข. เปลว เจริ ญ กริ ช เล่ห์
ค. โต๊ะ อ้วน ครุ ฑ ซินแส ง. เฉี่ ยว ดำขำ เลือด ฆ่า
45. ประโยคในข้อใดไม่ มีค ำที่ยมื จากภาษาต่างประเทศ
ก. แม่ท ำก๋ วยเตี๋ยวหมูต๋ ุนรสเด็ด
ข. พ่อซื้ อเค้กมาให้ลูก
ค. ชาวนาใช้ควายไถนา
ง. ป้ าไปหาหมอที่คลินิก
46. หากต้องการแต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี 11 โดยเริ่ มว่า “ฉันชอบไปโรงเรียน” ควรแต่ง
วรรคต่อไปว่าอย่างไร จึงจะมีความหมายที่เหมาะสม
ก. แวะวนเวียนเพื่อนมากมี ข. ขยันหมัน่ เพียรเวียนไปมา
ค. ได้เขียนการบ้านมา ง. ได้อ่านเขียนเรี ยนศึกษา
47. “บริเวณริมแม่ น้ำเจ้ าพระยา______ ไปด้ วยผู้คนทีม่ าลอยกระทง ส่ วนบนถนนการจราจร_____
รถเคลือ่ นตัวได้ ช้า” ควรเติมคำใดลงในช่องว่าง
ก. แออัด / เบียดเสี ยด ข. คับคัง่ / หนาแน่น
ค. เนื่องแน่น / แน่นหนา ง. อัดแน่น / ยัดเยียด
48. “เธอมีอะไรก็พูดมาตรงๆ อย่ามัวแต่ ...อยู่เลย” ควรเติมสำนวนใด
ก. ชักแม่น ้ำทั้งห้า ข. ชักใบให้เรื อเสี ย
ค. ชักหน้าไม่ถึงหลัง ง. ชักน้ำเข้าลึก ชักศึกเข้าบ้าน

49.
วิชาเหมือนสิ นค้า ______________
ต้องยากลำบากไป จึงจะได้สินค้ามา
บทอาขยาน วิชาเหมือนสิ นค้ า
18
ควรเติมข้อความใดลงในบทอาขยาน จึงจะถูกต้อง
ก. ต้องซื้ อหาราคาแพง ข. แขนซ้ายขวาเป็ นเสาใบ
ค. เที่ยวซื้ อหาจากแดนไกล ง. อันมีคา่ อยูเ่ มืองไกล

50.
เราเกิดมาทั้งทีชีวิตหนึ่ง อย่าหมายพึ่งผูใ้ ดให้เขาหยัน
_____________ คิดบากบัน่ ตั้งหน้ามานะนำ
บทอาขยาน ตนเป็ นที่พึ่งแห่ งตน
ควรเติมข้อความใดลงในบทอาขยาน จึงจะถูกต้อง
ก. ช่วยตนเองทุกสิ่ งทุกอย่างพลัน
ข. การกระทำการงานสิ่ งใดนั้น
ค. ควรคะนึงพึ่งตนทนกัดฟัน
ง. จะทำให้ชีวิตแสนสุ ขสันต์

....

19
 ครู อ่านเรื่องให้ นักเรียนฟัง แล้วทำข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี วิชาภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้
ภาษา) ชุ ดที่ 1 ข้ อ 26. - 27.

