Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 428

¿Êԡʏ¾×é¹°Ò¹áÅÐà¾ÔèÁàµÔÁ Á.

5
� ์¹à·¤¹Ô¤ à¾×è;ԪԵ⨷¤íÒ¶ÒÁáÅÐÊÌҧ¤ÇÒÁࢌÒ㨠¾ÃŒÍÁ¹íÒä»»ÃÐÂØ¡µãªŒ
� àËÁÒÐÊíÒËÃѺàµÃÕÂÁµÑÇÊͺà¡çº¤Ðá¹¹ ¡ÅÒ§ÀÒ¤ áÅлÅÒÂÀÒ¤
� à¾ÔÁè ·Ñ¡ÉСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÇÔ·ÂÒÈÒʵÏ à¾×èÍàµÃÕÂÁ¾ÃŒÍÁ㹡ÒÃÊͺ O-NET

วราวุธ สุขมาก
GOAL ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
วราวุธ สุขมาก.
GOAL ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5.--กรุงเทพฯ : แม็คเอ็ดดูเคชั่น, 2557.
428 หน้า. --(GOAL).

1. ฟิสิกส์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา). I. ชื่อเรื่อง.

530
ISBN 978-616-274-465-5

จัดพิมพ์และจำ�หน่ายโดย

ผู้เขียน : วราวุธ สุขมาก


สงวนลิขสิทธิ์ : กันยายน 2557
ราคาจำ�หน่าย : 200 บาท
การสั่งซื้อ : ส่งธนาณัติสั่งจ่าย ไปรษณีย์ลาดพร้าว 10310 ในนาม บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำ�กัด
เลขที่ 9/99 อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว 38 ถนนลาดพร้าว แขวงจันทรเกษม
เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
% : 0-2938-2022-7 FAX : 0-2938-2028
www.MACeducation.com
พิมพ์ที่ : บริษัท ฐานการพิมพ์ จำ�กัด

(สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย ห้ามลอกเลียน ไม่ว่าจะเป็นส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร)


¤íÒ¹íÒ
หนังสือคูมือ ชุด GOAL ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.ปลาย ของบริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น
จํากัด มีเนื้อหาตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์) หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมีจุดมุงหมายเพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยม-
ศึกษาปที่ 4-6 ใช้เปนคูมือประกอบการเรียนรายวิชาฟิสิกส์นอกเวลาเรียนปกติ หนังสือคูมือชุดนี้
มีทั้งหมด 3 เลม ดังนี้
1. หนังสือคู่มือ GOAL ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.4
2. หนังสือคู่มือ GOAL ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
3. หนังสือคู่มือ GOAL ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.6
หนังสือคูม อื ชุดนี้ แตละเลมประกอบด้วย เนือ้ หาโดยสรุปทีม่ งุ ให้นกั เรียนสามารถเรียนรู้
หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองและฝกทําแบบทดสอบ โดยเน้นสร้างความเข้าใจอยางงายด้วย
เทคนิคตางๆ เชน เทคนิคการจํา เทคนิคการวิเคราะห์โจทย์ เทคนิคการสังเกตสิ่งที่โจทย์กําหนดให้
เปนต้น เพื่อชวยให้นักเรียนตอบโจทย์คําถามได้อยางรวดเร็ว อีกทั้งยังเปนการประเมินผลตนเอง
ในแตละเนื้อหา อันเปนการเพิ่มพูนความเข้าใจและประสบการณ์ สร้างความมั่นใจ และพร้อมที่
จะนําไปประยุกต์ใช้เพื่อการสอบได้
ทั้งนี้ บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำากัด หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือคูมือ ชุด GOAL ฟิสกิ ส์
พืน้ ฐานและเพิม่ เติม ม.ปลาย จะอํานวยประโยชน์ให้แกผอู้ า นได้เปนอยางดี และหากมีขอ้ สงสัยหรือ
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหนังสือคูมือชุดนี้ กรุณาติดตอได้ที่ บริษัท แม็คเอ็ดดูชั่น จํากัด เพื่อเปน
ประโยชน์ในการพัฒนาหนังสือคูมือเลมตอไปในอนาคต

บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำากัด


สาระที่ 1 สาระที่ 2
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต ชีวิตกับสิ่งแวดลอม

มาตรฐาน ว 1.1 มาตรฐาน ว 2.1


เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอม
และหนาที่ของระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกัน กับสิง่ มีชวี ติ ความสัมพันธระหวางสิง่ มีชวี ติ ตางๆ ในระบบนิเวศ
มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู สื่ อ สารสิ่ ง ที่ เรี ย นรู แ ละ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสาร
นําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต กลุมสาระการเรียนรู สิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
มาตรฐาน ว 1.2 วิทยาศาสตร มาตรฐาน ว 2.2
เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะ เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากร
ทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ธรรมชาติในระดับทองถิ่น ประเทศ และโลก นําความรูไปใช
ทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบตอมนุษย ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น
และสิ่ ง แวดล อ ม มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู แ ละ อยางยั่งยืน
จิ ต วิ ท ยาศาสตร สื่ อ สารสิ่ ง ที่ เรี ย นรู แ ละนํ า ความรู ไ ปใช
สาระที่ 4 สาระที่ 3
ประโยชน แรงและการเคลื่อนที่
สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 4.1 มาตรฐาน ว 3.1


เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร เขาใจสมบัตขิ องสาร ความสัมพันธระหวางสมบัตขิ องสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนีย่ ว
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช ระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่
ประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
มาตรฐาน ว 4.2 มาตรฐาน ว 3.2
เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย
สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช การเกิดปฏิกิริยามีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่
ประโยชน เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
สาระที่ 5 สาระที่ 6
พลังงาน กระบวนการเปลี่ยนแปลง

มาตรฐาน ว 5.1 มาตรฐาน ว 6.1

เข า ใจความสั ม พั น ธ ร ะหว า งพลั ง งานกั บ การดํ า รงชี วิ ต เขาใจกระบวนการตางๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก


การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ความสัมพันธของกระบวนการตางๆ ทีม่ ผี ลตอการเปลีย่ นแปลง
ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอมมีกระบวนการ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการ
สื บ เสาะหาความรู สื่ อ สารสิ่ ง ที่ เรี ย นรู แ ละนํ า ความรู ไ ปใช กลุมสาระการเรียนรู สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู
ประโยชน วิทยาศาสตร และนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ 7
สาระที่ 8 ดาราศาสตรและอวกาศ
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร
มาตรฐาน ว 7.1
มาตรฐาน ว 8.1 เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี และเอกภพ การปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะ
และผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสาร
ใช ก ระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร ใ น
สิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
การสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทาง
ธรรมชาติที่เ กิ ดขึ้นสวนใหญ มีรูปแบบที่แนน อน สามารถ มาตรฐาน ว 7.2
อธิบายและตรวจสอบไดภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูใน
ชวงเวลานั้นๆ เขาใจวาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และ เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศทีน่ าํ มาใชในการสํารวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ดานการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร
สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอม
มาตรฐาน ว 8.1 มาตรฐาน ว 4.2
มาตรฐาน ว 4.1
ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตร เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติ
เข า ใจธรรมชาติ ข องแรงแม เ หล็ ก ไฟฟ า แรงโน ม ถ ว ง และ
ในการสื บ เสาะหาความรู การแก ป ญ หา รู ว า มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูแ ละจิตวิทยาศาสตร สือ่ สาร
แรงนิ ว เคลี ย ร มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู สื่ อ สารสิ่ ง ที่
ปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น สวนใหญมี สิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม
รูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได
ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ
เข า ใจว า วิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี สั ง คม และ
สิ่งแวดลอม มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน มาตรฐาน ว 5.1
สาระที่ 4
แรงและการเคลื่อนที่ เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการ
ดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงานปฏิสัมพันธ
สาระที่ 5 ระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงาน
สาระที่ 8 พลังงาน
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร ตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะ
กลุมสาระการเรียนรู
หาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไป
และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร ใชประโยชน
(ฟสิกส)
มาตรฐาน ว 7.2 สาระที่ 7 สาระที่ 6
ดาราศาสตรและอวกาศ กระบวนการ
เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่
นํ า มาใช ใ นการสํ า รวจอวกาศและ
เปลี่ยนแปลงของโลก
ทรัพยากรธรรมชาติ ดานการเกษตรและ มาตรฐาน ว 7.1 มาตรฐาน ว 6.1
การสื่ อ สาร มี ก ระบวนการสื บ เสาะหา
ความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่ เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การ เขาใจกระบวนการตางๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความ
เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยาง ปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มี สัมพันธของกระบวนการตางๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
มีคุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอม กระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและ
เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน จิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
ÊÒúÑÞ
หน้า
บทที่ 1 ของไหล 1
(ตรงตามมาตรฐาน ว 5.1)
- ความหนาแนน 1
- ความดันในของเหลว 4
- กฎของพาสคัล 11
- แรงพยุงและหลักอาร์คิมีดีส 13
- ความตึงผิวและแรงตึงผิว 20
- ความหนืดและแรงหนืด 23
- พลศาสตร์ของของไหล 26
แบบฝกหัด 33
เฉลย 41

บทที่ 2 ความร้อน 53
(ตรงตามมาตรฐาน ว 5.1)
- ความร้อน 53
- สมบัติของแกสอุดมคติ 58
- ทฤษฎีจลน์ของแกส 64
- พลังงานภายในระบบ 69
แบบฝกหัด 75
เฉลย 81
หน้า
บทที่ 3 คลื่นกล 89
(ตรงตามมาตรฐาน ว 5.1)
- การถายโอนพลังงานของคลื่น 89
- ชนิดของคลื่น 89
- คลื่นผิวนํ้า 90
- เฟสของคลื่น 93
- การซ้อนทับของคลื่น 96
- สมบัติของคลื่น 96
แบบฝกหัด 107
เฉลย 114

บทที่ 4 เสียง 123


(ตรงตามมาตรฐาน ว 5.1)
- ธรรมชาติของเสียงและการได้ยิน 123
- อัตราเร็วของเสียง 123
- การสะท้อนของเสียง 124
- ความเข้มเสียง 125
- ระดับความเข้มเสียง 126
- การสั่นพ้องของเสียงและความถี่ธรรมชาติ 128
- บีตส์ของเสียง 131
- ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ 133
- คลื่นกระแทก 137
- การนําความรู้เรื่องเสียงไปใช้ประโยชน์ 140
แบบฝกหัด 141
เฉลย 148
หน้า
บทที่ 5 แสงเชิงฟสิกส 162
(ตรงตามมาตรฐาน ว 5.1)
- การแทรกสอดของแสง 162
- การเลี้ยวเบนของแสง 165
- เกรตติง 166
- การกระเจิงของแสง 168
แบบฝกหัด 170
เฉลย 173

บทที่ 6 แสงและทัศนอุปกรณ 181


(ตรงตามมาตรฐาน ว 5.1)
- การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง 181
- การสะท้อนของแสง 182
- การหักเหของแสง 190
- เลนส์บาง 194
- ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง 200
- ทัศนอุปกรณ์ 202
- ความสวาง 205
- ตาและการมองเห็นสี 206
- สี 208
- การถนอมสายตา 209
แบบฝกหัด 210
เฉลย 213

แบบทดสอบชุดที่ 1 220
เฉลยแบบทดสอบชุดที่ 1 235
หน้า
แบบทดสอบชุดที่ 2 257
เฉลยแบบทดสอบชุดที่ 2 271

แบบทดสอบชุดที่ 3 295
เฉลยแบบทดสอบชุดที่ 3 308

แบบทดสอบชุดที่ 4 329
เฉลยแบบทดสอบชุดที่ 4 342

แบบทดสอบชุดที่ 5 360
เฉลยแบบทดสอบชุดที่ 5 371

แบบทดสอบชุดที่ 6 386
เฉลยแบบทดสอบชุดที่ 6 398
º··Õè 1 ¢Í§äËÅ
ความหนาแนน
ความหนาแนน (density) คือ อัตราสวนของมวลตอปริมาตร ถาวัตถุ 2 กอนมีปริมาตร
เทากัน กอนใดมีมวลมากกวาก็จะมีความหนาแนนมากกวา ใชสัญลักษณ  (อานวา โรว) ดังสมการ
m
 =
V

เมื่อ  คือ ความหนาแนนของสาร มีหนวยเปน กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร (kg/m3)


m คือ มวลของสาร มีหนวยเปน กิโลกรัม (kg)
V คือ ปริมาตรของสาร มีหนวยเปน ลูกบาศกเมตร (m3)

ความหนาแนนอาจใชหนวยเปนกรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร (g/cm3) ขึ้นอยูกับสถานการณ


ในการใชงาน
ความหนาแนนสัมพัทธ (relative density) คือ อัตราสวนระหวางความหนาแนนของสารทีส่ นใจตอ
ุ หภูมิ 4 องศาเซลเซียส ความหนาแนนสัมพัทธเรียกอีกชือ่ วา ความถวงจําเพาะ
ความหนาแนนของนํา้ ทีอ่ ณ
(specific gravity)

ความหนาแนนสัมพัทธ = ความหนาแนนของสาร
ความหนาแนนของนํ้าที่ 4C

หมายเหตุ
ความหนาแนนสัมพัทธไมมีหนวย เปนคาที่เปรียบเทียบวาสารนั้นมีความหนาแนนเปน
กี่เทาของความหนาแนนของน้ํานั่นเอง
2 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ตารางแสดงความหนาแนนของสารบางชนิด
ที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส และ 1 ความดันบรรยากาศ
ของไหล

ความหนาแนนของสาร
สาร 3 3
ความหนาแนนสัมพัทธ
kg/m g/cm

3
19.310 19.3 19.3
ทองคํา 3
13.610 13.6 13.6
ปรอท 3
11.310 11.3 11.3
ตะกั่ว 3
7.810 7.8 7.8
เหล็ก
3
แกว -
2.4 2.810 -
2.4 2.8 -
2.4 2.8
3
อะลูมิเนียม 2.710 2.7 2.7
3
นํ้าทะเล 1.02510 1.025 1.025
3
นํ้าจืดบริสุทธิ์ (4C) 1.00010 1.000 1.000
3
นํ้าแข็ง 0.9210 0.92 0.92
3
ไม -
0.3 0.910 -
0.3 0.9 -
0.3 0.9
3
นํ้ามันเบนซิน 0.87910 0.879 0.879
3
เอทิลแอลกอฮอล 0.80610 0.806 0.806
3
โฟม 0.10010 0.100 0.100
1.98 1.9810 1.9810
3 3
แกสคารบอนไดออกไซด
0.179 0.17910 0.17910
3 3
แกสฮีเลียม

เทคนิคการคํานวณ
การเปลี่ยนหนวยความหนาแนนของสารในหนวย kg/m3 มาเปน g/cm3 ทําไดโดยหารดวย 103
ทําใหความหนาแนนในหนวย g/cm3 มีคา เหมือนกับความหนาแนนสัมพัทธ แตความหนาแนน
สัมพัทธไมมีหนวย
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 3

ตัวอยางที่ 1 ทองคําแทงหนึ่งมีมวล 0.2 กิโลกรัม มีปริมาตร 1.03610


5
ลูกบาศกเมตร จงหาความ
หนาแนนของทองคํา
m

ของไหล
วิธีทํา จาก  =
V
0.2
แทนคา; =
1.03610
5

3 3
 = 19.310 kg/m
3
ดังนั้น ทองคํามีความหนาแนนเทากัน 19.310 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ตอบ

ตัวอยางที่ 2 จงหาความหนาแนนสัมพัทธของอะลูมิเนียม ซึ่งมีความหนาแนน 2.710


3
กิโลกรัมตอ
ลูกบาศกเมตร
วิธีทํา จาก ความหนาแนนสัมพัทธ = ความหนาแนนของสาร
ความหนาแนนของนํ้าที่ 4C
3
2.710
แทนคา; =
3
10
ความหนาแนนสัมพัทธ = 2.7
ดังนั้น ความหนาแนนสัมพัทธของอะลูมิเนียม คือ 2.7 ตอบ

ตัวอยางที่ 3 เหล็กแทงหนึง่ มีความหนาแนน 7.8103 kg/m3 จงหาความหนาแนนของเหล็กในหนวย g/cm3


3 3
10 g m 3 kg
วิธีทํา เหล็ก = 7.810 3 
kg
 6 3
m 10 cm
3
เหล็ก = 7.8 g/cm
ดังนั้น ความหนาแนนของเหล็ก คือ 7.8 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ตอบ

ตัวอยางที่ 4 โฟมมีความหนาแนนสัมพัทธ 0.3 และมีปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร จะมีมวลเทาไร


โฟม
วิธีทํา หา โฟม, จากความหนาแนนสัมพัทธ =
นํ้า
โฟม
แทนคา; 0.3 = 3
10
3 3
โฟม = 0.310 kg/m
m
หา m, จาก  =
V
3 m
แทนคา; 0.310 =
1
3
m = 0.310 kg = 300 kg

ดังนั้น โฟมมีมวล 300 กิโลกรัม ตอบ


4 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ความดันในของเหลว
ของไหล

ความดันในของเหลวขึ้นกับความลึก
ความดันในของเหลวเปนความดันที่เกิดจากความลึก เรียกวา ความดันเกจ (Pg)

จากรูป หาความดันของนํ้าในภาชนะที่จุด x โดย


F mg Vg Ahg
Pg = = = =
A A A A

จะได Pg = gh

เมื่อ คือ ความดันเกจของของเหลว มีหนวยเปน พาสคัล (Pa)


Pg
3
 คือ ความหนาแนนของของเหลว มีหนวยเปน กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร (kg/m )
h คือ ความลึกของของเหลว มีหนวยเปน เมตร (m)

ความดันบรรยากาศ (P0) หรือความกดอากาศ มีคา = 1105 Pascal


= 1 Bar
= 760 mmHg
= 760 torr
= 1 atm
ความดันสัมบูรณ = ความดันเกจความดันบรรยากาศ
หรือ Pสัมบูรณ = PgP0

เทคนิคการคํานวณ
โดยปกติในเรื่องของเหลวจะใชความดันเกจคํานวณหาความดันทุกอยาง แตถาหากโจทยถาม
ความดันสัมบูรณจึงคอยบวกความดันบรรยากาศเขาไป หรือถาเปนภาชนะเปดฝาจะสามารถ
หาความดันสัมบูรณได
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 5

ตัวอยางที่ 5 บอน้ําแหงหนึ่งมีน้ําในบอลึก 3 เมตร จงหาความดันเกจและความดันสัมบูรณที่กนบอ


วิธีทํา จาก Pg = gh

ของไหล
3
แทนคา; = 10 103
4
Pg = 310 Pa

และ Pสัมบูรณ = Pg+P0


4 5
= (310 )(10 )
5
Pสัมบูรณ = 1.310 Pa
4
ดังนั้น กนบอมีความดันเกจ 310 พาสคัล และมีความดันสัมบูรณ 1.3105 พาสคัล ตอบ

● ความดันเฉลี่ยของของเหลว
A
PA
ผิวน้ํา

B PB

จาก P = gh

จะได PA = 0; ( ไมมี h)
และ PB = gh

ความดันเกจที่จุด A (ผิวน้ํา) มีคาเปนศูนย สวนความดันเกจที่จุด B ( สวนลึกสุด) จะมีคามาก


ที่สุด ดังนั้น ความดันเฉลี่ยหาไดจาก
PAPB
Pเฉลี่ย =
2
0gh
=
2
gh
Pเฉลี่ย =
2

เทคนิคการคํานวณ
การหาความดันเฉลี่ยทําไดงายๆ โดยหาที่ระดับกึ่งกลางของความลึก เชน ถานํ้าลึก 4 เมตร
ก็จะใช h = 2 เมตร
6 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
แรงดันของของเหลว
ของไหล

การหาแรงดันของของเหลวใชในการคํานวณแรงดันของนํ้าในภาชนะหรือในเขื่อน โดยมี
2 กรณี คือ

1. แรงดันของของเหลวในแนวระดับ (เขื่อนกั้นนํ้าแบบแนวตรง)

ผิวน้ํา
F
h

F
จาก Pเฉลี่ย =
A
F = Pเฉลี่ยA

gh
= A
2
ghhL
= ; (A = hL)
2
2
gh L
F =
2

เมื่อ F คือ แรงดันของของเหลว มีหนวยเปน นิวตัน (N)


 คือ ความหนาแนนของของเหลว มีหนวยเปน กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร (kg/m3)
h คือ ความลึกของของเหลว มีหนวยเปน เมตร (m)
L คือ ความกวางของสันเขื่อน มีหนวยเปน เมตร (m)
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 7

2. แรงดันของของเหลวในแนวพืน้ เอียง (เขือ่ นเอียง)


L

ของไหล
F

ผิวน้ํา
x h  x sin 

จาก F = Pเฉลี่ยA

gh
= A
2
ghhL h
=
2 sin 
; A = xL และ x =
sin 
2
gh L
F =
2 sin 

ขอสังเกต
เขื่อนไมเอียงไมมี sin 
เขื่อนเอียงมี sin 

ตัวอยางที่ 6 เขื่อนกั้นน้ํามีสันเขื่อนยาว 50 เมตร 50 m


มีน้ําลึก 8 เมตร ดังรูป จงหาแรงดัน
ของน้ําที่กระทําตอเขื่อน
2
gh L
วิธีทํา จาก F =
2 sin 90 8m
3 2
10 108 50
แทนคา; =
2
3
10 106450
=
2
7
F = 1.610 N
7
ดังนั้น แรงดันของนํ้าที่กระทําตอเขื่อนเทากับ 1.610 นิวตัน ตอบ
8 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
เครื่องวัดความดัน
ของไหล

1. แมนอมิเตอร (Manometer) มีลักษณะเปนหลอดรูปตัวยู บรรจุของเหลวไวภายใน ใชวัด


ความดันเกจหรือความดันสัมบูรณกไ็ ด โดยการอานคาความแตกตางของระดับของเหลวในหลอดแตละขาง
แลวนํามาคํานวณหาความดัน

gas gas

แมนอมิเตอรทั่วไป แมนอมิเตอรใชวัดความดันแกส แมนอมิเตอรแบบเอียง

หลักในการใชแมนอมิเตอร มีดังนี้
1. ที่ระดับเดียวกัน ความดันเทากัน

2. ปริมาตรของของเหลวฝงที่ลดเทากับปริมาตรของของเหลวฝงที่เพิ่ม

3. ใชความดันเกจในการคํานวณ ถาโจทยถามความดันสัมบูรณคอยบวกเพิ่มภายหลัง

4. ถาหลอดแกวขาโตไมเทากัน ใชหลักการคํานวณเหมือนกับหลอดแกวขาโตเทากันแลวคอยนํา

คําตอบที่ไดมาคํานวณตามขนาดของขาหลอดภายหลัง

ขอสังเกต
การคํานวณแมนอมิเตอร มีดังนี้
1. กรณีมีของเหลว 1 ชนิด ใหใชผิวของเหลวฝงตํ่าสุดเปนตําแหนงอางอิง

2. กรณีมีของเหลว 2 ชนิดขึ้นไป ใหใชผิวรอยตอฝงตํ่าสุดเปนตําแหนงอางอิง


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 9

ตัวอยางที่ 7 แมนอมิเตอรขาโตสม่ําเสมออันหนึ่งภายในบรรจุน้ํามัน A B
ทีม่ คี วามหนาแนน 800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร มีระดับน้าํ มันในขา

ของไหล
ทั้งสองขางตางกัน 10 เซนติเมตร ดังรูป จงหาวาความดันทั้งสองขาง 10 cm

ตางกันเทาไร
วิธีทํา ใหตําแหนงตํ่าสุดของนํ้ามันเปนตําแหนงอางอิง น้ํามัน
จาก PA = gh

แทนคา; = 800100.1

PA = 800 Pa

และ PB = gh ; (h = 0)

PB = 0

ความดันของน้ํามันตางกัน = PAPB

= 8000 = 800 Pa

ดังนั้น ความดันทั้งสองขางตางกัน 800 พาสคัล ตอบ

A B
ตัวอยางที่ 8 แมนอมิเตอรแบบหลอดแกวอันหนึ่ง ภายในบรรจุน้ําที่มี
ความหนาแนน 103 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ตอมาเติมน้ํามันที่มีความ x
10 cm
หนาแนน 800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ลงไปในขาดานขวาสูง 10 h

เซนติเมตร จงหาวาระดับผิวน้ําดานซายอยูต่ํากวาระดับผิวน้ํามันดานขวา น้ํามัน


เทาไร น้ํา

วิธีทํา ของเหลวมี 2 ชนิด ใชรอยตอระหวางนํ้าและนํ้ามันดานขวาเปนตําแหนงอางอิง (หา h)


จาก PA = PB
(gh)นํ้า = (gh)นํ้ามัน
3
แทนคา; 10 10h = 800100.1

h = 0.08 m

h = 8 cm

ระดับผิวน้ําดานซายอยูต่ํากวาระดับน้ํามันดานขวา = 108 = 2 cm
ดังนั้น ระดับผิวนํ้าดานซายอยูตํ่ากวาระดับนํ้ามันดานขวาอยู 2 เซนติเมตร ตอบ
10 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
บารอมิเตอรแบบปรอท (mercury barometer) หรือเรียกวาบารอมิเตอรปรอทของตอรริเชลลี
(Torricelli) ประกอบดวยหลอดแกวทรงกระบอกปลายเปดขางหนึ่งยาว 80 เซนติเมตร เติมปรอทจนเต็ม
ของไหล

แลวนําไปควํ่าในภาชนะที่มีปรอทอยู ดังรูป ตอนบนจะมีที่วางเปนสุญญากาศ จึงไมมีความดันตอนบน


หลอดแกว
สุญญากาศ

PB h
PA PC
A C
B

ความดันบรรยากาศ (Pa) ที่กระทําที่ผิวปรอทในอางปรอทจะมีคาเทากับความดันเนื่องจาก


ความสูงของปรอท (h)
ดังนั้น Pa = PA = PC = PB = gh
5 2
Pa = ความดัน 1 บรรยากาศ = 1.0110 N/m
5 3
 = ความดัน 1 บรรยากาศ = 13.610 kg/m
2
g = ความเรงจากแรงดึงดูดของโลก = 9.8 m/s
5 3
แทนคา; 1.0110 = (13.610 )(9.8)h

h = 0.76 m = 76 cm = 760 mm

ความดัน 1 บรรยากาศเทียบไดกับความสูงของปรอทเทากับ 76 เซนติเมตร หรือ 760 มิลลิเมตร

บารอมิเตอรแบบแอนีรอยด (aneroid barometer) ประกอบดวยกลองโลหะที่ภายในบรรจุ


อากาศทีม่ คี วามดันตํา่ ตัวกลองอยูร ะหวางแผนสปริงทีต่ อ กับสเกลหนาปด ถาอากาศภายนอกมีความดันสูง
จะบี บ ให ก ล อ งยุ บ ตั ว ลง แต ถ  า อากาศภายนอกมี ค วามดั น ตํ่ า กล อ งจะพองตั ว ขึ้ น การยุ บ และการ
พองตัวของกลองนี้จะทําใหเข็มสเกลหนาปดชี้บอกความดันอากาศขณะนั้น
เนื่องจากความดันอากาศขึ้นกับความสูง ดังนั้นจึงดัดแปลงบารอมิเตอรแบบแอนีรอยดเปน
เครื่องมือวัดความสูงบนเครื่องบิน เรียกวา อัลติมิเตอร (altimeters)
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 11

กฎของพาสคัล

ของไหล
กฎของพาสคัล (Pascal’s law) กลาววา “เมือ่ ของเหลวทีอ่ ยูน งิ่ ในภาชนะปดไดรบั ความดัน ของเหลว
จะถายเทความดันที่ไดรับไปยังทุกตําแหนงในของเหลว” จากกฎของพาสคัลขอนี้จึงนํามาใชเปนหลักการ
ของเครื่องอัดไฮดรอลิก
เครื่องอัดไฮดรอลิก เปนเครื่องผอนแรงที่นํากฎของพาสคัลมาประยุกตใชโดยมีหลักการ ดังรูป
F
W
A a
P1 P2

จากรูป ความดันลูกสูบใหญ = ความดันลูกสูบเล็ก


P1 = P2

W = F
A a

เมื่อจัดรูปสมการใหม จะได

W = A
F a

ปริมาณ W เรียกวา การไดเปรียบเชิงกล (MA)


F
เมื่อ W = นํ้าหนักที่ตองการยก มีหนวยเปน นิวตัน (N)
F = แรงที่ใชกด มีหนวยเปน นิวตัน (N)
A = พื้นที่ลูกสูบใหญ มีหนวยเปน ตารางเมตร (m2)
a = พื้นที่ลูกสูบเล็ก มีหนวยเปน ตารางเมตร (m2)
12 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
นอกจากนี้ยังมีเครื่องอัดไฮดรอลิกแบบติดคันโยก โดยใชหลักการของโมเมนตและคานเพื่อชวย
ผอนแรงอีกตอหนึ่ง โดยมีหลักการดังนี้
ของไหล

F
L
จุดหมุน  จาก Mทวน = Mตาม
W F
A a F = FL

FL
F =


W
นํา F =
FL
มาแทนใน =A
 F a
W A L
จะได MA =
F
=  
a 

หมายเหตุ

MA = W เรียกวา การไดเปรียบเชิงกลเชิงปฏิบัติ
F
MA = A เรียกวา การไดเปรียบเชิงกลเชิงทฤษฎี
a
ถาตองการคิดเปนเปอรเซ็นตใหคูณ 100% เขาไป

ตัวอยางที่ 9 เครื่องอัดไฮดรอลิกมีพื้นที่ลูกสูบใหญและพื้นที่ลูกสูบเล็กเปน 10 : 1 จะตองใชแรงกดที่ลูกสูบ


เล็กขนาดกี่นิวตันจึงจะสามารถยกกอนนํ้าหนักขนาด 800 นิวตันไดพอดี
วิธีทาํ
F
800 N W = F
จาก
A a A a

แทนคา; 800 = F
10 1
F = 80 N

ดังนั้น ใชแรงขนาด 10 นิวตัน กดที่ลูกสูบเล็ก ตอบ


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 13

ตัวอยางที่ 10 เครื่องอัดไฮดรอลิกแบบมีคานโยกมีขนาดลูกสูบเล็ก 4 ตารางเซนติเมตร มีขนาดลูกสูบใหญ


48 ตารางเซนติเมตร ถาออกแรงกดปลายคาน 10 นิวตัน ดังรูป จะสามารถยกนํ้าหนักไดเทาไร

ของไหล
F  10 N
10 cm 30 cm

W
A a

W = A L
วิธีทาํ จาก
F a  
W = 48 40
แทนคา;
10
 
1 10

W = 1,920 N

ดังนั้น สามารถยกกอนนํ้าหนักได 1,920 นิวตัน ตอบ

แรงพยุงและหลักอารคิมีดีส

แรงพยุง (buoyant force) คือ นํ้าหนักของของเหลวที่วัตถุจมลงไปแทนที่ สามารถคํานวณไดจาก

FB = ลVจg

เมื่อ ล เปนความหนาแนนของของเหลว มีหนวยเปน กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร (kg/m3)


Vจ ปริมาตรของวัตถุที่จมในของเหลว มีหนวยเปน ลูกบาศกเมตร (m3)
g ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก มีหนวยเปน เมตรตอวินาที2 (m/s2)
14 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
รูปแบบการคํานวณ มีดังนี้
1. วัตถุลอยในของเหลว
ของไหล

หรือ
FB

mg FB

mg
จาก Fy = 0

FBmg = 0
FB = mg

ลVจg = mg

2. แขวนวัตถุหรือชั่งวัตถุในของเหลว

T T

หรือ

FB FB
mg mg

จาก Fy = 0

TFB = mg

หมายเหตุ
เครื่องชั่งสปริงใหคิดเปนแรงดึงเชือก T เหมือนกัน
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 15

3. ออกแรงกดวัตถุใหจมในของเหลว
Fกด

ของไหล
FB

mg

จาก Fy = 0

FB = Fกดmg

4. นํากอนนํ้าหนักไปวางทับวัตถุใหจมในของเหลว

mg2
FB

mg1

จาก Fy = 0

FB = mg1mg2

5. ผูกกอนนํ้าหนักไปวางทับวัตถุใหจมในของเหลว

mg1
FB2

FB1
mg2
จาก Fy = 0

FB1FB2 = mg1mg2
16 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
6. คนยืนบนแพหรือโปะ
ของไหล

FB
mgแพ

mgคน

จาก Fy = 0

FB = mgแพmgคน

7. ใชเชือกผูกวัตถุที่ลอยนํ้า

mg FB
T

จาก Fy = 0

FB = Tmg

เทคนิคการคํานวณที่ 1
1) วัตถุจมลงไปในของเหลวทั้งกอน (ไมวาจะจมมากหรือนอย) จะมีแรงพยุงเทากันหมด
ดังรูป
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 17

2) ผลตางของน้ําหนักของวัตถุที่ชั่งในอากาศและชั่งในของเหลวคือแรงพยุง เชน

ของไหล
ในอากาศ ในของเหลว

50 N 40 N

FB = 5040 = 10 N

เทคนิคการคํานวณที่ 2
โจทยกําหนดสวนที่จมเปนเปอรเซ็นต หรือถามวาสวนที่จมคิดเปนเปอรเซ็นตของปริมาตร
ทั้งกอน ใหใชวิธีเปรียบเทียบโดยไมตองพิจารณารูปรางของวัตถุ เชน

FB

mg

3 3
วัตถุจมลงไปในนํ้า 80% วัตถุจะมีความหนาแนนเทาไร (นํ้า = 10 kg/m )

จาก Fy = 0

FB = mg

นํ้าVจg = วVวg
นํ้าVจ = วVว
นํ้าVจ
ว =
ว
3
10 80%
=
100%
3
ว = 800 kg/m
18 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ตัวอยางที่ 11 วัตถุมีความหนาแนน 920 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร จมลงไปในนํ้าที่มีความหนาแนน 103
กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร มีสวนที่จมเปนกี่เปอรเซ็นตของปริมาตรทั้งกอน
ของไหล

FB

mg

วิธีทาํ จาก Fy = 0

FB = mg

ลVจg = วVวg
วVว
Vจ =
ล
920100%
แทนคา; = 3
10
Vจ = 92%

ดังนั้น วัตถุจมนํ้า 92 เปอรเซ็นตของปริมาตรทั้งกอน ตอบ

ตัวอยางที่ 12 วัตถุมวล 4 กิโลกรัม มีความหนาแนน 800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ลอยอยูในนํ้าดังรูป


จะตองออกแรงกดขนาดเทาไร จึงจะทําใหวัตถุจมนํ้าทั้งกอนพอดี
Fกด

FB

mg

วิธีทาํ จาก Fy = 0

FB = Fกดmg

Fกด = FBmg

= ลVจgmg

3 4
แทนคา; = 10  800 10 (410)
= 5040

Fกด = 10 N

ดังนั้น จะตองออกแรงกดขนาด 10 นิวตัน ตอบ


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 19

ตัวอยางที่ 13 วัตถุกอนหนึ่งเมื่อชั่งในอากาศอานคาได 80 นิวตัน เมื่อนําไปชั่งในนํ้าอานคาได 60

นิวตัน จงหาปริมาตรของวัตถุ

ของไหล
80 N 60 N

ชั่งในอากาศ
ชั่งในน้ํา
วิธีทาํ ผลตางของนํ้าหนักเมื่อชั่งในอากาศกับชั่งในนํ้า คือ แรงพยุง
จากโจทย FB = 8060
= 20

ลVจg = 20
3
แทนคา; 10 Vจ10 = 20
3
Vจ = 210 m
3

ดังนั้น วัตถุมีปริมาตร 2103 ลูกบาศกเมตร (เนื่องจาก Vจม = Vวัตถุ เพราะจมทั้งกอน) ตอบ

ตัวอยางที่ 14 โลหะผสมชิ้นหนึ่งมีความถวงจําเพาะ 5.0 และมีปริมาตร 103 ลูกบาศกเมตร นําไปชั่งใน


นํ้ามันที่มีความถวงจําเพาะ 0.8 เครื่องชั่งสปริงจะสามารถอานคาไดกี่นิวตัน

FB
mg

3 3 3
วิธีทาํ ความถวงจําเพาะของวัตถุ = 5.0 จึงมี ว = 510 kg/m , Vว = Vจ = 10
3
m และ
3 3
ล = 0.810 kg/m
จาก F = 0

T = mgFB

= (วVวg)(ลVจg)
3 3
แทนคา; = (510 10 10)(0.810 10 10)
3 3

T = 42 N

ดังนั้น เครื่องชั่งสปริงสามารถอานคาได 42 นิวตัน ตอบ


20 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

ความตึงผิวและแรงตึงผิว
ของไหล

แรงตึงผิว (surface tension) คือ แรงยึดระหวางโมเลกุลของของเหลวที่บริเวณผิวดึงกันไวเพื่อยึด


ผิวของของเหลวทําใหผิวของเหลวเรียบและตึง โดยของเหลวแตละชนิดจะมีแรงตึงผิวไมเทากัน โดยแรง
ตึงผิวจะมีทิศขนานกับผิวของของเหลวและตั้งฉากกับขอบของภาชนะที่ของเหลวสัมผัส
ปจจัยที่มีผลตอแรงตึงผิว มีดังนี้
1. อุณหภูมิของของเหลว เมื่ออุณหภูมิสูงแรงตึงผิวจะมีคานอย และจะมีคามากเมื่อของเหลวมี

อุณหภูมิตํ่า
2. สารเจือปนจะมีผลตอการลดแรงตึงผิว

การคํานวณแรงตึงผิวหาไดจากสมการ
F = L

เมื่อ F คือ แรงตึงผิว มีหนวยเปน นิวตัน (N)


 คือ ความตึงผิว มีหนวยเปน นิวตันตอเมตร (N/m)
L คือ ความยาวขอบวัสดุที่สัมผัสของเหลว มีหนวยเปน เมตร (m)

ลักษณะของความยาวขอบวัสดุ (L) แบบตางๆ ดังนี้


1. แผนทึบสี่เหลี่ยมยาวดานละ A

จะได L = ความยาวรอบรูป
A
L = 4A

2. วงกลมทึบรัศมี r

r จะได L = เสนรอบวง
L = 2πr

3. ชองวงกลมรัศมี r

จะได L = เสนรอบวง2 ดาน


r
L = 2πr2

L = 4πr
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 21

4. หวงวงแหวน
จะได L = เสนรอบวงขอบในเสนรอบวงขอบนอก

ของไหล
r L = 2πr2πR

L = 2π(r+R)

5. เสนลวดนํามาดัดเปนรูปสี่เหลี่ยมยาวดานละ A
จะได L = ความยาวรอบรูปภายในความยาวรอบรูปภายนอก
A L = 4A4A

L = 8A

6. แผนสี่เหลี่ยมกลวง
จะได L = ความยาวรอบรูปภายในความยาวรอบรูปภายนอก
A L = 4a4A
a
L = 4(aA)

7. เสนลวดยาว A
A
จะได L = ความยาว2 ดาน
L = 2A

การทดลองหาความตึงผิว ทําได 2 วิธี ดังนี้


วิธีที่ 1 ใชหลักการของโมเมนต โดยออกแรงดึงวัสดุที่สัมผัสกับผิวของเหลวและใชลูกตุม
ถวงนํ้าหนัก ดังรูป
1 2
จาก Mทวน = Mตาม
Fตึงผิว (mg) 1 = (F) 2
L  ความยาวรอบรูป และ  = F
mg ของเหลว L
mg1
ดังนั้น  =
L2
22 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
วิธีที่ 2 ใชหลักการซึมตามหลอดรูเล็ก (capillary tube) โดยนําหลอดรูเล็กจุมลงไปในของเหลว
จะทําใหระดับของของเหลวสูงหรือตํ่ากวาของเหลวภายนอก แลวนํามาคํานวณหาแรงตึงผิว
ของไหล

จุม ในนํา้ ระดับนํา้ ในหลอดจะสูงกวาระดับนํา้ ภายนอก


จุม ในปรอท ระดับปรอทในหลอดจะตํา่ กวาระดับปรอทภายนอก

จุมในน้ํา จุมในปรอท

ตัวอยางการคํานวณหาแรงตึงผิวกรณีจมุ  ในนํา้

จาก Fy = 0

Fmg = 0

F = mg

= ลVg ; m = V
2 2
F = ลπr hg ; V = πr h (r = รัศมีของหลอดรูเล็ก)
และ  = F ;L = ความยาวรอบรูปของหลอดรูเล็ก = 2πr
L
 rgh
 = ล
2

ตัวอยางที่ 15 หวงลวดวงกลมเสนรอบวง 10 เซนติเมตร จุมลงไปในของเหลว เพื่อใชทดลองหา


ความตึงผิว พบวาจะตองออกแรงดึง 0.04 นิวตัน จึงจะทําใหหวงวงกลมหลุดจากผิวของเหลวพอดี จงหา
ความตึงผิวของของเหลวชนิดนี้
วิธีทาํ หวงวงกลมมีเสนรอบวง 10 cm
F  0.04 N
แสดงวา L = 210 = 20 cm

= 0.2 m

จาก  = F
L
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 23

แทนคา; = 0.04
0.2
 = 0.2 N/m

ของไหล
ดังนั้น ของเหลวชนิดนี้มีความตึงผิว 0.2 นิวตันตอเมตร ตอบ

ตัวอยางที่ 16 เมื่อใชหลอดรูเล็กรัศมี 0.7 มิลลิเมตร จุมลงไปในนํ้าที่มีความหนาแนน 103 กิโลกรัมตอ


ลูกบาศกเมตร พบวานํ้าซึมเขาไปในหลอดรูเล็กสูง 2 เซนติเมตร จงหาความตึงผิวของนํ้า
ลrgh
วิธีทาํ จาก  =
2
3
10 0.710 100.02
3
แทนคา; = 2 cm
2
 = 0.07 N/m
ดังนั้น ความตึงผิวของนํ้ามีคา 0.07 นิวตันตอเมตร ตอบ

ความหนืดและแรงหนืด
ความหนืด (viscosity) คือ สมบัตเิ ฉพาะตัวของของเหลวทีใ่ ชตา นการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุในของเหลว
นั้นๆ
แรงหนืด (viscous force) คือ แรงที่ตานการเคลื่อนที่ของวัตถุในของเหลว มีคาขึ้นอยูกับขนาด
ของความเร็วของวัตถุและมีทิศทางตรงขามกับการเคลื่อนที่ โดยสามารถคํานวณหาแรงหนืดไดจากกฎของ
สโตกส (stokes’law)
F = 6πrv

เมื่อ F คือ แรงหนืดของของไหล มีหนวยเปน นิวตัน (N)


 คือ ความหนืดของของไหล มีหนวยเปน พาสคัล-วินาที (Pas)
r คือ รัศมีของโลหะทรงกลม มีหนวยเปน เมตร (m)
v คือ ความเร็วปลายของลูกโลหะกลม มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)

ในการทดลองเพื่อศึกษาผลของความหนืดของของเหลวที่มีผลตอการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้นนิยม
ใชกลีเซอรอลเทลงในหลอดใสยาว แลวนําลูกโลหะทรงกลมรัศมี r ใสลงในกลีเซอรอล แลวสังเกตผลของ
การเคลื่อนที่ พบวา
24 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

มีความเรง
ของไหล

ความเร็วปลาย (vT)

v คงตัว

ชวงแรกของการเคลือ่ นที่ ลูกโลหะเคลือ่ นทีด่ ว ยความเรง เพราะนํา้ หนักของลูกโลหะมีคา มากกวา


1.

