Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 8

คำถาม - คำตอบ แบบทดสอบ เพลงพืน้ บ้ าน

เพลงพืน้ บ้ าน
คำสัง่   ให้ท ำเครื่ องหมายกากบาท (x) ที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว 10 ข้อ

1. กำเนิดของเพลงพื้นบ้านเริ่ มตั้งแต่เมื่อใด 6. รัชกาลที่ 6 ทรงส่ งเสริ มเพลงพื้นบ้านอย่างไร


     ก.  ก่อนศิลาจารึ ก      ก.  ทรงบรรจุบททำนองเพลงปรบไก่ไว้ในพระ
     ข.  รัชกาลที่ 1  กรุ งรัตนโกสิ นทร์ ราชนิพนธ์
     ค.  สมัยพระนารายณ์มหาราช      ข.  ทรงบรรจุบททำนองเพลงไว้ในละครนอก
     ง.  สมัยพระนเรศวรมหาราช      ค.  ทรงบรรจุสำนวนบทละครปรบไก่ไว้ในโขน
     ง.  ทรงบรรจุส ำนวนบทละครปรบไก่ไว้ในเรื่ อง
ศกุนตลา
2. การขับร้องเพื่อความบันเทิงจะมีอะไรเข้ามาเพิ่ม 7.  เพลงทรงเครื่ องเรี ยกอีกอย่างว่าอะไร
     ก.  จังหวะดนตรี แดนซ์      ก.  เพลงทรงยศ
     ข. จังหวะดนตรี ปลุกใจ      ข.  เพลงเครื่ องทรง
     ค.  จังหวะดนตรี สมัยใหม่      ค.  เพลงส่ งเครื่ อง
     ง.  จังหวะดนตรี ทอ้ งถิ่น      ง.  เพลงส่ งเสริ ม
3. เพลงเทพทองเป็ นของวัดใด 8. เพลงใดเป็ นเพลงปฏิพากย์
     ก. วัดพระพุทธบาท      ก.  เพลงพวงมาลัย
     ข. วัดท่าทราย      ข.  เพลงพิษฐาน
     ค.  วัดพระแก้ว      ค.  เพลงฉ่อย
     ง.  วัดแจ้ง      ง.  ถูกทุกข้อ
4. ยุคทองของเพลงพื้นบ้าน คือ 9.  เพลงประกอบการละเล่นที่นิยมเล่นตอนบ่ายคือ
     ก. สมัยอยุธยา      ก.  เข้าทรงแม่ศรี
     ข.  สมัยรัตนโกสิ นทร์      ข.  นางสาก
     ค.  สมัยรัชกาลที่ 1 - 5      ค.  เพลงระบำ
     ง.  สมัยรัชกาลที่ 6 - 9      ง.  นางควาย
5. หลักฐานว่าเพลงเทพทองเก่าแก่ที่สุดอยูใ่ นสมัยใด 10.  ภาคอีส านนิย มนำนิท านมาร้อ งเล่น เป็ น เรื่ อ ง
     ก.  สมัยอยุธยาตอนต้น เรี ยกว่า
     ข.  สมัยอยุธยาตอนปลาย      ก.  ลำพื้น
     ค.  สมัยรัตนโกสิ นทร์ตอนต้น      ข.  ลำเพลิน
     ง.  ถูกทุกข้อ      ค.  ลำหมู่
     ง.  ถูกทุกข้อ

เฉลยเพลงพืน้ บ้ าน

1.         ก
2.         ง
3.         ข
4.         ค
5.         ค
6.         ก
7.         ค
8.         ง
9.         ค
10.       ง

คำชี้แจง ให้ นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้ องที่สุด

1. ความหมายของเพลงพื้นบ้าน ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด

ก. เพลงที่ชาวบ้านร้อง 
ข. เพลงที่ชาวบ้านประดิษฐ์ข้ ึน 
ค. เพลงที่ชาวบ้านร่ วมกันรื่ นเริ ง 
ง. เพลงที่ชาวบ้านร่ วมกันแสดง
2. ข้อใดเป็ นคุณสมบัติของเพลงพื้นบ้านเด่นชัดที่สุด
ก. แสดงเอกลักษณ์ของคนในหมู่บา้ น 
ข.  ทุกคนร้องได้
ค. มีสมั ผัสคล้องจอง 
ง. ให้ความบันเทิง
3. โดยทัว่ ไปแล้วเพลงพื้นบ้านจะมีลกั ษณะเด่น คือ

ก. มีความสนุกสนาน ใช้ภาษาคมคาย มีภาษาบาลีสนั สกฤต

ข.  มีความเรี ยบง่ายทั้งด้านทั้งด้านแต่งกาย และการเล่น

ค.  เป็ นวรรณกรรมอมุขปาฐะ มีความเป็ นพื้นบ้านพื้นเมือง

ง. มีภาษาถิ่นปะปนอยู่ จังหวะเร้าใจ ใช้ศพั ท์สูงชวนฟัง

4. เพลงพื้นบ้านที่ประกอบการทำงาน คือเพลงอะไร

ก.  เพลงเต้นกำรำเคียว

ข.  หมอลำ

ค.  เพลงเรื อ

ง.  เพลงฉ่อย

5. เพลงแห่นางแมวจัดเป็ นเพลงชนิดใด

ก. เพลงปฏิพากย์ 

ข. เพลงประกอบการเล่น 

ค. เพลงประกอบพิธี 

ง. เพลงเข้าผีเชิญผี

6. เพลงที่ใช้ร้องเกี้ยวพาราสี กนั หลังจากทำบุญตักบาตรแล้วมานัง่ รอบโบสถ์ เรี ยกว่าเพลงอะไร

ก.  เพลงพวงมาลัย

ข. เพลงลำตัด 
ค. เพลงรำวง 

ง. เพลงพิษฐาน

7. "จะให้นงั่ แต่หอทอแต่หูก นัง่ เลี้ยงแต่กนั แต่ไร" จากบทเพลงนี้ ท ำให้เราได้รับความรู้เกี่ยวกับสิ่ งใดบ้าง

ก. การทำงาน การเลี้ยงดูบุตร 

ข. การเลี้ยงลูกในสมัยโบราณ การใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ 

ค. การทอผ้า การแต่งกาย 

ง. การปลูกเรื อน การเลี้ยงดูบุตร

8. "วัดเอ๋ ย วัดโบสถ์ ปลูกข้าวโพดสาลี เจ้าลูกเขยตกยาก แม่ยายก็พรากลูกสาวหนี ต้นข้าวโพดสาลี ตั้งแต่น้ ีจะโรยรา" เพลง


กล่อมเด็กนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่ออะไร

ก. สอนให้รู้จกั มีสมั มาอาชีพ 

ข. สอนให้มีความประพฤติดี 

ค. สอนเกี่ยวกับความรัก การทำมาหากิน 

ง. สอนให้เป็ นผูม้ ีคุณธรรม

9. เพลงกล่อมเด็กมีจุดมุ่งหมายเพื่ออะไร

ก. อบรมสัง่ สอน 

ข. แสดงความในใจของแม่ที่มีต่อลูก 

ค. ต้องการให้เด็กนอนหลับ 

ง.  ถูกทุกข้อ

10. ข้อใดเป็ นประโยชน์และคุณค่าของเพลงพื้นบ้านุ

ก. ทราบเกร็ ดย่อยความรู้ในด้านต่าง ๆ

ข. ได้ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมในยุคสมัยนั้น
ค. ทำให้ทราบลักษณะของวรรณกรรมลายลักษณ์ทอ้ งถิ่น

ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก

๑.     มาเถอะหนาแม่มา                  แม่หนูนอ้ ยอย่าช้า   ท่วงที


         จัดเป็ นวงกงกำ                          ของพี่กท็ ำเอาไว้ดิบดี
         ถ้าน้องไม่เล่นกะทิดพร้อม         ตัวพีจ่ ะกล่อมมโหรี
    ๒.      รี รีขา้ วสาร   สองทะนานข้าวเปลือก    เลือกท้องใบลาน
         เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน      พานเอาคนข้างหลังไว้
    ๓.     จ้ำจี้จ ้ำอวด       เอาลูกไปบวช     ถึงวัดถึงวา   ครั้นสึ กออกมา     สัพพะลุ่นจุ่นจู๋
    ๔.     แม่ศรี เอย          แม่ศรี สวยสะ
            ยกมือไหว้พระ      ก็จะมีคนชม
            ขนคิว้ เจ้าก็ต่อ       ขนคอเจ้าก็กลม
            ชักผ้าปิ ดนม          ชมแม่ศรี เอย

๓.  ข้อใดไม่ใช่เหตุผลที่เพลงพื้นบ้านต้องมีลูกคู่ไว้รองรับหรื อร้องซ้ำเพลง
          ๑.  เพื่อให้เพลงมีความไพเราะมากขึ้น
          ๒. เพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่ วมในการร้องเพลง
          ๓.  เพื่อให้พอ่ เพลงมีเวลาคิดเนื้ อร้องในวรรคถัดไป
          ๔.  เพื่อให้แตกต่างจากเพลงพื้นบ้านประเภทอื่น

๔.  ลักษณะคำประพันธ์ของเพลงพื้นบ้านโดยทัว่ ไปคือข้อใด
        ๑.  มีการส่ งสัมผัสนอกไม่คงที่
        ๒.  สัมผัสสระต้องเป็ นสระรู ปเดียวกันเสมอ
        ๓.  เมื่อส่ งสัมผัสระหว่างวรรคจะใช้สมั ผัสอักษร
        ๔.  สัมผัสอักษรต้องเป็ นรู ปอักษรเดียวกันเสมอ
มาดูค ำตอบกันค่ะ
    ๑.   ตอบข้อ  ๑  เพราะ  ซอ  และฮ้องขวัญ เป็ นเพลงพื้นบ้านภาคเหนือ
                             ส่วนข้อ  ๒  ลำเกี้ยว  (ภาคอีสาน)    เพลงชาน้อง  (ภาคใต้)
                                    ข้อ  ๓  เพลงโคราช  (ภาคอีสาน)    จ๊อย  (ภาคเหนือ)
                                    ข้อ  ๔  เพลงฉ่อย   (ภาคกลาง)   ลำเรื่ อง   (ภาคอีสาน)

    ๒.   ตอบข้อ ๑ เพราะสังเกตจากสัมผัสระหว่างวรรคและดูค ำลงท้ายทุกวรรคที่ลงเสี ยงสระอีเหมือนกัน


                            ส่วนข้ออื่น ๆ เป็ นเพลงร้องเล่นสำหรับเด็ก

   ๓.   ตอบข้อ  ๔

   ๔.   ตอบข้อ  ๑  เพราะเพลงพื้นบ้านจะมีการส่ งสัมผัสนอกไม่คงที่


                            ส่วนสัมผัสสระและสัมผัสระหว่างวรรคไม่จ ำเป็ นจะต้องใช้รูปสระและรู ปอักษรเดียวกันเสมอ