กลุ่มนกน้ำ มีสตั ว์ปีกหลายชนิด เช่น หงส์ เป็ ด ห่าน นกอีลุม้ นกเป็ ดน้ำ นกนางนวล
เป็ นต้น พวกมันพึ่งพาแหล่งน้ำตามธรรมชาติเป็ นที่อยูอ่ าศัย และเป็ นสถานที่หาอาหาร มีท้ งั พวก
ที่กินพืชที่ข้ ึนบริ เวณริ มน้ำ เช่น จอก แหน เป็ นต้น และพวกที่กินสัตว์น ้ำขนาดเล็กๆ เช่น กุง้
หอย กบ ปลา เป็ นต้น
นกน้ำ มีความสามารถพิเศษกว่านกกลุ่มอื่นๆ ตรงที่มีถุงลมในร่ างกายซึ่ งมีขนาดใหญ่
ทำให้สามารถลอยตัวอยูบ่ นผิวน้ำได้เป็ นเวลานานๆ และมีไขมันชนิดพิเศษเคลือบขนส่ วนต่างๆ
ของร่ างกาย ป้ องกันไม่ให้ขนเปี ยกน้ำ เมื่อมันว่ายน้ำหรื อดำน้ำ
สำหรับครู นพ. บุญส่ ง
เลขะกุล : ธรรมชาตินานาสัตว์

 ครู อ่านเรื่องให้ นักเรียนฟัง แล้วทำข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี วิชาภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้


ภาษา) ชุ ดที่ 2 ข้ อ 26. - 28.

นักปราชญ์โบราณท่านได้กล่าวไว้วา่ “อะไรที่สามารถทำให้สำเร็ จกิจใหญ่ได้เสมอด้วย


ความพร้อมเพรี ยงเป็ นไม่มี อะไรที่จะเป็ นยานให้ขา้ มไปถึงความเจริ ญได้เสมอด้วยความ
พร้อมเพรี ยงย่อมไม่มี”
เจ้ าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี

20
เฉลยข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุ ดที่ 1

1. ค 2. ข 3. ก 4. ง 5. ค
6. ง 7. ก 8. ข 9. ก 10. ค
11. ข 12. ง 13. ก 14. ง 15. ข
16. ค 17. ก 18. ก 19. ง 20. ค
21. ค 22. ง 23. ค 24. ง 25. ข
26. ค 27. ก 28. ง 29. ข 30. ข
31. ง 32. ค 33. ง 34. ข 35. ก
36. ง 37. ก 38. ค 39. ข 40. ค
41. ก 42. ง 43. ค 44. ข 45. ก
46. ง 47. ค 48. ก 49. ข 50. ง

เฉลยข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุ ดที่ 2

1. ง 2. ข 3. ก 4. ง 5. ค
6. ข 7. ง 8. ก 9. ก 10. ค
11. ข 12. ง 13. ง 14. ก 15. ค
16. ข 17. ก 18. ข 19. ค 20. ข
21. ข 22. ค 23. ก 24. ง 25. ค
26. ค 27. ค 28. ง 29. ค 30. ง
31. ก 32. ง 33. ก 34. ค 35. ก
36. ง 37. ก 38. ข 39. ค 40. ข
41. ก 42. ง 43. ก 44. ง 45. ค
46. ง 47. ข 48. ก 49. ง 50. ค

21
เฉลยข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 1
เฉลยอย่ างละเอียด