แรงหนืดและแรงพยุง FหนืดFB
จาก F = ma a
mg(FFB) = mg
mg

2. ชวงหลังลูกโลหะเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัว เรียกวา ความเร็วปลาย (terminal velocity)

เพราะเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เร็วขึ้น ทําใหแรงหนืดเพิ่มขึ้น เปนผลใหแรงลัพธเปนศูนย


จาก F = 0 Fหนืด FB

mg = FFB

mg

3. สามารถเขียนความสัมพันธระหวางความเร็วและเวลาไดดังนี้
v(m/s)

vT vT  ความเร็วปลาย

t (s)

4. เมื่อลูกโลหะเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัว สามารถคํานวณหาความเร็วปลายไดจาก
F = 0

FFB = mg
F = mgFB

F = วVวgลVจg
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 25

6πrvT = Vวg (วล) ; V จ = Vว


3
4πr g(วล) 4 3
vT = ; Vว = πr
36πr 3

ของไหล
2 2
vT = r g (วล)
9

เทคนิคการคํานวณ
2
2r g(วล)
ความเร็วปลาย vT =
9
2
2r g(วล)
ความหนืด  =
9vT

ตัวอยางที่ 17 ในการทดลองเรื่องความหนืด นักเรียนคนหนึ่งใชลูกปดทรงกลมรัศมี 3 มิลลิเมตร มีความ


หนาแนน 1.4103 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ใหตกลงไปในของเหลวที่มีความหนาแนน 800 กิโลกรัมตอ
ลูกบาศกเมตร และมีความหนืด 2 พาสคัล-วินาที จงหาความเร็วปลายของลูกปดจากการทดลองนี้
2
2r g
วิธีทาํ จาก vT = (  )
9 ว ล
3 2 3 3
2(310 ) 10(1.410 0.810 )
แทนคา; =
92
2
2910 10610
6
=
92
vT = 610 m/s
3

ดังนั้น ลูกปดมีความเร็วปลาย 610


3
เมตรตอวินาที ตอบ

ตัวอยางที่ 18 จงหาความหนืดของของเหลวเมื่อใชลูกเหล็กความหนาแนนเปน 2 เทาของของเหลว และ


มีรัศมี r ปลอยลงไปในของเหลวจนมีความเร็วปลาย vT
2
2r g
วิธีทาํ จาก  = (  )
9vT ว ล
2
2r g
แทนคา; = (2ลล) ; (ว = 2ล)
9vT
2
2r g
 = 
9vT ล
2
2r g
ดังนั้น ของเหลวมีความหนืดเทากับ  ตอบ
9vT ล
26 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
พลศาสตรของของไหล
ของไหล

พลศาสตรของของไหลเปนการศึกษาสมบัติของของไหลที่มีการเคลื่อนที่ และเปนลักษณะการ
เคลื่อนที่อยางงาย โดยกําหนดใหของไหลที่พิจารณาเปนของไหลในอุดมคติ (ideal fluid) ซึ่งมีลักษณะดังนี้
1. มีการไหลอยางสมํ่าเสมอ

2. มีการไหลโดยไมหมุน

3. ไหลโดยไมมีแรงตานเนื่องจากแรงหนืด

4. เปนของไหลที่มีปริมาตรคงที่ ไมสามารถอัดได

สมการความตอเนื่อง
อัตราการไหล (volume flow rate, Q) คือ ปริมาตรของของไหลซึ่งไหลผานทอหรือชองทาง
การไหลใดๆ ในหนึ่งหนวยเวลา ดังสมการ
V
Q =
t

เมื่อ Q คือ อัตราการไหล มีหนวยเปน ลูกบาศกเมตรตอวินาที (m3/s)


3
V คือ ปริมาตรของของไหล มีหนวยเปน ลูกบาศกเมตร (m )

t คือ เวลา มีหนวยเปน วินาที (s)


เมื่อพิจารณาของไหลที่ไหลในทอที่มีความยาว S และมีพื้นที่ภาคตัดขวาง A ดังรูป

จากรูป ปริมาตร (V) = AS


สามารถคํานวณหาอัตราการไหลไดจากสมการ
V
Q =
t
AS
=
t
Q = Av
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 27

เมื่อ Q คือ อัตราการไหล มีหนวยเปน ลูกบาศกเมตรตอวินาที (m3/s)


2
A คือ พื้นที่ภาคตัดขวางของทอ มีหนวยเปน ตารางเมตร (m )

ของไหล
v คือ ความเร็วของของไหล มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)

เมื่อของไหลมีอัตราการไหลคงที่สามารถคํานวณโดยใชสมการความตอเนื่อง (equation of

continuity) ซึ่งหาอัตราการไหลของของไหลที่ไหลในทอที่แยกออกเปนหลายทางไดดังนี้

1 2 4

นั่นคือ Qตอนแรก = Qตอนหลัง

จะได Q1 = Q2 = Q3Q4Q5

หรือ A1v1 = A2v2 = A3v3A4v4A5v5

โดยขนาดของทอแตละสวนจะเทากันหรือไมก็ได

สมการแบรนูลลี
แบรนูลลี กลาววา “ผลรวมของความดัน พลังงานจลนตอหนึ่งหนวยปริมาตร และพลังงานศักย
โนมถวงตอหนึ่งหนวยปริมาตร ณ ตําแหนงใดๆ ภายในทอที่มีของไหลผานมีคาคงตัวเสมอ” ดังสมการ
1 2 1 2
P1gh1 v1 = P2gh2 v2
2 2

เมื่อ P คือ ความดัน มีหนวยเปน พาสคัล (Pa)


3
 คือ ความหนาแนนของของไหล มีหนวยเปน กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร (kg/m )
h คือ ความสูงของของไหลเทียบกับตําแหนงอางอิง มีหนวยเปน เมตร (m)

v คือ ความเร็วของของไหล มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)

สมการนี้เรียกวา สมการแบรนูลลี (Bernoulli’s equation)


โดยพิจารณาจากรูป ดังนี้
P2
v2

h2
P1
h1 v1 ระดับอางอิง
28 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
หมายเหตุ
ของไหล

1. ความสูง (h) ตองวัดจากตําแหนงอางอิงถึงจุดกึ่งกลางทอ


2. ความดัน P1 และ P2 มีคาเปนศูนย ถาเปนทอเปดปลาย

3. ความหนาแนน () ของของไหลตองเทากันทั้งทอ

รูปแบบการคํานวณโดยใชสมการของแบรนูลลี มีดังนี้
แบบที่ 1 ของไหลไหลในทอตรงแนวราบ (ปลายปด)
P1 P2
ตําแหนงอางอิง

จากรูป เมื่อเลือกแกนกลางเปนตําแหนงอางอิง จะทําให h1 = h2


1 2 1 2
จะได P1 v1 = P2 v2
2 2

แบบที่ 2 ของไหลไหลในทอที่เอียง (ปลายปด)

h2

ตําแหนงอางอิง
h1  0

จากรูป เมื่อเลือกปลายลางเปนตําแหนงอางอิง จะทําให h1 = 0


1 2 1 2
จะได P1 v1 = P2gh2 v2
2 2

ขอสังเกต
ถาปลายทอดานใดเปด ความดันดานนั้นจะเปนศูนย
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 29

แบบที่ 3 ถาใสนํ้าและมีรูหรือกอกดานลาง
2
v2

ของไหล
h2

ตําแหนงอางอิง v1
1

จากรูป ใชปลายลางเปนตําแหนงอางอิง h1 = 0 และรูดานลางเล็กกวาดานบนมากๆ สมมุติ


ให v2 = 0 เนื่องจากเปนทอปลายเปดทั้งสองดาน ดังนั้น P1 = P2 = 0
1 2
จะได 2
v1 = gh2
ความเร็วที่พุงออก v1 = √ 2gh2

ขอสังเกต
1. h2 ใหคิดจากรูดานลางขึ้นไปถึงผิวน้ําเทานั้น ไมตองคิดความสูงของน้ําทั้งหมด
2. ความเร็วของน้ําที่พุงออก คือ v = √ 2gh สามารถคํานวณไดเหมือนกับกฎการอนุรักษ

พลังงานเมื่อปลอยวัตถุมวล m ใหตกจากที่สูง h แลวคํานวณหาความเร็วของวัตถุขณะ


ตกกระทบพื้น ดังรูป

Ep = Ek
1 2
mgh = mv
2
v = √ 2gh
h

v
30 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
แบบที่ 4 ฝายนํ้าลน
ของไหล

v1 h1

h2

v2

จากรูป ฝายนํ้าลนเปรียบไดกับทอปลายเปดทั้งสองดาน ดังนั้น P1 = P2 = 0


1 2 1 2
จาก P1gh1 v1 = P2gh2 v2
2 2
2 2
v1 v2
จะได gh1 = gh2
2 2

ตัวอยางที่ 19 ทอดับเพลิงมีความเร็วของนํ้าที่ A เทากับ 4 เมตรตอวินาที จงหาความเร็วของนํ้าที่พุงออก


จากปลาย B เมื่อรัศมีของทอ A และ B เทากับ 10 เซนติเมตร และ 5 เซนติเมตร ตามลําดับ

A B

วิธีทาํ จาก QA = Q B

A1v1 = A2v2
2 2
πr1 v1 = πr2 v2 หนวย r เหมือนกัน ไมตองเปลี่ยนก็ได)
; (
2 2
r1 v1 = r2 v2
2 2
แทนคา; 10 4 = 5 v2

v2 = 16 m/s

ดังนั้น ความเร็วของนํ้าที่พุงออกจากปลาย B คือ 16 เมตรตอวินาที ตอบ


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 31

ตัวอยางที่ 20 จากรูป เปนคลองสงนํ้าตางระดับที่มีลักษณะการไหลของนํ้าแบบอุดมคติและไมมี


การสูญเสียใดๆ จงคํานวณหาความเร็วของนํ้าบริเวณปลายลาง

ของไหล
2 m v  4 m/s
ผิวน้ํา
h1
3.2 m h2
1m v

วิธีทาํ จากรูป h1 = 3.22 = 5.2 m


2 2
v1 v2
จาก gh1 = gh2
2 2
2 2
(4) v2
แทนคา; (105.2)  = (101) 
2 2 2
v2
528 = 10
2
v2 = 10 m/s

ดังนั้น ความเร็วของนํ้าที่ปลายลางเทากับ 10 เมตรตอวินาที ตอบ

ตัวอยางที่ 21 จงหาความเร็วของนํ้าที่พุงออกจากปลายทอของถังเก็บนํ้า ดังรูป

7m
v
2m

6m

วิธีทาํ จากรูป h จากผิวนํ้าเทียบกับปลายทอ = 72 = 5 m

จาก v = √ 2gh
แทนคา; = √ 2105
v = 10 m/s

ดังนั้น ความเร็วของนํ้าที่พุงออกจากปลายทอเทากับ 10 เมตรตอวินาที ตอบ


32 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
การประยุกตของสมการแบรนูลลี
ของไหล

ปรากฏการณตางๆ ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของของไหลสามารถใชสมการของแบรนูลลีมาอธิบาย
ได เชน การทํางานของเครื่องพนสี การยกตัวของปกเครื่องบิน
1. เครื่องพนสี

รูเล็ก vมาก, Pนอย


อากาศเขา ละอองสี
Pมาก

น้ําสี

เมือ่ อากาศผานทอไปยังหัวฉีด อัตราเร็วของอากาศทีผ่ า นหัวฉีดมีมากกวาอัตราเร็วของอากาศทีท่ อ


อากาศเขา (เพราะหัวฉีดมีขนาดเล็กกวาทอ) ดังนั้นความดันอากาศบริเวณหัวฉีดจึงนอยมาก สารละลาย
นํา้ สีทอี่ ยูใ นกระปองซึง่ มีความดันมากกวา จึงไหลผานตามทอไปผสมกับอากาศทีบ่ ริเวณหัวฉีด ทําใหอากาศ
และละอองสีถูกฉีดออกไปดวยความเร็วสูง
2. ปกเครื่องบิน

vมาก, Pนอย

vนอย, Pมาก

ปกเครื่องบินมีลักษณะของปกดานบนโคงมากกวาดานลาง อากาศบริเวณเหนือปกเครื่องบิน
มีความเร็วมากกวาบริเวณใตปก ทําใหความดันใตปกสูงกวาความดันเหนือปก จึงทําใหเกิดแรงยกปก
เครื่องบินขึ้น เครื่องบินจึงสามารถบินขึ้นได
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 33

แบบฝกหัด

ของไหล
จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
5
1. ถังใสนํ้าฝาเปดสูง 2 เมตร ภายในบรรจุนํ้าไวเต็ม จงหาความดันที่กนถัง (กําหนดให P0 = 10 Pa)
4 5
1. 210 Pa 2. 110 Pa
5 5
3. 1.210 Pa 4. 210 Pa
5
5. 1210 Pa

2. ถานักดํานํ้าคนหนึ่งสามารถทนความดันไดมากที่สุดไมเกิน 17.4105 พาสคัล เขาจะสามารถ


ดํานํ้าทะเลที่มีความหนาแนน 1.025104 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ไดลึกที่สุดกี่เมตร (กําหนดให
5
P0 = 10 Pa)

1. 15.2 m 2. 16.0 m

3. 17.4 m 4. 18.5 m

5. 19.5 m

3. ถังใสนาํ้ ฝาเปดสูง 1.5 เมตร ภายในบรรจุนาํ้ ไวสงู 0.8 เมตร ตอมามีคนเติมนํา้ มันซึง่ มีความถวงจําเพาะ
0.8 ลงไปอีก 0.4 เมตร ดังรูป จงหาความดันที่กนถัง ถาถังใบนี้ปดฝาไวสนิท

4
1. 1.1210 Pa
5
0.4 m 2. 1.11210 Pa
น้ํามัน
5
1.5 m 3. 1.210 Pa
5
น้ํา 0.8 m 4. 1.510 Pa
5
5. 810 Pa

4. ฝายกั้นนํ้ามีสันยาว 10 เมตร กั้นนํ้าสูง 4 เมตร จงหาแรงดันของนํ้าที่กระทําตอฝายกั้นนํ้านี้


5
10 m 1. 410 N
5
2. 810 N
6
3. 410 N
6
4. 810 N
4m
6
5. 1610 N
34 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
5. เขื่อนกั้นนํ้ามีสันเขื่อนยาว 100 เมตร มีนํ้าอยูทั้งสองดาน ดังรูป จงหาแรงดันลัพธที่กระทําตอเขื่อน
ของไหล

100 m

10 m

2m 53

6 7
1. 210 N 2. 6.0510 N
7 7
3. 6.2510 N 4. 6.4510 N
7
5. 6.5410 N

6. แมนอมิเตอรขาโตสมํา่ เสมออันหนึง่ ภายในบรรจุนาํ้ ไวระดับหนึง่ ตอมาเติมนํา้ มันทีม่ คี วามถวงจําเพาะ


0.6 ลงไปในขาดานขวาสูง 12 เซนติเมตร จงหาวาผิวของระดับนํ้าดานซายสูงหรือตํ่ากวาดานขวา

กี่เซนติเมตร
1. ดานซายตํ่ากวา 4.8 cm 2. ดานซายสูงกวา 7.2 cm

3. ดานซายตํ่ากวา 7.2 cm 4. ดานซายสูงกวา 12.0 cm

5. ดานซายตํ่ากวา 12.0 cm

7. หลอดแกวรูปตัวยูมีขาดานขวาโตเปน 4 เทาของขาดานซาย ภายในบรรจุนํ้าความหนาแนน 1 กรัม


ตอลูกบาศกเซนติเมตร ตอมาเติมนํ้ามันที่มีความหนาแนน 0.8 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ลงไปใน
ขาดานซายสูง 20 เซนติเมตร จงหาวาระดับผิวนํ้าดานซายตํ่ากวาระดับผิวนํ้าดานขวาเทาไร
1. 4 cm 2. 8 cm

3. 12 cm 4. 16 cm

5. 20 cm

8. หลอดแกวรูปตัวยูมีขาดานขวาโตเปน 2 เทาของขาดานซาย ภายในบรรจุนํ้าซึ่งมีความหนาแนน 1


กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตรไว ตอมาเติมนํ้ามันที่มีความหนาแนน 0.6 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร
ลงไปในขาดานซายสูง 20 เซนติเมตร จงหาวาระดับผิวนํา้ มันดานซายสูงกวาระดับผิวนํา้ ดานขวาเทาไร
1. 6 cm 2. 8 cm

3. 12 cm 4. 14 cm

5. 16 cm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 35

9. เครื่องอัดไฮดรอลิกมีพื้นที่ลูกสูบใหญเปน 10 เทาของลูกสูบเล็ก ประสิทธิภาพของเครื่องเปน 80

เปอรเซ็นต ถาตองการยกนํ้าหนักขนาด 2,400 นิวตัน จะตองออกแรงกดที่ลูกสูบเล็กเทาไร

ของไหล
1. 240 N 2. 300 N

3. 320 N 4. 620 N

4. 800 N

10. เครือ่ งอัดไฮดรอลิกแบบมีคานโยก มีอตั ราสวนของลูกสูบใหญตอ ลูกสูบเล็กเปน 12:1 ดังรูป ถาตองการ


ยกนํ้าหนัก 4,800 นิวตัน จะตองออกแรงกดที่ปลายคานเทาไร
F
10 cm 40 cm

4,800 N
A a

1. 48 N 2. 60 N
3. 80 N 4. 480 N
4. 576 N
11. ไมทอนหนึ่งมีความหนาแนน 820 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร จมลงไปในนํ้า อยากทราบวาไมทอนนี้
จมนํ้าไปกี่เปอรเซ็นต
1. 18% 2. 82%
3. 90% 4. 95%
5. 100%
12. วัตถุชนิ้ หนึง่ จมลงไปในนํา้ มันทีม่ คี วามหนาแนน 800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร โดยจมลงไปครึง่ หนึง่
พอดี จงหาความหนาแนนของวัตถุ
3 3
1. 400 kg/m 2. 450 kg/m
3 3
3. 500 kg/m 4. 550 kg/m
3
5. 800 kg/m
13. วัตถุมวล 15 กิโลกรัม นําไปชั่งในนํ้าปรากฏวาเครื่องชั่งอานคาได 120 นิวตัน จงหาความหนาแนน
ของวัตถุ
3 3 3 3
1. 310 kg/m 2. 410 kg/m
3 3 3 3
3. 510 kg/m 4. 1210 kg/m
3 3
5. 1510 kg/m
36 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
14. วัตถุมวล 6 กิโลกรัม ความหนาแนน 600 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ลอยอยูในนํ้า ดังรูป จะตองนํา
วัตถุหนักเทาไรไปวางทับจึงจะจมนํ้ามิดทั้งกอนพอดี
ของไหล

W=?

m = 6 kg

1. 10 N 2. 20 N

3. 30 N 4. 40 N

4. 50 N
15. ลูกบอลมวล 0.5 กิโลกรัม ปริมาตร 103 ลูกบาศกเมตร ไวใตนํ้า ดังรูป จงหาแรงดึงเชือก (ไมคิดมวล
ของเชือก)

1. 5 N 2. 10 N

3. 15 N 4. 20 N

4. 25 N

16. ไมทอนหนึ่งจมไปในนํ้า 85 เปอรเซ็นตของปริมาตรทั้งกอน จงหาความหนาแนนของทอนไม


3 3
1. 0.15 g/cm 2. 0.65 g/cm
3 3
3. 0.70 g/cm 4. 0.75 g/cm
3
5. 0.85 g/cm

17. ใชแผนพลาสติกทึบรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 4 เซนติเมตร มาทดสอบเพื่อหาความตึงผิวของ


ของเหลวชนิดหนึ่ง ปรากฏวาตองออกแรง 0.02 นิวตัน ดึงแผนพลาสติกใหหลุดออกจากผิวของเหลว
พอดี จงหาความตึงผิวของของเหลวชนิดนั้น
1. 0.020 N/m 2. 0.050 N/m

3. 0.100 N/m 4. 0.125 N/m

5. 0.255 N/m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 37

18. รูปแสดงภาพตัดขวางของไมรูปทรงลูกบาศกซึ่งจมอยูในของเหลว A และ B จงหาอัตราสวน


ของปริมาตรไมที่จมในของของเหลว A ตอปริมาตรไมทั้งหมด กําหนดใหความหนาแนนของไม

ของไหล
ความหนาแนนของเหลว A และความหนาแนนของเหลว B เทากับ 0, A และ B ตามลําดับ

ของเหลว B

ของเหลว A

(0  A) (0  B)


1. 2.
(A  B) (A  B)
(A  B) (A  B)
3. 4.
(0  A) (0  B)
(B  A)
5.
(0  B)

19. แพขนสงมวล 8104 กิโลกรัม กวาง 10 เมตร ยาว 50 เมตร และสูง 2 เมตร แพนี้จะสามารถบรรทุก
ทรายไดมากที่สุดกี่กิโลกรัมจึงจะทําใหแพจมนํ้าไมเกิน 1.5 เมตร
5 5
1. 6.710 2. 7.510
5 5
3. 8.310 4. 8.710
5
5. 9.210

20. อะลูมิเนียมมวล 1 กิโลกรัม มีความหนาแนน 2,450 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ซึ่งในนํ้ามีความ


หนาแนน 1,000 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร เครื่องชั่งสปริงจะอานคาไดเทาไร

1 kg

1. 4.0 N 2. 5.9 N

3. 7.3 N 4. 9.2 N

4. 10.5 N
38 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
21. แทงเหล็กมวล 5 กิโลกรัม มีความหนาแนน 8103 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร แขวนกับสปริง ทําให
สปริงยืดออกจากเดิม 10 เซนติเมตร แลวนําไปจุมนํ้าในถังดังรูป แทงเหล็กจะสูงขึ้นจากเดิมเทาไร
ของไหล

10 cm
m

m น้ํา h

1. 5.25 cm 2. 6.32 cm

3. 7.55 cm 4. 8.75 cm

4. 9.63 cm

22. การทดลองวัดแรงตึงผิวของนํ้าโดยจัดอุปกรณการทดลอง ดังรูป ไดคาแรงตึงผิวเทากับ F0 ถาเปลี่ยน


ลวดวงกลมเปนลวดสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีพื้นที่เทากับลวดวงกลมเดิม แรงตึงผิวที่วัดไดมีคาเทาไร

2F0 2F0
1. 2.
√π π
F0 π
3. 4.
π F0
F0
5.

ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 39

23. ในการทดลองหาความตึงผิวของของเหลวที่มีความหนาแนน 800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร โดยใช


หลอดรูเล็กที่มีรัศมี 1 มิลลิเมตร จุมลงไปในของเหลว ปรากฏวาของเหลวเคลื่อนที่เขาไปในหลอดสูง

ของไหล
20 เซนติเมตร ดังรูป จงหาความตึงผิวของของเหลวนี้

1. 0.2 N/m

2. 0.4 N/m

3. 0.6 N/m
20 cm
4. 0.8 N/m

5. 0.9 N/m

24. จงหาความหนืดของของเหลวที่มีความหนาแนน 600 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร โดยใชลูกเหล็ก


ทรงกลมที่มีความหนาแนน 7.2103 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร รัศมี 0.5 มิลลิเมตร และวัดความเร็ว
ปลายของลูกเหล็กได 0.02 เมตรตอวินาที
1. 0.18 Pas 2. 0.22 Pas

3. 0.25 Pas 4. 0.32 Pas

5. 0.40 Pas

25. ทอดับเพลิงดังรูป ดาน A และ B มีรัศมี 8 เซนติเมตร และ 2 เซนติเมตร ตามลําดับ ถาอัตราเร็วของ
นํ้าในทอดาน A เทากับ 2 เมตรตอวินาที จงหาอัตราเร็วของนํ้าที่พุงออกทางดาน B

A B

1. 16 m/s 2. 20 m/s

3. 25 m/s 4. 28 m/s

5. 32 m/s

26. จากรูป ถังเก็บนํ้าสูง 6 เมตร ภายในบรรจุนํ้าไวเต็ม จงหาความเร็วของนํ้าที่พุงออกจากปลายทอ


1. 5 m/s

2. 6 m/s

3. 8 m/s
6m
4. 10 m/s
v 5. 12 m/s
1m
40 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
27. ถังใสนํ้าระดับความสูง H ดานขางมีรูรั่วเล็กๆ สูงจากพื้น h ดังรูป จงหาวานํ้าจะพุงออกไปไกลสัมผัส
พื้นเปนระยะหางในแนวราบ (x) เทาไร
ของไหล

h
x

1. √ 2(H-h) 2. √ 2gh

3. √ 2h(H-h) 4. 2√ h(H-h)

5. √ 2H(H-h)

28. ลมผานใตปก เครือ่ งบินดวยอัตราเร็ว 100 เมตรตอวินาที ลมเหนือปกเครือ่ งบินจะตองมีอตั ราเร็วเทาไร


จึงจะเกิดแรงยกที่ปกเครื่องบิน 800 นิวตันตอตารางเมตร (กําหนดให อากาศ = 1.6 kg/m3)
1. 30√10 m/s 2. 10√105 m/s

3. 50√3 m/s 4. 30√105 m/s

5. 10√110 m/s

29. ฝายนํ้าลนมีลักษณะดังรูป ถาการไหลของนํ้าเปนแบบอุดมคติและไมมีการสูญเสียใดๆ จงคํานวณ


หาความเร็วของนํ้าฝงที่ลนออกมา

v = 4 m/s ผิวนํ้า

h = 5.2 m

h=1m
v

1. 4 m/s 2. 6 m/s

3. 8 m/s 4. 10 m/s

5. 12 m/s
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 41

30. บริเวณใดของปกเครื่องบินมีความเร็วลมมากที่สุด

ของไหล
ทิศทางของลม B

C
D

1. A 2. B

3. C 4. D
5. เทากันทุกจุด

เฉลย

1. 3 2. 2 3. 1 4. 2 5. 2 6. 2 7. 1 8. 4 9. 2 10. 3

11. 2 12. 1 13. 3 14. 4 15. 1 16. 5 17. 4 18. 2 19. 1 20. 2

21. 4 22. 1 23. 4 24. 1 25. 5 26. 4 27. 4 28. 5 29. 4 30. 1

เฉลยพรอมคําอธิบาย
1. ตอบขอ 3
อธิบาย หาความดันสัมบูรณ เนื่องจากเปนถังฝาเปด
จาก Pสัมบูรณ = PgPa

= ghP0
3 5
แทนคา; = (10 102)10
4 5
= (210 )10
5
Pสัมบูรณ = 1.2 10 Pa
42 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
2. ตอบขอ 2
อธิบาย จาก Pสัมบูรณ = PgP0
ของไหล

5 4 5
แทนคา; 17.410 = (1.02510 10h)10
5 5
16.410 = 1.02510 h
5
16.410
h = 5
1.02510
h = 16.0 m

3. ตอบขอ 1
อธิบาย จากโจทย น้ํา = 103 kg/m3, ความถวงจําเพาะน้าํ มัน = 0.8 นัน่ คือ น้าํ มัน = 0.8103 kg/m3,
hน้าํ = 0.8 m, hน้าํ มัน = 0.4 m

จาก Pg
รวม = Pgน้ําPgน้ํามัน
=  ghน้ํา ghน้ํามัน
น้ํา น้ํา
3 3
แทนคา; = (10 100.8)(0.810 100.4)
3 3
= (810 )(3.210 )
4
Pg
รวม = 1.1210 Pa
4. ตอบขอ 2 2
gh L
อธิบาย จาก F =
2
3 2
10 104 10
แทนคา; =
2
5
F = 810 N

5. ตอบขอ 2 2
gh L
อธิบาย ฝงไมเอียง, จาก F1 =
2
3 2
10 102 100
แทนคา; =
2
6
F1 = 210 N
2
gh L
ฝงเอียง, จาก F2 =
2 sin 53
3 2
แทนคา; = 10 1010 100
4
2
5
7
F2 = 6.2510 N

จะได Fลัพธ = F2F1


7 6
แทนคา; = (6.2510 )(210 )
7
Fลัพธ = 6.0510 N
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 43

6. ตอบขอ 2

อธิบาย
น้ํามัน

ของไหล
12 cm
h
ระดับอางอิง

น้ํา

จาก Pg
ซาย = Pg
ขวา
 ghน้ํา
น้ํา = 
น้ํามันghน้ํามัน
3 3
แทนคา; 10 10h = (0.610 1012)

h = 7.2 cm

หมายเหตุ ใชรอยตอตํ่าสุดเปนตําแหนงอางอิง

7. ตอบขอ 1

อธิบาย

20 cm
น้ํามัน
h
ระดับอางอิง
น้ํา

จาก Pg
ซาย = Pg
ขวา
น้ํามันghน้ํามัน = น้ําgh
น้ํา
น้ํามันhน้ํามัน = น้ําh
น้ํา
แทนคา; 0.820 = 1h

h = 16 cm

เนื่องจากขาโตเปน 4 เทา
16
hจริง = = 4 cm
4
44 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

เทคนิคการคํานวณ
ของไหล

กรณีขาหลอดโตไมเทากันใหคิดแบบขาโตเทากันกอนแลวคอยนํา h มาหารดวยขนาด
ความโต ก็จะไดคา h จริง

8. ตอบขอ 4

อธิบาย
20 cm
น้ํามัน
h
ระดับอางอิง
น้ํา

จาก Pg
ซาย = Pg
ขวา
น้ํามันghน้ํามัน =  gh
น้ํา น้ํา
แทนคา; 0.61020 = 110h
น้ํา
hน้ํา = 12 cm

เนื่องจากขาโตเปน 2 เทา ดังนั้น


12
hจริง = = 6 cm
2
ระดับผิวน้ํามันดานซายสูงกวาระดับผิวน้ําดานขวา = 206 = 14 cm

9. ตอบขอ 2
W a
อธิบาย จาก Eff =  100%
F A
2,400 1
แทนคา; 80% =  100%
F 10
2,400 1
F =  100%
80% 10
F = 300 N

10. ตอบขอ 3
W A L
อธิบาย จาก
F
=  
a 
4,800 12 50
แทนคา;
F
=  1 10
F = 80 N
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 45

11. ตอบขอ 2
อธิบาย จาก F = 0

ของไหล
FB = mg

ลVจg = วVวg FB
3 mg
10 Vจ10 = 820100%10

Vจ = 82%

12. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก F = 0

FB = mg

ลVจg = วVวg
Vว
800 10 = วVว10 FB
2 mg
3
ว = 400 kg/m

13. ตอบขอ 3

อธิบาย จาก F = 0

TFB = mg

แทนคา; 120FB = 1510 T

FB = 150120

ลVจg = 30 FB
3 mg
10 Vจ10 = 30
3
Vจ = 310 m
3

mว
จาก ว =
Vว

15
แทนคา; =
310
3

3 3
ว = 510 kg/m

หมายเหตุ Vจม = Vวัตถุ ; เมื่อจมทั้งกอน


46 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
14. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก F = 0
ของไหล

Wmg = FB
W
W(610) = ลVจg
m
 ลว10
3
แทนคา; W60 = 10 
mg
FB
10  6 10
3
W60 =
600
W60 = 100

W = 40 N

15. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก Tmg = FB

แทนคา; T(0.510) = ลVจg


3
T5 = 10 10 10
3
T FB

T = 5 N mg

16. ตอบขอ 5

อธิบาย

FB
mg

จาก F = 0

mg = FB

วVวg = ลVจg
3
แทนคา; ว100%10 = 10 85%10
3 3
ว = 850 kg/m = 0.85 g/cm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 47

เทคนิคการคํานวณ

ของไหล
ถาจมเปนเปอรเซ็นต ใหกําหนด Vว = 100% แลวนํามาเทียบกับ ล ที่จมลงไปไดเลย
เชน
3
1. จมลงไปใน ล = 1,000 kg/m ดวย Vจม = 80% แสดงวา ว = 800 kg/m3
3
2. จมลงไปใน ล = 1,200 kg/m ดวย Vจม = 50% แสดงวา ว = 600 kg/m3

17. ตอบขอ 4 4 cm
อธิบาย
4 cm

จากรูป L = 4 cm4 = 16 cm = 1610


2
m และ F = 0.02 N
F
จาก  =
L
0.02
แทนคา; =
1610
2

 = 0.125 N/m

18. ตอบขอ 2

อธิบาย

B ของเหลว B
FBB

ของเหลว A
A
FBA mg

ใช V = ปริมาตรของไม
VA = ปริมาตรที่จมในของเหลว A
VB = ปริมาตรที่จมในของเหลว B
48 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
จะได V = VAVB

VB = VVA
ของไหล

จาก F = 0

FBAFBB = mg

AVAgBVBg = 0Vg ; 0 = m
 V 
AVABVB = 0V

AVAB(VVA) = 0V

(AB)VA = (0B)V
VA (0B)
=
V (AB)

19. ตอบขอ 1
2m
อธิบาย มวลทราย = m
10 m
FB
50 m

4
(m810 )g

จาก F = 0
4
FB = (m810 )g
4
ลVจg = (m810 )g
4
ลVจ = (m810 )
3 4
แทนคา; 10 (50101.5) = (m810 )
5
m = 6.710 kg

20. ตอบขอ 2

FB
mg

จาก F = 0
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 49

TFB = mg

T = mgFB

= mgลVจg

ของไหล
= (110) 10  1 10
3
แทนคา;  
2,450
= 104.08

T = 5.9 N

21. ตอบขอ 4
อธิบาย หาคา k ของสปริงตอนชั่งในอากาศ

จาก F = 0

F = mg
m
kx = mg

mg
แทนคา; k1010
2
= 510

k = 500 N/m

พิจารณาแทงเหล็กตอนจุมน้ํา

น้ํา FB h
จาก F = 0
mg
FFB = mg

kxลVจg = mg

แทนคา;
(500h) 10  5 10
3
510
8,000  =

50
500h = 50
8
h 8.7510 m = 8.75 cm
2
=
50 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
22. ตอบขอ 1

อธิบาย a
ของไหล

ลวดวงกลม ลวดสี่เหลี่ยมจัตุรัส

กําหนดใหพื้นที่ลวดสี่เหลี่ยมจัตุรัสเทากับพื้นที่ลวดวงกลม จะได
2 2
a = πr
a = √π r

จาก F = L

ลวดวงกลม; F0 = (22πr) ......(1)

ลวดสี่เหลี่ยมจัตุรัส; F = (24a)

= (24(√π r)) = (8√π r) ......(2)


(2) F (8√π r)
นํา (1)
;
F0
=
(4πr)
= 2
√π
2F0
F =
√π
23. ตอบขอ 4
ลrgh
อธิบาย จาก  =
2
80010 100.2
3
แทนคา; =
2
 = 0.8 N/m

24. ตอบขอ 1 2
2r g (วล)
อธิบาย จาก  =
9vT
4 2
2(510 ) (10)(7,200600)
แทนคา; =
9210
2

22510 106,600
8
=
9210
2

 = 0.18 Pas
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 51

25. ตอบขอ 5
อธิบาย จาก QA = QB

ของไหล
AAvA = ABvB
2 2
πrAvA = πrBvB
2
rAvA = 2
rBvB
2 2
แทนคา; 8 2 = 2 vB
642
= vB
4
vB = 32 m/s

26. ตอบขอ 4
อธิบาย จากรูป h = 61 = 5 m

จาก v = √ 2gh
แทนคา; = √ 2105
v = 10 m/s

27. ตอบขอ 4
อธิบาย หาความเร็วน้ําที่รูรั่ว จาก
v = √ 2g(Hh)
หาระยะ x โดยพิจารณาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล โดย ux = v = √ 2g(Hh) และ
uy = 0
1 2
จาก h = uyt gt
2
1 2
h = gt ; (uy = 0)
2
2h
t =
g
จาก Sx = uxt

√ 2g(Hh) 2h
แทนคา; h =
g
Sx = 2√ h(h)
52 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
28. ตอบขอ 5
1 1 2
อธิบาย จาก Pใต  v2 ghใต =
2 ใต
Pบน  vบน
2
ghบน
ของไหล

1 2
Pใต  Pบน =  (vบน  v2 ) ; (hบน และ hใต แตกตางกันนอยมาก)
2 ใต
1 2 2
8000 = 1.6(vบน  100 )
2
2
1,000 = (vบน 10,000)
2
vบน = 11,000

vบน = 10√ 110 m/s

29. ตอบขอ 4
1 2 1 2
อธิบาย จาก P1gh1 v1 =
2
P2gh2 v2
2
2 2
v1 v2
จะได gh1 = gh2
2 2
2 2
4 v2
แทนคา; (105.2)
2
= (101)
2
2
v2
528 = 10
2
v2 = 10 m/s

30. ตอบขอ 1
อธิบาย บริเวณ A เพราะปกเครื่องบินมีลักษณะของปกดานบนโคงมากกวาดานลาง อากาศบริเวณ
เหนือปกเครื่องบินมีความเร็วมากกวาบริเวณใตปก ทําใหความดันใตปกมากกวาความดันเหนือปก
จึงทําใหเกิดแรงยกเครื่องบินขึ้น เครื่องบินจึงสามารถบินขึ้นได
º··Õè 2 ¤ÇÒÁÌ͹
ความรอน
ความรอน (heat) เปนพลังงานรูปหนึ่งซึ่งสามารถเปลี่ยนเปนพลังงานอยางอื่นได ความรอนอาจ
เกิดจากพลังงานกลในการขัดสี ปฏิกิริยาเคมี หรือจากพลังงานไฟฟา เปนตน
พลังงานความรอนมีหนวยเปนจูล (J) หรือแคลอรี (cal)
โดย 1 cal = 4.2 J

และ 1 J = 0.24 cal

อุณหภูมิ
อุณหภูมิ (temperature) คือ ระดับของความรอน ซึ่งความรอนจะถายเทจากที่ที่มีอุณหภูมิสูงไป
ยังที่ที่มีอุณหภูมิตํ่า จนกระทั่งอุณหภูมิเทากันจึงจะหยุดการถายเท
เทอรมอมิเตอร (thermometer) คือ เครื่องมือวัดอุณหภูมิโดยใชหลักการขยายตัวของของเหลว
ภายในทอ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นจะขยายตัว และเมื่ออุณหภูมิลดลงจะหดตัว เทอรมอมิเตอรมี 4 ชนิด ดังนี้
องศาเซลเซียส องศาฟาเรนไฮต เคลวิน และโรเมอร
เทอรมอมิเตอรแตละชนิิดมีจุดเดือดและจุดเยือกแข็ง ดังรูป