๑. ถอ้ ยคาํหรื อขอ้ ความที่มีความหมายเป็ นคติเราเรี ยกวา่ อะไร ก. โวหาร ข. วาทศิลป์ ค. ภาษิต ง. สุนทรพจน์ ๒. ข้ อใดเป็
นสํานวนเปรี ยบเทียบ ก. น้ าํ ตาตกใน ข. น้ าํพกัน้าํแรง ค. น้ าํหน่ึงใจเดียว ง. น้ าํซมึ บ่อทราย
๓. ข้ อใดใช้ สํานวนไทยถูกต้ อง ก.โจรปลน้ แบงกเ์ลือดเขา้ตาสูไ้ม่ถอย ข.กางเกงยนี ส์ตวัน้ีมีใชใ้ส่ไปวดัไปวาไดเ้ทา่ น้ นั แต่ไป
ไดท้ วั่ ค. สงัคมปั จจุบนั ดูไม่จริ งใจต่อกนั ใส่หนา้ยกัษเ์ขา้หากนั ตลอดเวลา ง. หน่วยงานน้ี ทาํงานเหมือน หุน่ กระบอก ที่ถู
กชกัใยอยขู่ า้งหลงัไม่มีผด ิ ๔. “พูดอะไรไม่มีหรู ูด ไม่ควรที่จะพูดก็เผย รู้เรื่ องของใครไม่เคย จะเฉยเลยละโพนทะนา”
พฤติกรรมการพูดของบุคคลตามคําประพนัธข์ า้งตน้ ตรงกบั สาํนวนไทยในข้ อใด ก . ฆ้ องปากแตก ข. ปากหอยปากปู ค.
ปลาหมอตายเพราะปาก ง. ต่อความยาวสาวความยดื ๕. สํานวนในขอ้ ใดจะเติมลงในช่องวา่ งไดอ้ ยา่ งเหมาะสม “ขอ้ สอ
บน้ี ดูดีๆ แลว้ ไม่ยากหรอก ตวัเลือกมนัลวงอยนู่ ิดเดียวเฉลยแลว้ จะตอ้ งร้ องอ๋อ นี่มนั …แท้ ๆ” ก . ผีบงั ตา ข. หญ้ าปากคอก
ค. ใกลเ้กลือกินค่าง ง. เส้ นผมบังภูเขา ๖. ข้ อใดใช้ สํานวนผิด ก. เขาเอาใจออกห่างโดยไปเขา้กบัศตัรูของเรา ข.วารุณีไม่
ชอบทาํงานเพราะเธอเป็ นคนประเภทถนิมสร้ อย ค.ความรู้ที่เธอสอนเขาน้ นั ยากเกินที่เขาจะรับไดเ้หมือนกบั สีซอใหค้ วาย
ฟั ง ง.ผใู้หญ่จะสอนเสมอวา่ เวรกรรมน้ นั จะส่งผลต่อผทู้ าํ เหมือนกงเกวยีนกาํ เกวียน ๗ . สํานวนใดใชก้ ลา่ วเพอื่ เตือนสติ
ก. เงาตามตัว ข.ไวเ้น้ือเชื่อใจ ค. คอขาดบาดตาย ง. บ้ านเมืองมีขื่อมีแป