1. ตอบ ค จันทราเป็ นคำควบกล้ำแท้ อ่านว่า จัน - ทรา


2. ตอบ ข แถลง เป็ นคำที่มีอกั ษรนำ อ่านว่า ถะ - แหลง
3. ตอบ ก กษัตริ ย ์ เป็ นคำที่มีตวั การันต์ที่เป็ นพยัญชนะและสระ คือ ริ ย ์ อ่านว่า กะ - สัด
4. ตอบ ง เวลา 10.00 น. อ่านว่า เว - ลา - สิ บ - นา - ลิ - กา
5. ตอบ ค แม้นเป็ นนารี / ผล / วิมลจันทร์ เว้นจังหวะการอ่านไม่ถูกต้อง ควรเว้นจังหวะการอ่าน
เป็ น แม้นเป็ น / นารี ผล / วิมลจันทร์
6. ตอบ ง พระมหากษัตริ ยไ์ ทย / ทรงเป็ นศูนย์รวมจิตใจของคนในชาติ แบ่งวรรคตอนการอ่าน
ถูกต้อง ทำให้เข้าใจเนื้ อความถูกต้อง
7. ตอบ ก จากโวหารที่ก ำหนด ตรงกับ ฤดูร้อน โดยดูจากคำว่า แล้งและแดดสาดแสง
8. ตอบ ข คางเหลือง หมายถึง ป่ วยหนักจนแทบเสี ยชีวิต
9. ตอบ ก เรื่ องกล้วย ๆ หมายถึง เรื่ องง่ายมาก
10. ตอบ ค ลูกที่สมบูรณ์ คือ ลูกที่ต้ งั ใจเล่าเรี ยนหนังสื อ
11. ตอบ ข จากข้อความที่ก ำหนด ลูกควรนำข้อคิดที่ได้ไปปฏิบตั ิมากที่สุด
12. ตอบ ง ผูเ้ ขียนต้องการให้ผอู้ ่านประพฤติตวั ให้ดีเพื่อให้พอ่ แม่เกิดความสบายใจ
13. ตอบ ก การอ่านฉลากยา ไม่มีผลทำให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง
14. ตอบ ง เรื่ องสั้นเป็ นงานเขียนที่มุ่งให้ความเพลิดเพลินแก่ผอู ้ ่าน
15. ตอบ ข มารยาทในการอ่าน ไม่ควรรบกวนผูอ้ ื่น โดยเฉพาะการอ่านหนังสื อในห้องสมุด
ไม่ควรยืน่ ศีรษะเข้าไปอ่านหนังสื อในขณะที่ผอู ้ ื่นอ่านอยู่ ไม่ควรรับประทานอาหาร
ขณะอ่าน และเมื่ออ่านหนังสื อค้างไว้ควรหาที่คนั่ หนังสื อมาคัน่ ไว้
16. ตอบ ค การคัดลายมือควรเขียนตัวอักษรสู งเท่ากัน
17. ตอบ ก เราไม่จ ำเป็ นต้องเขียนที่อยูข่ องผูเ้ ขียนในการเขียนบัตรอวยพร
18. ตอบ ก การเขียนแผนภาพโครงเรื่ องจะทำให้เห็นส่ วนที่สำคัญของเรื่ อง จึงช่วยให้จบั ใจความ
สำคัญของเรื่ องได้
19. ตอบ ง การเขียนย่อความไม่ควรเขียนคำย่อหรื ออักษรย่อ เพราะอาจทำให้ผอู ้ ่านไม่เข้าใจเรื่ อง
ที่ยอ่ ได้