100C 212F 373 K 80 R จุดเดือด

0C 32F 273 K 0R จุดเยือกแข็ง

C F K R
54 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
เราสามารถเปลี่ยนหนวยของเทอรมอมิเตอรทั้ง 4 ชนิดไดดังนี้
อุณหภูมิที่อานได  จุดเยือกแข็ง C0 F32 K273 R0
ความรอน

= = = =
จุดเดือด  จุดเยือกแข็ง 1000 21232 373273 800

อุณหภูมิที่อานได  จุดเยือกแข็ง C F32 K273 R


หรือ =
5
= = =
4
จุดเดือด  จุดเยือกแข็ง 9 5

การเปลี่ยนพลังงานกลเปนพลังงานความรอน
จากกฎการอนุรักษพลังงาน พบวา พลังงานไมสูญหายไปไหน โดยสามารถเปลี่ยนจากพลังงาน
รูปหนึ่งไปเปนอีกรูปหนึ่งได เชน พลังงานจลนเปลี่ยนเปนพลังงานความรอน (Ek = Q) หรือพลังงานศักย
โนมถวงเปลี่ยนเปนพลังงานความรอน (Ep = Q)

ตัวอยางที่ 1 รถจักรยานยนตมวล 100 กิโลกรัม ขับดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที ถาคนขับเบรก


จนรถหยุด จงหาพลังงานความรอนที่เกิดจากการเบรก
วิธีทํา พลังงานจลนเปลี่ยนเปนพลังงานความรอน
จาก Q = Ek
1 2
= mv
2
1 2
แทนคา; = (100)(20 )
2
4
Q = 210 J

ดังนั้น พลังงานความรอนที่เกิดจากการเบรกเทากับ 20,000 จูล ตอบ

พลังงานความรอนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิของสาร
ความจุความรอน (C) คือ ปริมาณความรอนที่ทําใหสารทั้งหมดมีอุณหภูมิเปลี่ยนไปหนึ่งหนวย
ความจุความรอนจําเพาะ (c) คือ ปริมาณความรอนที่ทําใหสารมวล 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิ
เปลี่ยนไปหนึ่งหนวย โดย C = mc จะไดวา
Q
C = หรืิอ Q = CT
T
Q
และ c = หรืิอ Q = mcT
mT
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 55

หมายเหตุ

ความรอน
Cนํ้า = 4.2 kJ/kgK = 1 cal/gC

พลังงานความรอนกับการเปลี่ยนสถานะของสาร
ความรอนแฝงจําเพาะ (L) คือ ปริมาณที่ทําใหสารมวลหนึ่งหนวยมีสถานะเปลี่ยนแปลงโดย
อุณหภูมิไมเปลี่ยนแปลง นั่นคือ
Q = mL
เมื่อ Lหลอมเหลว = 333 kJ/kg

และ Lไอ = 2,256 kJ/kg

เทคนิคการคํานวณ
Q = mcT ใชเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน สถานะไมเปลี่ยน
Q = mL ใชเมื่ออุณหภูมิไมเปลี่ยน สถานะเปลี่ยน

ตัวอยางที่ 2 จงหาพลังงานความรอนที่ใชตมนํ้าแข็งมวล 1 กิโลกรัม ใหเดือดกลายเปนไอ


วิธีทํา แผนภาพจําลอง
0C 0C 100C 100C

นํ้าแข็ง นํ้า นํ้า ไอนํ้า


Q1 = mL Q2 = mcT Q3 = mL

(เปลี่ยนสถานะ) (เปลี่ยนอุณภูมิ) (เปลี่ยนสถานะ)

จาก Qรวม = Q1Q2Q3

แทนคา; = mLแข็งmcTmLไอ

= (1333)[14.2(1000)](12,256)

Q = 3,009 kJ

ดังนั้น พลังงานความรอนทั้งหมดที่ใช คือ 3,009 กิโลจูล ตอบ


56 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
สมดุลความรอน
ความรอน

เมื่อสารมีอุณหภูมิตางกันและสามารถถายเทความรอนแกกันได จะเกิดการถายเทความรอนจาก
อุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิตํ่า จนกวาสารจะมีอุณหภูมิเทากันจึงหยุดถายเทความรอน ซึ่งเรียกวา สมดุล
ความรอน โดย
ความรอนที่ให = ความรอนที่รับ
Qให = Qรับ

ตัวอยางที่ 3 นําแทงเหล็กมวล 0.2 กิโลกรัม อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ใสลงกระปองเหล็กมวล


1 กิโลกรัม ซึ่งบรรจุนํ้ามวล 2 กิโลกรัม อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จงหาอุณหภูมิสุดทายของการผสม

(กําหนดให cนํ้า = 4.2 kJ/kgK, cเหล็ก = 0.5 kJ/kgK)

วิธีทํา แผนภาพจําลอง

{ {
100C TC
Q1
ให แทงเหล็ก 0.2 kg แทงเหล็ก T = 100T

{
20C TC T จะมากกวา
กระปอง 1 kg Q2
กระปอง T = T20 20C แตนอย
กวา 100C
รับ 20C TC
Q3
นํ้า 2 kg นํ้า T = T20

Qให = Qรับ

(mcT)เหล็ก = (mcT)กระปอง(mcT)นํ้า

[0.20.5(100T)] = [10.5(T20)][24.2(T20)]

100.1T = 0.5T108.4T168

0.1T0.5T8.4T = 1010168

9T = 188

T = 20.9C

ดังนั้น อุณหภูมิสุดทายของการผสมเทากับ 20.9 องศาเซลเซียส ตอบ


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 57

หมายเหตุ

ความรอน
T จะตองแทน TมากTนอย เสมอ

ตัวอยางที่ 4 กระปองทองแดงมวล 40 กรัม เติมนํ้าแข็งมวล 60 กรัม และเติมไอนํ้ามวล 20 กรัมลงไป


จงหาอุณหภูมิสุดทายของการผสม
กําหนดให cทองแดง = 0.1 cal/gC, cนํ้า = 1 cal/gC

Lนํ้าแข็ง = 80 cal/g, Lนํ้า = 540 cal/g

{
วิธีทํา แผนภาพจําลอง
0C TC

กระปอง 40 g กระปอง
รับ 0C 0C TC

นํ้าแข็ง 60 g นํ้า นํ้า

{
100C 100C TC

ให ไอนํ้า 20 g นํ้า นํ้า

Qให = Qรับ

(mL)ไอ(mcT)นํ้า = (mcT)กระปอง(mL)นํ้าแข็ง(mcT)นํ้า

(20540)[201(100T)] = [400.1(T0)](6080)[601(T0)]
10,8002,00020T = 4T4,80060T

10,8002,0004,800 = 4T60T20T

84T = 8,000

T = 95.2C

ดังนั้น อุณหภูมิสุดทายของการผสมเทากับ 95.2 องศาเซลเซียส ตอบ


58 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
การถายโอนความรอน
ความรอน

เมือ่ สารมีอณ
ุ หภูมติ า งกัน จะเกิดการถายโอนความรอนจากสารทีม่ อี ณ
ุ หภูมสิ งู ไปยังสารทีม่ อี ณ
ุ หภูมิ
ตํ่ากวา ซึ่งสามารถถายโอนความรอนได 3 ลักษณะ ดังนี้
1. การนําความรอน (conduction) เปนการถายโอนความรอนผานตัวนําความรอน ซึ่งสวนมาก

จะเปนโลหะ เชน การจับเหล็กที่แชอยูในนํ้ารอนแลวรูสึกรอน การจับแกวนํ้ารอนแลวรูสึกรอน


2. การพาความรอน (convection) เปนการถายโอนความรอนโดยอาศัยการเคลื่อนที่ของสาร

เปนพาหะ สวนมากจะเปนแกสและของเหลว เชน ในการตมนํ้า นํ้าที่กนภาชนะจะไดรับความรอนจาก


เปลวไฟ ทําใหนํ้าที่กนภาชนะขยายตัว ความหนาแนนลดลงและลอยตัวสูงขึ้น นํ้าบริเวณดานบนมีความ
หนาแนนสูงกวาจึงมาแทนที่ทําใหเกิดเปนลักษณะการพาความรอน เชน การเกิดลมบกลมทะเล
3. การแผ รั ง สี ค วามร อ น (radiation) เป น การถ า ยโอนความร อ นโดยไม ต  อ งใช ตั ว กลาง

เชน การนั่งใกลกองไฟแลวรูสึกรอน หรือความรอนจากดวงอาทิตยแผมาถึงโลกไดโดยผานสุญญากาศ


ซึ่งไมมีตัวกลางใดๆ แตความรอนก็ยังสามารถแผมาถึงโลกได

สมบัติของแกสอุดมคติ
เพื่อใหงายตอการศึกษา ในเรื่องนี้จะพิจารณาใหแกสเปนแกสอุดมคติ (ideal gas) คือ มีโมเลกุล
ขนาดเล็ก และเปนจุดที่อยูหางกันมาก จนถือไดวาไมมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางกัน ทําใหโมเลกุลสามารถ
เคลื่อนที่เปนอิสระตอกัน และการชนของโมเลกุลเปนแบบยืดหยุน

กฎของบอยล
บอยลศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตร (V) กับความดัน (P) ของแกสที่อุณหภูมิคงตัว
พบวา “แกสปริมาณหนึ่งซึ่งมีอุณหภูมิคงตัว ความดันของแกสจะแปรผกผันกับปริมาตร” จึงเขียนเปน
กฎของบอยลไดวา

1
P  ; เมื่ออุณหภูมิคงตัว
V
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 59

และเมื่อนํามาเขียนกราฟจะไดความสัมพันธ ดังนี้
P P

ความรอน
1
V
V
กราฟระหวางความดันกับปริมาตร กราฟระหวางความดันกับสวนกลับของปริมาตร
ดังนั้นกฎของบอยลจึงมีความสัมพันธดังนี้
P1V1 = P2V2 ; เมื่ออุณหภูมิคงตัว

ขอสังเกต
P1 และ P2
V1 และ V2 
ใชหนวยไหนก็ได แตตองเปนหนวยเดียวกัน

กฎของชารล
ชารลเปนผูศ กึ ษาความสัมพันธระหวางปริมาตร (V) และอุณหภูมิ (T) ของแกส เมือ่ ความดัน (P) คงตัว
พบวา “สําหรับแกสปริมาณหนึ่งที่มีความดันคงตัว ปริมาตรของแกสจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ”
จึงเขียนเปนกฎของชารลไดวา
V  T ; เมื่อความดันคงตัว
เขียนเปนกราฟความสัมพันธไดดังนี้
V V

T (K) T (C)
273

กราฟระหวางปริมาตรและอุณหภูมิ
ดังนั้น กฎของชารลจึงเขียนเปนความสัมพันธดังนี้
V1 V2
= ; เมื่อความดันคงตัว
T1 T2
60 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

ขอสังเกต
ความรอน

V1 และ V2 ใชหนวยเดียวกัน (หนวยไหนก็ได)


T1 และ T2  หนวยเคลวินเทานั้น

กฎของเกย-ลูสแซก
เกย-ลูสแซกเปนผูศึกษาความสัมพันธระหวางความดัน (P) และอุณหภูมิ (T) ของแกสที่ปริมาตร
(V) คงตัว พบวา “แกสปริมาณหนึ่งที่ปริมาตรคงตัว ความดันและแปรผันตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ”

จึงเขียนเปนกฎของเกย-ลูสแซก ไดวา
P  T ; เมื่อปริมาตรคงตัว

จะไดกราฟความสัมพันธ ดังนี้

T (K)

กราฟระหวางความดันกับอุณหภูมิ

ดังนั้น กฎของเกย-ลูlแซก จึงเขียนเปนความสัมพันธดังนี้


P1 P
= 2 ; เมื่อปริมาตรคงตัว
T1 T2

ขอสังเกต
P1 และ P2 ใชหนวยเดียวกัน (หนวยไหนก็ได)
T1 และ T2  หนวยเคลวินเทานั้น
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 61

ดังนั้น เมื่อนําแกสชนิดหนึ่งที่มีความดัน ปริมาตร และอุณหภูมิสัมบูรณเปน P1 V1 และ T1


ตามลําดับ มาทําใหความดัน ปริมาตร และอุณหภูมิสัมบูรณเปลี่ยนเปน P2 V2 และ T2 ตามลําดับ

ความรอน
จะไดความสัมพันธ ดังนี้
P1V1 PV
= 2 2
T1 T2

เมื่อ P คือ ความดัน มีหนวยเปน พาสคัล (Pa)


V คือ ปริมาตร มีหนวยเปน ลูกบาศกเมตร (m3)
T คือ อุณหภูมิสัมบูรณ มีหนวยเปน เคลวิน (K)

จากความสัมพันธดังกลาว พบวา ที่ความดันและอุณหภูมิมาตรฐาน (STP) คือ ที่ 0 องศาเซลเซียส


หรือที่ 273 เคลวิน ณ ความดัน 1 บรรยากาศ หรือ 1.013105 พาสคัล แกสทุกชนิดปริมาณ 1 โมล
จะมีปริมาตร 22.4 ลูกบาศกเดซิเมตร หรือ 22.4103 ลูกบาศกเมตร ดังนั้น
ถามีแกส n โมล ที่ STP แกสจะมีปริมาตรเทากับ n(22.4103) ลูกบาศกเมตร
เมื่อ T = 273 เคลวิน P = 1.013105 พาสคัล และ V = n22.4103 ลูกบาศกเมตร
5
PV = (1.01310 )(n22.410 )
3
จะไดวา
T 273
PV = n8.31 J/molK
T

คา 8.31 แทนดวยสัญลักษณ R เรียกวา คานิจของแกส จึงเขียนเปนสมการใหมไดวา


PV = nR ; (R = 8.31 J/molK)
T

หรือ PV = nRT

สมการนี้เรียกวา กฎของแกสอุดมคติ (ideal gas law)


เมื่อ n คือ ปริมาณแกสทั้งหมดในภาชนะ มีหนวยเปน โมล (mol)
ซึ่ง n = N
NA

เมื่อ N คือ จํานวนโมเลกุลของแกสทั้งหมดใน n โมล


23
NA คือ เลขอาโวกาโดรหรือจํานวนโมเลกุลของแกสใน 1 โมล = 6.0210 โมเลกุล
ดังนั้น จาก PV = nRT

จะได PV = NRT
NA
62 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
เมื่อคาคงตัวที่เกี่ยวของ n = N
NA
R 8.31
ความรอน

และ =
23
= 1.3810
23
J/K
NA 6.0210

โดย 1.381023 แทนดวย kB เรียกวา คาคงที่ของโบลตซมันน


PV = NkBT

หมายเหตุ
กฎของแกส PV = nRT

และ PV = NkBT  ใชไดเสมอ ยกเวนกรณีที่แกสกําลังเปลี่ยนสถานะ

สรุป สมการการคํานวณกฎของแกส มีดังนี้


- กรณีแกสบรรจุในภาชนะที่ไมรั่ว มวลคงตัว แลวเปนแกสเดิม
P1V1 PV
= 2 2
T1 T2

- กรณีแกสรั่ว มวลเปลี่ยนแปลง
P1V1
n1T1
PV
= 2 2
n2T2 (
; เมื่อ n = m
M )
เมื่อ n คือ จํานวนแกสในภาชนะ มีหนวยเปน โมล (mol)
M คือ มวลโมเลกุลของแกส มีหนวยเปน กรัม (g)
P1V1 PV
= 2 2
N1T1 N2T2

เมื่อ N คือ จํานวนโมเลกุลของแกสในภาชนะ (โมเลกุล)


P1V1 PV
= 2 2
m1T1 m2T2

เมื่อ m คือ มวลของแกสในภาชนะ มีหนวยเปน กรัม (g) หรือ กิโลกรัม (kg)


P1 P2 m 1 V
= ;  = หรือ =
m
1T1 2T2 V 

เมื่อ  คือ ความหนาแนนของแกสในภาชนะ มีหนวยเปน กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร (g/cm3)


หรือกิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร (kg/m3)
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 63

ตัวอยางที่ 5 แกสชนิดหนึ่งมีปริมาตร 0.2 ลูกบาศกเมตร ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 0 องศา


เซลเซียส ถาทําใหแกสนี้มีปริมาตร 0.4 ลูกบาศกเมตร โดยความดันไมเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิสุดทาย

ความรอน
มีคาเทาไร
P1V1 P2V2
วิธีทํา จาก =
T1 T2
0.2P 0.4P
แทนคา; = ; P1 = P2 = P
273 T2
T2 = 546 K หรือ 273C
ดังนั้น อุณหภูมิสุดทายเทากับ 546 เคลวิน หรือ 273 องศาเซลเซียส ตอบ

ตัวอยางที่ 6 แกสอุดมคติชนิดหนึง่ มีปริมาตรและอุณหภูมสิ มั บูรณเพิม่ ขึน้ จากเดิม 2 และ 3 เทาตามลําดับ


จงหาวาความดันของแกสนี้จะเปลี่ยนไปกี่เทาจากเดิม
P1V1 P2V2
วิธีทํา จาก =
T1 T2
P1V1 P22V1
=
T1 3T1

P1 = 2 P2
3
P2 = 3 P1
2
3
ดังนั้น ความดันของแกสเปลี่ยนเปน เทาของความดันเดิม ตอบ
2

ตัวอยางที่ 7 ถังสําหรับเติมลมรถยนตถังหนึ่ง มิเตอรวัดความดันเกจได 4105 พาสคัล อุณหภูมิ


ภายในถัง 27 องศาเซลเซียส ถาอุณหภูมิภายในถังเปลี่ยนเปน 47 องศาเซลเซียส อยากทราบวามิเตอร
วัดความดันเกจจะอานคาไดเทาไร (ปริมาตรของถังไมมกี ารเปลีย่ นแปลงและความดันบรรยากาศ = 105 Pa)
P1V1 P2V2
วิธีทํา จาก =
T1 T2
(Pg P0)V (Pg P0)V
(1) = (2) ; (V1 = V2 = V)
T1 T2
5
5 5 Pg 10
(410 10 ) (2)
แทนคา; =
(27327) (27347)
5
Pg = 4.310 Pa
(2)

ดังนั้น มิเตอรวัดความดันเกจอานคาได 4.3105 พาสคัล ตอบ


64 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
5
ตัวอยางที่ 8 แกสชนิดหนึ่งที่ความดัน 210 พาสคัล อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส จะมีกี่โมเลกุลใน
1 ลูกบาศกเมตร
ความรอน

วิธีทํา จาก PV = NkBT

N = PV
kBT
5
(210 )(1)
แทนคา; =
(1.3810
23
)(27337)
25
N = 4.6810 โมเลกุล
ดังนั้น แกสมีจํานวนโมเลกุลเทากับ 4.681025 โมเลกุล ตอบ

ตัวอยางที่ 9 แกสออกซิเจน (O2) มวล 100 กรัม บรรจุอยูในถังปริมาตร 210


2
ลูกบาศกเมตร
อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จงหาความดันของแกสออกซิเจนในถัง (O = 16)
วิธีทํา จาก PV = m RT
M
1008.31(27327)
แทนคา; P210
2
=
(162)
5
P = 3.910 Pa

ดังนั้น ความดันของแกสออกซิเจนในถังเทากับ 3.9105 พาสคัล ตอบ

ทฤษฎีจลนของแกส
จากการศึกษาสมบัติตางๆ ของแกส จะตองใชแบบจําลองและมีสมมุติฐานดังนี้
1. แกสประกอบดวยโมเลกุลจํานวนมาก
2. ปริมาตรของแกสแตละโมเลกุลมีคานอยมากเมื่อเทียบกับปริมาตรของแกสทั้งหมด

3. แกสแตละโมเลกุลเคลื่อนที่อยางอิสระไรทิศทาง (Brownian motion)

4. โมเลกุลของแกสมีการชนกันแบบยืดหยุน

ดังนัน้ เมือ่ แกสแตละโมเลกุลมีการเคลือ่ นที่ โมเลกุลของแกสจึงมีพลังงานจลน ซึง่ ศึกษาจากทฤษฎี


จลนของแกสดังนี้
PV = 1 Nmv 
2

3
PV = 2 N 1 mv 
2
หรือ  
3 2
จาก Ek 1 mv2
= เปนพลังงานจลนใน 1 โมเลกุล
2
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 65

ดังนั้น PV = 2 NEk ,
3
โดย Ek = NEk เปนพลังงานจลนทั้งหมดในภาชนะ และ Ek เปนพลังงานจลนเฉลี่ย

ความรอน
จะได PV = 2 Ek
3
หรือ Ek = 3 PV = 3 nRT = 3 NkBT
2 2 2
PV = 1 Nmv 
2
และหากตองการหาความเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลของแกส พิจารณา แทนคา
3
PV = NkBT จะได

NkBT = 1 Nmv 
2

3
kBT = 1 mv 
2

3
2 3kBT
v  =
m

ดังนั้น vrms =  3kmT


B

เมื่อ vrms = �v2 เปนคารากที่สองของคาเฉลี่ยกําลังสองของอัตราเร็วโมเลกุลของแกส


และจาก kB = R
NA

3RT
จะได vrms =  mN A

=  3RT
M
; (mNA= M)
PV = 1 Nmv   = nM
2
จาก และ
3 V

จะได vrms =  3P


v1v2v3...vn
เมื่อ v =
N
2 2 2 2
2 v1v2v3...vn
และ v  =
N

โดย v เปนอัตราเร็วเฉลี่ย มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)


2 2 2 2 2
v  เปนอัตราเร็วกําลังสองเฉลี่ย มีหนวยเปน เมตร ตอวินาที (m /s )
66 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

เทคนิคการคํานวณ
ความรอน

สิ่งที่ตองคํานึงถึงในการคํานวณเรื่องแกส มีดังนี้
1. อุณหภูมิตองใชหนวยเคลวินเสมอ

2. ความดันตองเปนความดันสัมบูรณเสมอ (Pสัมบูรณ = PgP0)

ตัวอยางที่ 10 ที่ความดัน 2105 พาสคัล ปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร แกสจะมีพลังงานเทาไร


วิธีทํา จาก Ek = 3 PV
2
= 3 210 1
5
แทนคา;
2
5
Ek = 310 J
5
ดังนั้น แกสจะมีพลังงาน 310 จูล ตอบ

ตัวอยางที่ 11 ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส แกสในอุดมคติจะมีพลังงานจลนเฉลี่ยเทาไร (กําหนดให


kB = 1.3810 J/K)
23

วิธีทํา จาก Ek = 3 kBT


2
แทนคา; = 3 1.3810 (27327)
23

2
= 6.2110 J
21
Ek

ดังนั้น แกสจะมีพลังงานจลนเฉลี่ย 6.2110


21
จูล ตอบ

ตัวอยางที่ 12 แกสอุดมคติจํานวน 10 โมเลกุล มีอัตราเร็ว 2, 2, 1, 3, 5, 3, 4, 2, 1, 2 จงหา


1. อัตราเร็วเฉลี่ย

2. อัตราเร็วกําลังสองเฉลี่ย

3. อัตราเร็วรากที่สองของกําลังสองเฉลี่ย

วิธีทํา จากโจทย N = 10 โมเลกุล


v1v2v3...v10
ก. หา v, จาก v =
N
2213534212
แทนคา; =
10
v = 2.5 m/s

ดังนั้น อัตราเร็วเฉลี่ยเทากับ 2.5 เมตรตอวินาที ตอบ


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 67

2 2 2 2
v1v2v3...v10
ข. หา v2, จาก v =
N
2 2 2 2 2 2 2 2 2 2
2 2 1 3 5 3 4 2 1 2

ความรอน
แทนคา; =
10
2 2 2
v  = 7.7 m /s

ดังนั้น อัตราเร็วกําลังสองเฉลี่ยเทากับ 7.7 เมตร2ตอวินาที2 ตอบ

ค. หา vrms , จาก vrms = �v2


แทนคา; = � 7.7
vrms = 2.77 m/s

ดังนั้น อัตราเร็วรากที่สองของกําลังสองเฉลี่ยเทากับ 2.77 เมตรตอวินาที ตอบ

การหาอุณหภูมิและความดันจากการผสมแกส
เมื่อนําแกสหลายชนิดมาผสมกันในภาชนะที่มีปริมาตรและความดันคงตัวจะทําให n และ T

มีการเปลี่ยนแปลง จากกรณีตัวอยางการผสมแกส 3 ชนิด ดังนี้

แกสชนิดที่ 1 แกสชนิดที่ 2 แกสชนิดที่ 3

P1, V1, T1 P2, V2, T2 P3, V3, T3

Ek1, m1, N1, n1 Ek2, m2, N2, n2 Ek3, m3, N3, n3

P1V1 = n1RT1 P2V2 = n2RT2 P3V3 = n3RT3

ดังนั้น เมื่อนําแกสทั้งสามชนิดมาผสมกันจะไดวา
Pผสม Vผสม = P1V1P2V2P3V3

nผสม RTผสม = n1RT1n2RT2n3RT3

จะได nผสม Tผสม = n1T1n2T2n3T3 ; เมื่อปริมาตรคงที่


หรือ Pผสม Vผสม = P1V1P2V2P3V3 ; เมื่ออุณหภูมิคงที่
68 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

เทคนิคการคํานวณ
ความรอน

1. ถาตอเชื่อมถังแกสถึงกันทั้งหมด จะได
Vผสม = V1V2V3

2. การหา Tผสม สามารถใชหนวยของ T1, T2, T3 เปน C หรือ K ก็ได

ตัวอยางที่ 13 ผสมแกสไฮโดรเจน 2 โมล อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส กับแกสออกซิเจน 3 โมล อุณหภูมิ


40 องศาเซลเซียส จงหาอุณหภูมิของการผสม

วิธีทํา จาก nผสม Tผสม = n1T1n2T2

(n1n2) Tผสม = n1T1n2T2

แทนคา; (23) Tผสม = (220)(340)

5Tผสม = 40120
160
Tผสม =
5
Tผสม = 32C

ดังนั้น อุณหภูมิผสมเทากับ 32 องศาเซลเซียส ตอบ

หมายเหตุ
แทนอุณหภูมิดวยหนวยองศาเซลเซียสตองตอบในหนวยองศาเซลเซียส

ตัวอยางที่ 14 แกสออกซิเจนบรรจุอยูในถังปดปริมาตร 200 ลูกบาศกเดซิเมตร อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส


และมีความดัน 105 พาสคัล ถาถังมีการขยายตัวจนมีปริมาตร 300 ลูกบาศกเดซิเมตร โดยอุณหภูมิไม
เปลี่ยนแปลง ความดันจะเปนเทาไร
วิธีทํา จาก P1V1 = P2V2
5
แทนคา; 10 200 = P2300
5
P2 = 0.6710 Pa

ดังนั้น ความดันเทากับ 0.67105 พาสคัล ตอบ


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 69

พลังงานภายในระบบ

ความรอน
จากการศึ ก ษาเรื่ อ งพลั ง งานจลน ข องแก ส พบว า เมื่ อ โมเลกุ ล ของแก ส มี ก ารเคลื่ อ นที่ ก็ จ ะมี
พลังงานจลนเกิดขึ้น ดังนั้นพลังงานภายในระบบของแกสก็คือพลังงานจลนเฉลี่ยของแกสทั้งหมดนั่นเอง
ดังนั้น U = NEk

เมื่อ U คือ พลังงานภายในระบบ มีหนวยเปน จูล (J)


NEk คือ พลังงานจลนเฉลี่ยภายในระบบทั้งหมด มีหนวยเปน จูล (J)

และจาก Ek = 3 PV = 3 nRT = 3 NkBT = 3 m RT


2 2 2 2M
จะได U = 3 PV = 3 nRT = 3 Nk T
B = 3 m RT
2 2 2 2M
และเมื่อพลังงานภายในระบบเปลี่ยนแปลงไป จะไดวา
U = 3 PV = 3 nRT = 3 Nk T = 3 m RT
B
2 2 2 2M

ตัวอยางที่ 15 แกสฮีเลียม 20 โมล มีอุณหภูมิเปลี่ยนไปจากเดิม 20 องศาเซลเซียส จะมีพลังงานภายใน


ระบบเปลี่ยนไปเทาไร (กําหนดให R = 8.31 J/molK)
วิธีทํา จาก U = 3 nRT
2
แทนคา; = 3 208.31(20273)
2
U = 73,045 J

ดังนั้น พลังงานภายในระบบของแกสฮีเลียมเปลี่ยนไป 73,045 จูล ตอบ

ตัวอยางที่ 16 แกสออกซิเจนปริมาณ 4 โมล อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส มีพลังงานภายในระบบเทาไร


วิธีทํา จาก U = 3 nRT
2
แทนคา; = 3 48.31(27273)
2
U = 14,958 J

ดังนั้น พลังงานภายในระบบของแกสออกซิเจนเทากับ 14,958 จูล ตอบ


70 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
กฎขอที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร
ความรอน

กฎขอที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร (First law of thermodynamics) กลาววา “พลังงานทั้งหมด


ภายในระบบมีคาคงที่เสมอ พลังงานไมมีการสูญหายแตสามารถเปลี่ยนไปเปนพลังงานรูปอื่นได”
การศึกษากฎขอทีห่ นึง่ ของอุณหพลศาสตร เราจะพิจารณาแกสทีอ่ ยูใ นกระบอกสูบ เมือ่ ใหพลังงาน
ความรอน (Q) แกกระบอกสูบ ทําใหอณ ุ หภูมเิ พิม่ ขึน้ พลังงานภายในระบบ (U) จะเพิม่ ขึน้ ทําใหโมเลกุล
ของแกสเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วสูงขึ้น สามารถทํางาน (W) ในการยกกอนนํ้าหนักบนลูกสูบได ดังรูป
กอนนํ้าหนัก

W
กระบอกสูบ

ลูกสูบ

ใหความรอน Q

เมื่อ Q คือ พลังงานความรอนที่ใหแกระบบ มีหนวยเปน จูล (J)


U คือ พลังงานที่เปลี่ยนแปลงไปในระบบ มีหนวยเปน จูล (J)
W คือ งานที่ทําโดยระบบ มีหนวยเปน จูล (J)
ดังนั้น จากกฎการอนุรักษพลังงาน จะได
Q = U  W

การพิจารณาเครื่องหมายจากการเปลี่ยนแปลงพลังงานดังตาราง
ปริมาณ เครื่องหมาย
พลังงานความรอนเขาสูระบบ (เพิ่ม) 
Q พลังงานความรอนออกจากระบบ (ลด) 

พลังงานความรอนไมเปลี่ยนแปลง (คงตัว) 0

พลังงานภายในระบบเพิ่มขึ้น (T เพิ่ม) 

U พลังงานภายในระบบลดลง (T ลด) 

พลังงานภายในระบบคงตัว (T คงตัว) 0

งานที่ทําโดยระบบ (V เพิ่ม) 

W งานที่ทําใหระบบ (V ลด) 

ไมเกิดงาน (V คงตัว) 0
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 71

งานที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแกส

ความรอน
พิจารณาแกสในกระบอกสูบที่มีปริมาตร V1 เมื่อไดรับพลังงานความรอนทําใหลูกสูบเคลื่อนที่ไป
จากเดิมเปนระยะ x มีปริมาตรเพิ่มเปน V2 (พื้นที่หนาตัดของลูกสูบเทากับ A)

x
ลูกสูบ กระบอกสูบ
V2
V1
F

เมื่อแกสในกระบอกสูบมีความดัน (P) คงที่ จะไดงานที่ระบบทํา ดังนี้


W = FS

เมื่อ F = PA และ S = x จะได


W = PAx = PV ; (V = Ax)

การหางานจากกราฟความดัน (P) กับปริมาตร (V)


1. ความดันคงที่

P P

V V
V1 V2 V2 V1
รูปที่ 1 รูปที่ 2
จะได W = พื้นที่ใตกราฟ
= P(V2V1)

W = PV

หมายเหตุ
รูปที่ 1 W เปน  เพราะ V2  V1
รูปที่ 2 W เปน  เพราะ V2  V1
72 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
2. ความดันเปลี่ยนแปลงอยางสมํ่าเสมอ
P P
ความรอน

P2 P2

P1 P1

V V
V1 V2 V2 V1
รูปที่ 3 รูปที่ 4
P P

P2 P2

P1 P1

V V
V1 V2 V2 V1
รูปที่ 5 รูปที่ 6
จะได W = พื้นที่ใตกราฟ
P1P2
= (V2V1)
2
W = PV

หมายเหตุ
รูปที่ 3, 5 W เปน  เพราะ V2  V1
รูปที่ 4, 6 W เปน  เพราะ V2  V1

3. ปริมาตรคงตัว
P P

V V
รูปที่ 7 รูปที่ 8
จะได W = PV

W = 0 ; (เพราะ V คงตัว)
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 73

กระบวนการตางๆ ตามกฎขอที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร

ความรอน
1. กระบวนการแอเดี ย แบติ ก (adiabatic process) เป น กระบวนการที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยไม มี
ความรอนไหลเขาหรือออกจากระบบ นั่นคือ Q = 0
จาก Q = UW

เมื่อ Q = 0, จะได U = W


2. กระบวนการไอโซคอริก (Isochoric process) เปนกระบวนการที่เกิดขึ้นโดยมีปริมาตรคงที่

จึงทําให W = 0
จาก Q = UW
เมื่อ W = 0, จะได Q = U
3. กระบวนการไอโซเทอรมอล (Isothermal process) เปนกระบวนการทีเ่ กิดจากความรอนไหล

เขาหรือออกจากระบบ โดยที่อุณหภูมิไมเปลี่ยนแปลง
ดังนั้น จาก Q = UW
3 3
จะได Q = PV  PV ; U = PV
2 2
5
Q = PV
2

25
ตัวอยางที่ 17 จะตองใชความรอนเทาไรจึงจะทําใหแกสจํานวน 10 โมเลกุล มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 2

เคลวิน โดยปริมาตรของแกสไมเปลี่ยนแปลง
วิธีทํา จาก Q = UW

= 3 NkBTPV
2
= 3 10 1.3810 20
25
แทนคา; 23

2
2
= 4.1410

Q = 414 J

ดังนั้น จะตองใหความรอนแกแกส 414 จูล ตอบ


74 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ตัวอยางที่ 18 แกสอุดมคติจํานวน 1 โมล ความดัน 3105 พาสคัล อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จะตอง
ใหความรอนแกแกสเทาไร จนทําใหแกสมีปริมาตรเปน 102 ลูกบาศกเมตร โดยความดันไมเปลี่ยนแปลง
ความรอน

วิธีทํา จากโจทย P1 = P2 =3105 Pa


จาก P1V1 = nRT1
5
แทนคา; (310 )V1 = 18.31(27327)
3
V1 = 8.3110 m
3

และจาก P2V2 = nRT2


5
แทนคา; 310 10
2
= 18.31T2

T2 = 361 K

จาก Q = UW

= 3 PVPV
2
= 5 PV
2
= 5 P(V2V1)
2
= 5 310 (10 8.3110 )
25
แทนคา; 2 3

2
Q = 1,276.5 J

ดังนั้น จะตองใหความรอนแกแกส 1,276.5 จูล ตอบ


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 75

แบบฝกหัด

ความรอน
จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. อุณหภูมิของอากาศบริเวณหนึ่งวัดได 25 องศาเซลเซียส มีคาเทากับกี่เคลวิน

1. 250 K 2. 298 K

3. 300 K 4. 315 K

5. 320 K

2. ถามีวัตถุชิ้นหนึ่งมวล 2 กิโลกรัม ตกลงมาจากเครื่องบิน ซึ่งอยูสูงจากพื้น 5 กิโลเมตร จงหาความรอน


ที่เกิดขึ้นกับวัตถุขณะตกถึงพื้นพอดี โดยถือวาไมมีการสูญเสียพลังงานใดๆ
3 4
1. 10 J 2. 10 J
5 6
3. 10 J 4. 10 J
7
5. 10 J

3. แทงเหล็กแทงหนึ่งเริ่มไถลลงมาจากพื้นเอียงสูง 15 เมตร ดังรูป จงหาวาอุณหภูมิของแทงเหล็ก

จะเพิ่มขึ้นจากเดิมเทาไร (กําหนดให cเหล็ก = 0.5 kJ/kgK)

15 m

.
1 0.2 K 2. 0.3 K

3. 0.4 K 4. 0.5 K

5. 0.6 K

4. จะตองใชความรอนเทาไรในการตมนํ้า 2 ลิตร อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จนเดือดพอดี (กําหนดให

cนํ้า = 4.2 kJ/kgK)


5 5
1. 2.510 J 2. 4.210 J
5 5
3. 5.510 J 4. 6.310 J
5
5. 7.210 J
76 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
5. เหล็กมีความจุความรอนจําเพาะมากกวาตะกัว่ เมือ่ ใหความรอนแกเหล็กและตะกัว่ ทีม่ มี วลเทากัน และ
อุณหภูมิเริ่มตนเทากัน อุณหภูมิของเหล็กและตะกั่วหลังจากใหความรอนจะเปนอยางไร
ความรอน

1. เหล็กมีอุณหภูมิเทากับตะกั่ว 2. เหล็กมีอุณหภูมิมากกวาตะกั่ว

3. เหล็กมีอุณหภูมินอยกวาตะกั่ว 4. อุณหภูมิของเหล็กไมเปลี่ยนแปลง

5. อุณหภูมิของตะกั่วไมเปลี่ยนแปลง

6. กระติกตมนํา ้ รอนมีกาํ ลัง 1,000 วัตต ตมนํา้ 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ถาไมมกี ารสูญเสีย
พลังงานใดๆ นานเทาไรนํ้าจึงจะเริ่มเดือด (กําหนดให cนํ้า = 4.2 kJ/kgK)
1. 2.20 min 2. 3.50 min

3. 4.25 min 4. 4.75 min

5. 5.25 min

7 . จากขอ 6 ถากระติกตมนํ้ารอนมีการสูญเสียความรอน 30 เปอรเซ็นต จะตองใชเวลานานเทาไร


นํ้าจึงจะเริ่มเดือด
1. 4.5 min 2. 5.0 min

3. 5.5 min 4. 6.5 min

5. 7.5 min

8 . นําแทงเหล็กมวล 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ใสลงในนํ้า 2 กิโลกรัม อุณหภูมิ 10


องศาเซลเซียส จงหาอุณหภูมิสุดทายของการผสม (กําหนดให cนํ้า = 4.2 J/gC, cเหล็ก = 0.5
J/gC)

1. 15C 2. 25C

3. 35C 4. 45C

5. 55C

9. จงหาปริมาณความรอนที่ทําใหนํ้าแข็งมวล 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส เดืิอด


กลาย เปนไอนํ้าจนหมด (กําหนดให cนํ้า = 4.2 J/gC, Lนํ้าแข็ง = 333 J/gC, Lไอนํ้า = 2,256 J/g,
cนํ้าแข็ง = 2.1 J/gC)
5 5
1. 2.0510 J 2. 2.5010 J
6 6
3. 3.0310 J 4. 3.6510 J
6
5. 4.5210 J
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 77

10. กระปองทองแดงมวล 1 กิโลกรัม ภายในบรรจุนาํ้ มวล 2 กิโลกรัม อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ตอมา


นําแทงเหล็กมวล 0.5 กิโลกรัม อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ใสลงในกระปองทองแดง จงหาอุณหภูมิ

ความรอน
สุดทายของการผสม (กําหนดให cนํ้า = 4.2103 J/kgK, cทองแดง = 385 J/kgK, cเหล็ก = 500 J/
kgK)
1. 22.2C 2. 25.5C
3. 28.5C 4. 32.2C
5. 41.5C
11. เทนํ้ารอน 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ลงบนกอนนํ้าแข็งมวล 5 กิโลกรัม นํ้าแข็ง
จะละลายเหลือกี่กิโลกรัม (กําหนดให cนํ้า = 4.2103 J/kgK, Lนํ้าแข็ง = 330103 J/kg)
1. 1.27 kg 2. 2.54 kg
3. 3.73 kg 4. 3.80 kg
5. 4.52 kg
12. บรรจุแกสชนิดหนึ่งในถังปริมาตร 0.2 ลูกบาศกเมตร ความดัน 4105 พาสคัล อุณหภูมิ 27
องศาเซลเซียส เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนเปน 47 องศาเซลเซียส ความดันของแกสจะเปนเทาไร ถาปริมาตร
ไมเปลี่ยนแปลง
5 5
1. 2.510 Pa 2. 3.210 Pa
5 5
3. 4.310 Pa 4. 4.510 Pa
5
5. 5.210 Pa
13. บรรจุแกสชนิดหนึ่งไวในถังปริมาตร 103 ลูกบาศกเมตร อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 1
บรรยากาศ ถาอุณหภูมิเพิ่มเปน 47 องศาเซลเซียส และความดันเพิ่มเปน 1.1 บรรยากาศ ปริมาตร
จะเปนเทาไร
3 3
1. 5.810 m 2. 6.510 m
4 4