๘. ข้ อใดใช้ สํานวนถูกต้ อง ก.ลูกสาวฉนัเป็ นคนที่เรี ยกว่ากระเชอก้ นรั ั่วจริ งๆ ขา้วของที่เก็บไวไ้ม่เคยจาํไดว้่ าเก็บไวท้ี่ ไหน ข.
ทําอะไรควรคิดให้ รอบคอบ ผูใ้หญ่วา่ กล่าวตกั เตือนก็ควรปฏิบตั ิตาม เพราะผูใ้หญ่ อาบน้ าํร้อนมาก่อน ค. เขาชอบทํางาน
แบบขายผ้ าเอาหน้ ารอด วนั น้ี ก็เช่นกนั พอรู้วา่ เจา้นายจะมาตรวจโรงงาน ก็รีบทาํความสะอาดทันที ง . ข่าวเหตุการณ์
ระเบิดในห้ างเมื่อเดือนก่อน ขณะน้ี ยงัไม่ร้ ูผลการสอบสวนเรื่ องเงียบ หายไปเหมือนคลื่นใตน้ ้าํ ๙. ข้ อใดเป็ นสํานวนที่สร้ าง
จากความเชื่อของคนไทย ก.วนัโกนไม่ละวนั พระไม่เวน้ ข. ซ้ื อควายหนา้นา ซ้ื อผา้หนา้หนาว ค. ตกัน้าํใส่กะโหลก ชะโงกดู
เงา ง. น้ าํร้อนปลาเป็ น น้ าํ เย็นปลาตาย ๑๐. ข้ อความในข้ อใดไม่เกี่ยวกบัการเลือกคูแ่ ละการครองเรี ยน ก.กิ่งทองใบหยก
เรื อล่มในหนอง ทองจะไปไหน ข. ปลูกเรื อนคร่อมตอ ชายขา้วเปลือก หญิงขา้วสาร ค. เด็ดดอกไมร้่ วมตน้ ปลูกเรื อนตามใจ
ผอู้ย่สู อยดอกฟ้า ง. หนูตกถังข้ าวสาร ทองแผน่ เดียวกนั คลุมถุงชน ๑๑. ข้ อใดใช้ สํานวนไม่ถกู ต้ อง ก. เขาตอ้ งเสียเงินไปที
ละเล็กทีละนอ้ ยเบ้ี ยบา้ยรายทางไปเรื่ อยๆ ข. เขาชอบยคุ นโนน้ แหยค่ นน้ี เป็ นการเส้ี ยมเขาควายใหช้ นกนัแทๆ้ ค.ถาม
อะไรก็ไม่ตอบ กลวัดอกพกิลุ จะร่วงหรื ออยา่ งไร ง. เขาเป็ นคนตระหนี่ถี่เหนียวเก็บเบ้ี ยใตถุ้นร้ านอยเู่สมอ ๑๒. “งาน
จะสําเร็จไดท้ ุกคนตอ้ งร่วมปรึกษาหารื อกนั ร่วมทาํงานกนั ไม่ใช่ตา่ งคนต่างคิดต่างคน ต่างทาํถ้าเป็ นเช่นน้ ี ย่อมประสบ
ความสําเร็จได้ ยาก” การทํางานที่ไม่ประสบความสาํ เร็จ ตรงกับ สํานวนในข้ อใด ก . พายเรื อคนละที ข. พายเรื อในหนอง
ค. พายเรื อทวนน้ าํ ง. พายเรื อในอ่าง

๑๓. สํานวนคูใ่ ดมีความหมายเหมือนกนั ก.ไม่ร้ ูทิศรู้ทาง -ไม่ร้ ูร้อนรู้หนาว ข.ไม่ร้ ูเหนือรู้ใต้ -ไม่ร้ ูอิโหน่อีเหน่ ค.ไม่เออออ
ห่อหมก-ไม่อินงั ขังขอบ ง. ไม่ชอบมาพากล-ไม่เป็ นโลเ้ป็นพาย ๑๔.ขอ้ ความต่อไปน้ี สรุ ปความไดต้ ามขอ้ ใด “การสงั่ งาน
การตดัสินใจควรจะมาจากนายเพยีงคนเดียว มีหลายคาํสงั่ ก็แย่สมมติถา้มีมา้ ลากเกวยีนตวัเดียวแต่มีคนขบั สองคน คน
หน่ึงสะบดัแสใ้หเ้ดินทางขวาอีกคนใหไ้ปซา้ย มา้มนัไม่ร้ ู จะไปทางไหน” ก. ชักใบให้ เรื อเสีย ข.ล่ามมา้สองปาก ค. มากหมอ
มากความ ง.ขา้สองเจา้บา่ วสองนาย ๑๕.ข้ อใดสะท้ อนให้ เห็นความเชื่อที่เป็ นปรัชญาพุทธศาสนา ก.ผซี ้าํ ด้ าํพลอย ข. ปิ ด
ทองหลังพระ ค.ววัใครเขา้คอกคนน้ นั ง. ตื่นแต่ตกึ สึกแต่หนุ่ม