22
20. ตอบ ค การเขียนจดหมายถึงแม่ ควรใช้ค ำขึ้นต้นว่า กราบเท้าคุณแม่ที่เคารพ แสดงถึงความรัก
และเคารพที่มีต่อแม่
21. ตอบ ค การเขียนให้สวยงามไม่ใช่ประโยชน์ของการเขียนแสดงความรู ้สึก
22. ตอบ ง การเขียนกรอกแบบรายการ ควรกรอกข้อมูลให้ชดั เจนไม่ควรใช้อกั ษรย่อ เพราะอาจ
ทำให้เข้าใจไม่ตรงกันได้
23. ตอบ ค การเขียนเรื่ องตามจินตนาการ เป็ นการเขียนเรื่ องที่คิดขึ้นเอง ซึ่ งเนื้อเรื่ องอาจเป็ นจริ ง
หรื อไม่จริ งก็ได้ ดังนั้น การเขียนนิทานตามความคิดเห็นของตนเอง จึงเป็ นการเขียน
เรื่ องตามจินตนาการ
24. ตอบ ง การคัดลอกงานผูอ้ ื่นมาเป็ นงานของตนเอง จัดว่าไม่มีมารยาทในการเขียน เพราะถือว่า
เป็ นการขโมยความคิดของผูอ้ ื่น ซึ่ งเราไม่ควรทำ
25. ตอบ ข การพูดแสดงความคิดเห็น ควรพูดด้วยถ้อยคำสุ ภาพและชี้แจงรายละเอียดความคิดเห็น
ของตนเอง
26. ตอบ ค นกน้ำลอยตัวบนผิวน้ำได้นานๆ เพราะมีถุงลมขนาดใหญ่ในร่ างกาย
27. ตอบ ก จากเรื่ องที่ก ำหนด นกกระยางไม่ใช่นกน้ำ
28. ตอบ ง การวิเคราะห์แนวทางการแต่งเรื่ องไม่ใช่แนวทางในการวิเคราะห์เรื่ องที่ฟังและดู
29. ตอบ ข ในการพูดรายงาน ควรมีสื่อประกอบการพูดเพื่อให้น่าสนใจยิง่ ขึ้น
30. ตอบ ข เราไม่ควรนำสัตว์เลี้ยงมาดูหรื อชมการแสดงต่างๆ เพราะสัตว์เลี้ยงอาจรบกวนผูด้ ูหรื อผู ้
ชมคนอื่นๆ ได้
31. ตอบ ง ขณะฟัง ควรจดบันทึกใจความสำคัญของเรื่ องที่ฟังด้วย เพื่อจะได้น ำความรู ้ที่ได้ไปใช้
ประโยชน์ต่อไป
32. ตอบ ค ตั้งแต่ เป็ นคำบุพบทบอกเวลา
33. ตอบ ง ควรเติมคำว่า เพราะ...จึง เพราะเธอขยัน จึงสอบได้คะแนนดี ซึ่ งจะทำให้ได้
ความหมายที่ถูกต้อง
34. ตอบ ข กินน้ำกินท่า ร้องห่มร้องไห้ และเข้าวัดเข้าวา มีค ำอุทานเสริ มบท แต่ค ำว่า เศร้าโศก
ไม่ใช่ค ำอุทานเสริ มบท
35. ตอบ ก ควรเติมคำว่า แด่ จึงจะถูกต้อง และเหมาะสมกับระดับภาษา
36. ตอบ ง ซึ่ งเป็ นพันธุ์ดี เป็ นส่ วนขยายกรรม (ผัก) ในประโยค พ่อของสันติปลูกผักซึ่งเป็ นพันธุ์ดี
37. ตอบ ก ของสันติ เป็ นส่ วนขยายประธาน (พ่อ) ในประโยค พ่ อของสั นติปลูกผักซึ่ งเป็ นพันธุ์ดี
38. ตอบ ค ลิงปี นต้นมะพร้าว เป็ นประโยค 3 ส่ วน ลิง เป็ นประธาน ปี น เป็ นกริ ยา และต้นมะพร้าว
เป็ นกรรม