3 3
3. 7.210 m 4. 8.310 m
4 4

3
5. 9.710 m
4

14. ในชวงเชาอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส วัดความดันเกจของยางรถยนตได 3105 พาสคัล เมื่อ


ขับรถไปดวยความเร็วสูงทําใหยางรถยนตรอนขึ้น อุณหภูมิของยางเพิ่มขึ้นเปน 67 องศาเซลเซียส ถา
ปริมาตรของอากาศในยางรถยนตเปลีย่ นไปนอยมากจนถือวาคงตัว ความดันเกจของยางรถยนตเปน
เทาไร (กําหนดใหความดันบรรยากาศ = 105 Pa)
5 5
1. 2.510 Pa 2. 3.010 Pa
5 5
3. 3.510 Pa 4. 4.010 Pa
5
5. 4.510 Pa
78 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
15. แกสชนิดหนึง่ บรรจุไวในถังทีม่ ปี ริมาตรคงตัว เมือ่ อุณหภูมขิ องแกสเพิม่ ขึน้ จาก 27 องศาเซลเซียส เปน
57 องศาเซลเซียส ความดันของแกสจะเปลี่ยนไปจากเดิมกี่เทา
ความรอน

1. 1.1 เทา 2. 1.5 เทา

3. 2.0 เทา 4. 2.3 เทา

5. 2.5 เทา

16. แกสบรรจุไวในถังที่มีปริมาตรคงตัว ถาอุณหภูมิเปนเคลวินเพิ่มขึ้น 2 เทา ความดันจะเปลี่ยนแปลง


อยางไร
1. ความดันเพิ่มขึ้น 2 เทา 2. ความดันเพิ่มขึ้น 3 เทา

3. ความดันเพิ่มขึ้น 4 เทา 4. ความดันลดลง 2 เทา

5. ความดันลดลง 3 เทา

17. บรรจุแกสชนิดหนึ่งไวในถังปริมาตร 3103 ลูกบาศกเมตร อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ความดัน


5
310 พาสคัล ในถังนี้จะมีแกสจํานวนกี่โมล

1. 0.25 mol 2. 0.30 mol

3. 0.36 mol 4. 0.48 mol

5. 0.83 mol

18. แกสชนิดหนึ่งบรรจุไวในถังปริมาตร 4103 ลูกบาศกเมตร จํานวน 2 โมล ถาขณะนั้นมีอุณหภูมิ 27


องศาเซลเซียส แกสจะมีความดันเทาไร
5 5
1. 5.310 Pa 2. 7.610 Pa
5 5
3. 8.510 Pa 4. 10.210 Pa
5
5. 12.510 Pa

19. บรรจุแกสไฮโดรเจนจํานวน 2 โมล ไวในถังทีม่ ปี ริมาตร 2102 ลูกบาศกเมตร ขณะนัน้ แกสไฮโดรเจน


มีความหนาแนนเทาไร
3 3
1. 0.1 kg/m 2. 0.2 kg/m
3 3
3. 0.3 kg/m 4. 0.4 kg/m
3
5. 0.5 kg/m

20. ผสมแกสฮีเลียม 3 โมล อุณหภูมิ 47 องศาเซลเซียส กับแกสอารกอน 2 โมล อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส


อุณหภูมิหลังการผสมเปนเทาไร
1. 39C 2. 52C

3. 67C 4. 72C

5. 78C
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 79

21. บรรจุแกสไวในถังปริมาตร 103 ลูกบาศกเมตร ความหนาแนน 0.3 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร


แกสจะมีความดันเทาไร ถาขณะนี้อัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลแกสเทากับ 104 เมตรตอวินาที

ความรอน
5 6
1. 1.210 Pa 2. 1.510 Pa
6 7
3. 2.210 Pa 4. 1.010 Pa
7
5. 1.510 Pa

22. บรรจุแกสชนิดหนึง่ ไวในกระบอกสูบ ความดันและปริมาตรมีการเปลีย่ นแปลงดังกราฟ จงคํานวณหา


พลังงานจลนของแกสที่ตําแหนง A
5
P(10 Pa)

6 A

B
2

3
V(10 m)
2
0 3 5 7
4 4
1. 1.010 J 2. 1.210 J
4 4
3. 1.510 J 4. 2.710 J
4
5. 2.810 J

23. แกสในอุดมคติที่อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส จะมีพลังงานจลนเฉลี่ยเทาไร


1. 2.310 J 2. 4.510 J
20 20

3. 5.410 J 4. 6.210 J
21 21

5. 7.110 J
23

24. บรรจุแกสในอุดมคติจาํ นวน 4 โมล อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ถาขณะนัน้ มีอณ


ุ หภูมิ 27 องศาเซลเซียส
แกสจะมีพลังงานจลนเทาไร
3 3
1. 1.010 J 2. 1.510 J
4 4
3. 1.010 J 4. 1.210 J
4
5. 1.510 J

25. บรรจุแกสในอุดมคติชนิดหนึ่งซึ่งมีมวล 21025 กิโลกรัมตอโมเลกุล ถาขณะนั้นมีอุณหภูมิ 57 องศา


เซลเซียส จงหาอัตราเร็วรากที่สองของกําลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลแกส
1. 261 m/s 2. 282 m/s

3. 328 m/s 4. 431 m/s

5. 528 m/s
80 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
26. จงหา vrms ของแกสออกซิเจน (O2) ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส (กําหนดให O = 16)
2 2
1. 3.210 m/s 2. 4.810 m/s
ความรอน

2 2
3. 5.110 m/s 4. 6.210 m/s
2
5. 6.510 m/s
27. เมื่อใหความรอน 508.6 จูล แกแกสจํานวน 2 โมล ที่บรรจุในกระบอกสูบ แกสจะทํางาน 10 จูล
ดันใหลูกสูบเคลื่อนที่ อุณหภูมิของแกสจะเพิ่มขึ้นเทาไร
1. 5 K 2. 10 K
3. 15 K 4. 20 K
5. 25 K
28. ใชขดลวดความรอนขนาด 10 วัตต ใหความรอนแกแกสอะตอมเดี่ยวจํานวน 2 โมล ซึ่งบรรจุในถัง
ที่ปดสนิท จะตองใชเวลานานเทาไร แกสจึงจะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจากเดิม 50 องศาเซลเซียส
1. 85 s 2. 100 s
3. 125 s 4. 135 s
5. 142 s
29. บรรจุแกสจํานวน 1 โมล ในถังฝาปดสนิทที่มีปริมาตร 0.5 ลูกบาศกเมตร เมื่อใหความรอนเขาไป 300
จูล ความดันของแกสจะเพิ่มขึ้นเทาไร
1. 200 Pa 2. 300 Pa
3. 400 Pa 4. 500 Pa
6. 600 Pa
30. จะตองใหความรอนเทาไรแกแกสฮีเลียมจํานวน 1 โมล ที่บรรจุอยูในกระบอกสูบ แลวทําใหแกสนั้น
ดันใหลูกสูบทํางาน 20 จูล และอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 เคลวิน
1. 72.3 J 2. 105.5 J
3. 144.6 J 4. 152.3 J
5. 168.2 J
31. จงหางานทีเ่ กิดขึน้ จากการเปลีย่ นแปลงของแกสทีบ่ รรจุในกระบอกสูบ จากสภาวะ A → B → C ดังรูป
5
P(10 Pa)
.
1 50 J
A
2.0 2. 100 J

1.5 3. 150 J
4. 200 J
1.0 C B
5. 250 J
3
V(10 m)
3

0 1 2 3 4 5
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 81

เฉลย

ความรอน
1. 2 2. 3 3. 2 4. 4 5. 3 6. 5 7. 5 8. 1 9. 3 10. 1

11. 3 12. 3 13. 5 14. 3 15. 1 16. 1 17. 3 18. 5 19. 2 20. 1

21. 4 22. 4 23. 3 24. 5 25. 1 26. 2 27. 4 28. 3 29. 3 30. 3

31. 4

เฉลยพรอมคําอธิบาย

1. ตอบขอ 2
C
อธิบาย จาก = K273
5 5
แทนคา; 25 = K273

K = 298

2. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก Q = Ep

= mgh

แทนคา; = 2105,000
5
Q = 10 J

3. ตอบขอ 2
อธิบาย จาก Q = mgh

mcT = mgh

cT = gh
3
แทนคา; (0.510 )T = 1015
150
T = 3
0.510
T = 0.3 K
82 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
4. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก Q = mcT
ความรอน

3
แทนคา; = 24.210 (10025)
5
Q = 6.310 J

หมายเหตุ
T สามารถแทนอุณหภูมิดวยหนวยองศาเซลเซียสไดเลย เพราะวาผลตางมีคาเทากัน

5. ตอบขอ 3
อธิบาย เมื่อเหล็กมีความจุความรอนจําเพาะมากกวาตะกั่ว แสดงวาเหล็กสามารถดูดความรอนได
มากกวาตะกั่ว ดังนั้นเมื่อใหความรอนดวยอัตราที่เทากัน อุณหภูมิเริ่มตนเทากัน และมวลเทากัน
เหล็กจะมีอุณหภูมินอยกวาตะกั่ว
6. ตอบขอ 5
อธิบาย จาก P =
Q
t
Q
t =
P
= mcT
P 3
14.210 (10025)
แทนคา; =
1,000
= 315 s
315
t = = 5.25 min
60
7. ตอบขอ 5
อธิบาย จาก P =
Q
t
Q
t =
P
= mcT
P
3
14.210 (10025)
แทนคา; =
70
1,000
100
= 450 s
450
t = = 7.5 min
60
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 83

8. ตอบขอ 1

อธิบาย 100C TC

ความรอน
Q
ให เหล็ก เหล็ก
10C TC

รับ นํ้า Q นํ้า

จาก Qให = Qรับ

(mcT)เหล็ก = (mcT)น้าํ
3 3
แทนคา; 110 0.5(100T) = 210 4.2(T10)
50,000500T = 8,400T84,000

8,900T = 134,000

T = 15C

9. ตอบขอ 3

อธิบาย 10C 0C 0C 100C 100C


Q1 Q2 Q3 Q4
น้ําแข็ง น้ําแข็ง น้ํา น้ํา ไอน้ํา
จะได Qรวม = Q1Q2Q3Q4

= (mcT)น้าํ แข็ง(mL)น้ําแข็ง(mcT)น้ํา(mL)ไอน้ํา
3 3 3
แทนคา; = [110 2.1(0(10))](110 333)[110 4.2(1000)]
3
(110 2,256)

= 21,000333,000420,0002,256,000
6
Q = 3.0310 J

{
10. ตอบขอ 1

อธิบาย 20C TC

กระปอง Q1
ทองแดง
รับ 20C TC
Q2
น้ํา
100C TC
ให แทงเหล็ก
Q3
84 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
จาก Qให = Qรับ

Q3 = Q1Q2
ความรอน

(mcT)เหล็ก = (mcT)ทองแดง(mcT)น้ํา
3
แทนคา; 0.5500(100T) = [1385(T20)][24.210 (T20)]

25,000250T = 385T7,7008,400T168,000

250T385T8,400T = 7,700168,00025,000

9,035T = 200,700

T = 22.2C

11. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก Qให = Qรับ

(mcT)น้ํารอน = (mL)น้าํ แข็ง


3 3
แทนคา; 14.210 [(100)0] = m33010

m = 1.27 kg

น้ําแข็งละลายไป 1.27 kg จะเหลือ 51.27 = 3.73 kg

12. ตอบขอ 3
P1V1 P2V2
อธิบาย จาก =
T1 T2
5
410 P2
แทนคา; =
(27327) (27347)
5
P2 = 4.310 Pa

13. ตอบขอ 5
P1V1 P2V2
อธิบาย จาก =
T1 T2
110 1.1V2
3
แทนคา; =
(27327) (27347)
3
V2 = 9.710 m
4

14. ตอบขอ 3
(Pg1P0)V1 (Pg2P0)V2
อธิบาย จาก =
T1 T2
5 5 5
(310 )10 Pg210
แทนคา; =
(27327) (27367)
5
Pg = 3.510 Pa
2
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 85

15. ตอบขอ 1
P1V1 P2V2
อธิบาย จาก =

ความรอน
T1 T2
P1V P2V
แทนคา; = ; (V1 = V2 = V)
(27327) (27357)
P2 = 1.1P1

16. ตอบขอ 1
P1V1 P2V2
อธิบาย จาก =
T1 T2
P1V P2V
แทนคา; = ; (V1 = V2 = V)
T1 2T1

P2 = 2P1

17. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก PV = nRT
PV
n =
RT
5
310 310
3
แทนคา; =
8.31(27327)
n = 0.36 mol

18. ตอบขอ 5
อธิบาย จาก PV = nRT
nRT
P =
V
28.31(27327)
แทนคา; =
410
3

5
P = 12.510 Pa

19. ตอบขอ 2
nMH2
อธิบาย จาก  =
V
2210
3
แทนคา; =
210
2

3
 = 0.2 kg/m
86 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
20. ตอบขอ 1
n1T1 n2T2
อธิบาย จาก Tผสม =
ความรอน

n1n2
3(27347)2(27327)
แทนคา; =
32
960600
=
5
= 312 K

T = 39C

21. ตอบขอ 4
PV = 1 Nm v 
2
อธิบาย จาก
3
Nm
P = 1  v  ;  =
2

3 V

= 10.3(10 )
4 2
แทนคา;
3
7
P = 1.010 Pa

22. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก Ek = 3 PV
2
แทนคา; 3 5
= 610 310
2

2
4
Ek = 2.710 J

23. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก Ek = 3 kBT
2
แทนคา; = 3(1.3810 )(273(10))
23

2
Ek = 5.410 J
21

24. ตอบขอ 5
อธิบาย จาก Ek = 3 nRT
2
แทนคา; 3
= 48.31(27327)
2
4
Ek = 1.510 J
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 87

25. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก vrms =  3kmT
B

ความรอน
 31.3810
23
(27357)
แทนคา; =
210
25

vrms = 261 m/s

26. ตอบขอ 2
อธิบาย จาก vrms =  3RT
M
38.31(27327)
แทนคา; =
 (21610 )
3

2
vrms = 4.810 m/s

27. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก Q = UW

= 3 nRTW
2
แทนคา; 508.6 = 328.31T10
2
T = 20 K

28. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก Q = UW

Pt = 3 nRT0
2
แทนคา; 10t = 328.3150
2
t = 125 s

29. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก Q = UW

แทนคา; 300 = 3 (P)V0


2
300 = 3P0.5
2
P = 400 Pa
88 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
30. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก Q = UW
ความรอน

= 3 nRTW
2

แทนคา; = 3218.311020
Q = 144.6 J

31. ตอบขอ 4
อธิบาย เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงครบรอบ จะไดวา
W = พื้นที่ปดลอม

= 1 (410 )(110 )
5
แทนคา; 3

2
W = 200 J
º··Õè 3 ¤Å×蹡Å
คลื่น (wave) เกิดจากบริเวณใดบริเวณหนึ่งในระบบที่เราศึกษา ถูกรบกวนจนมีการเปลี่ยนแปลง
ไปจากสภาวะสมดุล แลวการเปลี่ยนแปลงนั้นสามารถแผขยายไปยังสวนอื่นๆ ของระบบนั้นได เราเรียก
ลักษณะการแผขยายของการเปลี่ยนแปลงนี้วาคลื่นนั่นเอง

การถายโอนพลังงานของคลื่น
พิจารณาการถายโอนพลังงานของคลืน่ จากตัวอยางการโยนกอนหินลงไปในบอนํา้ กอนหินเมือ่ ถูก
โยนออกไปก็จะมีพลังงานศักยโนมถวงและพลังงานจลนแลวตกกระทบผิวนํ้า จากกฎการอนุรักษพลังงาน
กอนหินก็จะถายโอนพลังงานไปยังอนุภาคของนํา้ ทําใหอนุภาคของนํา้ ถูกรบกวนและมีการเคลือ่ นที่ นํา้ จึง
กระเพือ่ มและขยายออกไปเปนวงกลมรอบบริเวณทีถ่ กู รบกวน ถาเรานําใบไมไปวางบนคลืน่ ผิวนํา้ ทีก่ ระเพือ่ ม
ขึ้นลง จะพบวาใบไมจะกระเพื่อมขึ้นลงตามการกระเพื่อมของคลื่นผิวนํ้า แตเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผานไปใบไม
ดังกลาวก็ยังอยูที่เดิม จึงสรุปไดวา อนุภาคของตัวกลาง (นํ้า) จะสั่นขึ้นลงในแนวเดิมแลวถายโอนพลังงาน
ใหกบั อนุภาคขางเคียงตอเนือ่ งกันไป ทําใหคลืน่ เคลือ่ นทีไ่ ปโดยทีอ่ นุภาคของตัวกลางนัน้ ไมไดเคลือ่ นทีต่ าม
ไปดวย

ชนิดของคลื่น
คลื่นสามารถจําแนกไดหลายชนิด ดังนี้
1. แบงตามการใชตัวกลาง สามารถแบงได 2 ชนิด คือ

1.1 คลื่นกล (mechanical wave) เปนคลื่นที่ตองใชตัวกลางในการเคลื่อนที่ เชน คลื่นนํ้า

คลื่นเสียง คลื่นในเสนเชือก
1.2 คลืน
่ แมเหล็กไฟฟา (electromagnetic wave) เปนคลืน่ ทีไ่ มตอ งใชตวั กลางในการเคลือ่ นที่
เชน แสง คลื่นวิทยุ รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีอินฟราเรด คลื่นไมโครเวฟ
2. แบงตามลักษณะการเคลื่อนที่ของตัวกลาง สามารถแบงได 2 ชนิด คือ
2.1 คลื่นตามยาว (longitudinal wave) ตัวกลางจะสั่นในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น

เชน คลื่นเสียง คลื่นที่เกิดจากการอัดและขยายตัวในสปริง


90 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
คลื่นตามขวาง (transverse wave) เปนคลื่นที่มีทิศทางการสั่นของตัวกลางตั้งฉากกับ
2.2

ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น เชน คลื่นในเสนเชือก คลื่นนํ้า คลื่นแมเหล็กไฟฟา


คลื่นกล

3. แบงตามความตอเนื่องของแหลงกําเนิด สามารถแบงได 2 ชนิด คือ

3.1 คลื่ น ดล (impulse wave) เป น คลื่ น ที่ เ กิ ด จากแหล ง กํ า เนิ ด สั่ น ในช ว งเวลาสั้ น ๆ ทํ า ให

เกิดคลื่นแพรออกไปเปนจํานวนนอยๆ เชน การสะบัดเชือก 1 ครั้ง การจุมนํ้าเพียง 1 หรือ 2 ครั้ง


3.2 คลื่ น ต อ เนื่ อ ง (contineous wave) เป น คลื่ น ที่ เ กิ ด จากแหล ง กํ า เนิ ด สั่ น หรื อ ถู ก รบกวน

เปนเวลานานๆ จะเกิดคลื่นเปนชุดตอเนื่องกัน เชน คลื่นเสียงจากลําโพงที่เปดทิ้งไวเปนเวลานานๆ

คลื่นผิวน้ํา
เมื่อพิจารณาการเกิดคลื่นกล เชน คลื่นผิวนํ้าหรือคลื่นในเสนเชือกจะพบวาตําแหนงตางๆ ของ
ตัวกลาง (นํ้า, เสนเชือก) จะสั่นขึ้นลงจากระดับปกติ ซึ่งเรียกวา การกระจัดของคลื่น โดยวัดในแนว
ตั้งฉากจากระดับปกติถึงตําแหนงสูงสุด (การกระจัดเปน ) และถึงตําแหนงตํ่าสุด (การกระจัดเปน )
สวนประกอบที่สําคัญของคลื่นที่ควรทราบ มีดังนี้
การกระจัด
สันคลื่น สันคลื่น
ความยาวคลื่น ()
แอมพลิจูด
ตําแหนง

ทองคลื่น ทองคลื่น
ความยาวคลื่น
1.สันคลื่น (crest) คือ ตําแหนงที่มีการกระจัดบวกสูงสุดเหนือระดับปกติ
2. ทองคลื่น (trough) คือ ตําแหนงที่มีการกระจัดลบมากที่สุดใตระดับปกติ

3. แอมพลิจูด (amplitude : A) การกระจัดสูงสุดของคลื่นเหนือหรือใตระดับปกติ หรือความสูง

ของสันคลื่นหรือทองคลื่นนั่นเอง โดยแอมพลิจูดยิ่งมีคามากคลื่นจะมีพลังงานมาก
4. ความยาวคลื่น (wavelengh : ) คือ ความยาวของลูกคลื่น 1 ลูกคลื่น หรือวัดจากสันคลื่นถึง

สันคลื่น หรือวัดจากทองคลื่นถึงทองคลื่นที่อยูติดกัน
5. คาบ (period : T) คือ เวลาที่คลื่นใชเคลื่อนที่ครบ 1 ลูก มีหนวยเปน วินาที (s)

6. ความถี่ (frequency : f) คือ จํานวนลูกคลื่นที่เคลื่อนที่ไดในเวลา 1 วินาที มีหนวยเปน ลูกตอ

วินาที, รอบตอวินาทีหรือเฮิรตซ (Hz) โดยความถี่และคาบมีความสัมพันธกัน ดังนี้


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 91

1
f =
T
1
หรืิอ

คลื่นกล
T =
f

7.อัตราเร็วของคลื่น (velocity of wave : v) คือ ระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ไดใน 1 วินาที มีหนวย


เปน เมตรตอวินาที (m/s)
S
จาก v = → ใชเมื่อเวลาใดๆ
t
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ จะได S =  และ t = T


ดังนั้น v =
T
หรือ v = f

ตัวอยางที่ 1 สะบัดเชือกเสนหนึ่งใหสั่นขึ้นลงอยางสมํ่าเสมอเปนเวลา 5 วินาที ทําใหเสนเชือกมีลักษณะ


เปนคลื่น ดังรูป
การกระจัด

0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0


ตําแหนง (m)

จงหา ก. ความยาวคลื่น
ข. คาบ
ค. ความถี่
ง. อัตราเร็วของคลื่น
จ. ความถี่ที่สะบัดเชือก
วิธีทํา จากรูป t = 5 s,  = 0.4 m, S = 1.0 m
ก. ความยาวคลื่น () = 0.4 m (ดูจากรูป)
ดังนั้น ความยาวเทากับ 0.4 เมตร ตอบ
ข. คลื่น 2.5 ลูก ใชเวลา 5 วินาที
คลื่น 1 ลูก ใชเวลา 51 = 2 s
2.5
T = 2s

ดังนั้น คาบมีคาเทากับ 2 วินาที ตอบ


92 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
1
ค. จาก f =
T
1
แทนคา; =
คลื่นกล

2
f = 0.5 Hz

ดังนั้น ความถี่มีคาเทากับ 0.5 เฮิรตซ ตอบ


S
ง. จาก v =
t
1.0
แทนคา; =
5
v = 0.2 m/s

หรือ v =
T
0.4
แทนคา; =
2
v = 0.2 m/s

หรือ v = f

แทนคา; = 0.40.5

v = 0.2 m/s

ดังนั้น อัตราเร็วของคลื่นมีคา 0.2 เมตรตอวินาที ตอบ


จ. ความถี่ที่สะบัดเชือก (f) = ความถี่ของคลื่นในเชือก
= 0.5 Hz

ดังนั้น ความถี่ที่สะบัดเชือกเทากับ 0.5 เฮิรตซ ตอบ

ตัวอยางที่ 2 คลืน่ ขบวนหนึง่ เคลือ่ นทีจ่ ากแหลงกําเนิดดวยความเร็ว 0.5 เมตรตอวินาที มีระยะหางระหวาง


สันคลื่น 5 สัน หางกัน 40 เซนติเมตร จงหาวาคลื่นขบวนนี้กระทบคลื่นที่เขากระทบฝงวินาทีละกี่ลูก
วิธีทํา วาดรูป
40 cm

ระยะหาง 4 ลูกคลื่น หางกัน 40 cm

401
ระยะหาง 1 ลูกคลื่น หางกัน = 10 cm
4
จะได  = 10 cm = 0.1 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 93

จาก v = f
v
f =


คลื่นกล
0.5
แทนคา; =
0.1
f = 5 Hz

ดังนั้น คลื่นเคลื่อนที่เขากระทบฝงวินาทีละ 5 ลูก ตอบ

เฟสของคลื่น
เฟส (phase) คือ คาของมุมที่ใชบอกตําแหนงของคลื่น มีหนวยเปนเรเดียนหรือองศา (นิยมใช
เรเดียนมากกวา) เชน
A E

0
B D F

π
มุมที่จุด A = 90 องศา = เรเดียน
2
มุมที่จุด B = 180 องศา = π เรเดียน

มุมที่จุด C = 270 องศา = เรเดียน
2
มุมที่จุด D = 360 องศา = 2π เรเดียน
ความตางเฟส คือ ผลตางของมุมเฟส เชน จากรูป จุด D และจุด B มีความตางเฟส 360180

= 180 องศา หรือ มีความตางเฟส 2ππ = π เรเดียน

เฟสตรงกัน คือ ตําแหนงบนคลื่นที่มีระยะหางกัน 1, 2, 3, ... n


หรือ ตําแหนงบนคลื่นที่มีเฟสตางกัน 2π, 4π, 6π, ... จํานวนคู  π
เฟสตรงขามกัน คือ ตําแหนงบนคลื่นที่มีระยะหางกัน  , 3, 5, ... จํานวนคี่  
2 2 2 2
หรือ ตําแหนงบนคลื่นที่มีเฟสตางกัน π, 3π, 5π, ... จํานวนคี่  π
94 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ตัวอยางจุดที่มีเฟสตรงกันและมีเฟสตรงขามกัน
F
คลื่นกล

B J

A C E G I K

D H

เฟสตรงกัน เฟสตรงขามกัน

มีระยะหางกัน 1, 2, 3, ... มีระยะหางกัน  , 3, 5, ...


2 2 2
มีเฟสตางกัน 2π, 4π, 6π, ... มีเฟสตางกัน π, 3π, 5π, ...
ไดแก จุด ไดแก จุด
A กับ E A กับ C

 
B กับ F B กับ D หางกัน π
C กับ G หางกัน 2π C กับ E

D กับ H

E กับ I A กับ G

B กับ H
 หางกัน 3π
A กับ I

B กับ J
 หางกัน 4π
A กับ K หางกัน 5π

การหาระยะหางระหวางเฟส () ของจุด 2 จุดบนคลื่น มี 2 ลักษณะดังนี้


1. โจทยกําหนดความยาวคลื่น () แลวใหคํานวณหาความตางเฟส () เชน กําหนดใหคลื่น

ลูกหนึ่งมีความยาวคลื่น 2 เมตร ตองการหาความตางเฟสของจุดสองจุดที่อยูหางกัน (x) 10 เมตร ใชวิธี


การเทียบดังนี้
ถาจุดสองจุดหางกัน () 2 เมตร จะมีเฟสตางกัน 2π เรเดียน (1 ลูก)
จุดสองจุดหางกัน (x) 10 เมตร จะมีเฟสตางกัน () = 102π
2
 = 10π เรเดียน
2πx
จะไดวา  =

ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 95

2. โจทยกําหนดคาบ (T) หรือความถี่ (f) แลวใหคํานวณหาความตางเฟส () เชน กําหนดให


คลื่นลูกหนึ่งมีคาบ (T) 4 วินาที ตองการหาความตางเฟสของจุดสองจุดที่ใชเวลาตางกัน (t) 12 วินาที

คลื่นกล
ใชวิธีการเทียบดังนี้
ถาจุดสองจุดใชเวลาตางกัน (T) 4 วินาที จะมีเฟสตางกัน 2π เรเดียน (1 ลูก)
จุดสองจุดใชเวลาตางกัน (t) 12 วินาที จะมีเฟสตางกัน () = 122π
4
 = 6π เรเดียน
2πt
จะไดวา  =
T

หรือ  = 2πft

ตัวอยางที่ 3 คลื่นตอเนื่องขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ออกจากแหลงกําเนิดดวยความเร็ว 10 เมตรตอวินาที


เขากระทบฝง 2 ลูกตอวินาที จงหาวาจุดสองจุดบนคลื่นที่อยูหางกัน 2.5 เมตร จะมีเฟสตางกันเทาไร
วิธีทํา หา , จาก  = v
f
10
แทนคา; =
2
 = 5m
2πx
หา , จาก  =
T
2π2.5
แทนคา; =
5
 = πเรเดียน
ดังนั้น จุดสองจุดบนคลื่นมีเฟสตางกัน π เรเดียน ตอบ

ตัวอยางที่ 4 คลื่นนํ้ามีความถี่ 5 เฮิรตซ จุดสองจุดบนคลื่นที่ใชเวลาเคลื่อนที่ตางกัน 10 วินาที จะมีเฟส


ตางกันเทาไร
วิธีทํา จาก  = 2πft

แทนคา; = 2π510

 = 100π เรเดียน

ดังนั้น จุดสองจุดมีเฟสตางกัน 100π เรเดียน ตอบ


96 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

การซอนทับของคลื่น
คลื่นกล

เมื่อคลื่นตั้งแต 2 คลื่น เคลื่อนที่มาพบกันแลวเกิดการรวมกัน มี 2 ลักษณะดังนี้


1. การซอนทับแบบเสริม เกิดจากการรวมกันของสันคลืน ่ กับสันคลืน่ หรือทองคลืน่ กับทองคลืน่
ดังรูป
1 2 12 2 1

หรือ 1 2 2 1
12

2. การซอนทับแบบหักลาง เกิดจากการรวมกันของสันคลื่นกับทองคลื่น ดังรูป

1 12 1

2 2

หรือ
2 2
1 12 1

สมบัติของคลื่น
ถาคลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปอีกตัวกลางหนึ่ง หรือเคลื่อนที่ไปในตัวกลางเดียวกันแลว
พบสิ่งกีดขวาง คลื่นจะมีพฤติกรรมเปลี่ยนไปอยางไรไดบาง
1. การสะทอน (reflection)

1.1 การสะทอนของคลื่นในเสนเชือก เมื่อคลื่นในเสนเชือกเคลื่อนที่ไปกระทบสิ่งกีดขวาง

จะมีการสะทอนกลับ โดยมี 2 ลักษณะดังนี้


1) กรณีปลายเชือกดานหนึ่งถูกยึดแนน เชน ผูกเชือกไวกับเสาแนนแลวสะบัด เมื่อคลื่น

สะทอนจะมีทิศทางการสะทอนของเฟสตรงขามกับคลื่นที่เขากระทบ ดังรูป
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 97

คลื่นกล
v

คลื่นเคลื่อนที่เขากระทบสิ่งกีดขวาง คลื่นที่สะทอนจากสิ่งกีดขวาง
ที่ปลายยึดแนน ที่ปลายยึดแนน

2) กรณีปลายดานหนึ่งผูกแบบยืดหยุน คลื่นที่สะทอนจะมีเฟสตรงกับเฟสที่เขากระทบ
ดังรูป
v
v

คลื่นเคลื่อนที่เขากระทบสิ่งกีดขวาง คลื่นที่สะทอนจากสิ่งกีดขวาง
ที่ปลายผูกแบบยืดหยุน ที่ปลายผูกแบบยืดหยุน

1.2 การสะทอนของคลืน่ นํา้ คลืน่ นํา้ จะสะทอนตามกฎการสะทอน คือ เมือ่ คลืน่ มีการสะทอน
มุมที่คลื่นตกกระทบจะเทากับมุมสะทอนเสมอ โดยลักษณะการสะทอนจะแตกตางกันตามลักษณะของ
แผนกั้น ดังนี้
1) การสะทอนของคลื่นเสนตรงกับแผนกั้นแนวตรง
เสนปกติ
ทิศทางของคลื่นตกกระทบ ทิศทางของคลื่นสะทอน

1 2
แผนกั้นแนวตรง

มุมตกกระทบ = มุมสะทอน
1 = 2
98 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
2) การสะทอนของคลื่นวงกลมกับแผนกั้นแนวตรง
เสนปกติ เสนปกติ
คลื่นกล

ทิศทางของคลื่นสะทอน
ทิศทางของคลื่นตกกระทบ
1 2
แผนกั้นแนวตรง

หนาคลื่นที่สะทอนจะเหมือนกับการพับกระดาษโดยใชแผนกั้นเปนเสนสมมาตร
3) การสะทอนของคลื่นวงกลมที่มีจุดกําเนิดตําแหนงเดียวกับจุดโฟกัสของแผนกั้นผิวโคง

คลื่นจะสะทอนออกมาเปนคลื่นหนาตรง

แผนกั้นผิวโคง

ทิศทางของคลื่นตกกระทบ

ทิศทางของคลื่นสะทอน
2.การหักเห (refraction)
คลื่นนํ้าเมื่อเคลื่อนที่ผานตัวกลางที่มีระดับความลึกไมเทากันจะเกิดการหักเห ดังรูป
1
แนวรอยตอ


นํ้าตื้น

นํ้าลึก
เสนปกติ

จากรูป ความถี่ (f) จะคงที่เสมอ 1


แนวการเคลื่อนที่ นํ้าลึก
{

v
จาก f =

1
จะไดวา v มีคามาก  จะมีคามาก แนวรอยตอ
v มีคานอย  จะมีคานอย 2
2
นํ้าตื้น
{

แนวการเคลื่อนที่
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 99

การคํานวณจะใชกฎการหักเหดังสมการ
sin 1 v1 
= = 1

คลื่นกล
sin 2 v2 2

ขอสังเกต
นํ้าลึก มาก, vมาก, มาก → ลึกมาก
นํ้าตื้น นอย, vนอย , นอย → ตื้นนอย

ตัวอยางที่ 5 คลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วในนํ้าลึกเปน 3 เทาของอัตราเร็วในนํ้าตื้น ถาคลื่น


เคลื่อนที่จากนํ้าลึกไปนํ้าตื้นโดยมีมุมตกกระทบ 45 องศา จงหามุมหักเหของคลื่นในนํ้าตื้น
sin 1 v1
วิธีทํา จาก =
v2
sin 2
sin 45 3v2
แทนคา; =
v2
sin 2

sin 2 = �2  1
2 3
sin 2 = �2
6
sin 2 ≈ 0.236

= sin (0.236)
1
2
2 = 13.6

ดังนั้น มุมหักเหในนํ้าตื้นเทากับ 13.6 องศา ตอบ

ตัวอยางที่ 6 คลื่นนํ้าขบวนหนึ่งเกิดจากแหลงกําเนิดที่มีความถี่ 10 เฮิรตซ เคลื่อนที่จากบริเวณนํ้าลึกไป


สูบริเวณนํ้าตื้น โดยมีมุมตกกระทบ 60 องศา และมุมหักเห 45 องศา ถาวัดความยาวคลื่นบริเวณนํ้าลึกได
0.2 เมตร จงหาอัตราเร็วของคลื่นบริเวณนํ้าตื้น

sin 1 v1
วิธีทํา จาก =
v2
sin 2
sin 60 1f
แทนคา; =
sin 45 v2
�3
2 = 0.210
�2 v2
2
v2 = 1.63 m/s

ดังนั้น อัตราเร็วของคลื่นบริเวณนํ้าตื้นเทากับ 1.63 เมตรตอวินาที ตอบ


100 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
3. การแทรกสอด (interference)
เมื่อคลื่นสองคลื่นเคลื่อนที่มาพบกันจะเกิดการรวมตัวของคลื่นแบบเสริมหรือหักลางกัน ถาคลื่น
คลื่นกล

ทั้งสองมีความถี่เทากันและมีเฟสตรงกันจะเกิดการซอนทับกัน ซึ่งเรียกวา การแทรกสอด


เราเรียกแหลงกําเนิดที่สรางคลื่นใหมีความถี่เทากันและมีเฟสตรงกันวา แหลงกําเนิดอาพันธ
(coherent sources) โดยการแทรกสอดแบงไดเปน 2 แบบ ดังนี้

1. การแทรกสอดแบบเสริม จะทําใหเกิดการรวมกันของสันคลื่นหรือทองคลื่น โดย

- สันคลื่นพบสันคลื่น จะทําใหสันคลื่นสูงขึ้น
- ทองคลื่นพบทองคลื่น จะทําใหทองคลื่นตํ่าลง
และเรียกตําแหนงการแทรกสอดแบบเสริมวา ปฏิบัพ (antinode) ใชสัญลักษณ “A”
2. การแทรกสอดแบบหักลาง จะทําใหการกระจัดของคลื่นเปนศูนย (หักลางกันหมด) เรียกวา

บัพ (node) ใชสัญลักษณ “N”


A1 N1 A1 N1 A1
N2 N2

A2 A2

S1 S2

การคํานวณเรื่องการแทรกสอด
พิจารณาคลื่นนํ้าจากแหลงกําเนิดอาพันธเคลื่อนที่เขาชนสลิตเดี่ยวหรือสลิตคู ดังรูป ซึ่งจะเกิดการ
แทรกสอดกัน ดังนี้
P

หนาคลื่น x หนาคลื่น P

{
{
d
 S1
x
L ฉากรับ
d 
L ฉากรับ
สลิตเดี่ยว S2

สลิตคู
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 101

จากรูปสามารถคํานวณไดตามสมการในตาราง

คลื่นกล
เฟส ปฏิบัพ (A) บัพ (N)
S1P-S2P


ตรงกัน n 1
d sin  n2
=
x 1
d
L
ตรงขาม n2 n

โดย S1P และ S2P คือ ระยะจาก S1 หรือ S2 ถึงจุด P


คา d ในสลิตเดี่ยว คือ ความกวางของสลิต
คา d ในสลิตคู คือ ระยะหางของสลิต
x คือ ระยะจากแนวกลางจนถึงจุด P

L คือ ระยะจากสลิตถึงฉากรับ

 คือ มุมที่เบนจากแนวกลางบนฉาก

เทคนิคการคํานวณ
1. ถาโจทยถามแถบสวางหรือแถบมืดทั้งหมดใช  = 90
2. คาทีไ่ ดจากการคํานวณหาคา n (จํานวนบัพหรือปฏิบพั ) เปนครึง่ หนึง่ ของทัง้ หมด (ดานเดียว)
ถาโจทยถามหาทั้งหมด มีวิธีคือ
- แถบบัพ (N) ใหคูณ 2
- แถบปฏิบัพ (A) ใหคูณ 2 แลวบวก 1 (เพิ่มแถบตรงกลาง)

ตัวอยางที่ 7 แหลงกําเนิดอาพันธ S1 และ S2 อยูหางกัน 20 เซนติเมตร ทําใหเกิดคลื่นที่มีเฟสตรงกันและ


มีระยะหางระหวางหนาคลื่น 4 เซนติเมตร จงหาแนวบัพหรือปฏิบัพระหวาง S1 และ S2
วิธีทํา หาแนวปฏิบัพสุดทาย
จาก d sin  = n

แทนคา; 20 sin 90 = n4

n = 5
102 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
หาแนวบัพสุดทาย
1
จาก d sin  = n2
คลื่นกล

1
แทนคา; 20 sin 90 = n24
n = 5.5

A0

N5 N5

A5 A5

ดังนั้น แนวปฏิบัพระหวาง S1 และ S2 มี 521 = 11 แนว (ซาย 5 ขวา 5 กลาง 1) และแนวบัพ


ระหวาง S1 และ S2 มี 10 แนว (ซาย 5 ขวา 5)
ตอบ

ตัวอยางที่ 8 S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดอาพันธมีระยะหางกัน 5 เซนติเมตร ใหคลื่นที่มีเฟสตรง


กัน มีความยาวคลื่น 1 เซนติเมตร ทําใหเกิดแนวปฏิบัพแรกบนฉากรับที่หางจากแหลงกําเนิดเปนระยะ
80 เซนติเมตร จงหาวาแนวปฏิบัพแรกหางจากแนวกลางเทาไร

วิธีทํา
P

{
S1 x
5 cm
L = 80 cm A0
S2

dx
จาก L
= n

5x
แทนคา; 80
= 1(1)
80
x =
5
x = 16 cm

ดังนั้น แนวปฏิบัพแรกหางจากแนวกลาง 16 เซนติเมตร ตอบ


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 103

คลื่นนิ่ง (standing wave) เปนคลื่นที่เกิดจากคลื่นสองคลื่นที่มีแอมพลิจูดและความยาวคลื่น


เทากัน แลวมีการแทรกสอดกัน เมื่อเคลื่อนที่ในตัวกลางเดียวกัน เชน คลื่นในเสนเชือกที่ผูกปลายดาน

คลื่นกล
หนึ่งไว สวนปลายอีกดานสะบัดใหสั่นขึ้นลง แลวปรับความถี่ใหเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จะไดคลื่นนิ่งที่มีลักษณะ
ดังรูป
L
เครื่องสั่น