ตอนที่ ๒ จับคสู่ านวนโวหารและความหมาย จุดประสงค์การเรี ยนรู้นกั เรี ยนสามารถ ๑. มีความรู้ความเขา้ใจเกี่ยวกบั สาํ


นวน สุภาษิต คําพังเพย ๒. บอกความหมายของสํานวน สุภาษิต คําพังเพย ค าชี ้แจง ให้ นกั เรี ยนจบัคสู่ ํานวนกับความ
หมาย และนาํ ตวัอกั ษรหน้ าความหมาย เติมลงใน ช่องวา่ ง หลงัสาํนวนที่กาํหนดให้ ข้อละ ๑ คะแนน (๒๐ คะแนน) ส
านวน ความหมาย ๑. น้ าํทว่ มปาก ………. ก. เมียหลวง ๒. ปากวา่ มือถึง ………. ข. การที่ตามหาเท่าไหร่ๆ ก็ไม่พบ ๓.
ฝากผีฝากไข้ ………. ค.คนมงั่ มีแต่งตวัซอมซ่อ ๔. ฟ้ืนฝอยหาตะเขบ็ ………. ง. เลิกกิจการเพราะขาดทุน ๕. บา้นใหญ่
………. จ. หมดวติกกงัวล ๖. พลิกแผน่ ดิน ………. ฉ. พดูไม่ออกเพราะเกรงจะมีภยัตอ่ ตน และผู้อื่น ๗. ผา้ข้ีริว้ ห่อทอง
………. ช.ขอยึดเป็ นที่พงึ่ จนวันตาย ๘. ยกภูเขาออกจากอก ………. ซ. พอพดูก็ทาํ เลย. ๙. ร่มไมช้ ายคา ………. ฌ.
ร้ื อฟื้ นเรื่ องเก่าที่จบลงไปแลว้ ๑๐. ม้ วนเสื่อ ………. ญ.กินแลว้ ใหผ้ อ้ื่ นจ่
ู าย ๑๑.ฤๅษีแปลงสาร ………. ฎ. เล่นชูก้ บั ชาย
อื่นที่มิใช่สามีตน ๑๒.วัวลืมตีน ………. ฏ. ทาํใหเ้สียท่าหรื อเสียเหลี่ยม ๑๓. สวมเขา ………. ฐ. คนที่ได้ ดีแล้ วลืมตัว ๑๔.
ล้ มทับ ………. ฑ. ที่พงึ่ อาศัย ๑๕. หักลํา ………. ฒ. การแปลงเรื่ องร้ ายให้ เป็ นเรื่ องดี ๑๖. แทรกแผน่ ดิน ……….
ณ.ขยนั ทาํงานอยตู่ ลอดเวลา ๑๗. เด็กอมมือ ………. ด. หา้มไม่อยู่ ๑๘. จับงูข้างหาง ………. ต. ทาํสิ่งที่เสี่ยงอนั ตราย
๑๙. ตัวเป็ นเกลียว ………. ถ.ผไู้ม่ร้ ูประสีประสา ๒๐. ช้ างเหลือขอ ………. ท. หลีกหนีไปให้ พ้นเพราะอันตราย ผลการ
ทําแบบฝึ กทักษะ ตอนที่ ๒จบัคสู่ าํนวนโวหารและความหมายได้ ............... คะแนน ๔๑ แบบฝึ กทักษะ รายวิชาหลัก
ภาษาไทยในชีวิตประจําวัน ท๓๐๒๐๕ สําหรับนักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ชุดที่ ๔ เรื่ อง ถ้ อยคําและสํานวน ตอนที่ ๓ ค า
ไหนส านวน จุดประสงค์การเรี ยนรู้นกั เรี ยนสามารถ ๑. มีความรู้ความเขา้ใจเกี่ยวกบั สาํนวน สุภาษิต คําพังเพย ค าชี ้แจง