23
39. ตอบ ข มะละกอ มีความหมายตรงกับภาษาถิ่นอีสานว่า บักหุ่ง
40. ตอบ ค ม่วน เป็ นภาษาถิ่นอีสาน หมายถึง สนุก ส่ วนลำ เป็ นภาษาถิ่นเหนือ หมายถึง อร่ อย
แซบ เป็ นภาษาถิ่นอีสาน หมายถึง อร่ อย และหรอย เป็ นภาษาถิ่นใต้ หมายถึง อร่ อย
41. ตอบ ก อีแม่ไปกาด เป็ นภาษาถิ่นเหนือ หมายถึง คุณแม่ไปตลาด (กาด หมายถึง ตลาด)
42. ตอบ ง เสวย หมายถึง กิน
43. ตอบ ค คำสุ ภาพของคำว่า หัว และ อ้วก คือ ศีรษะ และ อาเจียน
44. ตอบ ข กวยจับ๊ เป็ นคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ (ภาษาจีน)
45. ตอบ ก บัณฑิต เป็ นคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ (ภาษาบาลี)
46. ตอบ ง ควรเติมคำว่า ระรวย ซึ่ งมีความหมายว่า แผ่วๆ เบาๆ
47. ตอบ ค น้ำท่วมปาก หมายถึง พูดไม่ออกเพราะเกรงจะมีภยั แก่ตนหรื อผูอ้ ื่น
48. ตอบ ก นกสองหัว หมายถึง คนที่ท ำตัวฝักใฝ่ เข้าด้วยทั้งสองฝ่ ายที่ไม่เป็ นมิตรกันโดยหวัง
ประโยชน์เพื่อตน ซึ่ งมีความหมายใกล้เคียงกับสำนวน ตีหลายหน้า หมายถึง
ตลบตะแลง กลับกลอก
49. ตอบ ข การขยันอ่านหนังสื อต่างๆ เป็ นการปฏิบตั ิตนตามบทอาขยาน “ผูร้ ู ้ดีเป็ นผูเ้ จริ ญ”
เพราะในบทอาขยานได้กล่าวไว้วา่ ผูท้ ี่มีความรู ้ความสามารถ จะทำให้เจริ ญก้าวหน้า
ดังนั้น เด็กๆ ควรตั้งใจศึกษาเล่าเรี ยน
50. ตอบ ง บทอาขยาน “ผูร้ ู้ดีเป็ นผูเ้ จริ ญ” มีสาระสำคัญว่า การแสวงหาวิชาความรู ้ ทำให้มีความรู ้
และเจริ ญก้าวหน้า

....

เฉลยข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 2


เฉลยอย่ างละเอียด

24
1. ตอบ ง เขาประสบอุบตั ิเหตุจนเป็ นเจ้าชายนิทรา มีค ำควบกล้ำแท้ คือ ประสบ และนิทรา
2. ตอบ ข สร้าง และเสร็ จ เป็ นคำควบกล้ำไม่แท้
3. ตอบ ก ปาฏิหาริ ย ์ อ่านว่า ปา - ติ - หาน
4. ตอบ ง ฯพณฯ อ่านว่า พะ - นะ - ท่าน
5. ตอบ ค วันหนึ่ง ๆ ... อ่านว่า วัน - หนึ่ง - วัน - หนึ่ง ...
6. ตอบ ข รำคาญ / คิดเสี ยใจ / มิใคร่ หาย เว้นจังหวะการอ่านไม่ถูกต้อง ควรเว้นจังหวะการอ่าน
เป็ น รำคาญคิด / เสี ยใจ / มิใคร่ หาย
7. ตอบ ง สันทัด หมายถึง (รู ปร่ าง) ปานกลาง ไม่ใหญ่ ไม่เล็ก ไม่สูง ไม่เตี้ย
8. ตอบ ก เธอติดเงินฉัน 5 บาท ติด ในประโยคนี้ หมายถึง ค้างอยู่
9. ตอบ ก ไกลปื นเที่ยง มีความหมายโดยนัย หมายถึง ไกลมาก
10. ตอบ ค ข่าวที่มีผลต่อความรู้สึกของเด็กในทางที่ไม่ดี คือ ข่าวที่น่ากลัว ได้แก่ ข่าวอาชญากรรม
11. ตอบ ข ผูเ้ ขียนบทความมีจุดประสงค์เพื่อแนะนำผูป้ กครองว่าควรปฏิบตั ิอย่างไร
12. ตอบ ง ถ้าหลีกเลี่ยงข่าวที่น่ากลัวไม่ได้ควรอธิ บายสถานการณ์ในข่าวให้เด็กเข้าใจ
13. ตอบ ง หากต้องการทราบที่มาของคำว่า เอกสาร ควรอ่านจาก พจนานุกรม ซึ่ งเป็ นแหล่ง
ค้นหาความหมายของคำ และที่มาของคำ
14. ตอบ ก วรรณคดีจดั เป็ นหนังสื อประเภทบันเทิงคดีเพราะมุ่งให้ความบันเทิงแก่ผอู ้ ่าน
15. ตอบ ค เราไม่ควรตะโกนอ่านเสี ยงดัง เพราะอาจทำให้ผอู ้ ื่นรำคาญได้
16. ตอบ ข การเขียนตัว ฌ ญ ฒ ณ ควรเขียนให้กว้างกว่าตัวอักษรปกติ 1 เท่าครึ่ ง จึงจะสวยงาม
17. ตอบ ก การเขียนอวยพร ควรใช้ภาษาสุ ภาพให้เหมาะกับผูร้ ับ
18. ตอบ ข เรื่ องพาหนะที่ใช้ในการคมนาคมควรเขียนแผนภาพความคิดแบบความคิดรวบยอด
เพราะเป็ นการจำแนกพาหนะต่างๆ เป็ นหมวดหมู่ ส่ วนข้อ ก. ค. และ ง. ควรใช้
แผนภาพโครงเรื่ องเพื่อเขียนเป็ นเรื่ องราว
19. ตอบ ค การเขียนย่อความควรอ่านเนื้อเรื่ องให้เข้าใจและเขียนเรี ยบเรี ยงเรื่ องเป็ นสำนวน
ของตนเอง
20. ตอบ ข เราไม่ควรใช้กระดาษเขียนจดหมายสี เข้มๆ เพราะจะทำให้ผอู ้ ่านอ่านลำบาก
21. ตอบ ข “ผมมีความสุ ขกับความสำเร็ จที่เกิดจากความวิริยะของผม” เป็ นการเขียนแสดงความ
รู้สึก