→ L =
2

2
→ L = =
2

3
→ L =
2

หมายเหตุ
ตําแหนงบัพ (N) คือ จุดที่แคบ (แอมพลิจูด = 0)

ตําแหนงปฏิบัพ (A) คือ จุดที่มีแอมพลิจูด

ถาเกิดคลื่นนิ่งจํานวน n วง จะได
n
L =
2
2L
หรือ  =
n
v
และเมื่อแทนใน f =

nv
จะไดวา f =
2L
โดยถา n = 1 เรียก f วา ความถี่มูลฐานหรือฮารมอนิกที่ 1
n = 2 เรียก f วา ฮารมอนิกที่ 2 และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามคา n
104 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ตัวอยางที่ 9 จงหาจํานวนปฏิบัพและบัพของคลื่นที่เกิดบนเสนเชือกยาว 2 เมตรที่ถูกขึงตึง แลวสะบัด
ปลายดานหนึง่ ดวยความถี่ 50 ครัง้ ตอวินาที ถาคลืน่ มีความเร็ว 100 เมตรตอวินาที
คลื่นกล

วิธีทํา หา , จาก v = f
v
 =
f
100
แทนคา; =
50
 = 2m

2m

N N N

A A

ดังนั้น จากรูปคลื่นมีตําแหนงบัพ 3 แนว มีตําแหนงปฏิบัพ 2 แนว ตอบ

ตัวอยางที่ 10 เชือกเสนหนึง่ ยาว 4 เมตร ปลายดานหนึง่ ถูกขึงตึง ปลายอีกดานสัน่ ดวยความถี่ 200 เฮิรตซ
ถาคลืน่ มีความเร็ว 400 เมตรตอวินาที จงหาวาตําแหนงบัพทีอ่ ยูถ ดั กันหางกันเทาไร
วิธีทํา หา , จาก v = f
v
 =
f
400
แทนคา; =
200
 = 2m

4m

1m

ดังนั้น จากรูปตําแหนงบัพที่อยูถัดกันหางกัน 1 เมตร ตอบ


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 105

4. การเลี้ยวเบน (diffraction)
เมื่อมีคลื่นเคลื่อนที่ผานสิ่งกีดขวาง จะทําใหคลื่นสวนที่กระทบสิ่งกีดขวางสะทอนกลับ และมีคลื่น

คลื่นกล
บางสวนแผออมไปทางดานหลังสิ่งกีดขวางนั้น เรียกปรากฏการณนี้วา “การเลี้ยวเบนของคลื่น” โดยคลื่น
ที่เลี้ยวเบนยังมีความถี่ ความเร็ว และความยาวคลื่นเทาเดิม

คลืี่นเลี้ยวเบน

สิ่งกีดขวาง

แนวคลื่นเดิม

คลื่นเลี้ยวเบน

สิ่งกีดขวาง

แนวคลื่นเดิม

สามารถคํานวณไดตามสมการในตาราง
สลิต ปฏิบัพ (A) บัพ (N)
S1P-S2P


1
d sin 
=
สลิตเดี่ยว n2 n
d 1
L
สลิตคู n n2

หมายเหตุ
เงื่อนไขการใชสมการเหมือนกับเรื่องการแทรกสอด
106 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ตัวอยางที่ 11 ชองเปดเดี่ยวขนาดกวาง 4 เซนติเมตร ทําใหเกิดคลื่นที่มีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร
จงหาแนวปฏิบพั และแนวบัพทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด
คลื่นกล

วิธีทํา หาแนวบัพ (N), จาก d sin  = n

แทนคา; 4 (sin 90) = n(2)

n = 2

ดังนั้น แนวบัพทั้งหมดมี 4 แนว (ซาย 2, ขวา 2)


แนวปฏิบัพทั้งหมดมี 5 แนว (ซาย 2, ขวา 2, กลาง 1) ตอบ

ตัวอยางที่ 12 คลื่นนํ้ามีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร เคลื่อนที่ผานชองเปดเดี่ยวกวาง 8 เซนติเมตร


จงหาวาแนวบัพทีส่ องเบนจากแนวกลางบนฉากเทาไร
วิธีทํา หาแนวบัพ, จาก d sin  = n

แทนคา; 8 (sin ) = 2(2)


4
sin  = = 0.5
8
 = sin (0.5)
1

 = 30
ดังนั้น แนวบัพที่สองเบนจากแนวกลาง 30 องศา ตอบ
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 107

แบบฝกหัด

คลื่นกล
จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. เมื่อคลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่จากแหลงกําเนิดไปยังบริเวณใดๆ ปริมาณใดที่ไมเปลี่ยนแปลง

1. ความเร็ว 2. ความยาวคลื่น

3. ความถี่ 4. แอมพลิจูด

5. การกระจัด

2. ปริมาณใดที่ใชบอกคาพลังงานของคลื่น

1. ความเร็ว 2. ความยาวคลื่น
3. ความถี่ 4. แอมพลิจูด

5. คาบ

3. คลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 10 เมตรตอวินาที มีความยาวคลื่น 0.02 เมตร จงหาจํานวน

ลูกคลื่น เมื่อคลื่นเคลื่อนที่เปนเวลา 2 วินาที


1. 200 ลูก 2. 400 ลูก

3. 600 ลูก 4. 800 ลูก

5. 1,000 ลูก

4. คลื่นขบวนหนึ่งมีอัตราเร็ว 4 เมตรตอวินาที เคลื่อนที่ผานจุดๆ หนึ่ง วัดได 20 ลูกในเวลา 10 วินาที

ระยะหางของสันคลื่นที่อยูถัดกันหางกันเทาไร
1. 2 m 2. 4 m

3. 6 m 4. 8 m

5. 10 m

5 . คลื่นนํ้าเกิดจากแหลงกําเนิดความถี่ 5 เฮิรตซ ที่ระยะหางจากฝง 20 เมตร พบวาคลื่นใชเวลาในการ


เคลื่อนที่มากระทบฝง 4 วินาที จงหาความยาวคลื่น
1. 0.5 m 2. 1.0 m

3. 1.5 m 4. 2.0 m

5. 2.5 m
108 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
6. จากรูป จุดใดของคลื่นที่มีเฟสตรงกับจุด B
A E I
คลื่นกล

D H J
B F

C G

1. C และ E 2. D และ H

3. C และ G 4. E และ I

5. F และ J
7. จากรูป เปนลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นขบวนหนึ่ง ขอใดกลาวถูกตอง
การกระจัด (m)
2

t (s)
2 4 6 8

2

1.คลื่นมีคาบ 2 วินาที ความถี่ 0.50 เฮิรตซ เฟสเริ่มตน 0 องศา


2. คลื่นมีคาบ 4 วินาที ความถี่ 0.25 เฮิรตซ เฟสเริ่มตน 0 องศา

3. คลื่นมีคาบ 8 วินาที ความถี่ 0.50 เฮิรตซ เฟสเริ่มตน 90 องศา

4. คลื่นมีคาบ 2 วินาที ความถี่ 0.25 เฮิรตซ เฟสเริ่มตน 90 องศา

5. คลื่นมีคาบ 4 วินาที ความถี่ 1.00 เฮิรตซ เฟสเริ่มตน 180 องศา


8. คลื่นดลในเสนเชือกเคลื่อนที่จากเสนเชือกหนักไปทางเสนเชือกเบาดังรูป เมื่อคลื่นดลกระทบรอยตอ

ของเสนเชือก ขอใดแสดงลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นดลหลังกระทบ

คลื่นดล

เสนเชือกหนัก เสนเชือกเบา
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 109

1.

คลื่นกล
2.

3.

4.

5.

9. เชือกยาว 2 เมตร ปลายดานหนึง่ ตรึงแนน สวนปลายอีกดานหนึง่ ผูกติดกับเครือ่ งสัน่ ทีส่ นั่ ดวยความถี่
700 เฮิรตซ เกิดเปนคลื่นนิ่ง ดังรูป จงหาอัตราเร็วของคลื่นในเสนเชือก

1. 120 m/s 2. 200 m/s

3. 250 m/s 4. 300 m/s

5. 400 m/s

10. คลื่นนํ้าเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 0.1 เมตรตอวินาที โดยมีระยะหางของหนาคลื่นหางกัน 0.02 เมตร


จะตองใชเวลาเทาไร อนุภาคของคลื่นนํ้าที่ตําแหนงสันคลื่นเปลี่ยนเปนทองคลื่น
1. 0.1 s 2. 0.2 s

3. 0.3 s 4. 0.4 s

5. 0.5 s
110 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
11 . คลื่นนํ้าขบวนหนึ่งเกิดจากแหลงกําเนิดที่มีความถี่ 4 เฮิรตซ จุดสองจุดบนคลื่นที่ใชเวลาเคลื่อนที่
ตางกัน 2 วินาที จะมีเฟสตางกันเทาไร
คลื่นกล

1. 4π rad 2. 8π rad

3. 12π rad 4. 16π rad

5. 20π rad

12. คลื่นในเสนเชือกเกิดจากแหลงกําเนิดความถี่ 5 เฮิรตซ เคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 20 เมตรตอวินาที


จุดสองจุดบนคลื่นที่อยูหางกัน 40 เซนติเมตร จะมีเฟสตางกันเทาไร
1. 36 องศา 2. 72 องศา

3. 108 องศา 4. 144 องศา


5. 360 องศา

13. คลื่นขบวนหนึ่งมีระยะหางระหวางสันคลื่นที่อยูติดกันหางกัน 0.5 เมตร เคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 0.1


เมตรตอวินาที จุดสองจุดบนคลื่นซึ่งใชเวลาเคลื่อนที่ตางกัน 2 วินาที จะมีเฟสตางกันเทาไร
1. 82 องศา 2. 125 องศา

3. 144 องศา 4. 180 องศา

5. 360 องศา

14. คลื่นในเสนเชือกมีความยาวคลื่น 2 เมตร จุดสองจุดบนคลื่นที่มีเฟสตางกัน 90 องศา จะมีระยะ


หางกันเทาไร
1. 0.1 m 2. 0.2 m

3. 0.3 m 4. 0.4 m

5. 0.5 m

15. คลื่นนํ้าเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 2 เมตรตอวินาที มีระยะหางระหวางสันคลื่น 5 สัน หางกัน 2 เมตร


ดังรูป จงหาวาคลื่นขบวนนี้จะเคลื่อนที่เขากระทบฝงนาทีละกี่ลูก
2m

1. 120 ลูก 2. 240 ลูก


3. 360 ลูก 4. 480 ลูก
5. 600 ลูก
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 111

16. คลื่นนํ้าหนาตรงเคลื่อนที่เขากระทบฝงดวยอัตราเร็ว 4 เมตรตอวินาที เกิดการสะทอนกลับ คลื่นที่


สะทอนกลับมีเฟสเปลี่ยนไปเทาไร

คลื่นกล
1. 0 องศา 2. 90 องศา

3. 180 องศา 4. 270 องศา

5. 360 องศา

17. จากการสังเกตคลื่นขบวนหนึ่ง พบวาจุดที่มีการกระจัด 1.5 เมตร คลื่นมีเฟส 45 องศา และจุดที่มีการ


กระจัด 3 เมตร คลื่นมีเฟส 60 องศา คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเทาไร
1. 12 m 2. 24 m

3. 36 m 4. 48 m

5. 60 m

18. ในการทดลองเรื่องคลื่นนิ่ง โดยใชเครื่องสั่นความถี่ 100 เฮิรตซ สั่นเชือกที่มีความยาว 1.5 เมตร


ทําใหเกิดการสั่น ดังรูป จงหาวาจุดสองจุดที่อยูหางกัน 0.3 เมตร มีเฟสตางกันกี่องศา

.
1 90 2. 180

3. 270 4. 360

5. 450

19. เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากบริเวณนํ้าลึกไปยังบริเวณนํ้าตื้น ขอใดถูกตอง


1.  นอยลง, v นอยลง, f นอยลง

2.  นอยลง, v นอยลง, f คงที่

3.  มากขึ้น, v นอยลง, f คงที่

4.  มากขึ้น, v มากขึ้น, f คงที่

5.  มากขึ้น, v มากขึ้น, f มากขึ้น


112 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
20. คลืน่ ผิวนํา้ มีความถี่ 10 เฮิรตซ เคลือ่ นทีจ่ ากบริเวณนํา้ ตืน้ สูบ ริเวณนํา้ ลึก โดยมีมมุ ตกกระทบ 30 องศา
และมีมุมหักเห 40 องศากับเสนรอยตอนํ้าตื้นและนํ้าลึก ดังรูป ถาวัดความยาวคลื่นบริเวณนํ้าตื้นได
คลื่นกล

2 เซนติเมตร อัตราเร็วของคลื่นบริเวณนํ้าลึกจะเปนเทาไร

ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบ
รอยตอระหวางนํ้าตื้น
กับนํ้าลึก
บริเวณนํ้าลึก
30

บริเวณนํ้าตื้น
45

ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นหักเห

1. 5�2 cm/s 2. 10�2 cm/s

3. 20�2 cm/s 4. 10�3 cm/s

5. 20�3 cm/s

21. อัตราเร็วของคลื่นในนํ้าลึกมีคา 5 เทาของอัตราเร็วของคลื่นในนํ้าตื้น คลื่นจะสะทอนกลับเมื่อคลื่น


4
เคลื่อนที่ดวยมุมตกกระทบเทาไร
1. 30 2. 37

3. 45 4. 53

5. 60

22. แหลงกําเนิดคลื่นนํ้าอาพันธ 2 แหลง อยูหางกัน 10 เซนติเมตร ทําใหเกิดคลื่นที่มีเฟสตรงกันและ


มีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตรเทากัน จงหาแนวบัพที่เกิดขึ้นระหวางแหลงกําเนิด 2 แหลงนี้
1. 6 แนว 2. 8 แนว

3. 10 แนว 4. 12 แนว

5. 14 แนว

23. แหลงกําเนิดคลื่นนํ้าอาพันธเฟสตรงกัน 2 แหลง อยูหางกัน 25 เซนติเมตร ทําใหเกิดคลื่นมีอัตราเร็ว


50 เซนติเมตรตอวินาที ถาคลื่นมีความถี่ 10 เฮิรตซ จงหาวาแนวปฏิบัพที่ 4 จะเบนจากแนวกลาง

เทาไร
1. 30 2. 37

3. 45 4. 53

5. 60
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 113

24. เชือกขึงตึงยาว 0.5 เมตร เกิดการสั่นพองที่ความถี่ตํ่าสุดกับแหลงกําเนิดที่มีความถี่ 400 เฮิรตซ


จงหาความเร็วของคลื่นบนเสนเชือก

คลื่นกล
1. 100 m/s 2. 200 m/s

3. 300 m/s 4. 400 m/s

5. 500 m/s

25. คลื่นนํ้าหนาตรงมีความยาวคลื่น 3 เซนติเมตร เคลื่อนที่ตกกระทบชองเปดกวาง 9 เซนติเมตร


ในแนวตั้งฉาก จะเกิดแนวบัพทั้งหมดกี่แนว
1. 3 แนว 2. 4 แนว

3. 5 แนว 4. 6 แนว

5. 7 แนว

26. คลื่นนํ้ามีความยาวคลื่น 1 เซนติเมตร เคลื่อนที่ผานชองเปดเดี่ยวกวาง 8 เซนติเมตร จงหาวา


แนวบัพที่สี่เบนจากแนวกลางบนฉากเทาไร
1. 30 2. 37

3. 45 4. 53

5. 60

27. ชายคนหนึง่ มองปลาในสระนํา้ เห็นปลาอยูท คี่ วามลึก 0.75 เมตร จงหาความลึกจริงของปลาในสระนํา้


(กําหนดให nนํ้า = 4 )
3
1. 0.45 m 2. 0.75 m

3. 1.00 m 4. 1.25 m

5. 1.00 m

28. เชือกที่ขึงดวยความตึง 80 นิวตัน มีคามวลตอหนวยความยาวเทากับ 0.05 กิโลกรัมตอเมตร จงหา


ความยาวคลื่น ถาตองการใหเกิดคลื่นฮารมอนิกความถี่ 50 เฮิรตซ
1. 0.2 m 2. 0.4 m

3. 0.6 m 4. 0.8 m

5. 1.0 m
114 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
29. ขอใดกลาวถูกตอง
1. เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากบริเวณนํ้าลึกสูบริเวณนํ้าตื้น บริเวณนํ้าลึกคลื่นจะมีความยาวคลื่นนอยกวา
คลื่นกล

บริเวณนํ้าตื้น
2. แหล ง กํ า เนิ ด อาพั น ธ คื อ แหล ง กํ า เนิ ด ที่ ทํ า ให เ กิ ด คลื่ น ที่ มี ค วามยาวคลื่ น ละความถี่ เ ท า กั น

แตความเร็วและเฟสของคลื่นตางกัน
3. ความถี่ของคลื่นสามารถเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลาของการเคลื่อนที่

4. มุมสะทอนกลับหมดของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อมุมตกกระทบใหญกวามุมวิกฤต

5. เมื่อสันคลื่นจากสองแหลงเคลื่อนที่มาชนกันจะทําใหเกิดตําแหนงบัพ

30. ขอใดกลาวไมถูกตอง
1. คลื่นนิ่งเกิดจากการแทรกสอด

2. เมื่อเกิดการเลี้ยวเบนจะมีการแทรกสอดเกิดขึ้นดวยเสมอ

3. หลักของฮอยเกนสอธิบายการเลี้ยวเบนของคลื่นได

4. การเลี้ยวเบนของคลื่นผานชองที่แคบกวาความยาวคลื่นจะมีแนวบัพเกิดขึ้น

5. เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปยังบริเวณใดๆ ความถี่ของคลื่นจะไมเปลี่ยนแปลง

เฉลย

1. 3 2. 4 3. 5 4. 1 5. 2 6. 5 7. 2 8. 2 9. 5 10. 1

11. 4 12. 1 13. 3 14. 5 15. 2 16. 1 17. 3 18. 2 19. 2 20. 3

21. 4 22. 3 23. 4 24. 4 25. 4 26. 1 27. 3 28. 4 29. 4 30. 2

เฉลยพรอมคําอธิบาย

1. ตอบขอ 3
อธิบาย ความถี่ของคลื่นจะคงที่ตลอดการเคลื่อนที่ ซึ่งเปนสมบัติเฉพาะของคลื่น
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 115

2. ตอบขอ 4
อธิบาย พลังงานของคลื่นจะขึ้นอยูกับแอมพลิจูดของคลื่น โดยคลื่นที่มีแอมพลิจูดมากจะมีพลังงาน

คลื่นกล
มาก และคลื่นที่มีแอมพลิจูดนอยจะมีพลังงานนอย
3. ตอบขอ 5
อธิบาย จาก v = f
v
f =

10
แทนคา; =
0.02
f = 500 ลูกตอวินาที
เมื่อ t = 2s จะได 5002 = 1,000 ลูก
4. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก v = f
v
 =
f
4
แทนคา; =
2
 = 2 m

5. ตอบขอ 2
S
อธิบาย หา v, จาก v =
t
20
แทนคา; =
4
v = 5 m/s

หา , จาก v = f

v
 =
f
5
แทนคา; =
5
 = 1.0 m

6. ตอบขอ 5
อธิบาย จุดที่ีมีเฟสตรงกับจุด B คือ ระยะที่หางจากจุด B เทากับ 360 หรือ 2π เรเดียน คือ จุด F
และ J
116 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
7. ตอบขอ 2
อธิบาย จากรูป T = 4s
คลื่นกล

1
จาก f =
T
1
แทนคา; =
4
f = 0.25 Hz และมีเฟสเริ่มตน 0 องศา
8. ตอบขอ 2
อธิบาย จากหลักการสะทอนของคลื่นในเสนเชือก โดย
1. ถาคลื่นดลเคลื่อนที่จากเสนเชือกหนักไปยังเสนเชือกเบา คลื่นสะทอนเฟสไมเปลี่ยน

2. ถาคลื่นดลเคลื่อนที่จากเสนเชือกเบาไปยังเสนเชือกหนัก คลื่นสะทอนเฟสจะเปลี่ยน

ดังนั้นจากที่โจทยถาม คําตอบจึงสอดคลองกับตัวเลือกที่ 2 ที่สุด


9. ตอบขอ 5

7
L =
2

7
อธิบาย จากรูป L =
2
2L
 =
7
22
แทนคา; =
7
4
 = m
7
จาก v = f
4
= 700
7
v = 400 m/s
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 117

10. ตอบขอ 1

อธิบาย

คลื่นกล


จากโจทย ระนาบหนาคลื่นหางกัน 0.02 m แสดงวา  = 0.02 m


จาก v = 
T
T = 
v
0.02
แทนคา; =
0.1
T = 0.2 s
T 0.2
นั่นคือ เวลาจากสันคลื่นถึงทองคลื่น =
2
=
2
= 0.1 s

11. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก  = 2πft

แทนคา; = 2π42

 = 16π rad

12. ตอบขอ 1
อธิบาย หา , จาก v = f
v
 =
f
20
แทนคา; =
5
 = 4 m

หา , จาก  = 360(x)



แทนคา; = 3600.4
4
 = 36 องศา
118 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
13. ตอบขอ 3
อธิบาย หา T, จาก v = 
T
คลื่นกล

T = 
v
0.5
แทนคา; =
0.1
T = 5s

หา , จาก  = 360(t)


T
แทนคา; = 3602
5
 = 144 องศา
14. ตอบขอ 5
อธิบาย จาก  = 360(x)


แทนคา; 90 = 360(x)
2
x = 0.5 m

15. ตอบขอ 2
อธิบาย จากรูป มี 4 ลูกคลื่น หางกัน 2 เมตร จะได  = 0.5 m

จาก v = f
v
f =

2
แทนคา; =
0.5
f = 4 ลูกตอวินาที
นั่นคือ 1 นาที จะมีคลื่นทั้งหมด 460 = 240 ลูก
16. ตอบขอ 1
อธิบาย การสะทอนของคลื่นที่มีจุดสะทอนอิสระจะสะทอนคลื่นที่มีเฟสเหมือนกับคลื่นตกกระทบ
หรือเฟสไมเปลี่ยนแปลง
17. ตอบขอ 3
360(x)
อธิบาย จาก  =

360(31.5)
แทนคา; (6045) =

3601.5
15 =

 = 36 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 119

18. ตอบขอ 2

อธิบาย

คลื่นกล
5
L =
2

2L
จากรูป  =
5
21.5
แทนคา; =
5
 = 0.6 m

360(x)
จาก  =

3600.3
แทนคา; =
0.6
 = 180

19. ตอบขอ 2
อธิบาย เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากบริเวณน้ําลึกไปยังบริเวณน้ําตื้น คลื่นจะมีความยาวคลื่นนอยลง
ความเร็วนอยลง แตความถี่คงที่ (เสมอ)
20. ตอบขอ 3
ตื้น sin ตื้น
อธิบาย จาก =

ลึก sin ลึก

แทนคา; 2.0 = sin 30


ลึก sin 45

ลึก = 2�2

จาก v = f

แทนคา; = 2�210

vลึก = 20�2 cm/s


120 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
21. ตอบขอ 4
sin ลึก vตื้น
อธิบาย จาก =
sin ตื้น vลึก
คลื่นกล

sin ลึก vตื้น


=
sin 90 5
vตื้น
4
4
sin ลึก =
5
 = 53

22. ตอบขอ 3
1
อธิบาย หาแนวบัพทั้งหมด, จาก d sin  = n  2  
1
10 sin 90 = n  2  2
n = 5.5

ระหวางแหลงกําเนิดมีแนวบัพทั้งหมด 10 แนว คือ ซาย 5 ขวา 5


23. ตอบขอ 4
อธิบาย หา , จาก v = f
v
 =
f
50
แทนคา; =
10
 = 5 cm

หา , จาก d sin  = n

แทนคา; 25 (sin ) = 45

20
sin  =
25
4
 =
5
 = 53
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 121

24. ตอบขอ 4

อธิบาย

คลื่นกล
0.5 m


จากรูป = 0.5
2
 = 1m
จาก v = f

แทนคา; = 1400

v = 400 m/s

25. ตอบขอ 4
อธิบาย หาแนวบัพ ชองเปดเดี่ยว
จาก d sin  = n

แทนคา; 9 (sin 90) = n3

n = 3

จะมีแนวบัพทั้งหมด 6 แนว (ซาย 3 ขวา 3)


26. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก d sin  = n

(8) sin  = 41


4
sin  =
8
sin  = 0.5

 = 30

27. ตอบขอ 3
nวัตถุ ความลึกจริง
อธิบาย จาก nตา
=
ความลึกปรากฏ
4
3 =
ความลึกจริง
1 0.75
ความลึกจริง = 1.00 m
122 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
28. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก v =
 T
คลื่นกล

80
แทนคา; =
 0.05
v = 40 m/s
v
จาก  =
f
40
แทนคา; =
50
 = 0.8 m
29. ตอบขอ 4
อธิบาย มุมสะทอนกลับหมดเกิดเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ตกกระทบตัวกลางที่มีความหนาแนนตางกัน
หรือบริเวณน้ําลึกไมเทากัน โดยมุมตกกระทบที่ทําใหมุมหักเหเบนจากแนวเสนปกติมากกวา 90
ถูกเรียกวา มุมสะทอนกลับหมด
30. ตอบขอ 2
อธิบาย เมื่อเกิดการเลี้ยวเบนไมจําเปนตองมีการแทรกสอดเกิดขึ้นเสมอไป
º··Õè 4 àÊÕ§
ธรรมชาติของเสียงและการไดยิน
เสียงเกิดจากแหลงกําเนิดสั่น แลวเคลื่อนที่ผานตัวกลางไปยังหูคนฟง โดยเสียงจะเคลื่อนที่ไดดี
ในตัวกลางที่เปนของแข็ง ของเหลว และแกส ตามลําดับ (เสียงเดินทางในสุญญากาศไมได)
เสียงเปนคลื่นกลที่เปนคลื่นตามยาว ซึ่งคนจะไดยินเสียงตั้งแตความถี่ 20 ถึง 20,000 เฮิรตซ
และที่ระดับความเขมเสียง 0 ถึง 120 เดซิเบล
คนเราจะไดยินเสียงดนตรีเปนตัวโนต หรือเสียงแหลม เสียงทุมตางกันขึ้นอยูกับความถี่ โดย
เสียงแหลมจะมีความถี่สูง และเสียงทุมจะมีความถี่ตํ่า

อัตราเร็วของเสียง
เสียงเปนคลืน่ กลทีต่ อ งอาศัยตัวกลางในการเคลือ่ นที่ โดยอัตราเร็วของเสียงจะขึน้ อยูก บั ชนิดของ
ตัวกลาง ดังตาราง

ตารางแสดงอัตราเร็วของเสียงในตัวกลางตางๆ ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส

ตัวกลาง อัตราเร็ว (m/s)

อากาศ 346

นํ้า 1,498

นํ้าทะเล 1,531

แกว 4,540

อะลูมิเนียม 5,000

เหล็ก 5,200
124 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
อัตราเร็วของเสียงสามารถใชสมการคํานวณไดดังนี้
S
v =
t
เสียง

และ v = f

หรือ v = 3310.6t

โดย t เปนอุณหภูมิของอากาศ มีหนวยเปนองศาเซลเซียส


และอัตราเร็วของเสียงในอากาศอุณหภูมิ 0C เทากับ 331 เมตรตอวินาที

ตัวอยางที่ 1 จงหาอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส


วิธีทาํ จาก v = 3310.6t
แทนคา; = 331(0.625)

v = 346 m/s

ดังนั้น อัตราเร็วของเสียงที่อุณหภูมิ 25C คือ 346 เมตรตอวินาที ตอบ

ตัวอยางที่ 2 แหลงกําเนิดเสียงมีความถี่ 1,360 เฮิรตซ ทําใหเกิดเสียงในบริเวณที่มีอุณหภูมิ 15 องศา


เซลเซียส เสียงที่เกิดจากแหลงกําเนิดชนิดนี้มีความยาวคลื่นเทาไร
วิธีทาํ หา v, จาก v = 3310.6t

แทนคา; = 331(0.615)

v = 340 m/s

หา , จาก v = f

 = v
f
340
แทนคา; =
1,360
 = 0.25 m

ดังนั้น เสียงมีความยาวคลื่น 0.25 เมตร ตอบ

การสะทอนของเสียง
เมื่อเสียงเดินจากตัวกลางที่มีความหนาแนนนอยไปยังตัวกลางที่มีความหนาแนนมาก เชน
เสียงเดินทางในอากาศหรือในนํา้ ไปชนผิวของแข็ง เสียงจะเกิดการสะทอนกลับ หลักการนีน้ าํ มาใชประโยชน
ในการหาความลึกของทะเลหรือลักษณะรูปรางของวัสดุใตนํ้า
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 125

จาก S = vt

เนื่องจากเสียงสะทอนกลับจะไดระยะทางเปน 2 เทา
ดังนั้นจะได

เสียง
S 2S = vt

โดย S เปนระยะทาง มีหนวยเปน เมตร (m)


v เปนอัตราเร็วของเสียง มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)
t เปนเวลา มีหนวยเปน วินาที (s)

ตัวอยางที่ 3 ถาใชเรือสงคลืน่ เสียงเพือ่ สํารวจความลึกของทะเลแหงหนึง่ พบวาเสียงใชเวลาเดินทางทัง้ หมด


0.5 วินาที ถาอัตราเร็วของเสียงในทะเลเทากับ 1,500 เมตรตอวินาที จงหาความลึกของทะเลบริเวณนั้น

วิธีทาํ จาก 2S = vt

แทนคา; 2S = 1,5000.5

S = 375 m

ดังนั้น ทะเลมีความลึก 375 เมตร ตอบ

ความเขมเสียง
ความเข มเสียง (intensity of sound) ณ บริเวณใดๆ คือ พลังงานเสียงทีแ่ ผออกมาจากแหลงกําเนิด
ตกกระทบลงบนพื้นที่รับเสียงในแนวตั้งฉากกับพื้นที่
I = P
A

เมื่อ I เปนความเขมเสียง มีหนวยเปน วัตตตอตารางเมตร (W/m2)


P เปนกําลังของเสียง มีหนวยเปน วัตต (W)
A เปนพื้นที่รับเสียง มีหนวยเปน ตารางเมตร (m2)
เมื่อแหลงกําเนิดเสียงเปนจุด หนาคลื่นเสียงที่แผออกมาจะเปนรูปทรงกลมรัศมี R ทําใหเกิด
พื้นที่รับเสียง A = 4πR2 จะไดวา
P
I =
4πR2

โดย ความเขมเสียงเบาสุดที่มนุษยไดยิน (I0) = 1012 W/m2


ความเขมเสียงดังสุดที่มนุษยไดยิน (Imax) = 1 W/m2
126 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ความเขมเสียงสัมพัทธ คือ คาความเขมเสียงเมื่อเทียบกับความเขมเสียงเบาสุดที่มนุษย
สามารถไดยิน
เสียง

I
Iสัมพัทธ =
I0

ระดับความเขมเสียง
เนื่องจากความเขมเสียงที่มนุษยสามารถไดยินอยูในชวง 1012 ถึง 1 วัตตตอตารางเมตร ดังนั้น
จึงไดกําหนดเปนระดับความเขมเสียงขึ้น โดยสามารถคํานวณไดจาก
I
 = 10 log
I0

โดย  เปนระดับความเขมเสียง มีหนวยเปน เดซิเบล (dB)


I เปนความเขมเสียงที่ไดยิน มีหนวยเปน วัตตตอตารางเมตร (W/m2)
I0 เปนความเขมเสียงเบาสุดที่มนุษยไดยิน = 1012 วัตตตอตารางเมตร

เพิ่มเติม กฎของลอการิทึม
1. loga xy = loga xloga y 2. loga x = loga xloga y
y
3. loga xy = y loga x 4. loga a = 1

5. loga 1 = 0

การหาระดับความเขมเสียงเบาสุด-ดังสุดที่หูมนุษยสามารถไดยิน ดังนี้
I
จาก  = 10 log
I0
I0
min = 10 log
I0
; (I = I0)
min = 0 dB
I
และจาก max = 10 log (I = Imax = 1 W/m2
; )
I0
1
= 10 log
1012
= 10 log 1012

max = 120 dB
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 127

การหาผลตางของระดับความเขมของเสียง สามารถทําไดดังนี้
กําหนดให จุดที่มีความเขมเสียง I1 จะมีระดับความเขมเสียง 1

เสียง
และ จุดที่มีความเขมเสียง I2 จะมีระดับความเขมเสียง 2
จะได 1 = 10 log II 
1

0
()
..... 1

และ 2 = 10 log II 


2

0
()
..... 2

นําสมการ (2)(1) จะได


21 = 10 log II 10 log II 
2

0
1

21 = 10 log II II 


2

0
0

21 = 10 log II 


2

P
เมื่อแทนคา I = โดยกําหนดใหแหลงกําเนิด 2 แหลง มีระยะหางจากผูฟงเทากัน จะได
4πR2

21 = 10 log  PP 
2

และถามีแหลงกําเนิดเดียว (Pคงที)่ แตระยะหางของผูฟงจากแหลงกําเนิดตางกัน จะได


2
R1
21 = 10 log  
R2

หรือ 21 = 20 log RR  1

ตัวอยางที่ 4 ผูฟงซึ่งยืนอยูหางจากลําโพงที่มีกําลัง 2π108 วัตต เปนระยะ 10 เมตร จะไดยินเสียง


จากลําโพงมีความเขมเสียงเทาไร
P
วิธีทาํ จาก I =
4πR2

2π10
8
แทนคา; =
4π102

= 0.51010

I = 51011 W/m2

ดังนั้น ผูฟงจะไดเสียงที่มีความเขมเสียง 51011 วัตตตอตารางเมตร ตอบ


128 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ตัวอยางที่ 5 จุดๆ หนึ่งซึ่งอยูหางจากแหลงกําเนิดเสียงเปนระยะ 10 เมตร วัดความเขมเสียงได 1010 วัตต
ตอตารางเมตร ณ ตําแหนงนั้นมีระดับความเขมเสียงเทาไร
เสียง

I
วิธีทาํ จาก  = 10 log I
0 
1010
แทนคา; = 10 log  1012 
= 10 log (102)

 = 20 dB

ดังนั้น ตําแหนงนั้นมีระดับความเขมเสียง 20 เดซิเบล ตอบ

ตัวอยางที่ 6 ลําโพงตัวหนึ่งสงเสียงออกไปทุกทิศทางอยางสมํ่าเสมอ ตําแหนงซึ่งหางจากลําโพง


100 เมตร วัดระดับความเขมเสียงได 40 เดซิเบล จงหาวาบริเวณที่หางจากแหลงกําเนิดเสียง 10 เมตร

จะมีระดับความเขมเสียงเทาไร
วิธีทาํ จาก 21 = 20 log RR  1

100
แทนคา; 240 = 20 log  
10

240 = 20 log 10
240 = 20
2 = 2040
2 = 60 dB
ดังนั้น บริเวณที่หางจากแหลงกําเนิดเสียง 10 เมตร มีระดับความเขมเสียง 60 เดซิเบล ตอบ

การสั่นพองของเสียงและความถี่ธรรมชาติ
เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่ผานตัวกลาง อนุภาคของตัวกลางสั่นดวยความถี่เดียวกับความถี่ของ
แหลงกําเนิด ถาเราปรับความถี่ของแหลงกําเนิดใหมีคาเทากับความถี่ธรรมชาติของอนุภาคของตัวกลาง
อนุภาคของตัวกลางจะสั่นรุนแรงที่สุด (เสียงจะดังที่สุด) เรียกปรากฏการณนี้วา การสัน่ พ อ งของเสียง
(resonance of sound)
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 129

ความถีธ่ รรมชาติ (natural frequency) คือ ความถี่ที่มีอยูในวัตถุทุกชนิด ถามีความถี่ภายนอก


สั่นเทากับความถี่ธรรมชาติของวัตถุ จะทําใหวัตถุชนิดนั้นสั่นรุนแรงมาก

เสียง
การสั่นพองของเสียงในหลอดที่มีความยาวคงที่
เมื่อเราปลอยคลื่นเสียงเขาไปในหลอด คลื่นเสียงจะสะทอนภายในหลอดแลวมีการแทรกสอดกัน
และถาที่ปากหลอดเปนตําแหนงปฏิบัพ จะทําใหไดยินเสียงดังที่สุด แสดงวาที่ปากหลอดมีการสั่นพอง
ของเสียง ซึ่งจะมี
1. ความถีม ่ ลู ฐาน (fundamental frequency) คือ ความถี่ตํ่าสุดของเสียงในหลอด
2. ฮารมอนิก (hamonics) คือ ความถี่ที่เปนจํานวนเทาของความถี่มูลฐาน

3. โอเวอร โทน (overtone) คือ ความถี่ที่ถัดจากความถี่มูลฐาน

การสั่นพองในทอปลายเปด (เปดทั้งสองดาน) เชน เปาขลุย แสดงดังตาราง

ลักษณะ ความยาวคลืน่ ความถี่ ฮารมอนิก โอเวอร โทน


L L =
1
ความถี่มูลฐาน
2 v
1 = 2L f1 = หรือฮารมอนิกที่ 1 ความถี่มูลฐาน
2L

L = 2 ฮารมอนิกที่ 2
2v
2L f2 = โอเวอรโทนที่ 1
2 = 2L f2 = 2f1
2

33
L = ฮารมอนิกที่ 3
2 3v
f3 =
2L f3 = 3f1
โอเวอรโทนที่ 2
2L
3 =
3

2L nv ฮารมอนิกที่ n -
n = fn =
n 2L fn = nf1
130 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
การสั่นพองในทอปลายปด เรียกวา หลอดเรโซแนนซ (เปด 1 ดาน, ปด 1 ดาน) เชน เปาขวด
แสดงดังตาราง
เสียง

ลักษณะ ความยาวคลืน่ ความถี่ ฮารมอนิก โอเวอร โทน


L L =
1
ความถี่มูลฐาน
4 v
1 = 4L
f1 =
4L หรือฮารมอนิกที่ 1 ความถี่มูลฐาน

32
L =
4 3v
ฮารมอนิกที่ 3
f2 = โอเวอรโทนที่ 1
4L 4L f2 = 3f1
2 =
3

53
L =
4 5v
ฮารมอนิกที่ 5
f3 =
4L
โอเวอรโทนที่ 2
4L f3 = 5f1
3 =
5

4L (2n1)v fn = (2n1)f1 -
n = fn =
2n1 4L

เทคนิคการคํานวณ

การแกโจทยอาจใชสมการหรือใชวิธีวาดรูปก็ได โดยตองวาดรูปการสั่นพองครั้งแรก
เพื่อเปรียบเทียบความยาวคลื่นกับความยาวทอกอน

- ทอปลายเปด สั่นพองครั้งแรก L =
2

- ทอปลายปด สั่นพองครั้งแรก L =
4
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 131

ตัวอยางที่ 7 หลอดปลายเปดยาว 2 เมตร จงหาความถี่ของเสียง 3 ลําดับแรก ที่ทําใหเกิดการสั่นพอง


กําหนดใหความเร็วเสียงในอากาศเทากับ 340 เมตรตอวินาที
nv

เสียง
วิธีทํา จาก fn =
2L
(1)(340)
แทนคา; f1 =
(2)(2)
= 85 Hz

f2 = 2f1 = 285 = 170 Hz

f3 = 3f1 = 385 = 255 Hz

ดังนั้น ความถี่ 3 ลําดับแรก ที่ทําใหเกิดการสั่นพอง คือ 85, 170, 255 เฮิรตซ ตามลําดับ ตอบ

ตัวอยางที่ 8 หลอดเรโซแนนซยาว 1 เมตร จงหาความถี่ของเสียง 3 ลําดับแรก ที่ทําใหเกิดการสั่นพอง


กําหนดใหความเร็วเสียงในอากาศเทากับ 340 เมตรตอวินาที
(2n1)v
วิธีทาํ จาก fn =
4L
[ ]
(21)1 (340)
แทนคา; f1 = 41 = 85 Hz

f2 = 3f1 = 385 = 255 Hz

f3 = 5f1 = 585 = 425 Hz

ดังนั้น ความถี่ 3 ลําดับแรก ที่ทําใหเกิดการสั่นพอง คือ 85, 255, 425 เฮิรตซ ตามลําดับ ตอบ

บีตสของเสียง
บีตส (beats) เกิดจากเสียงจากแหลงกําเนิดสองแหลงที่มีความถี่ตางกันเล็กนอยไมเกิน 7 เฮิรตซ
เคลื่อนที่มาพบกันแลวเกิดการแทรกสอดกัน ทําใหเกิดเปนจังหวะ ซึ่งเรียกวา บีตสของเสียง
132 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