ให้ นกั เรี ยนขีดเส้ นใต้ คําที่เป็ นสํานวนโวหารให้ ถกู ต้ องมี ๔ ชุด ชุดละ ๒๐ ข้ อ ๒๐ คะแนน รวม ๔ ชุด ๘๐ คะแนน ก . ส
านวน ๑ ค า ค าชี ้แจงให้ นกั เรี ยนขีดเส้ นใต้ สํานวนโวหารที่ถกู ต้ องที่สดุ ๑ สํานวน ข้ อละ ๑ คะแนน (๒๐ คะแนน) ๑. กรุบ
กรวย กรอบ ๒. กร่อย กร้ าน กร่าย ๓. บ้ วน บ๊ วย บ่วง ๔. เขยอ้ื น เขยง่ เขม่น ๕. ปอม ปอด ปอป ๖. เผา เผ็ด เผย ๗. ฝั่ ง
ฝอย ฝิ่ น ๘. พะยูน พะแนง พะโล้ ๙. ฟื น ฟั น ฟูก ๑๐.มาร มาก มอบ ๑๑.ฮุบ โฮ่ง ฮองเฮา ๑๒.สวิง สวาปาม สวาท
๑๓.แห้ ว หิ ้ง ห้ วย ๑๔.ปุ๋ ย ปิ๋ ว ป๋ อ ๑๕.หมาง หมอน หมู ๑๖.สาม เสียบ สุงสิง ๑๗.หิน ห่าน หุ้น ๑๘.เขมร แขม เขมือบ
๑๙.เส็งเคร็ง สอบสวน สงั่ เสีย ๒๐.เฮ้ ว เฮง เฮ้ ย ผลการทําแบบฝึ กทักษะ ตอนที่ ๓ คําไหนสํานวน ก.สํานวน ๑ คํา ได้
............... คะแนน ๔๒ แบบฝึ กทักษะ รายวิชาหลักภาษาไทยในชีวิตประจําวัน ท๓๐๒๐๕ สําหรับนักเรี ยนมัธยมศึกษาปี
ที่ ๖ ชุดที่ ๔ เรื่ อง ถ้ อยคําและสํานวน ข. ส านวน ๒ ค า ค าชี ้แจงให้ นกั เรี ยนขีดเส้ นใต้ สํานวนโวหารที่ถกู ต้ องที่สดุ ๑ สํา
นวน ข้ อละ ๑ คะแนน (๒๐ คะแนน) ๑. นกน้ อย นกยูง นกรู้ ๒. เทกระเป๋ า เทวดา เทปูน ๓. บีบคอ บีบน้ าํ ตา บีบนวด ๔.
นกสับ นกตุม่ นกต่อ ๕. บานปลาย บานเช้ า บานเย็น ๖. ปล่อยปลา ปล่อยไก่ ปล่อยนก ๗. มุมฉาก มุมป้ าน มุมมืด ๘.
นอนนก นอนเล่น นอนควํ่า ๙. เทพา เท้ งเต้ ง เทครัว ๑๐.บุกเบิก เบ้ี ยล่าง บอบบาง ๑๑.เอาหน้ า เอาเถอะ เอาแน่ ๑๒.แหบ
แห้ ง แหม่มกะปิ แหนมสด ๑๓.เหะหะ เหวอะหวะ เหวี่ยงแห ๑๔.ไสต้ิ่ ง ไส้ แห้ ง ไส้ เลื่อน ๑๕.เล่นน้ าํ เล่นละคร เล่นวา่ ว
๑๖.ออกลูก ออกเวร ออกงิ ้ว ๑๗.เล้ี ยงตอ้ ย เล้ี ยงดู เล้ี ยงผี ๑๘.สันเขา สวมเขา สี่ขา ๑๙.แหกคอก หาค่า หกบท
๒๐.รวบรัด รอบจัด เร่งรี บ ผลการทําแบบฝึ กทักษะ ตอนที่ ๓ คําไหนสํานวน ข.สํานวน ๒ คํา ได้

You might also like