25
22. ตอบ ค ในการกรอกแบบรายการ ไม่ควรขีดฆ่า หรื อลบข้อความที่กรอก เพราะแบบรายการ
บางชนิดเป็ นเอกสารที่มีผลผูกพันทางกฎหมาย ถ้ามีรอยลบหรื อขีดฆ่าจะใช้อา้ งอิงไม่
ได้
23. ตอบ ก การคัดลอกเรื่ องต่าง ๆ ไม่ใช่การเขียนเรื่ องตามจินตนาการ
24. ตอบ ง การเขียนที่ท ำให้ผอู้ ื่นเดือดร้อน จัดว่าไม่มีมารยาทในการเขียน
25. ตอบ ค โฆษณาสิ นค้านี้ สะท้อนให้เห็นถึงความต้องการของผูค้ นในสังคมปั จจุบนั เป็ นการพูด
ที่ถูกต้องตามหลักการพูดแสดงความคิดเห็นและความรู ้สึก
26. ตอบ ค คำพูดที่นกั ปราชญ์โบราณพูดไว้ ตรงกับคำว่า สามัคคีคือพลัง เพราะความพร้อมเพรี ยง
หมายถึง ความสามัคคี
27. ตอบ ค ผูเ้ ขียนมีเจตนาชี้แนะแนวทางการปฏิบตั ิตน
28. ตอบ ง ข้อความที่ก ำหนด หมายความว่า ไม่มีหลักธรรมใดที่จะนำไปสู่ ความเจริ ญได้ดีเท่ากับ
ความพร้อมเพรี ยง
29. ตอบ ค การพูดรายงานควรพูดให้ชดั เจน เพื่อให้ผฟู ้ ังเข้าใจ ไม่ใช่พดู ให้จบอย่างรวดเร็ ว
ซึ่ งอาจทำให้ผฟู้ ังไม่เข้าใจ
30. ตอบ ง ในขณะฟังและดู ควรฟังและดูอย่างตั้งใจ ไม่ควรคุยหรื อทำสิ่ งอื่นในขณะฟังและดู
31. ตอบ ก การตอบว่า “สวัสดีจะ้ ....ฉันสบายดี แล้วเธอล่ะสบายดีไหม” เมื่อเพื่อนสนิททัก
จัดว่ามีมารยาทในการพูด และพูดอย่างเหมาะสม
32. ตอบ ง เก่งชอบเล่นกีฬาบาสเกตบอลมาก ไม่มีค ำบุพบท
ส่ วนข้อ ก. มีค ำบุพบทคำว่า บน ข้อ ข. มีค ำบุพบทว่า แก่ ข้อ ค. มีค ำบุพบทว่า ตั้งแต่
33. ตอบ ก ปรางอ่านหนังสื อทุกวัน ดังนั้นเธอจึงสอบได้คะแนนดี มีค ำสันธานเชื่อมความเป็ นเหตุ
เป็ นผลกัน คือ ดังนั้น...จึง...
34. ตอบ ค แหม! เป็ นคำอุทานบอกอาการ
35. ตอบ ก โธ่! เจ็บจังเลย ควรใช้วา่ โอ๊ย! เจ็บจังเลย
36. ตอบ ง น้องร้องไห้ เป็ นประโยค 2 ส่ วน ประธาน คือ น้อง กริ ยา คือ ร้องไห้
37. ตอบ ก แม่ทอดปลา เป็ นประโยค 3 ส่ วน ประธาน คือ แม่ กริ ยา คือ ทอด กรรม คือ ปลา
38. ตอบ ข เร็ วมาก เป็ นบทขยายกริ ยา คือ คำว่า วิ่ง ในประโยค รถเมล์วิ่งเร็ วมาก
39. ตอบ ค ไผ / อ้าย เป็ นภาษาถิ่นอีสาน หมายถึง ใคร / พี่ชาย
40. ตอบ ข บ่เต้าใด / บ่าว เป็ นภาษาถิ่นเหนือ หมายถึง ไม่เท่าไร / ผูช้ าย
41. ตอบ ก กินข้าวอร่ อยจัง พูดเป็ นภาษาถิ่นใต้วา่ กินข้าวหรอยจังฮู ้
42. ตอบ ง ฉลองพระบาท หมายถึง รองเท้า