คลื่นเสียงที่ 1
เสียง

คลื่นเสียงที่ 2

เสียงดัง
เสียงเบา

1 บีตส

จะไดวา ความถี่บีตส (fB) = |f1f2|


f1f2
และ ความถี่รวม (ความถี่ที่ไดยิน) =
2

ขอสังเกต ความถี่บีตสหรือจังหวะ ก็คือ ผลตางของความถี่ของคลื่นเสียงทั้งสอง

ตัวอยางที่ 9 คลื่นเสียงจาก 2 แหลงกําเนิด มีความถี่ 500 เฮิรตซ และ 502 เฮิรตซ เคลื่อนที่มาพบกัน
ทําใหเกิดเสียงบีตส จงหา
ก. จังหวะของการไดยิน
ข. ความถี่ของเสียงที่ไดยิน
วิธีทํา ก. จาก fB = |f1f2|

แทนคา; = |500502|
fB = 2 Hz

ดังนั้น ไดยินเสียงเปนจังหวะ 2 ครั้งตอวินาที ตอบ


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 133

f1f2
ข. จาก fรวม =
2

แทนคา; = 500502
2

เสียง
fรวม = 501 Hz

ดังนั้น ความถี่เสียงไดยินเสียงเทากับ 501 เฮิรตซ ตอบ

ปรากฏการณดอปเพลอร
ปรากฏการณดอปเพลอร (doppler effect) คือ ปรากฏการณที่ผูฟงไดยินเสียงมีความถี่
ตางจากความถี่ของเสียงจากแหลงกําเนิดจริง เนื่องจากผูฟงหรือแหลงกําเนิดมีการเคลื่อนที่
ความเร็วสัมพัทธ (relative velocity) คือ ความเร็วที่เปรียบเทียบระหวางสองความเร็ว โดยมี
หลักการเปรียบเทียบ ดังนี้
1. วัตถุเคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน ความเร็วสัมพัทธเกิดจากความเร็วทั้ง 2 มาลบกัน เชน

1 v1 = 10 m/s 2 v2 = 20 m/s

จะได vสัมพัทธ = 2010 = 10 m s /


ดังนั้น คนในรถคันที่ 1 สังเกตเห็นคนในรถคันที่ 2 เคลื่อนที่ไปทางขวาดวยความเร็ว 10 เมตร
ตอวินาที
2. วัตถุเคลื่อนที่สวนทางกัน ความเร็วสัมพัทธเกิดจากความเร็วทั้ง 2 มาบวกกัน เชน

1 v1 = 10 m/s v2 = 20 m/s 2

จะได vสัมพัทธ = 1020 = 30 m s /


ดังนั้น คนในรถคันที่ 1 สังเกตเห็นคนในรถคันที่ 2 เคลื่อนที่ไปทางซายดวยความเร็ว 30 เมตร
ตอวินาที

หมายเหตุ สามารถใชรถคันไหนเปนผูสังเกตก็ได
134 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
การคํานวณหาความยาวคลื่นดานหนาและดานหลังแหลงกําเนิด
v0
เสียง

v0 ดานหลัง ดานหนา

v0 vS v0
vS
v0
v0

v0 v0

เมื่อแหลงกําเนิดอยูนิ่ง เมื่อแหลงกําเนิดเคลื่อนที่ไปทางขวา

กําหนดให vL เปนความเร็วของผูฟง มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)


v0 เปนความเร็วเสียงในอากาศ มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)
vS ความเร็วของแหลงกําเนิด มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)
fS เปนความถี่เสียงจากแหลงกําเนิด มีหนวยเปน เฮิรตซ (Hz)
fL เปนความถี่เสียงที่ผูฟงไดยิน มีหนวยเปน เฮิรตซ (Hz)

เทคนิคการคํานวณ

วาดรูปทิศทางของ vS และ v กอน แลววาด vL


0

โดย ถา vL หรือ vS ไปทางเดียวกับ v ใชเครื่องหมายลบ


0

ถา vL หรือ vS สวนทางกับ v ใชเครื่องหมายบวก


0

และ v ออกจาก vS ไปหา vL เสมอ


0

- ความยาวคลื่นดานหนา
v
vS จาก  =
f
v0 v0vS
จะได หนา =
fS

- ความยาวคลื่นดานหลัง
vS
v0vS
จะได หลัง =
fS
v0
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 135

- ความยาวคลื่นดานขาง
v0
v0

เสียง
จะได ขาง =
fS
vS

v0

การหาความถี่ที่ผูฟงไดยิน สามารถหาไดจาก
v
f =

v0  vL
จะได fL =  v  v f
0 S
S

เทคนิคการคํานวณ

วิธกี ารใชสมการ
1. วาดทิศของ vL กับ vS กอน

2. วาดทิศของ v0 โดย v0 ออกจาก vS เขาหา vL เสมอ

ถา vS หรือ vL ไปทางเดียวกับ v0 ใชเครื่องหมายลบ


ถา vS หรือ vL สวนทางกับ v0 ใชเครื่องหมายบวก

เชน เมื่อผูฟงเคลื่อนที่เขาหาแหลงกําเนิดทางดานหนา
v0  vL
vS
vL
จาก fL =  v  v f
0 S
S

v0
v0  vL
จะได fL =  v  v f
0 S
S

เมื่อผูฟงกําลังเคลื่อนที่ตามหลังแหลงกําเนิด
vL vS
v0  vL
v0 จะได fL =  v  v f
0 S
S
136 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
หมายเหตุ ถามีความเร็วลม (vลม) ดวย ให
นํา v0vลม ในสมการ ถา vลม ไปทางเดียวกับ v0
เสียง

นํา v0vลม ในสมการ ถา vลม สวนทางกับ v0


(v0  vลม)  vL
จะได fL = (v  vลม)  v f
0 S
S

ตัวอยางที่ 10 รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที แลวเปดแตรความถี่ 1,000 เฮิรตซ


ออกมา จงหาความยาวคลื่นดานหนา ดานหลัง และดานขางของรถยนตคันนี้ กําหนดใหความเร็วเสียง
ในอากาศเทากับ 340 เมตรตอวินาที
v0  vS
วิธีทาํ จาก หนา =
fS

34020
แทนคา; =
1,000
หนา = 0.32 m

v0  vS
จาก หลัง =
fS
34020
แทนคา; =
1,000
หลัง = 0.36 m
v0
จาก ขาง =
fS
340
แทนคา; =
1,000
ขาง = 0.34 m

ดังนั้น ความยาวคลื่นดานหนา 0.32 เมตร ดานหลัง 0.36 เมตร และดานขาง 0.34 เมตร ตอบ

ตัวอยางที่ 11 รถจักรยานยนตวิ่งดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที อยูดานหนารถยนตที่วิ่งดวยความเร็ว


30 เมตรตอวินาที ถาคนขับรถจักรยานยนตบีบแตรดวยความถี่ 1,000 เฮิรตซ คนในรถยนตจะได

ยินเสียงแตรมีความถี่เทาไร กําหนดใหความเร็วเสียงในอากาศเทากับ 340 เมตรตอวินาที


วิธีทํา วาดรูปทิศทาง v0, vS, vL กอน
vL vS

v0
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 137

v0  vL
จาก fL =  v  v f
0 S
S

v0  vL
 v  v f ; (v

เสียง
= S L และ vS สวนทาง v0 ใช )
0 S

34030
แทนคา; =  34020 1,000
370
= 360 1,000
fL = 1,027.8 Hz

ดังนั้น คนในรถยนตจะไดยินเสียงแตรมีความถี่ 1,027.8 เฮิรตซ ตอบ

คลื่นกระแทก
คลื่นกระแทก (shock wave) เกิดจากแหลงกําเนิดเคลื่อนที่ดวยความเร็วมากกวาความเร็วคลื่น
ในตัวกลาง แหลงกําเนิดจะเคลื่อนที่ผานพนหนาคลื่นของตัวกลางนั้นไป ทําใหหนาคลื่นอัดตัวซอนกัน
เปนรูปกรวยกลมแบบ 3 มิติ
ซอนิกบูม (sonic boom) เกิดจากความเร็วเหนือเสียง ทําใหอากาศเปลี่ยนแปลงความดัน
อยางรวดเร็ว เสียงจะมีความดังมาก

หนาคลื่นกระแทก
แนวการเคลื่อนที่

vS


มุมระหวางหนาคลื่นกระแทก
กับแนวการเคลื่อนที่

ลักษณะกรวยของหนาคลื่นกระแทก

เลขมัค (mach number) คือ เลขที่บอกวาวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วกี่เทาของความเร็วเสียง


จะไดวา
vS
เลขมัค (M) =
v0

เมื่อ vS เปนความเร็วของแหลงกําเนิดเสียง มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)


v0 เปนความเร็วเสียงในอากาศ มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)
138 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ตัวอยางที่ 12 จรวดเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 510 เมตรตอวินาที ที่มีความเร็วเสียงในอากาศเทากับ
340 เมตรตอวินาที จงหาเลขมัค

เลขมัค (M) = vvS


เสียง

วิธีทาํ จาก
0

510
แทนคา; =
340

M = 1.5

ดังนั้น จรวดมีเลขมัค 1.5 ตอบ

พิจารณารูปลักษณะกรวยของหนาคลื่นกระแทก

v0  vS
v0 

v0
จากรูป sin  =
vS
vS
และ M =
v0
vS 1
M = =
v0 sin 

พิจารณารูป

vS


พื้นดิน h (ความสูง) x

h
จากรูป sin  =
x
1 x
=
sin  h
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 139

เมื่อ h เปนความสูงเทียบกับพื้นดิน มีหนวยเปน เมตร (m)


x เปนระยะจากแหลงกําเนิดถึงคนมองที่พื้นดิน มีหนวยเปน เมตร (m)

เสียง
vS 1 x
ดังนั้น M=
v0
= =
h
sin 

ตัวอยางที่ 13 จรวดบินดวยความเร็ว 408 เมตรตอวินาที ในแนวระดับเหนือพื้นดินที่ระยะ 5 กิโลเมตร


กําหนดใหความเร็วเสียงในอากาศเทากับ 340 เมตรตอวินาที จงหา
ก. เลขมัค
ข. ขณะที่ผูฟงไดยินเสียงจรวดอยูหางจากผูฟงเทาไร
ค. มุมระหวางหนาคลื่นกระแทกกับแนวการเคลื่อนที่
vS
วิธีทาํ ก. จาก M =
v0
408
แทนคา; =
340

M = 1.2

ดังนั้น เลขมัคมีคาเทากับ 1.2 ตอบ


x
ข. จาก M =
h
x
แทนคา; 1.2 =
5,000

,
x = 6 000 m = 6 km

ดังนั้น จรวดอยูหางจากผูฟง 6 กิโลเมตร ตอบ


1
ค. จาก M =
sin 
1
sin  =
M
1
แทนคา; =
1.2
sin  = 0.833

 = sin1(0.883)

 = 69

ดังนั้น มุมระหวางหนาคลื่นกระแทกกับแนวการเคลื่อนที่ 69 องศา ตอบ


140 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

การนําความรูเรื่องเสียงไปใชประโยชน
เสียง

มนุษยสามารถนําความรูเรื่องเสียงมาใชประโยชนในหลายๆ ดาน เชน


1. ดานการประมง ชาวประมงใชคลื่นโซนารซึ่งมีความถี่ 20 ถึง 100 กิโลเฮิรตซ ในการหา

ตําแหนงฝูงปลาในทะเล โดยใชหลักการสะทอนของเสียง เมื่อคลื่นโซนารกระทบฝูงปลาก็จะสะทอนกลับ


มายังเรือ ชาวประมงจึงทราบตําแหนงของฝูงปลา

2. ดานการแพทย แพทยใชเครื่องอัลตราซาวดซึ่งมีความถี่มากกวา 20,000 เฮิรตซ มาใช


สแกนตรวจอวัยวะภายในของมนุษย โดยเครื่องอัลตราซาวดจะปลอยคลื่นเหนือเสียงออกไปยังอวัยวะ
ภายในที่แตกตางกันก็จะสะทอนคลื่นไดตางกัน แลวนําคลื่นสะทอนมาแปลงเปนสัญญาณไฟฟา แสดงผล
บนจอมอนิเตอร เชน การอัลตราซาวดทารกในครรภมารดา
3. ดานสถาปตยกรรม ในการออกแบบอาคารที่ตอ  งการลดเสียงสะทอน เชน หองประชุมจะตอง
ออกแบบใหคลื่นที่สะทอนมีการแทรกสอดเพื่อหักลางกับเสียงสะทอน เพื่อลดการสะทอนของเสียง
4. ดานธรณีวิทยา ใชหลักการสะทอนของเสียงในการสํารวจแหลงแรใตผิวโลก โดยการระเบิดที่
บริเวณพื้นผิวโลก แลวคลื่นดลที่เกิดจากเสียงระเบิดเคลื่อนที่ผานชั้นหินตางๆ ของเปลือกโลก แลวสะทอน
กลับมาวิเคราะหหาตําแหนงของแร
5. ดานวิศวกรรมและอุตสาหกรรม มีรูปแบบการใชงานที่หลากหลาย เชน
- การใชคลื่นเสียงชวงความถี่ 500 กิโลเฮิรตซ ถึง 15 เมกะเฮิรตซ ในการตรวจสอบรอยตําหนิ
ของโลหะ แกว หรือเซรามิก
- การทําความสะอาดผิวของชิ้นสวนโลหะ โดยสงคลื่นเสียงที่มีความถี่ใกลเคียงกับความถี่
ธรรมชาติของฝุนละออง หรือสิ่งสกปรก ทําใหอนุภาคของสิ่งสกปรกสั่นรุนแรงจนหลุดออกมาผิวโลหะ
- การออกแบบทอไอเสียรถยนตใหมีการสั่นพองที่ปลายทอนอยที่สุด เพื่อลดเสียงจาก
ทอไอเสียรถยนต
- การสรางแถบสีบนพื้นถนนกอนถึงทางโคงใหมีความถี่เพิ่มขึ้น เพื่อใหคนขับรถระวังตัว
กอนเขาสูบริเวณถนนโคง
6. ดานการทหาร ใชคลื่นเหนือเสียงติดตอสื่อสารกับเรือใตนํ้า หรือใชตรวจจับการเคลื่อนไหว
ของเรือดํานํ้า
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 141

แบบฝกหัด

เสียง
จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. จงหาอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่มีอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส

1. 340 m/s 2. 345 m/s

3. 348 m/s 4. 350 m/s

5. 352 m/s

2. ชายคนหนึ่งไดยินเสียงกองของเสียงตัวเองในเวลาเพียง 0.1 วินาที เมื่อเขาตะโกนใสกําแพง ถาขณะ


นั้นอากาศมีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ชายคนนั้นจะอยูหางจากกําแพงเทาไร
1. 14.5 m 2. 17.3 m

3. 25.0 m 4. 34.6 m

5. 38.5 m

3. ปจจัยใดมีผลตออัตราเร็วของเสียงในอากาศมากที่สุด
1. ความถี่ของเสียง 2. ความเขมเสียง

3. ระดับความเขมเสียง 4. อุณหภูมิของอากาศ

5. ความดันของเสียง

4. ชายคนหนึ่งยืนอยูบนหนาผา พรอมทั้งตะโกนเสียงออกไปยังภูเขาที่อยูดานหนา ปรากฏวาเขาได


ยินเสียงสะทอนกลับมาเมื่อเวลาผานไป 3 วินาที จงหาวาภูเขาอยูหางจากชายคนนี้เทาไร กําหนดให
อัตราเร็วเสียงในอากาศ 340 เมตรตอวินาที
1. 340 m 2. 510 m

3. 680 m 4. 720 m

,
5. 1 020 m

5. เรือลําหนึ่งกําลังแลนเขาหาหนาผาดวยอัตราเร็ว 10 เมตรตอวินาที เมื่อเรือเปดหวูดทําใหคนบนเรือ


ไดยินเสียงสะทอนกลับมาในเวลา 4 วินาที ขณะเปดหวูดเรืออยูหางจากหนาผาเทาไร ถาอัตราเร็ว
ของเสียงในอากาศเทากับ 340 เมตรตอวินาที
1. 340 m 2. 680 m

3. 700 m ,
4. 1 360 m

,
5. 1 400 m
142 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
6. เรือประมงสงคลืน่ โซนารความถี่ 10 กิโลเฮิรตซ ขณะอยูก ลางทะเล วัตถุชนิ้ ทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ทีส่ ามารถสะทอน
คลื่นเสียงความถี่นี้กลับมายังเครื่องโซนาร มีขนาดประมาณเทาไร กําหนดใหอัตราเร็วของคลื่นเสียง
ในน้ําทะเลเทากับ 1,500 เมตรตอวินาที
เสียง

1. 5 cm 2. 10 cm
3. 15 cm 4. 20 cm
5. 25 cm

7. ชายคนหนึ่งพบวาถาฟงเสียงปลาโลมาในน้ําจะไดยินเสียงเร็วกวาในอากาศ 1.8 วินาที ถามวา


ปลาโลมาจะอยูหางจากชายคนนั้นประมาณเทาไร กําหนดใหอัตราเร็วเสียงในอากาศเทากับ
340 เมตรตอวินาที และอัตราเร็วเสียงในน้ําเทากับ 1,440 เมตรตอวินาที
1. 200 m 2. 400 m
3. 600 m 4. 800 m
5. 1,000 m
8. เมื่อเสียงเดินทางจากตัวกลางที่ 1 ไปยังตัวกลางที่ 2 ทําใหความยาวคลื่นเสียงเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา
จากเดิม จงหามุมวิกฤต
1. 30 2. 37
3. 45 4. 53
5. 60
9. เมือ่ เสียงเดินทางจากบริเวณทีม่ อี ณ
ุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส ไปยังบริเวณทีม่ อี ณ
ุ หภูมิ 25 องศาเซลเซียส
ปริมาณใดของเสียงที่ไมมีการเปลี่ยนแปลง
1. ความยาวคลื่น 2. ความถี่
3. ความเร็ว 4. ความดัน
5. ไมมีขอใดถูกตอง
10. นักดนตรีสองคนเลนกีตารพรอมกัน 2 ตัว ถาคนแรกเลนกีตารมีความถี่ 510 เฮิรตซ และคนที่สอง
เลนกีตารมีความถี่ 515 เฮิรตซ จะเกิดจังหวะบีตสกี่เฮิรตซ
1. 2 Hz 2. 3 Hz
3. 4 Hz 4. 5 Hz
5. 6 Hz
11. เสียงจากแหลงกําเนิดที่มีความถี่ 420 เฮิรตซ จะตองรวมกับคลื่นเสียงที่มีความถี่เทาไร จึงจะทําให
เกิดเสียงบีตส 4 เฮิรตซ
1. 416 Hz 2. 424 Hz
3. 430 Hz 4. 416 Hz หรือ 424 Hz
5. 424 Hz หรือ 430 Hz
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 143

12. คลื่นเสียงจากแหลงกําเนิด 500 เฮิรตซ และ 504 เฮิรตซ เดินทางมาพบกัน ทําใหเกิดเปนจังหวะบีตส


ความถี่ที่ไดยินมีคาเทาไร

เสียง
1. 500 Hz 2. 502 Hz

3. 504 Hz 4. 2 Hz

5. 4 Hz

13. จงหาความถี่ของคลื่นในเสนลวดยาว 60 เซนติเมตร ซึ่งตรึงปลายทั้งสองไวแนน ดังรูป ถาความเร็ว


ของคลื่นในเสนลวดขณะนั้นเทากับ 160 เมตรตอวินาที
60 cm

1. 160 Hz 2. 267 Hz

3. 400 Hz 4. 640 Hz

5. 960 Hz

14. เชือกเสนหนึ่งขึงตรึงอยูระหวาง 2 จุด หางกัน 20 เซนติเมตร ดังรูป เมื่อดีดจะเกิดเสียงที่มีความถี่


420 เฮิรตซ จงหาความเร็วของคลื่นในเสนเลือก

20 cm

1. 56 m/s 2. 120 m/s

3. 168 m/s 4. 191 m/s

5. 207 m/s

15. ทอปลายปดยาว 1 เมตร จงหาความถี่ต่ําสุดของเสียงที่ทําใหเกิดสั่นพองในทอนี้ ถาขณะนั้นอากาศ


มีอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส
1. 85 Hz 2. 170 Hz

3. 220 Hz 4. 310 Hz

5. 420 Hz
144 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
16. ทอปลายเปดทั้งสองดานยาว 2 เมตร นํามาทดลองเรื่องการสั่นพองของเสียง จงหาความถี่ต่ําสุด
ที่ทําใหเกิดการสั่นพอง ถาขณะนั้นเสียงมีอัตราเร็วในอากาศเทากับ 340 เมตรตอวินาที
เสียง

1. 85 Hz 2. 170 Hz

3. 225 Hz 4. 280 Hz

5. 310 Hz
17. ปรากฏการณสนั่ พองของอากาศในทอปลายเปดทัง้ สองดานทีม่ คี วามยาว L จะมีความถีม่ ลู ฐานเทาไร
กําหนดใหอัตราเร็วของเสียงในอากาศเทากับ v
1. v 2. v
4L 2L
3. v 4. 2v
L L
5. 4v
L
18. ทอปลายเปดขางหนึ่งยาว 1.25 เมตร และทอปลายเปดสองขางยาว 2.4 เมตร คาความถี่บีตสของ
คลืน่ นิง่ ทีค่ วามถีม่ ลู ฐานจากทอทัง้ สองมีคา เทาไร ถาอัตราเร็วเสียงในอากาศเทากับ 340 เมตรตอวินาที
1. 1.5 Hz 2. 2.8 Hz
3. 3.2 Hz 4. 4.3 Hz
5. 5.1 Hz
19. ในการทดลองเรื่องการสั่นพองโดยใชหลอดกําทอน พบวาเกิดการกําทอนครั้งแรกที่ระยะ
0.5 เมตรจากปากหลอด ถ า วั ด ความถี่ ข องเสี ย งได 173 เฮิ ร ตซ จงหาอุ ณ หภู มิ ข องอากาศ
ขณะนั้น
1. 12C 2. 15C
3. 18C 4. 20C
5. 25C
20. ที่ระยะหางจากแหลงกําเนิดเสียง 10 เมตร วัดความเขมของเสียงได 21010 วัตตตอตารางเมตร
และที่ระยะหางจากแหลงกําเนิดเสียงเดิม 20 เมตร จะมีความเขมเสียงเทาไร
1. 41010 W/m2 2. 51010 W/m2
3. 401010 W/m2 4. 51011 W/m2
5. 501011 W/m2
21. แหลงกําเนิดเสียงมีกําลัง 4π1010 วัตต ระยะหางจากแหงกําเนิดเสียงเทาไรจึงจะทําใหไมได
ยินเสียงพอดี
1. 5 m 2. 10 m
3. 15 m 4. 20 m
5. 25 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 145

22. ลําโพงมีกําลังเสียง π108 วัตต ผูฟงตองยืนหางจากลําโพงเปนระยะหางเทาไร จึงจะทําใหได


ยินเสียงที่มีความเขม 11010 วัตตตอตารางเมตร

เสียง
1. 5 m 2. 10 m

3. 15 m 4. 20 m

5. 25 m

23. ผูฟงที่ยืนหางจากแหลงกําเนิดเสียงขนาด 4π108 วัตต เปนระยะ 10 เมตร จะไดยินเสียง


มีระดับความเขมเสียงเทาไร
1. 20 dB 2. 40 dB

3. 60 dB 4. 80 dB

5. 100 dB

24. แหลงกําเนิดเสียงอันหนึ่งวัดระดับความเขมเสียงได 80 เดซิเบล ที่ระยะ 10 เมตร จะมีระดับความเขม


เสียงเทาไรที่ระยะ 100 เมตร
1. 40 dB 2. 50 dB

3. 60 dB 4. 70 dB

5. 100 dB

25. ลําโพงที่เหมือนกันทุกประการ 10 ตัว กระจายเสียงออกมารอบทิศทาง วัดระดับความเขมเสียงได


100 เดซิเบล ถาลําโพงตัวเดียวจะมีระดับความเขมเสียงเทาไร

1. 40 dB 2. 50 dB

3. 60 dB 4. 90 dB

5. 100 dB

26. ในกระบวนการผลิตของโรงงานแหงหนึ่งวัดระดับความเขมเสียงที่หางจากโรงงานที่มีระยะ 10 เมตร


ได 100 เดซิเบล จะตองสรางบานหางจากโรงงานแหงนี้เทาไร คนในบานจึงจะไดยินเสียงที่มีระดับ
ความเขมเสียง 40 เดซิเบล
1. 2 km 2. 4 km

3. 5 km 4. 10 km

5. 20 km

27. ในโรงงานแหงหนึง่ วัดระดับความเขมเสียงได 80 เดซิเบล คนงานใสทคี่ รอบหูซงึ่ ชวยลดความเขมเสียง


ลงได 99 เปอรเซ็นต คนงานจะไดยินเสียงที่มีระดับความเขมเสียงเทาไรหลังใสที่ครอบหู
1. 40 dB 2. 50 dB

3. 60 dB 4. 70 dB

5. 80 dB
146 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
28. วัดระดับความเขมเสียงจากเครือ่ งจักรชนิดหนึง่ ได 60 เดซิเบล คนงานใสเครือ่ งครอบหู ทําใหลดระดับ
ความเขมเสียงเหลือ 40 เดซิเบล เครื่องครอบหูดังกลาวชวยลดความเขมเสียงกี่เปอรเซ็นต
เสียง

1. 50% 2. 70%

3. 80% 4. 90%

5. 99%

29. ในโรงงานแหงหนึ่งเครื่องจักรมีระดับความเขมเสียง 60 เดซิเบล คนงานใสที่ครอบหูทําใหลด


ความเขมเสียงลงได 99 เปอรเซ็นตจากเดิม จงหาวาคนงานจะไดยินเสียงดังเทาไร
1. 10 dB 2. 20 dB

3. 30 dB 4. 40 dB
5. 50 dB

30. ผูฟงตองยืนหางจากลําโพงที่มีกําลังเสียง 4π1010 วัตต เปนระยะอยางนอยที่สุดเทาไร จึงจะไมได


ยินเสียงจากลําโพงนี้พอดี
1. 5 m 2. 10 m

3. 15 m 4. 20 m

5. 25 m

31. ขณะเครื่องบินโดยสารบินขึ้น เจาของบานที่อยูใกลสนามบินเปดหนาตางซึ่งกวาง 1 เมตร และสูง


1.2 เมตร และวัดระดับความเขมเสียงที่ผานหนาตางได 140 เดซิเบล จงหาวาเสียงผานหนาตาง

ดวยกําลังเทาไร
1. 12 W 2. 60 W

3. 80 W 4. 120 W

5. 140 W

32. จุดที่หางจากแหลงกําเนิดเสียง 10 เมตร วัดระดับความเขมเสียงได 80 เดซิเบล ถาจุดที่หางจาก


แหลงกําเนิดเสียงเดิมเปนระยะ 100 เมตร จะไดยินเสียงมีกําลังเทาไร
1. 4π106 W 2. 4π104 W

3. 8π104 W 4. 4π102 W

5. 8π102 W

33. ทหารยิงจรวดเขาหาหนาผาดวยความเร็ว 45 เมตรตอวินาที จรวดแหวกอากาศเกิดเสียงความถี่


2,000 เฮิรตซ ทหารจะไดยินเสียงแหวกอากาศของจรวดที่สะทอนกลับจากหนาผาดวยความถี่เทาไร

กําหนดใหอัตราเร็วเสียงในอากาศเทากับ 345 เมตรตอวินาที


1. 1,265 Hz 2. 2,236 Hz

3. 2,300 Hz 4. 2,365 Hz

5. 2,422 Hz
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 147

34. รถไฟเปดหวูดความถี่ 2,000 เฮิรตซ ขณะที่รถไฟเคลื่อนที่เขาสูสถานีดวยอัตราเร็ว 20 เมตรตอวินาที


ผูโดยสารที่ชานชาลาไดยินเสียงหวูดรถไฟความถี่เทาไร กําหนดใหอัตราเร็วเสียงในอากาศเทากับ

เสียง
340 เมตรตอวินาที

1. 1,987 Hz 2. 2,125 Hz

3. 2,182 Hz 4. 2,218 Hz

5. 2,182 Hz

35. เครื่องบินรบลําหนึ่งบินดวยอัตราเร็ว 680 เมตรตอวินาทีในแนวระดับ เหนือพื้นดิน 6 กิโลเมตร


คนที่อยูบนพื้นดินจะไดยินเสียงเครื่องบิน เมื่อเครื่องบินอยูหางจากผูฟงเทาไร กําหนดใหอัตราเร็ว
เสียงในอากาศ 340 เมตรตอวินาที
1. 4 km 2. 6 km

3. 8 km 4. 10 km

5. 12 km

36. เครื่องบินบินดวยอัตราเร็ว 510 เมตรตอวินาที ในอากาศที่มีอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส มีเลขมัค


เทาไร
1. 1.0 2. 1.2

3. 1.4 4. 1.5

5. 2.0

37. เครื่องบินลําหนึ่งบินดวยอัตราเร็ว 510 เมตรตอวินาทีในแนวระดับ ผูฟงที่อยูบนพื้นดินจะไดยิน


เสียงเครื่องบิน เมื่อเครื่องบินผานแนวดิ่งไปแลวเปนมุมเทาไร กําหนดใหอัตราเร็วเสียงในอากาศ
340 เมตรตอวินาที

1. 30 2. 40

3. 42 4. 48

5. 52

38. รถยนตคันหนึ่งวิ่งดวยอัตราเร็ว 20 เมตรตอวินาที คนขับเปดแตรความถี่ 1,000 เฮิรตซ ออกมา


คนขับรถยนตอีกคันที่วิ่งสวนทางมาดวยอัตราเร็ว 30 เมตรตอวินาที จะไดยินเสียงแตรความถี่เทาไร
กําหนดใหอัตราเร็วเสียงในอากาศ 340 เมตรตอวินาที
1. 950 Hz 2. 1,015 Hz

3. 1,028 Hz 4. 1,110 Hz

5. 1,156 Hz
148 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
39. รถยนต 2 คัน วิ่งตามกันไปทางเดียวกันดวยอัตราเร็ว 20 เมตรตอวินาที คนขับรถยนตคันหลัง
เปดแตรความถี่ 800 เฮิรตซ คนขับรถยนตคันดานหนาจะไดยินเสียงแตรความถี่เทาไร ถาขณะนั้น
อากาศมีอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส
เสียง

1. 720 Hz 2. 760 Hz
3. 780 Hz 4. 800 Hz
5. 820 Hz

40. ชายคนหนึ่งขับรถยนตดวยอัตราเร็ว 20 เมตรตอวินาที รถพยาบาลที่ขับตามหลังมาดวยความเร็ว


30 เมตรตอวินาที เปดไซเรนความถี่ 1,000 เฮิรตซ ชายที่ขับรถยนตจะไดยินเสียงไซเรนความถี่เทาไร

กําหนดใหอัตราเร็วเสียงในอากาศ 340 เมตรตอวินาที


1. 965 Hz 2. 987 Hz

,
3. 1 032 Hz 4. 1,088 Hz

5. 1,125 Hz

เฉลย

1. 1 2. 2 3. 4 4. 2 5. 3 6. 3 7. 4 8. 1 9. 2 10. 4

11. 4 12. 2 13. 3 14. 3 15. 1 16. 1 17. 2 18. 2 19. 5 20. 4

21. 2 22. 1 23. 1 24. 3 25. 4 26. 4 27. 3 28. 5 29. 4 30. 2

31. 4 32. 4 33. 3 34. 2 35. 5 36. 4 37. 4 38. 5 39. 4 40. 3

เฉลยพรอมคําอธิบาย
1. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก v = 3310.6t

แทนคา; = 331(0.615)

= 3319

v = 340 m/s
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 149

2. ตอบขอ 2
อธิบาย หา v, จาก v = 3310.6t

เสียง
แทนคา; = 3310.6(25)

v = 346 m/s

หา S, จาก 2S = vt

แทนคา; 2S = 3460.1

S = 17.3 m/s

3. ตอบขอ 4
อธิบาย อั ต ราเร็ ว ของเสี ย งในอากาศขึ้ น อยู กั บ อุ ณ หภู มิ ข องอากาศ โดยเมื่ อ อุ ณ หภู มิ เ พิ่ ม ขึ้ น
1 องศาเซลเซียส เสียงจะมีอัตราเร็วเพิ่มขึ้น 0.6 เมตรตอวินาที ซึ่งสามารถคํานวณหาอัตราเร็ว

ของเสียงในอากาศไดจากสมการ v = 3310.6t
4. ตอบขอ 2
อธิบาย จาก 2S = vt

แทนคา; 2S = 3403

S = 510 m

5. ตอบขอ 3

อธิบาย

1 2
v = 10 m/s

x=?
S

หา S, จาก S = vt

แทนคา; = 104

S = 40 m

หา x, จาก S = vt

แทนคา; x(x40) = 3404

2x40 = 1,360 m

x = 700 m
150 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
6. ตอบขอ 3
อธิบาย วัตถุที่สะทอนคลื่นไดตองมีขนาดเทาหรือโตกวาความยาวคลื่นนั้น
เสียง

f = 10 kHz
v = 1,500 m/s

จาก v = f

 = v
f
แทนคา; = 1,500
10,000
 = 0.15 m = 15 cm

7. ตอบขอ 4

อธิบาย
S
t1
อากาศ

น้าํ t2

ไดยินเสียงปลาในน้ําเร็วกวาในอากาศ 1.8 วินาที แสดงวา


จาก t1 t2 = 1.8

S S = 1.8
v1 v2
1 1
S  340 
1,440  = 1.8

1,440340
S  3401,440  = 1.8

S ≈ 800 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 151

8. ตอบขอ 1
sin 1 1
อธิบาย จาก sin 2
=
2

เสียง
sin 1 1
แทนคา; =
22
sin 90
sin 1 1
=
1 2

 = 30

9. ตอบขอ 2
อธิบาย เสียงเปนคลื่นซึ่งมีสมบัติเฉพาะตัว โดยเมื่อคลื่นเดินทางจากบริเวณใดๆ ไปยังบริเวณ
ใกลเคียง ความถี่ของคลื่นจะคงตัวเสมอ
10. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก fB = |f1f2|

แทนคา; = |510515|

fB = 5 Hz

11. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก fB = |f1f2|
แทนคา; 4 = |420f2|
f2 = 420  4

f2 = 416, 424 Hz

12. ตอบขอ 2
f1f2
อธิบาย จาก fรวม =
2
500504
แทนคา; =
2

fรวม = 502 Hz

13. ตอบขอ 3

อธิบาย
60 cm

3
จากรูป 60
2
=

 = 40 cm = 0.4 m
152 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
จาก v = f

v
f =
เสียง


160
แทนคา; =
0.4
f = 400 Hz

14. ตอบขอ 3

อธิบาย จากรูป 2
= 20

 = 40 cm = 0.4 m

หา v, จาก v = f

แทนคา; = 0.4420

v = 168 m/s

15. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก v, จาก v = 3310.6t

แทนคา; = 331(0.615)

v = 340 m/s

(2n1)v
หา f ในทอปลายปดจาก f1 =
4L
(1)(340)
แทนคา; =
4(1)

f1 = 85 Hz

16. ตอบขอ 1
nv
อธิบาย จาก f =
2L
(1)(340)
แทนคา; =
22

f = 85 Hz

17. ตอบขอ 2

อธิบาย


จากรูป L =
2
 = 2L ......(1)
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 153

จาก v = f
v
f1 =


เสียง
แทน (1) ลงไป จะได
v
f1 =
2L
18. ตอบขอ 2
อธิบาย ทอปลายเปด 1 ดาน

1.25 m

L = →  = 4L
4

v
ความถี่มูลฐาน; f1 =

v
=
4L
340
แทนคา; =
41.25

f1 = 68 Hz

ทอปลายเปด 2 ดาน

2.4 m

L = →  = 2L
2

v
ความถี่มูลฐาน; f1 =

v
=
4L
340
แทนคา; =
22.4

f1 = 70.8 Hz

จะได fB = fทอปลายเปด 1ดาน fทอปลายเปด 2ดาน

แทนคา; = 6870.8

fB = 2.8 Hz
154 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
19. ตอบขอ 5
(2n1)v
อธิบาย หา v, จาก f =
4L
เสียง

1v
แทนคา; 173 =
40.5
v = 346 m/s

หา t, จาก v = 3310.6t

แทนคา; 346 = 3310.6t

15 = 0.6t

t = 25C

20. ตอบขอ 4
P
อธิบาย หา P, จาก I =
4πR2
P = I4πR2

แทนคา; = 210104π102

P = 8π108 W
P
หา I2, จาก I2 = 2
4πR 2

8π108
แทนคา; =
4π(20)2

2108
=
400

I2 = 51011 W/m2

21. ตอบขอ 2
P
อธิบาย หา R, จาก I =
4πR2
P
R2 =
4πI
4π1010
แทนคา; =
4π1012
R2 = 102

R = 10 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 155

22. ตอบขอ 1
P
อธิบาย หา P, จาก I =
4πR2

เสียง
P
R2 =
4πI
π108
แทนคา; =
4π1010
1
R2 = 102 = 25
4
R = 5m

23. ตอบขอ 1
P
อธิบาย หา I, จาก I =
4πR2

4π108
แทนคา; =
4π102
I = 1010 W/m2
I
หา , จาก  = 10 log I
0
10
10 log 
10 
10
แทนคา; = 12

= 10 log (102)

 = 20 dB
24. ตอบขอ 3

อธิบาย จาก 21 = 20 log RR 


1

10
แทนคา; 280 = 20 log   2
10
280 = 20 log (101)

280 = 20
2 = 60 dB
25. ตอบขอ 4

อธิบาย จาก 21 = 10 log  PP 


2

1
แทนคา; 2100 = 10 log  
10
156 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
2100 = 10 log (101)
2100 = 10
เสียง

2 = 90 dB
26. ตอบขอ 4

อธิบาย จาก 21 = 20 log RR  1

10
แทนคา; 40100 = 20 log  
R 2

10
60 = 20 log  
R 2

60 10
 = log  
20 R 2

10
3 = log R 
2

10
แทนคา; 103 =
R2
10
R2 =
103

R2 = 104 m = 10 km

27. ตอบขอ 3
อธิบาย จากโจทย I1 = 100% และ I2 = 1% (ลดไป 99% ไดยิน 1%)
I2
จาก 21 = 10 log I  1

1
280 = 10 log   2
10
280 = 10 log (102)

280 = 20

2 = 60 dB
28. ตอบขอ 5
I2
อธิบาย จาก 21 = 10 log I 1

I2
4060 = 10 log 10  2

I2
20 = 10 log 10  2
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 157

20 I2

10
= log
102  
I2
2 = log 10 

เสียง
2

I2
102 =
102
I2 = 1

ดังนั้น ไดยิน 1% แสดงวา ลดความเขมเสียง 99%


29. ตอบขอ 4
อธิบาย ลดลงได 99% แสดงวาไดยิน 1%
I2
จาก 21 = 10 log I  1

1
260 = 10 log   2
10

260 = 10 log (102)


260 = 20
2 = 40 dB
30. ตอบขอ 2
P
อธิบาย จาก I =
4πR2
4π1010
แทนคา; 1012 =
4πR2
1010
R2 =
1012
R2 = 102
R = 10 m

31. ตอบขอ 4
I
อธิบาย จาก  = 10 log   I0

I
แทนคา; 140 = 10 log  10  12

I
14 = log  10  12

I
1014 =
1012
I = 102 W/m2
158 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
P
จาก I =
A
P = IA
เสียง

แทนคา; = 102(11.2)

P = 120 W

32. ตอบขอ 4
R1
อธิบาย จาก 21 = 20 log R  2

10
280 = 20 log 10  2

280 = 20 log (101)


280 = 20
2 = 60 dB
หาความเขมเสียงจากระดับความเขมเสียง 60 dB
I
จาก  = 10 log I 
0

I
แทนคา; 60 = 10 log  10 12

I
106 =
1012
I = 106 W/m2
P
จาก I =
4πR2
P = 4πR2I

แทนคา; = 4π(102)2106

P = 4π102 W

33. ตอบขอ 3
อธิบาย พิจารณาขณะที่จรวดแหวกอากาศจะเกิดเสียงที่พุงชนหนาผา มีความยาวคลื่นดังนี้
v0vs = fs

แทนคา; 34545 = 2,000


3
 = m
20
หาเสียงที่สะทอนหนาผาผานอากาศ
จาก v = f
3
แทนคา; 345 =
20
f

f = 2,300 Hz
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 159

34. ตอบขอ 2
อธิบาย วาดรูปทิศทางของ v

เสียง
vS
vL
v0

v0  vL
จาก fL = v v  f
0 s
S

3400
แทนคา; =  34020  2,000
fL = 2,125 Hz

35. ตอบขอ 5
vS x
อธิบาย จาก v0
=
h
680 x
แทนคา; 340
=
6

x = 12 km

36. ตอบขอ 4
อธิบาย หา v0, จาก v0 = 3310.6t

แทนคา; = 3310.6(15)

v = 340 m/s
vS
จาก M, จาก M =
v0
510
แทนคา; =
340
M = 1.5

37. ตอบขอ 4
v0
อธิบาย จาก sin  =
vS
340
แทนคา; =
510

sin  = 0.67

 = 42
160 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

เสียง

 = 9042
 = 48
38. ตอบขอ 5
อธิบาย วาดรูปทิศทางของ v
vS vL
v0

v0  vL
จาก fL =  v  v f
0 S
S

34030
แทนคา; =  34020 1,000
370
= 320 1,000
fL = 1,156 Hz

39. ตอบขอ 4
อธิบาย หา v0, จาก v0 = 3310.6t

แทนคา; = 3310.6(15)

= 3319

v0 = 340 m/s

วาดรูปทิศทางของ v
vS vL
v0

v0  vL
จาก fL =  v  v f
0 S
S

แทนคา; =  34020
34020 
800

f L = 800 Hz

ขอสังเกต รถยนตขบั ไปทางเดียวกัน ดวยความเร็วเทากัน ความถีท่ คี่ นฟงไดยนิ จะไมเปลีย่ นแปลง


ไปจากเดิม
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 161

40. ตอบขอ 3
อธิบาย วาดรูปทิศทางของ v

เสียง
vS vL
v0

v0  vL
จาก fL =  v  v f
0 S
S

แทนคา; =  34020
34030 
1,000

f L = 1,032 Hz
º··Õè 5 áʧàªÔ§¿Êԡʏ
แสงเปนพลังงานรูปหนึง่ โดยสามารถเปลีย่ นเปนพลังงานรูปอืน่ ได เชน เปลีย่ นจากพลังงานแสง
เปนพลังงานไฟฟาดวยเซลลสุริยะ แสงชวยใหเกิดกระบวนการสังเคราะหดวยแสง และยังทําใหมนุษย
และสัตวสามารถมองเห็นสิ่งตางๆ ได

การแทรกสอดของแสง
การแทรกสอดของแสง เกิดขึ้นในลักษณะเชนเดียวกับการแทรกสอดของคลื่นนํ้า (จากเรื่อง
คลื่นกล) โดยในเรื่องแสงจะเกิดแนวปฏิบัพ คือ แถบสวาง และแนวบัพ คือ แถบมืด ซึ่งจะปรากฏบนฉาก
ที่นํามารับดานหลังสลิต โดยสลิตที่ใชในการศึกษามี 3 แบบ คือ สลิตเดี่ยว สลิตคู และเกรตติง
เมื่อมีแสงตกกระทบสลิตในแนวระนาบ แลวแสงจะกระจายออกทางดานหลังสลิตในทุกทิศทาง
โดยหนาคลื่นจะโคงเปนสวนของวงกลม

สลิตเดี่ยว
A2 = แถบสวางที่ 2 (2.5)
N2 = แถบมืดที่ 2 (2)
A1 = แถบสวางที่ 1 (1.5)

N1 = แถบมืดที่ 1 (1)

แสง d
 A0 = แถบสวางกลาง (สวางที่สุด) (0)

N1
A1

N2
A2
ฉาก
L
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 163

จากรูป d เปนความกวางของสลิตเดี่ยว หรือระยะหางของสลิตคู


เปนมุมที่เทียบกับแนวสวางกลาง (A0)

แสงเชิงฟสิกส

x เปนระยะของแถบมืดหรือแถบสวางจากแนวสวางกลาง (A0)
L เปนระยะจากสลิตถึงฉากรับ
n เปนลําดับของแถบมืดหรือแถบสวาง
สลิตเดี่ยวมีการใชสมการดังนี้
- แนวปฏิบัพ (แถบสวาง) เนื่องจาก A1 = 1.5, A2 = 2.5, A3 = 3.5, ...
dx 1
d sin  =
L  ;
= n  n = 1 2 3 ...
2
, , ,
- แนวบัพ (แถบมืด) เนื่องจาก N1 = 1, N2 = 2, N3 = 3, ...
dx
d sin  =
L
; , , ,
= n n = 1 2 3 ...

สลิตคู
N2 = แถบมืดที่ 2 (1.5)

A1 = แถบสวางที่ 1 (1)

N1 = แถบมืดที่ 1 (0.5)

S1 x

แสง d A0 = แถบสวางกลาง (สวางที่สุด) (0)
S2

N1

A1

N2

ฉาก
L

สลิตคูมีการใชสมการดังนี้
- แนวปฏิบัพ (แถบสวาง) เนื่องจาก A1 = 1, A2 = 2, A3 = 3, ...
dx
S1PS2P = d sin  =
L
; , , , ,
= n n = 0 1 2 3 ...

- แนวบัพ (แถบมืด) เนื่องจาก N1 = 0.5, N2 = 1.5, N3 = 2.5, ...


dx 1
S1PS2P = d sin  =
L  ;
= n  n = 1 2 3 ...
2
, , ,
164 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ตัวอยางที่ 1 ชองแคบคูมีระยะหางกัน 0.2 มิลลิเมตร เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร
ปรากฏแถบมืด-สวาง บนฉากที่หางออกไป 1 เมตร จงหา
แสงเชิงฟสิกส

ก. ความกวางของแถบสวางกลาง
ข. ระยะหางของแถบมืดแรกจากแนวกลางบนฉาก
ค. ระยะหางของแถบสวางแรกจากแนวกลางบนฉาก
ง. ระยะหางของแถบมืดที่ 2 กับแถบมืดที่ 4 บนฉาก
จ. ระยะหางของแถบสวางที่ 2 กับแถบสวางที่ 4 บนฉาก
วิธีทํา ก. ใชสมการแถบมืดเพราะหาความกวางของ A0
dx
จาก L
= n 12 ; (n = 1)
(0.2103)x
แทนคา; 1
= 1 12 40010 9

x = 103 m

ดังนั้น หาความกวาง A0 จะได 2103 เมตร หรือ 2 มิลลิเมตร ตอบ


dx
ข. จาก L
= n 12 ; (n = 1)
(0.2103)x
แทนคา; 1
= 1 12 40010 9

x = 103 m

ดังนั้น ระยะหางของแถบมืดแรกจากแนวกลางบนฉาก คือ 103 เมตร หรือ 1 มิลลิเมตร ตอบ


dx
ค. จาก L
;
= n (n = 1)

(0.2103)x
แทนคา; 1
= 1400109

x = 2103 m

ดังนั้น ระยะหางของแถบสวางแรกจากแนวกลางบนฉาก คือ 2103 เมตร หรือ 2 มิลลิเมตร


ตอบ
dx 1
ง. จาก = n ; (n = 2 เพราะแถบที่ 2 กับแถบที่ 4 อยูหางกัน 2 เทา)
L 2
(0.2103)x
แทนคา; 1
= 2 12 40010 9

x = 3103 m

ดังนั้น ระยะหางของแถบมืดที่ 2 กับแถบมืดที่ 4 คือ 3103 เมตร หรือ 3 มิลลิเมตร ตอบ


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 165

dx
จ. จาก L
;
= n (n = 2 เพราะแถบที่ 2 กับแถบที่ 4 อยูหางกัน 2 เทา)

แสงเชิงฟสิกส
(0.2103)x
แทนคา; 1
= 2400109

x = 4103 m

ดังนั้น ระยะหางของแถบสวางที่ 2 กับแถบสวางที่ 4 คือ 4103 เมตร หรือ 4 มิลลิเมตร ตอบ


วาดรูปพิจารณาคําตอบ

N3

A2
1 mm
N2
1 mm
A1
1 mm
N1
1 mm
A0

การเลี้ยวเบนของแสง
แสงมีสมบัติเปนคลื่น จึงสามารถเกิดการเลี้ยวเบนไดเชนเดียวกับคลื่นนํ้าและคลื่นเสียง
โดยสามารถเกิดการเลี้ยวเบนไดเมื่อผานสลิตเดี่ยวและสลิตคู แตถาหากมีการเลี้ยวเบนผานสลิตคู
แสงจะเกิดการแทรกสอดเกิดขึ้นดวยเสมอ ซึ่งสามารถคํานวณไดเหมือนกับการเกิดการแทรกสอด
ลักษณะการเกิดการเลี้ยวเบนจากสลิตเดี่ยว ดังนี้

N3
A2
N2
A1
N1


แสง A0 = แถบสวางกลาง (กวางที่สุด,
ความเขมแสงมากที่สุด)
N1
A1
N2
A2
N3

L
166 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
หมายเหตุ ใชสมการคํานวณแบบสลิตเดี่ยว หนา 162-163
แสงเชิงฟสิกส

ตัวอยางที่ 2 ใชแสงความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร สองผานสลิตเดี่ยวทําใหเกิดการเลี้ยวเบนบนฉาก


ที่อยูหางออกไป 2 เมตร ถาระยะหางของแถบมืดแรกจากแนวกลางบนฉากเทากับ 0.2 เซนติเมตร
จงหาความกวางของสลิตที่ใช
dx
วิธีทํา จาก L
= n

nL
d =
x
(1)(400109)(2)
แทนคา; =
0.2102
d = 4104 m

ดังนั้น สลิตกวางเทากับ 4104 เมตร ตอบ

ตัวอยางที่ 3 เมื่อใชแสงที่มีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ผานสลิตเดี่ยว ทําใหเกิดแถบมืดที่สอง


เบนจากแนวกลางบนฉาก 30 องศา จงหาความกวางของสลิต
วิธีทํา จาก d sin  = n

แทนคา; d sin 30 = 2600109


1
d = 1.2106
2
d = 2.4106 m

ดังนั้น สลิตกวางเทากับ 2.4106 เมตร ตอบ

เกรตติง
เกรตติง (gratting) เปนอุปกรณที่ใชตรวจสอบสเปกตรัมของแสง โดยใชหลักการเลี้ยวเบน
และการแทรกสอดของแสง เกรตติงเปนแผนวัตถุบาง ใส ผิวเรียบ และพื้นผิวถูกแบงออกเปนชองเทาๆ กัน
และระยะหางเทากัน โดยอาจมี 100 ถึง 10,000 ชองตอเซนติเมตร ถาเราใชแสงสีขาวสองผานเกรตติง
เราจะเห็นสเปกตรัมของแสงสีขาวแยกออกเปน 7 สี (สีรุง)
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 167

แสงเชิงฟสิกส
A1 แถบสวางที่ 1
(เริ่มแยกสเปกตรัม)


แสง A0 แถบสวางกลาง
(ไมแยกสเปกตรัม)

เกรตติง
L

จากรูป แสงสีมวงเบนออกจากแนวกลางนอยที่สุด ( นอย,  นอย)


แสงสีแดงเบนออกจากแนวกลางมากที่สุด ( มาก,  มาก)

แดง 617-700 nm

แสด 590-610 nm

เหลือง 570-590 nm

เขียว 500-570 nm

นํ้าเงิน 450-500 nm

มวง 380-450 nm

A0 (แถบสวางกลาง)

เนื่องจากเกรตติงเปรียบไดกับสลิตคูที่มีชองอยูจํานวน N ชอง ดังนั้นระยะระหวางชองสลิต


แตละชอง (d) หาไดจาก
1
d =
N
เมื่อ d เปนระยะหางระหวางชองของเกรตติงแตละชอง มีหนวยเปน เมตร (m)
N เปนจํานวนชองของเกรตติงใน 1 เมตร
168 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
แลวสามารถใชสมการสลิตคูมาคํานวณหาแถบมืดและแถบสวาง ไดโดย
แสงเชิงฟสิกส

dx
- แนวปฏิบัพ (แถบสวาง), d sin  =
L
; , , , ,
= n n = 0 1 2 3 ...

dx 1
- แนวบัพ (แถบมืด), d sin  =
L  ;
= n  n = 1 2 3 ...
2
, , ,

ตัวอยางที่ 4 เมื่อใชแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร สองผานเกรตติงที่มีจํานวน 2,000 ชอง


ตอเซนติเมตร แถบสวางที่สองหางจากแนวสวางกลางเทาไร เมื่อระยะจากเกรตติงถึงฉากเทากับ 1 เมตร
dx
วิธีทํา จาก L
= n

x
= n
NL
x = nNL

แทนคา; = 2(500109)(2,000102)1

x = 0.2 m

ดังนั้น แถบสวางลําดับที่สองหางจากแถบสวางกลาง 0.2 เมตร ตอบ

ตัวอยางที่ 5 ใชแสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร สองผานเกรตติง ทําใหเกิดแถบสวางที่ 4 ทํามุม


กับแถบสวางกลาง 37 องศา จงหาจํานวนชองตอเซนติเมตรของเกรตติงนี้
วิธีทํา จาก d sin  = n

1
แทนคา; N
(sin 37) = 4500109

1 3
 
N 5
= 2106

N = 3105 ชอง/m ,
= 3 000 ชอง/cm
ดังนั้น เกรตติงมีจํานวนชอง 3,000 ชองตอเซนติเมตร ตอบ

การกระเจิงของแสง
แสงสามารถเกิดการกระเจิงไดเนือ่ งจากตกกระทบกับอนุภาคของฝุน ละอองหรือโมเลกุลของอากาศ
ซึ่งอนุภาคเหลานี้ทําใหแสงกระจายไปโดยรอบ เชน การที่เรามองเห็นทองฟาในตอนเชาและตอนเย็นเปน
สีสมหรือสีแดงนั้นเกิดจากแสงตองเดินทางผานชั้นบรรยากาศเปนระยะทางไกล เราจึงมองเห็นเฉพาะ
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 169

แสงในชวงความยาวคลื่นมาก (ยานสีแดง) แตตอนกลางวันแสงอาทิตยตกตั้งฉาก ทําใหแสงเดินทางผาน

แสงเชิงฟสิกส
ชั้นบรรยากาศในระยะทางที่ใกลกวา เราจึงมองเห็นทองฟาเปนสีนํ้าเงินหรือชวงความยาวคลื่นสั้นนั่นเอง
โดยปกติแสงที่มีความยาวคลื่นนอยจะกระเจิงไดดีกวาแสงที่มีความยาวคลื่นมาก

การเกิดปรากฏการณเรือนกระจก
ปรากฏการณเรือนกระจก (greenhouse effect) เกิดจากแสงจากดวงอาทิตยซงึ่ เปนคลืน่ แมเหล็ก
ไฟฟาชนิดหนึ่ง ประกอบดวยแสงที่ตามองเห็นและมองไมเห็น (แสงที่มองไมเห็น เชน รังสีอัลตราไวโอเลต
และรังสีอินฟราเรด) ซึ่งเมื่อแสงจากดวงอาทิตยตกกระทบโลก โลกก็จะดูดกลืนแสงเอาไวโดยเฉพาะ
แสงที่ตามองไมเห็น ทําใหผิวโลกรอน วัตถุที่ผิวโลกก็รอนตามไปดวย เมื่อวัตถุเหลานี้รอนก็จะปลอย
คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า อย า งอ อ นมา (ส ว นใหญ จ ะเป น รั ง สี อิ น ฟราเรด ) ซึ่ ง เป น รั ง สี ที่ มี ค วามถี่ ต รงกั บ
ความถี่ธรรมชาติของแกสคารบอนไดออกไซดและนํ้า ทําใหโมเลกุลเหลานั้นสั่นรุนแรงเกิดเปนความรอน
และปลอยความรอนออกมาอีก จึงยิ่งทําใหโลกรอนขึ้นกวาเดิม เราเรียกปรากฏการณนี้วา ปรากฏการณ
เรือนกระจกนั่นเอง
170 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
แบบฝกหัด
แสงเชิงฟสิกส

จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร สองผานสลิตคูที่มีระยะหางระหวางสลิต 2 มิลลิเมตร

เกิดการแทรกสอดบนฉากที่หางออกไป 2 เมตร แถบสวางแรกหางจากแนวกลางบนฉากเทาไร


1. 0.5 mm 2. 1.0 mm

3. 1.5 mm 4. 2.0 mm

5. 2.5 mm

2. สลิตคูมีระยะหาง 1 มิลลิเมตร วางหางจากฉาก 2 เมตร ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร


สองผานสลิต แถบสวางกลางกวางเทาไร
1. 1.0 nm 2. 1.2 nm

3. 1.4 nm 4. 2.2 nm

5. 2.4 nm

3. สลิตคูมีระยะหางระหวางสลิต 0.2 มิลลิเมตร วางหางจากฉาก 1 เมตร เมื่อฉายแสงผานสลิต


ปรากฏวาแถบสวางลําดับที่ 3 อยูหางจากแนวกลางบนฉาก 6 มิลลิเมตร แสงที่ใชมีความยาวคลื่น
เทาไร
1. 300 nm 2. 400 nm

3. 500 nm 4. 600 nm

5. 700 nm

4. ฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 2 ไมโครเมตร ผานสลิตคูที่มีระยะหางกัน 0.02 มิลลิเมตร แถบสวาง


ลําดับที่ 5 เบนจากแนวกลางเปนมุมเทาไร
1. 30 2. 37

3. 45 4. 53

5. 60

5. เมื่อใชแสงสีมวงความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคูที่หางกัน 2 มิลลิเมตร


ทําใหเกิดการแทรกสอดบนฉากที่ระยะหางออกไป 2 เมตร แถบสวางที่อยูติดกันหางกันเทาไร
1. 0.2 mm 2. 0.4 mm

3. 0.6 mm 4. 0.8 mm

5. 1.0 mm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 171

6. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร สองผานสลิตเดี่ยวกวาง 0.5 มิลลิเมตร ทําใหเกิดการ


เลี้ยวเบนบนฉากซึ่งอยูหางจากสลิต 2 เมตร แถบสวางที่ 4 หางจากแนวกลางบนฉากเทาไร

แสงเชิงฟสิกส
1. 2 mm 2. 4 mm
3. 6 mm 4. 8 mm
5. 10 mm
7. ถาใชแสงที่มีความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร สองผานสลิตเดี่ยว จะตองวางสลิตที่มีความกวาง
1 มิลลิเมตร ไวหางจากฉากเปนระยะเทาไร จึงจะทําใหเกิดการเลี้ยวเบนของแถบมืดที่ 2 หางจาก
แถบสวางกลาง 4 มิลลิเมตร
1. 2 m 2. 3 m
3. 4 m 4. 5 m
5. 6 m
8. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร สองผานสลิตเดี่ยว ทําใหเกิดการเลี้ยวเบนบนฉากที่
วางหางจากสลิต 2 เมตร วัดความกวางของแถบสวางกลางได 2 มิลลิเมตร จงหาความกวางของสลิต
เดี่ยวที่ใช
1. 1.0 mm 2. 1.2 mm
3. 1.4 mm 4. 1.6 mm
5. 1.8 mm
9. จงหาความยาวคลื่นแสงที่ใชสองผานสลิตเดี่ยวกวาง 0.4 มิลลิเมตร แลวทําใหเกิดการเลี้ยวเบน
บนฉากที่หางจากสลิต 2 เมตร ซึ่งพบวาแถบสวางลําดับที่ 2 หางจากแนวกลาง 1 มิลลิเมตร
1. 300 nm 2. 400 nm
3. 500 nm 4. 600 nm
5. 800 nm
10. ใชแสงความยาวคลื่น 200 ไมโครเมตร สองผานสลิตเดี่ยวกวาง 1 มิลลิเมตร เกิดการเลี้ยวเบน
บนฉากที่วางหางจากสลิต 2 เมตร จงหาวาแถบสวางที่สองเบนจากแนวกลางเปนมุมเทาไร
1. 30 2. 37
3. 45 4. 53
5. 60
11. ใชแสงความยาวคลื่น 300 ไมโครเมตร สองผานสลิตคูที่มีระยะหางกัน 0.6 มิลลิเมตร ทําใหเกิด
การแทรกสอดบนฉาก จงหาจํานวนแถบสวางที่เกิดขึ้นทั้งหมด
1. 2 แถบ 2. 3 แถบ
3. 4 แถบ 4. 5 แถบ
5. 6 แถบ
172 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
12. ใชแสงสีหนึ่งตกกระทบเกรตติงที่มีจํานวน 1,000 ชองตอเซนติเมตร ทําใหเกิดการแทรกสอด
แถบสวางแรกบนฉากเบนจากแนวกลาง 30 องศา จงหาความยาวคลื่นแสงที่ใช
แสงเชิงฟสิกส

1. 2104 m 2. 3104 m
3. 4105 m 4. 5106 m
5. 6106 m
13. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 200 นาโนเมตร ตกกระทบตั้งฉากกับเกรตติงที่มีจํานวน 10,000 ชอง
ตอเซนติเมตร เกิดการแทรกสอดบนฉากที่หางจากเกรตติงเปนระยะ 2 เมตร แถบสวางที่เกิดขึ้น
ทั้งหมดมีกี่แถบ
1. 5 แถบ 2. 6 แถบ
3. 10 แถบ 4. 11 แถบ
5. 12 แถบ
14. เกรตติงอันหนึ่งมี 10,000 ชองตอเซนติเมตร ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกกระทบ
ในแนวตั้งฉากกับเกรตติง แถบสวางแรกเบนจากแนวกลางเทาไร
1. 30 2. 37
3. 45 4. 53
5. 60
15. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกกระทบในแนวตั้งฉากกับเกรตติง ทําใหเกิดการ
แทรกสอดบนฉาก พบวาเกิดแถบสวางทั้งหมด 9 แถบ เกรตติงที่ใชมีจํานวนกี่ชองตอเซนติเมตร
1. 2,000 ชองตอเซนติเมตร 2. 3,000 ชองตอเซนติเมตร
3. 4,000 ชองตอเซนติเมตร 4. 5,000 ชองตอเซนติเมตร
5. 6,000 ชองตอเซนติเมตร
16. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกกระทบเกรตติงที่มี 100 ชองตอมิลลิเมตร เกิดการ
แทรกสอดบนฉากที่วางหางจากเกรตติง 1 เมตร แถบสวางแรกเบนจากแนวกลางกี่เซนติเมตร
1. 3 cm 2. 4 cm
3. 5 cm 4. 6 cm
5. 7 cm
17. ปลอยแสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ผานสลิตคู เกิดแถบมืดและแถบสวางสลับกัน แถบมืด
ที่ 2 และ 3 หางกัน 0.5 มิลลิเมตร ถาเปลี่ยนความยาวคลื่นเปน 600 นาโนเมตร ระยะหางของ
แถบมืดทั้งสองจะเปนเทาไร
1. 0.24 mm 2. 0.30 mm
3. 0.48 mm 4. 0.60 mm
5. 0.72 mm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 173

18. ใชแสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร สองผานสลิตคูที่มีระยะหางระหวางชองสลิต 0.15 มิลลิเมตร


แลวเกิดภาพการแทรกสอดที่ฉาก แตเมื่อเปลี่ยนสลิตคูอันใหมมาวางแทนที่สลิตอันเดิม พบวา

แสงเชิงฟสิกส
ภาพการแทรกสอดบนฉากมีตําแหนงของแถบสวางที่สองตรงกับตําแหนงแถบสวางที่สามของ
ภาพการแทรกสอดครั้งแรกพอดี สลิตคูอันใหมมีระยะหางระหวางชองสลิตเทาไร
1. 0.10 mm 2. 0.12 mm
3. 0.15 mm 4. 0.20 mm
5. 0.25 mm
19. แสงเลเซอรสีน้ําเงินความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกกระทบตั้งฉากกับเกรตติง เกิดแถบริ้วสวาง
ปรากฏบนฉากรับซึ่งหางจากเกรตติง 1 เมตร ถาแถบสวางที่ 1 หางจากแถบสวางกลาง 0.15 เมตร
ระยะหางระหวางชองของเกรตติงประมาณเทาไร
1. 1.50 m 2. 3.33 m
3. 4.50 m 4. 6.67 m
5. 7.26 m
20. แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตรในอากาศ เมื่อผานลงไปในน้ํามันเบนซินที่มีดรรชนีหักเห 1.5
ความยาวคลื่นของแสงจะเปลี่ยนไปอยางไร
1. ลดลง 200 nm 2. ลดลง 400 nm
3. เพิ่มขึ้น 200 nm 4. เพิ่มขึ้น 400 nm
5. คงที่
21. แสงความยาวคลื่น  สองผานสลิตเดี่ยว เกิดแถบมืดแรกบนฉากเบนทํามุม 30 องศากับแนวกลาง
สลิตที่ใชมีความกวางเทาไร
 
1. 2.
4 2
3.  4. 2
5. 3

เฉลย

1. 1 2. 5 3. 2 4. 1 5. 2 6. 4 7. 4 8. 2 9. 5 10. 1

11. 4 12. 4 13. 4 14. 1 15. 4 16. 3 17. 4 18. 1 19. 2 20. 1

21. 4
174 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
เฉลยพรอมคําอธิบาย
แสงเชิงฟสิกส

1. ตอบขอ 1
dx
อธิบาย จาก L
= n

x = nL
d
(1)(500109)(2)
แทนคา; =
2103
x = 5104 m = 0.5 mm

2. ตอบขอ 5
dx
อธิบาย จาก L
= n

x = nL
d
(1)(600109)(2)
แทนคา; =
103
x = 1.2103 m = 1.2 mm

ดังนั้น ความกวางของแถบสวางกลาง 1.22 = 2.4 mm


3. ตอบขอ 2
dx
อธิบาย จาก L
= n

dx
 =
Ln
(0.2103)(6103)
แทนคา; =
13
 = 410 m = 400 nm
7

4. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก d sin  = n

n
sin  =
d
52106
แทนคา; =
0.02103
sin  = 0.5

 = 30
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 175

5. ตอบขอ 2
dx
อธิบาย จาก = n

แสงเชิงฟสิกส
L

x = nL
d
(1)(400109)(2)
แทนคา; =
2103
 = 4104 m = 0.4 mm

6. ตอบขอ 4
dx
อธิบาย จาก L
= n

x = nL
d
(4)(500109)(2)
แทนคา; =
0.5103
x = 8103 m = 8 mm

7. ตอบขอ 4
dx
อธิบาย จาก L
= n

dx
L =
n
(1103)(4103)
แทนคา; =
2(400109)
L = 5m

8. ตอบขอ 2
อธิบาย ความกวางของแถบสวางกลางเทากับ 2 mm คือ สองเทาของแถบมืดแรก
ดังนั้น x ของแถบมืดแรก = 1 mm = 1103 m
dx
จาก L
= n

d = nL
x
(1)(600109)(2)
แทนคา; =
1103
d = 1.2103 m = 1.2 mm
176 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
9. ตอบขอ 5
dx
อธิบาย จาก n 12 
แสงเชิงฟสิกส

=
L
0.4103103
2
= 2 12 
0.4103103
แทนคา;  =
22.5
 = 0.8107 m = 800 nm

10. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก d sin  = n 12 
แทนคา; (103) sin  = 2 12 (20010 6
)

(103) sin  = 5104

sin  = 0.5

 = 30
11. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก d sin  = n

แทนคา; (0.6103) sin 90 = n(300106)

0.6103
n =
300106
n = 2

ดังนั้น แถบสวางทั้งหมด 5 แถบ ซาย 2 แถบ, ขวา 2 แถบ, กลาง 1 แถบ


12. ตอบขอ 4
อธิบาย จากโจทย N = 1103 ชอง/cm = 1105 ชอง/m
จาก d sin  = n

แทนคา;  N1 sin 30 = (1)


1 1
 = 
110 5 2
1
 =
2105
 = 5106 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 177

13. ตอบขอ 4
อธิบาย จากโจทย N = 104 ชอง/cm = 106 ชอง/m

แสงเชิงฟสิกส
จาก d sin  = n

แทนคา;  N1 sin 90 = n(200109)


1
= n(200109)
106
1
n =
200109106

แถบ
n = 5

ดังนั้น แถบสวางทั้งหมด 11 แถบ คือ ซาย 5 แถบ, ขวา 5 แถบ, กลาง 1 แถบ
14. ตอบขอ 1
อธิบาย จากโจทย N = 104 ชอง/cm = 106 ชอง/m
จาก d sin  = n
1
แทนคา;  10 sin 
6
= (1)(500109)

sin  = 0.5

 = sin1 (0.5)

 = 30
15. ตอบขอ 4
อธิบาย จากโจทย แถบสวางทั้งหมด 9 แถบ แสดงวา ซาย 4 แถบ, ขวา 4 แถบ, กลาง 1 แถบ
จะใช n = 4 และ  = 90
จาก d sin  = n

แทนคา;  N1 sin 90 = 4(500109)

1
= 2106
N
1
= 106
2
N = 5105 ชอง/m = 5,000 ชอง/cm
178 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
16. ตอบขอ 3
อธิบาย จากโจทย N = 102 ชอง/mm = 105 ชอง/m
แสงเชิงฟสิกส

dx
จาก L
= n

x
= n
NL
x = nNL

แทนคา; = (1)(500109)(105)(1)

x = 5102 m = 5 cm

17. ตอบขอ 4
dx 1
อธิบาย จาก L
=  n 2  
dx2 3
แถบมืดที่ 2 ; L
=
2
 ......(1)

dx3 5
แถบมืดที่ 3 ; L
=
2
 ......(2)

d(x3x2)
นํา (2)(1) ; = 
L
หรือ dx = 
L

เมื่อเปลี่ยนความยาวคลื่น จะได
dx1
= 500109 ......(3)
L
dx2
และ = 600109 ......(4)
L
(4) x2 600109
นํา (3) ; =
x1 500109
6
แทนคา; x2 =
5
0.5103
x2 = 0.6103 = 0.6 mm

18. ตอบขอ 1
อธิบาย ภาพการแทรกสอดบนฉากมีตําแหนงของแถบสวางตรงกันพอดี แสดงวามีมุมเบนจาก
แนวกลางเทากัน
A3 AL


d1
 A0 d2
 A0

สลิตเดิม สลิตใหม
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 179

จาก d sin  = n

สลิตเดิม; d1 sin  = 3 ......(1)

แสงเชิงฟสิกส
สลิตใหม; d2 sin  = 2 ......(2)

นํา (2)
(1)
; d2
d1
=
2
3
d2 2
แทนคา; =
3
0.15
d2 = 0.10 mm

19. ตอบขอ 2

อธิบาย
A1
0.15 m
 A0

L = 1.0 m

dx
จาก L
= n

d(0.15)
แทนคา; = 1(500109)
1
d = 3.33106 m = 3.33 m

20. ตอบขอ 1

อธิบาย

1
n1 = 1 อากาศ
นํ้ามันเบนซิน
2 = ?
n1 = 1.5

2 n1
จาก =
n2
1
1
แทนคา; 2
=
1.5
600
2 = 400 nm

ดังนั้น ความยาวคลื่นลดลง = 600400 = 200 nm


180 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
21. ตอบขอ 4

อธิบาย
แสงเชิงฟสิกส

N1

30
 d A0

จาก dsin  = n

แทนคา; d(sin 30) = 1


1
d = 
2
d = 2
º··Õè 6 áʧáÅзÑȹÍØ»¡Ã³
จากการศึกษาเรื่องแสง พบวาแสงมีสมบัติการเลี้ยวเบนและการแทรกสอด นอกจากนั้น
แสงยังมีสมบัติอื่นๆ และปรากฏการณที่เกี่ยวกับแสงอีกมากมาย เชน การสะทอน การหักเห รวมไปถึง
อุปกรณที่เกี่ยวกับแสง ซึ่งสามารถศึกษาไดในบทนี้

การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
แสงอาจเกิดจากแหลงกําเนิดจากธรรมชาติหรือมนุษยสรางขึ้นก็ได เชน ดวงอาทิตย ตะเกียง
หลอดไฟ เทียน โดยเมื่อเคลื่อนที่ออกจากแหลงกําเนิดจะเคลื่อนที่เปนเสนตรงไปทุกทิศทาง โดยแสงจะ
เคลื่อนที่ในตัวกลางดวยอัตราเร็วที่แตกตางกัน
ตารางแสดงอัตราเร็วของแสงในตัวกลางตางๆ

ตัวกลาง อัตราเร็วของแสง (m/s)


อากาศ 3108

นํ้า 2.25108

เพชร 1.24108

แกวคราวน 1.97108

หมายเหตุ เนื่องจากแสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา ดังนั้นแสงจึงสามารถเคลื่อนที่โดยไมตองใช


ตัวกลาง (สุญญากาศ) ซึ่งจะมีความเร็วมากที่สุด

หนวยวัดระยะทางในทางดาราศาสตร มีดังนี้
1. หนวยดาราศาสตร (AU) คือ ระยะทางที่เปรียบเทียบกับระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย

โดย 1 AU = 1.51011 เมตร


2. หนวยปแสง คือ ระยะทางที่แสงเดินทางไดใน 1 ป
182 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

การสะทอนของแสง
แสงและทัศนอุปกรณ

แสงจะเกิดการสะทอนไดเมือ่ แสงเดินทางไปกระทบตัวกลางตางๆ แลวเคลือ่ นทีก่ ลับในตัวกลางเดิม


ดังรูป

เสนปกติ เสนปกติ
เสนปกติ
รังสีตกกระทบ รังสีสะทอน
รังสีตกกระทบ รังสีตกกระทบ รังสีสะทอน
รังสีสะทอน
1 2 1 2

1 2

ผิวเรียบ ผิวโคงนูน ผิวโคงเวา

การสะทอนของแสง มีหลักการดังนี้
1. มุมตกกระทบ (1) เทากับมุมสะทอน (2)

2. รังสีตกกระทบ รังสีสะทอน และเสนปกติ ตองอยูในระนาบเดียวกันเสมอ

โดยเสนปกติหรือเสนแนวตั้งฉาก คือ เสนที่ลากตั้งฉากกับผิวสะทอนตรงตําแหนงที่รังสีตกกระทบ

ภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ
ภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ เรียกวา ภาพเสมือน (virtual image) โดยเกิดจากรังสีสะทอน
มาเขาตา ทําใหดูเหมือนกับวารังสีเหลานั้นมาจากภาพที่อยูหลังกระจกเงา โดยภาพที่เกิดจากกระจก
เงาราบจะมีลักษณะดังนี้
1. มีระยะภาพเทากับระยะวัตถุ

2. ขนาดของภาพเทากับขนาดของวัตถุ

3. เมื่อมองกระจกเงาราบจะเห็นภาพซายเปนขวาและขวาเปนซายเสมอ
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 183

การเกิดจากภาพกระจกเงาราบสามารถเขียนเสนรังสีเพื่อหาตําแหนงและขนาดของภาพ ดังนี้

แสงและทัศนอุปกรณ
Q

กระจกเงาราบ
2
เสนปกติ
1

P 1 2 P

S S

กระจกเงาราบ
Q 2 Q
2
วัตถุ 1 ภาพ
Y Y

P 1 2 P

S S

เมื่อ เปนระยะหางระหวางวัตถุกับกระจก
S

S เปนระยะหางระหวางภาพกับกระจก

Y เปนความสูงของวัตถุ

Y เปนความสูงของภาพ

และ m เปนกําลังขยาย
จาก S = S

และ Y = Y
S Y
ดังนั้น m =
S
=
Y
การหาจํานวนภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบสองบานวางทํามุม  ตอกัน
360
จํานวนภาพ (n) =

1
184 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
การคํานวณหาขนาดกระจก เมื่อตองการสองตัวเองในกระจกแลวเห็นภาพเต็มตัว จะใชสมการ
แสงและทัศนอุปกรณ

ความสูงของคน
ขนาดกระจก =
2

ความสูงจากพื้นถึงตา
และ ขอบลางของกระจกสูงจากพื้น =
2

เทคนิคการคํานวณ บางครัง้ การหาตําแหนงและขนาดภาพอาจใชหลักของรูปสามเหลีย่ มคลาย


ไดดวย

ตัวอยางที่ 1 สมชายสูง 175 เซนติเมตร (ตาอยูสูงจากพื้น 165 เซนติเมตร) ถาเขาตองการติดกระจก


เงาราบไวกับฝาหอง โดยตองการใหเห็นภาพในกระจกเต็มตัวพอดี จงหาขนาดของกระจกและขอบลาง
ของกระจกสูงจากพื้นหองเทาไร
ความสูงของคน
วิธีทํา จาก ขนาดของกระจก =
2
175
แทนคา; =
2
ขนาดของกระจก = 87.5 cm

ความสูงจากพื้นถึงตา
จาก ขอบลางของกระจกสูงจากพื้น =
2
165
แทนคา; =
2

ขอบลางของกระจกสูงจากพื้น = 82.5 cm

ดังนั้น ตองใชกระจกยาว 87.5 เซนติเมตร และขอบลางสูงจากพื้นหอง 82.5 เซนติเมตร ตอบ

ภาพที่เกิดจากกระจกเงาทรงกลม
กระจกเงาทรงกลมมี 2 แบบ คือ กระจกนูน (convex mirror) และกระจกเวา (concave mirror)

ซึ่งมีลักษณะนี้
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 185

แสงและทัศนอุปกรณ
2
รังสีตกกระทบ รังสีตกกระทบ 1
1
2
C F F C

2
1
1
2
R R
f f

กระจกเวา กระจกนูน

จากรูป กระจกโคงมีลักษณะสําคัญดังนี้
1. จุดศูนยกลางของทรงกลม (C) คือ จุดศูนยกลางความโคงของกระจก

2. รัศมีความโคงของทรงกลม (R) คือ รัศมีความโคงของกระจก

3. เสนแกนมุขสําคัญ คือ เสนผานศูนยกลางของทรงกลม

4. จุดโฟกัส (F) คือ จุดกึ่งกลางระหวางจุด C กับขอบกระจก

5. ความยาวโฟกัส (f) คือ ระยะจากจุด F มายังขอบกระจก


R
ดังนั้น f =
2

ขอสังเกต

กระจกเวา ⇒ รังสีสะทอนลากผานจุด F เสมอ


กระจกนูน ⇒ แนวของรังสีสะทอนลากตอไปผาน F เสมอ
เสนปกติ ⇒ ลากผานจุด C เสมอ (ทั้งกระจกเวาและกระจกนูน)
186 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
การเกิดภาพจากกระจกเวา มีดังนี้
แสงและทัศนอุปกรณ

1. วัตถุอยูไกลมากๆ จะไดภาพจริงเปนจุดอยูที่จุด F

C F

2. วัตถุอยูหางจากจุด C ไมไกลมาก จะไดภาพจริงหัวกลับ ขนาดเล็กกวาวัตถุ

C F

3. วัตถุอยูที่จุด C จะไดภาพจริงหัวกลับ ขนาดเทากับวัตถุ อยูตําแหนงเดียวกับวัตถุ

C F

4. วัตถุอยูระหวางจุด C กับ F จะไดภาพจริงหัวกลับ ขนาดโตกวาวัตถุ

C F

5. วัตถุอยูที่จุด F จะไดภาพที่ระยะอนันต

C F
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 187

6. วัตถุอยูระหวางจุด F กับขอบกระจก จะไดภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดโตกวาวัตถุ

แสงและทัศนอุปกรณ
C F

หมายเหตุ เสนรังสีที่ 1 ลากจากหัววัตถุขนานแกนมุขสําคัญชนขอบแลวลากผานจุด F


เสนรังสีที่ 2 ลากจากหัววัตถุผานจุด C
จุดที่ตัดกัน คือ หัวของภาพ

ภาพที่เกิดจากการกระจกนูน มีดังนี้
1. วัตถุอยูไกลมากๆ จะไดภาพเสมือนเปนจุดอยูที่จุด F

F C

2. วัตถุอยูไกลมากกวา 2F และยังไมถึงจุด F จะไดภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกวาวัตถุ

F C
F

3. วัตถุอยูที่ระยะเทากับจุด F พอดี จะไดภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเปนครึ่งหนึ่งของวัตถุ

F F C
188 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
4. วัตถุอยูชิดขอบกระจก จะไดภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเทาวัตถุ อยูที่เดียวกับวัตถุ
แสงและทัศนอุปกรณ

F C

หมายเหตุ เสนรังสีที่ 1 ลากจากหัววัตถุผานจุด F


เสนรังสีที่ 2 ลากจากหัววัตถุไปยังจุด C
จุดที่ตัดกัน คือ หัวของภาพ

สรุปการเกิดภาพจากกระจก ไดดังนี้
1. กระจกเวา ไดภาพจริงทุกขนาดอยูหนากระจก ถาไดภาพเสมือนจะมีขนาดโตกวาวัตถุเสมอ

(ยกเวนวัตถุอยูชิดขอบกระจกจะไดภาพเสมือนขนาดเทาวัตถุพอดี)

2. กระจกนูน จะไดภาพเสมือนมีขนาดเล็กกวาวัตถุเสมอ (ยกเวนวางวัตถุชิดขอบกระจกจะได

ภาพเสมือนขนาดเทาวัตถุพอดี)
สมการที่ใชในการคํานวณเรื่องกระจกโคง มีดังนี้
R
f =
2
1 1 1
= 
f S S
Y S
m = =
Y S
f
m = = Sf
Sf S