26
43. ตอบ ก วัวไม่ใช่ค ำสุ ภาพ ซึ่ งคำสุ ภาพของคำว่า วัว คือ โค
44. ตอบ ง เฉี่ยว ดำขำ เลือด ฆ่า เป็ นคำไทยแท้ท้ งั หมด โดยสังเกตจากมีตวั สะกดตรงตามมาตรา
ไม่มีตวั การันต์
45. ตอบ ค ชาวนาใช้ควายไถนา เป็ นคำไทยแท้ทุกคำ ข้อ ก. คำว่า ก๋ วยเตี๋ยว และตุ๋น เป็ นคำที่
มาจากภาษาจีน ข้อ ข. คำว่า เค้ก เป็ นคำที่มาจากภาษาอังกฤษ ข้อ ค. คลินิก เป็ นคำที่
มาจากภาษาอังกฤษ
46. ตอบ ง ควรแต่งวรรคต่อไปว่า ได้อา่ นเขียนเรี ยนศึกษา เพื่อให้คล้องจองกับวรรคแรก และ
ได้ใจความต่อเนื่องกัน อีกทั้งมีจ ำนวน 6 คำ ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
47. ตอบ ข ควรเติมคำว่า คับคัง่ / หนาแน่น จึงจะได้ใจความถูกต้อง และชัดเจน
48. ตอบ ก ควรเติมสำนวน ชักแม่น ้ำทั้งห้า หมายถึง พูดจาหว่านล้อม ยกยอบุญคุณเพื่อขอ
สิ่ งที่ประสงค์
49. ตอบ ง ควรเติม อันมีค่าอยูเ่ มืองไกล จึงจะถูกต้อง
50. ตอบ ค ควรเติม ควรคะนึงพึ่งตนทนกัดฟัน จึงจะถูกต้อง

....

27

You might also like