เมื่อ f เปนระยะโฟกัส
R เปนรัศมีความโคง

S ระยะวัตถุ

S เปนระยะภาพ

Y เปนความสูงของวัตถุ

Y เปนความสูงของภาพ

m เปนกําลังขยาย
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 189

การใชสมการดังกลาวมีเงื่อนไขดังนี้

แสงและทัศนอุปกรณ
1. S และ Y เปน  เสมอ

2. กระจกเวา f เปน 

กระจกนูน f เปน 
3. ภาพจริง m, S, Y เปน 

ภาพเสมือน m, S, Y เปน 

ตัวอยางที่ 2 วางวัตถุไวหนากระจกโคงที่มีรัศมีความโคง 40 เซนติเมตร ปรากฏวาไดภาพเสมือนที่มี


กําลังขยาย 0.2 เทา อยากทราบวาจะตองใชกระจกชนิดใด และตองวางวัตถุไวที่ระยะหางจากกระจกเทาไร
วิธีทํา จากโจทย ไดภาพเสมือนมีขนาดเล็กกวาวัตถุแสดงวาใชกระจกนูน
f
จาก m =
Sf
20
แทนคา; 0.2 =
S(20)

20
0.2 =
S20

20
S20 =
0.2

S = 80 cm

ดังนั้น จะตองใชกระจกนูนและวางวัตถุหางจากหนากระจก 80 เซนติเมตร ตอบ

ตัวอยางที่ 3 จงหาชนิดและความยาวโฟกัสของกระจกโคงที่ใหภาพจริงขนาด 0.25 เทา เมื่อวางวัตถุ


ไวหางจากหนากระจก 80 เซนติเมตร
วิธีทํา จากโจทยไดภาพจริงมีขนาดเล็กกวาวัตถุแสดงวาเปนกระจกเวา
f
จาก m =
Sf
f
แทนคา; 0.25 =
80f
0.25(80f) = f

f = 16 cm

ดังนั้น ใชกระจกเวาที่มีความยาวโฟกัส 16 เซนติเมตร ตอบ


190 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

การหักเหของแสง
แสงและทัศนอุปกรณ

เนืื่อ งจากแสงเคลื่อ นที่ผา นตัวกลางต า งๆ ด ว ยอั ตราเร็ ว ไม เ ท า กั น ดั ง นั้ น เมื่ อแสงเคลื่ อนที่
ผานตัวกลางตางชนิดกันจะทําใหแสงสวนหนึ่งเกิดการสะทอน และอีกสวนหนึ่งเบนเขาไปในตัวกลาง
ตัวทีส่ อง โดยจะมีทศิ ทางเบนออกไปจากแนวเดิม เรียกปรากฏการณนวี้ า การหักเหของแสง (refraction)
ดังรูป
รังสีตกกระทบ รังสีสะทอน
1 อากาศ
2
รังสีหักเห รังสีสะทอน

3
แกว
4
อากาศ รังสีหักเห

เมื่อ 1เปนมุมตกกระทบในอากาศ
2 เปนมุมหักเหในแกว
3 เปนมุมตกกระทบในแกว
4 เปนมุมหักเหในอากาศ
1, 2 เปนความยาวคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2

v1, v2 เปนอัตราเร็วของคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2

ดังนั้น จากกฎของสเนลล (Snell’s law) จะไดวา


sin 1 v n
= 1 = 2
1
=
sin 2 2 v2 n1

โดยเรียก nn12 วาดรรชนีหักเหของตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1 และสามารถคํานวณหา


ดรรชนีหักเหในตัวกลางใดๆ ได ดังนี้
ดรรชนีหักเหในตัวกลางใดๆ = อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ
อัตราเร็วของแสงในตัวกลางนั้น
c
n =
v
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 191

แสงและทัศนอุปกรณ
หมายเหตุ ดรรชนีหักเหของอากาศมีคาเทากับ 1

ตัวอยางที่ 4 แสงสีหนึ่งมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร เคลื่อนที่จากสุญญากาศเขาสูแกวดวยอัตราเร็ว


2108 เมตรตอวินาที จงหาดรรชนีหักเหของแกว

c
วิธีทํา จาก n =
v
3108
แทนคา; =
2108
n = 1.5

ดังนั้น ดรรชนีหักเหของแกวเทากับ 1.5 ตอบ

ตัวอยางที่ 5 แสงเดินทางจากอากาศเขาสูว ตั ถุชนิดหนึง่ โดยมีทศิ ทางเดินของแสง ดังรูป จงหาดรรชนีหกั เห


ของวัตถุ

60 อากาศ
45 วัตถุ

sin 1 n2
วิธีทํา จาก sin 2
=
n1

sin 60 n2
แทนคา; sin 45
=
n1

3
2
= n2
2
2

n2 =
 32
n2 = 1.22

ดังนั้น ดรรชนีหักเหของวัตถุเทากับ 1.22 ตอบ


192 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
มุมวิกฤตและการสะทอนกลับหมด
แสงและทัศนอุปกรณ

เมื่อแสงเดินทางในตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหตางกัน พบวามุมในตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหมาก
จะมีคานอยกวามุมในตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหนอย ดังนั้น มุมตกกระทบจะมีคานอยกวามุมหักเห
เมือ่ เพิม่ มุมตกกระทบขึน้ เรือ่ ยๆ มุมหักเหก็จะเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ เชนกัน ถาเพิม่ มุมตกกระทบจนกระทัง่ มุมหักเห
มีคา 90 องศาพอดี เราเรียกมุมตกกระทบนั้นวา มุมวิกฤต (critical angle; c) และหากเพิ่ม
มุมตกกระทบจนมากกวามุมวิกฤตแลวจะทําใหรงั สีไมมกี ารหักเห แตจะสะทอนกลับในตัวกลางเดิมทัง้ หมด
เรียกวา การสะทอนกลับหมดของแสง (total internal reflection)

แกว แกว แกว

1
1
1 2

อากาศ 2 อากาศ อากาศ

แสงที่มีการหักเห แสงที่มีมุมวิกฤต (2 = 90) แสงที่เกิดการสะทอนกลับหมด

หมายเหตุ
1. ถาโจทยถามมุมวิฤกตใหใช 2 = 90
2. แสงเริ่มมีการสะทอนกลับหมด เมื่อ 2  90

ความลึกจริงและความลึกปรากฏ
เมื่อแสงเคลื่อนที่ผานตัวกลางตางชนิดกันจะทําใหเกิดการหักเหของแสง หรือทิศทางของแสงเบน
ไปจากแนวเดิม ดังนั้นเมื่อเรามองวัตถุที่อยูใตนํ้า เราก็จะเห็นวัตถุนั้นอยูตื้นกวาความเปนจริงซึ่งเรียกวา
ความลึกปรากฏ สวนระยะจริงของวัตถุเราเรียกวา ความลึกจริง ดังรูป
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 193

แสงและทัศนอุปกรณ
ความลึกปรากฏ
ความลึกปรากฏ 2 2 ความลึกจริง
n2 n2
n1 n1
1 1

ความลึกจริง

มองลงนํ้า (เห็นตื้นกวาของจริง) มองขึ้นไปในอากาศ (เห็นไกลกวาของจริง)

การคํานวณเรื่องความลึกจริงและความลึกปรากฏ ใชสมการดังนี้
nวัตถุ ความลึกจริง
nตา = ; เมื่อมองตรงๆ
ความลึกปรากฏ
sin 1 n2
=
sin 2 n1

; เมื่อมองเฉียง
nวัตถุ ความลึกจริงCOS ของมุมหักเห
nตา =
ความลึกปรากฏCOS ของมุมตกกระทบ

สรุปหลักของความลึกจริงและความลึกปรากฏ ดังนี้
1. การเขียนเสนรังสีตองมีิทิศพุงเขาหาผูสังเกตเสมอ

2. n วัตถุมาก ความลึกปรากฏจะนอย (ใกลกวาความเปนจริง)

n วัตถุนอย ความลึกปรากฏจะมาก (ไกลกวาความเปนจริง)

3. มองลงนํ้าหรือมองผานแผนแกววางทับหนังสือ จะเห็นใกลกวาความเปนจริง

4. มองขึ้นไปในอากาศจะเห็นไกลกวาความเปนจริง (เชน ปลามองแมลงที่บินอยูในอากาศ)

ตัวอยางที่ 6 ชายคนหนึ่งมองปลาในทะเลในแนวตรง เห็นปลาอยูที่ระยะ 1.5 เมตร จงหาวาปลาอยู


ในทะเลดวยความลึกจริงเทาไร (กําหนดให nน้ํา = 43 )
4
วิธีทํา จากโจทย nวัตถุ = nนํ้า =
3
และ nตา = nอากาศ =1

nวัตถุ ความลึกจริง
จาก nอากาศ =
ความลึกปรากฏ
194 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
4
แสงและทัศนอุปกรณ

แทนคา; 3 = ความลึกจริง
1 1.5

ความลึกจริง = 2m

ดังนั้น ปลาอยูที่ความลึกจริง 2 เมตร ตอบ

ตัวอยางที่ 7 นักดําน้ําคนหนึ่งกําลังมองดูแมลงที่บินอยูเหนือผิวน้ําเปนระยะ 2 เมตร เขาจะมองเห็น


แมลงอยูเหนือผิวน้ําเปนระยะเทาไร (กําหนดให nน้ํา = 43 )
4
วิธีทํา จากโจทย nวัตถุ = nอากาศ = 1 และ nตา = nนํ้า =
3
nวัตถุ ความลึกจริง
จาก nตา
=
ความลึกปรากฏ
1 2
แทนคา; 4
=
ความลึกปรากฏ
3

ความลึกปรากฏ = 2.67 m

ดังนั้น นักดํานํ้ามองเห็นแมลงอยูเหนือจากผิวนํ้า 2.67 เมตร ตอบ

เลนสบาง
เลนส (lens) เปนตัวกลางโปรงใสที่มีผิวหนาเปนผิวโคงแบบทรงกลม โดยเราจะศึกษาเลนสบาง
ซึ่งเปนเลนสที่มีความหนานอยมากเมื่อเทียบกับความยาวโฟกัส แบงเปน 2 ชนิด คือ เลนสนูนเปนเลนส
ที่มีตรงกลางหนากวาบริเวณขอบ และเลนสเวาเปนเลนสที่มีตรงกลางบางกวาบริเวณขอบ
สวนประกอบของเลนส มีดังนี้
1. จุดศูนยกลางความโคงของเลนส (C) ซึ่งจะมีทั้งสองขาง (C1, C2)

2. เสนแกนมุขสําคัญ คือ เสนที่ลากผานจุดศูนยกลางความโคงทั้งสองขาง

3. จุดศูนยกลางของเลนส (O) คือ จุดที่อยูบนเสนแกนมุขสําคัญที่กึ่งกลางระหวางจุด C1 และ C2

4. จุดโฟกัส (F) เปนจุดบนเสนแกนมุขสําคัญ ซึ่งจะเปนจุดรวมแสง (ในกรณีเลนสนูน) และ

เปนจุดเสมือนรวมแสง (ในกรณีเลนสเวา)
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 195

แสงและทัศนอุปกรณ
C1 F O F C2 C1 F O F C2

เลนสนูน เลนสเวา

ในการเขียนเสนรังสีเพื่อหาตําแหนงของภาพจะเขียนรังสี 2 เสน โดยเสนที่ 1 ลากจากหัววัตถุ


ขนานเสนแกนมุขสําคัญแลวตัดจุด F และเสนที่ 2 ลากจากหัววัตถุผานจุด O จุดที่เสนรังสีตัดกันคือ
หัวของภาพ ดังรูป

วัตถุ
2 F
เสนแกนมุขสําคัญ
O
ภาพ

การเกิดภาพของเลนสนูน (ภาพจริง เพราะแสงตัดกันจริง)

วัตถุ 2
เสนแกนมุขสําคัญ
F ภาพ O

การเกิดภาพของเลนสเวา (ภาพเสมือน เพราะแสงไมไดตัดกันจริง)


196 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ภาพที่เกิดจากเลนสนูน มีดังนี้
แสงและทัศนอุปกรณ

1. วัตถุอยูไกลมากๆ จะไดภาพจริงเปนจุดอยูที่จุด F

O
C F F C

2. วัตถุอยูหางจากจุด C ออกไป จะไดภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกวาวัตถุ

วัตถุ O F ภาพ
C F C

3. วัตถุอยูที่จุด C พอดี จะไดภาพจริงหัวกลับขนาดเทากับวัตถุที่จุด C อีกดาน

วัตถุ O F ภาพ
C F C

4. วัตถุอยูระหวางจุด C กับจุด F จะไดภาพจริงหัวกลับขนาดใหญกวาวัตถุ

วัตถุ O
C F F C
ภาพ

5. วัตถุอยูที่จุด F พอดี จะไดภาพที่ระยะอนันต

วัตถุ O
C F F C
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 197

6. วัตถุอยูร ะหวางจุด F กับขอบเลนส จะไดภาพเสมือนขนาดใหญกวาวัตถุและอยูด า นเดียวกับวัตถุ

แสงและทัศนอุปกรณ
ภาพ
วัตถุ O
C F F C

ขอสังเกต การเกิดภาพจากเลนสนูนคลายกับการเกิดภาพจากกระจกเวา

ภาพที่เกิดจากเลนสเวา มีดังนี้
1. วัตถุอยูไกลมากๆ จะไดภาพเสมือนเปนจุดอยูที่จุด F อยูดานเดียวกับวัตถุ

2. วัตถุอยูที่ระยะใดๆ ที่ไมใชจุดโฟกัส จะไดภาพเสมือนขนาดเล็กกวาวัตถุ อยูดานเดียวกับวัตถุ

วัตถุ
F ภาพ

3. วัตถุอยูที่จุดโฟกัสพอดี จะไดภาพเสมือนขนาดเปนครึ่งหนึ่งของวัตถุ อยูดานเดียวกับวัตถุ

วัตถุ
F ภาพ
198 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
4. วัตถุอยูชิดขอบเลนส จะไดภาพเสมือนขนาดเทากับวัตถุอยูตําแหนงเดียวกับวัตถุ
แสงและทัศนอุปกรณ

วัตถุ

F ภาพ

ขอสังเกต การเกิดภาพจากเลนสเวาคลายกับการเกิดภาพจากกระจกนูน

สมการที่ใชในการคํานวณเรื่องเลนส มีดังนี้
R
f =
2
1 1 1
= 
f S S
Y S
m = =
Y S
f Sf
m = =
Sf f

เมื่อ f เปนระยะโฟกัส
R เปนรัศมีความโคง
S เปนระยะวัตถุ
S เปนระยะภาพ
Y เปนความสูงของวัตถุ
Y เปนความสูงของภาพ
m เปนกําลังขยาย
การใชสมการดังกลาวมีเงื่อนไข ดังนี้
1. S และ Y เปน  เสมอ

2. เลนสนูน (เหมือนกระจกเวา) f เปน 

เลนสเวา (เหมือนกระจกนูน) f เปน 


3. ภาพจริง m, S, Y เปน 

ภาพเสมือน m, S, Y เปน 


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 199

แสงและทัศนอุปกรณ
ขอสังเกต ภาพจริงเกิดหนาเลนสหรือกระจก
ภาพเสมือนเกิดหลังเลนสหรือกระจก

ตัวอยางที่ 8 วัตถุชิ้นหนึ่งสูง 10 เซนติเมตร วางหางจากเลนสนูนที่มีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร


เปนระยะ 15 เซนติเมตร จงหาตําแหนง ขนาดของภาพ และชนิดของภาพ
1 1 1
วิธีทํา จาก f
= 
S S
1 1 1
แทนคา; 20
= 
15 S
1 1 1
= 
S 20 15

S = 60 cm

Y S
จาก Y
=
S
Y 60
แทนคา; 10
=
15

Y = 40 cm

ดังนั้น ไดภาพเสมือนหัวตั้งสูง 40 เซนติเมตร ที่ระยะ 60 เซนติเมตร ดานหนาเลนส ตอบ

ตัวอยางที่ 9 เลนสเวาที่มีความยาวโฟกัส 30 เซนติเมตร จะตองวางวัตถุไวที่ระยะเทาไร จึงจะทําใหไดภาพ


ที่มีขนาด 0.25 เทาของวัตถุ
วิธีทํา จากโจทย f = 30 cm และ m = 0.25 เพราะเปนเลนสเวา
f
จาก m =
Sf
30
แทนคา; 0.25 =
S(30)
30
S30 =
0.25
S30 = 120

S = 90 cm

ดังนั้น ตองวางวัตถุหางจากเลนสเปนระยะ 90 เซนติเมตร ตอบ


200
แสงและทัศนอุปกรณ
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

ปรากฏการณที่เกี่ยวกับแสง

การกระจายของแสง
เมื่อใชแสงสีขาวสองผานปริซึม แสงจะกระจายออกเปนแสงสีตางๆ 7 สี คือ มวง คราม นํ้าเงิน
เขียว เหลือง แสด และแดง เราเรียกแถบสีที่กระจายออกมาวา สเปกตรัมของแสงขาว

กกระทบ
แน วแสงต

ระทบ
วตกก
แสงขา
แดง (fนอย, มาก)
แสด
เหลือง
เขียว
น้ําเงิน
คราม
มวง (fมาก, นอย)

ขอสังเกต สีมวงเบนมาก (ใหจําวา มวง-มาก) และสีแดงเบนนอย

การทรงกลด
การทรงกลด (haloes) เกิดจากแถบแสงของสีตางๆ เกิดขึ้นรอบๆ ดวงอาทิตยหรือดวงจันทร
เนื่องจากผลึกนํ้าแข็งรูปหกเหลี่ยมในเมฆชั้นเซอรัสวางตัวเรียงรอบดวงอาทิตยหรือดวงจันทร จึงเกิด
การหักเหของแสงและกระจายแสงสีตา งๆ ออกมา จนเห็นเปนแถบแสงขึน้ รอบๆ ดวงอาทิตยหรือดวงจันทร

รุง
รุ ง (rainbow) เกิดจากการกระจายของแสงเมื่อแสงเคลื่อนที่ผานละอองนํ้า โดยมีลักษณะ
เหมือนกับการกระจายแสงเมื่อผานปริซึม โดยรุงเกิดได 2 แบบ คือ รุงปฐมภูมิ และรุงทุติยภูมิ
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 201

1. รุงปฐมภูมิ เกิดจากแสงอาทิตยตกกระทบหยดนํ้าทางดานบน แลวหักเหเขาไปในหยดนํ้า

แสงและทัศนอุปกรณ
ทําใหเกิดการกระจายของแสง แลวหักเหออกสูอากาศ ทําใหเราเห็นสีมวงอยูดานลาง สีแดงอยูดานบน
แถบสีรุงนี้จะทํามุมจาก 40 องศา ถึง 42.5 องศากับแนวรังสีตกกระทบหยดนํ้า และมองเห็นรุงสีเขม
แสงอาทิตย
แดง
หยดน้ํา มวง
มวง
แสงอาทิตย
แดง
หยดน้ํา แดง
มวง

มวง

แดง

2. รุงทุติยภูมิ เกิดจากแสงอาทิตยตกกระทบหยดนํ้าทางดานลาง แลวหักเหเขาไปในหยดนํ้า


ทําใหเกิดกระจายของแสง แลวมีการสะทอน 2 ครั้ง จากนั้นจะหักเหออกสูอากาศ ทําใหเราเห็นสีมวงอยู
ดานบน สีแดงอยูด า นลาง แถบสีรงั สีนจี้ ะทํามุมจาก 51 องศา ถึง 54 องศากับแนวรังสีตกกระทบหยดนํา้ และ
มองเห็นรุงมีสีจางกวารุงปฐมภูมิ

หยดน้ํา มวง แสงอาทิตย


แดง

แดง

หยดน้ํา มวง แสงอาทิตย


แดง
มวง
มวง แดง
202 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
มิราจ
แสงและทัศนอุปกรณ

มิราจ (mirage) เกิดจากการหักเหของแสงในบรรยากาศชั้นตางๆ ที่มีความหนาแนนไมเทากัน


โดยเฉพาะบริเวณที่มีอุณหภูมิตางกันมากๆ เชน ทะเลทราย หรือพื้นถนนที่รอนจัด เพราะพื้นทะเลทราย
หรือพื้นถนนมีอุณหภูมิสูงมาก และจะมีอุณหภูมิลดลงตามความสูง ทําใหดรรชนีหักเหของอากาศเพิ่มขึ้น
อยางรวดเร็วตามความสูง กลาวโดยสรุปคือ
- บริเวณที่มีอุณหภูมิสูง (ผิวถนน) จะมีดรรชนีหักเห (n) นอย
- บริเวณที่ีมีอุณหภูมิตํ่า (ที่สูงขึ้นไป) จะมีดรรชนีหักเห (n) มาก
ปรากฏการณนี้จึงทําใหคนมองเห็นตนไมในทะเลทรายเปนสองตน และกลับหัว ดังรูป
1

ที่สูง (tนอย, nมาก) 2

พื้นดิน (tมาก, nนอย) 2 พื้นดิน


กั เห
ัง สีห
แนวร

จากรูป เสนรังสีที่
เคลื่อนที่เปนแนวตรง จากปลายตนไมสูตาคนทําใหเห็นตนไมแบบปกติ
1

เสนรังสีที่
2 เคลื่อนที่จากอากาศที่มี nมาก ไปยัง nนอย แสงจึงเกิดการหักเหและสะทอน

กลับหมดเขาสูตาคน เมื่อวาดเสนแนวรังสีหักเหที่ 2 ตอออกไป จะเกิดภาพ


ตนไมปรากฏอยูดานลางเหมือนเปนเงาของตนไมที่อยูในกระจก เรียกวา
มิราจ
มิราจที่พบบอยในชีวิตประจําวันก็คือ การมองเห็นเหมือนกับมีนํ้าอยูบนถนนที่รอนจัด ทั้งๆ ที่
ถนนนั้นแหงสนิท

ทัศนอุปกรณ
เราสามารถนําความรูเรื่องการหักเหของแสงผานเลนสมาสรางอุปกรณตางๆ ที่เปนประโยชน
ดังนี้
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 203

แวนขยาย

แสงและทัศนอุปกรณ
แวนขยายทํามาจากเลนสนูนอันเดียว ใชเพื่อขยายใหเห็นภาพที่มีขนาดโตกวาวัตถุ ดังนั้นจาก
ความรูเรื่องเลนสนูน ถาตองการใหไดภาพขนาดใหญ ควรวางวัตถุไวที่ระยะนอยกวาความยาวโฟกัส
ของเลนสนูน และถาจะใหเห็นภาพไดชัดเจนที่สุด ตําแหนงของภาพตองอยูที่ระยะประมาณ 25 เซนติเมตร
ซึ่งเปนระยะที่ตามนุษยสามารถมองไดชัดเจนที่สุด

เครื่องฉายภาพนิ่ง
เลนสรวมแสง
สไลด ภาพ

จอภาพ
กระจกโคงสะทอนแสง เลนสฉายภาพ

สวนประกอบของเครื่องฉายภาพนิ่ง มีดังนี้
1. หลอดไฟ เปนหลอดที่มีความสวางมากพอ วางอยูที่จุดโฟกัสของกระจกโคงสะทอนแสง

2. กระจกโคงสะทอนแสง ทําหนาที่รวมแสงจากหลอดไฟ ใหเปนลําแสงไปยังเลนสรวมแสง

3. เลนสรวมแสง ทําจากเลนสนูนแกมราบ 2 อัน ทําหนาที่รวมแสงใหมีความสวางมากขึ้น

4. เลนสฉายภาพ ทําจากเลนสนน ู 1 อัน ทําหนาทีห่ กั เหแสงจากสไลด ทําใหเกิดภาพจริงหัวกลับ


ขนาดใหญ
5. สไลด วางไวระหวางเลนสรวมแสงและเลนสฉายภาพ

กลองถายรูป
ชัตเตอร
ฟลม
ภาพ

วัตถุ
เลนส
ไดอะแฟรม
204 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
สวนประกอบของกลองถายรูป มีดังนี้
แสงและทัศนอุปกรณ

1. ตัวกลอง เปนกลองทึบเพื่อปองกันแสงจากภายนอก

2. เลนสนูน ทําหนาที่รับภาพจากวัตถุที่ระยะไกล เพื่อใหเกิดภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกวาวัตถุ

เพื่อใหภาพตกลงบนฟลม
3. ไดอะแฟรม เปนชุดโลหะที่วางซอนกัน สามารถปรับขนาดชองเพื่อควบคุมปริมาณแสง

ที่เขาสูกลอง
4. ชัตเตอร เปนแผนทึบแสง ทําหนาที่เปด-ปด ใหแสงเขามาในกลอง

5. ฟลม ทําหนาที่เปนฉากรับภาพ

กลองจุลทรรศน
กลองจุลทรรศน (microscope) เปนเครื่องมือที่ใชขยายภาพของวัตถุขนาดเล็กมากๆ ใหใหญขึ้น
ประกอบดวยเลนสนูน 2 อัน คือ
1. เลนสนูนใกลวัตถุ (objective lens) เปนเลนสที่มีความยาวโฟกัสสั้นมากๆ ทําใหเกิดภาพจริง

หัวกลับ
2. เลนสนูนใกลตา (eyepiece lens) เปนเลนสที่มีความยาวโฟกัสมาก เพื่อใหภาพจากเลนส

ใกลวัตถุกลายมาเปนภาพเสมือนที่มีขนาดใหญขึ้น

หมายเหตุ เลนสทั้งสองตองมีระยะหางกันมากกวาผลรวมของความยาวโฟกัสของเลนสทั้งสอง

เลนสใกลตา

ภาพ

เลนสใกลวัตถุ

วัตถุ

ภาพ
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 205

กลองโทรทรรศน

แสงและทัศนอุปกรณ
กลองโทรทรรศน (telescope) เปนอุปกรณที่ใชสองดูวัตถุจากระยะไกลทําใหมองเห็นไดชัดเจน
ขึ้น เชน การสองดูดาว กลองโทรทรรศนประกอบดวยเลนสนูน 2 อัน คือ
1. เลนสใกลวัตถุ เปนเลนสนูนที่มีความยาวโฟกัสมาก และเปนเลนสที่มีขนาดใหญเพื่อรับแสง

จากวัตถุจากระยะไกล
2. เลนสใกลตา เปนเลนสนูนที่มีความยาวโฟกัสนอย เพื่อใหภาพมาตกที่ตาคนมอง

หลักการทํางานของกลองโทรทรรศน มีดังนี้
1. แสงจากวัตถุที่อยูไกลมาก เคลื่อนที่เปนแสงขนานผานเลนสใกลวัตถุ ทําใหเกิดภาพครั้งแรก
ที่จุดโฟกัสของเลนสใกลวัตถุ ซึ่งเปนภาพจริงหัวกลับขนาดเล็ก
2. ภาพครั้งแรกจากเลนสใกลวัตถุ ทําหนาที่เปนวัตถุของเลนสใกลตา แลวเลนสใกลตาทําหนาที่

ขยายใหใหญขึ้น

แสงขนานจากวัตถุระยะไกล
เลนสใกลตา
เลนสใกลวัตถุ
ภาพครั้งแรก

ภาพที่ตามองเห็นเปน
ภาพเสมือนขนาดใหญ
ที่ระยะไกล

ความสวาง
เมื่อแสงจากแหลงกําเนิดเคลื่อนที่มาตกกระทบลงบนพื้นที่รับแสง สามารถคํานวณคาความสวาง
ไดดังนี้
E = F = I
A R2
206 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
เมื่อ E เปนความสวาง มีหนวยเปน ลักซ (lx)
แสงและทัศนอุปกรณ

F เปนฟลักซการสองสวาง มีหนวยเปน ลูเมน (lm)


I เปนความเขมแสงตกกระทบ มีหนวยเปน แคนเดลา (cd)
A เปนพื้นที่แสงตกกระทบ มีหนวยเปน ตารางเมตร (m2)
R เปนระยะหางที่แสงตกกระทบ มีหนวยเปน เมตร (m)

ตัวอยางที่ 10 หลอดไฟขนาด 40 วัตต จํานวน 5 หลอด แตละหลอดมีฟลักซการสองสวาง 720 ลูเมน


มีตัวสะทอนแสงแบบไมมีการสูญเสียพลังงาน ทําใหแสงตกกระทบลงบนพื้นที่ 8 ตารางเมตร จงหา
ความสวางบนพื้น
วิธีทํา จาก E = F
A

7205
แทนคา; =
8
E = 450 lx

ดังนั้น ความสวางบนพื้นนี้เทากับ 450 ลักซ ตอบ

หมายเหตุ ถาโจทยถามจํานวนหลอดไฟ (n) อาจแปลงสมการเปน


E = nF หรือ E = nI
A R2
เมื่อ n คือ จํานวนหลอดไฟ

ตาและการมองเห็นสี
สายตาของคนปกติจะมองเห็นภาพชัดเจนเมื่อวัตถุอยูหางจากตาออกไปตั้งแต 25 เซนติเมตร
จนถึงระยะไกลสุดที่สามารถมองเห็นได โดยเรียกตําแหนงใกลที่สุดที่เห็นภาพชัดวา จุดใกล (near point)
และเรียกตําแหนงไกลสุดที่เห็นภาพชัดวา จุดไกล (far point)
ลักษณะที่ทําใหมองเห็นภาพไมชัดอาจเกิดจากแสงไมตกบนเรตินาพอดี ซึ่งเปนความผิดปกติ
ของดวงตา มีดังนี้
1. สายตาสัน้ เกิดจากแสงรวมกันและตกกอนถึงเรตินา จึงทําใหมองเห็นวัตถุทจี่ ดุ ไกลไดไมชดั เจน
แกไขโดยสวมแวนที่ทําจากเลนสเวา เพื่อชวยกระจายใหแสงมาตกตรงเรตินาพอดี
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 207

เลนสเวา

แสงและทัศนอุปกรณ
P R P R

สายตาสั้น การแกไข

สายตายาว เกิดจากแสงรวมกันและตกหลังเรตินา สามารถแกไขไดโดยสวมแวนที่ทําจาก


2.

เลนสนูน เพื่อชวยรวมแสงใหแสงมาตกตรงเรตินาพอดี
เลนสนูน
R
P P R

สายตายาว การแกไข

3.สายตาเอียง เกิดจากแสงที่ผานเขาตาในแนวระดับและแนวดิ่งไมตัดที่จุดเดียวกัน ทําให


มองเห็นภาพชัดเฉพาะแนวระดับหรือแนวดิ่งเพียงแนวเดียวเทานั้น เปนผลมาจากความโคงของกระจกตา
ในแนวระดับกับแนวดิ่งไมเสมอกัน สามารถแกไขไดโดยสวมแวนที่ทําจากเลนสกาบกลวยหรือ
เลนสทรงกระบอก
4. การบอดสี (colour blindness) เกิดจากเซลลรูปกรวยที่ไวตอแสง 3 สี คือ แดง เขียว นํ้าเงิน

ทํางานผิดปกติ ทําใหตาไมสามารถผสมสีไดถูกตอง จึงมองเห็นสีผิดไปจากความเปนจริง สวนมากจะบอด


สีแดง สีเขียว และสีนํ้าเงิน ตามลําดับ คนที่ตาบอดสีไมสามารถแกไขใหเปนปกติได

ขอสังเกต สายตาสั้น-เลนสเวา
สายตายาว-เลนสนูน
หรือจําวา สั้นเวา-ยาวนูน
208 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

สี
แสงและทัศนอุปกรณ

การที่เรามองเห็นวัตถุมีสีใดนั้น เกิดจากแสงสีนั้นสะทอนจากวัตถุเขามาสูตา ซึ่งปกติสีกระจายมา


จากแสงขาวจากดวงอาทิตย หรือหลอดไฟ

การผสมสารสี
สารสีปฐมภูมิ คือ แมสี ไดแก สีเหลือง สีมวงแดง และสีนํ้าเงินเขียว
สารสีทตุ ยิ ภูมิ คือ สีทเี่ กิดจากการนําสารสีปฐมภูมผิ สมกันทีละคู ไดแก สีแดง สีเขียว และสีนาํ้ เงิน
สารสีดํา เกิดจากการนําสารสีทุกสีในปริมาณเทากัน มาผสมกัน
สารสีขาว ไมสามารถผสมใหเกิดขึ้นได

น้ําเงิน
น้ําเงินเขียว มวงแดง
ดํา
เขียว แดง

เหลือง

การผสมแสงสี
แสงสีปฐมภูมิ คือ แมแสง ไดแก สีแดง สีเขียว และสีน้ําเงิน
แสงสีทุติยภูมิ คือ แสงสีที่เกิดจากการผสมแสงสีปฐมภูมิทีละคู ไดแก สีเหลือง สีมวงแดง และ
สีน้ําเงินเขียว
แสงสีขาว เกิดจากการนําแสงสีทุกสีในปริมาณเทากัน มาผสมกัน
แสงสีดํา ไมสามารถผสมใหเกิดได

เหลือง
เขียว แดง
ขาว
น้ําเงิน มวงแดง
เขียว
น้ําเงิน
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 209

ชนิดของวัตถุที่แสงผาน มีดังนี้

แสงและทัศนอุปกรณ
1. วัตถุโปรงใส คือ วัตถุที่ยอมใหแสงผานไปไดเกือบทั้งหมดอยางเปนระเบียบ เราจึงสามารถ

มองผานวัตถุชนิดนี้ไดอยางชัดเจน เชน กระจกใส พลาสติกใส นํ้าใส


2. วัตถุโปรงแสง คือ วัตถุที่ยอมใหแสงผานไปไดบางแตไมเปนระเบียบ เราจึงมองผานวัตถุนี้

ไดไมชัดเจน เชน กระดาษ นํ้าขุน กระจกฝา


3. วัตถุทึบแสง คือ วัตถุที่ไมยอมใหแสงผาน แสงทั้งหมดจะถูกดูดกลืนไวหรือสะทอนกลับ

เราจึงไมสามารถมองผานวัตถุนี้ เชน กระจกเงา กําแพง


การที่เรามองเห็นวัตถุแตละชนิดมีสีแตกตางกันเนื่องจากวัตถุแตละชนิดจะดูดกลืนสีไมเหมือนกัน
และสะทอนสีเฉพาะแสงที่เรามองเห็นออกมา (แสงที่สะทอน คือ แสงที่สีเหมือนวัตถุ)

แสงขาว เขียว แสงขาว แดง แสงขาว น้ําเงิน

เขียว แดง น้ําเงิน

เขียว แดง เขียว


แสงขาว แดง แสงขาว น้ําเงิน แสงขาว น้ําเงิน

เหลือง มวงแดง น้ําเงินเขียว

การถนอมสายตา
วิธีการปองกันสายตามีดังนี้
1. ไมควรดูวัตถุหรือแหลงกําเนิดที่สวางมากตรงๆ เชน หลอดไฟแรงสูง ดวงอาทิตย แสงเลเซอร

เพราะกระจกตาจะรวมแสงไปตกที่เรตินา ทําใหเรตินาไดรับอันตราย
2. การดูผานทัศนอุปกรณบางชนิด เชน การใชกลองโทรทรรศน มองดูการเกิดสุริยุปราคา ทําให

ตาไดรับแสงมากเกินไป ควรดูผานฟลมกรองแสง
3. การใชสายตาในบริเวณที่มีความสวางไมเพียงพอ ทําใหกลามเนื้อตาตองทํางานมากเกินไป

อาจทําใหกลามเนื้อตาเสื่อมเร็วกวาปกติ
210 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
แบบฝกหัด
แสงและทัศนอุปกรณ

จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของแสง

1. แสงตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่เสมอ

2. แสงสามารถเคลื่อนที่ผานตัวกลางที่เปนของแข็งไดเร็วกวาตัวกลางที่เปนของเหลว

3. แสงสามารถเคลื่อนที่ในสุญญากาศได

4. หนวยดาราศาสตร (AU) เปนหนวยวัดความเร็วแสง

5. เมื่อแสงเดินทางไปกระทบกระจกเงาจะเกิดการหักเหเปนมุมเล็กที่สุด
2. จงหาจํานวนภาพที่เกิดขึ้นเมื่อวางวัตถุไวหนากระจกเงาราบสองบานที่วางทํามุม 60 องศา หันหนา

เขาหากัน
1. 2 ภาพ 2. 3 ภาพ

3. 4 ภาพ 4. 5 ภาพ

5. 6 ภาพ

3. รานขายเสื้อผาแหงหนึ่งตองการติดกระจกในหองลองเสื้อ โดยคํานวณจากความสูงเฉลี่ยของคน

180 เซนติเมตร เจาของรานตองใชกระจกเล็กที่สุดขนาดเทาไร จึงจะทําใหลูกคาเห็นภาพในกระจก

เต็มตัวพอดี
1. 60 cm 2. 70 cm

3. 80 cm 4. 90 cm

5. 180 cm

4. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการเกิดภาพจากกระจกเวา
1. ไดภาพจริงหัวกลับ ขนาดโตกวาวัตถุเสมอ
2. ไดภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดโตกวาวัตถุเสมอ

3. ไดภาพจริงหัวกลับทุกขนาด อยูหนากระจก

4. ไมมีโอกาสไดภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเทาวัตถุไดเลย

5. ไดภาพจริงหัวกลับ ขนาดเล็กกวาวัตถุเสมอ

5. วางวัตถุไวหนากระจกเวาที่มีรัศมีความโคง 20 เซนติเมตร ปรากฏวาไดภาพเสมือนหัวตั้งขนาด


2 เทาของวัตถุ จะตองวางวัตถุไวหางจากหนากระจกเปนระยะเทาไร

1. 5 cm 2. 10 cm

3. 15 cm 4. 20 cm

5. 25 cm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 211

6. จงหาความยาวโฟกัสของกระจกโคงที่ทําใหเกิดภาพจริง 0.2 เทาของวัตถุ เมื่อวางวัตถุไวหางจาก

แสงและทัศนอุปกรณ
กระจก 60 เซนติเมตร
1. 5 cm 2. 10 cm

3. 15 cm 4. 20 cm

5. 25 cm

7. วางวัตถุไวหนากระจกโคง 80 เซนติเมตร ทําใหเกิดภาพเสมือนขนาด 0.2 เทาของวัตถุ กระจกที่ใช


เปนกระจกชนิดใด และมีความยาวโฟกัสเทาไร
1. กระจกนูน, f = 20 cm 2. กระจกนูน, f = 16 cm

3. กระจกนูน, f = 10 cm 4. กระจกเวา, f = 20 cm
5. กระจกเวา, f = 16 cm

8. แสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร เคลื่อนที่จากอากาศไปยังน้ําดวยอัตราเร็ว 2.25108 เมตร


ตอวินาที จงหาดรรชนีหักเหของน้ํา
1. 1.25 2. 1.33

3. 1.50 4. 2.25

5. 2.30

9. แสงเดินทางจากอากาศไปยังแกวชนิดหนึ่งดวยมุมตกกระทบ 45 องศา และมีมุมหักเห 30 องศา


จงหาดรรชนีหักเหของแกวชนิดนี้
1. 1.2 2. 1.3

3. 1.4 4. 1.5

5. 1.6

10. ชายคนหนึ่งมองปลาในคลอง เห็นปลาอยูที่ระยะ 0.6 เมตร จงหาวาปลาอยูในน้ําดวยความลึกจริง


เทาไร (กําหนดให nน้ํา = 43 )
1. 0.2 m 2. 0.4 m

3. 0.6 m 4. 0.8 m

5. 1.0 m

11. วางวัตถุอันหนึ่งไวหนาเลนสที่มีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ที่ระยะหาง 20 เซนติเมตร จงหา


ตําแหนงและชนิดของภาพที่เกิดขึ้น
1. ภาพจริงที่ระยะ 10 cm 2. ภาพจริงที่ระยะ 20 cm
3. ภาพจริงที่ระยะ 30 cm 4. ภาพเสมือนที่ระยะ 10 cm
5. ภาพเสมือนที่ระยะ 20 cm
212 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
12. แสงเดินทางจากตัวกลางชนิดหนึ่งสูอากาศ ถามุมวิกฤตของตัวกลางชนิดนี้เทากับ 30 องศา
แสงและทัศนอุปกรณ

จงหาอัตราเร็วของแสงในตัวกลางนี้
1. 1.0108 m/s 2. 1.5108 m/s

3. 2.0108 m/s 4. 2.5108 m/s

5. 3.0108 m/s

13. มุมวิกฤตของแสงในตัวกลางชนิดหนึ่งมีคา 53 องศา ความยาวคลื่นแสงในตัวกลางนี้เปนกี่เทา


ของความยาวคลื่นแสงในอากาศ
3 4
1. 2.
5 5
5 5
3. 4.
4 3
3
5.
4

14. วางวัตถุไวหนาเลนสนูนที่มีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ทําใหเกิดภาพเสมือนขนาด 2 เทาของวัตถุ


ภาพที่เกิดขึ้นอยูหางจากวัตถุเทาไร
1. 5 cm 2. 10 cm

3. 15 cm 4. 20 cm

5. 25 cm

15. วัตถุชนิดหนึ่งเมื่อมองภายใตแสงขาวจะเห็นเปนสีเหลือง ถานําวัตถุนี้ไปไวในหองที่มีเฉพาะ


แสงสีน้ําเงิน จะเห็นวัตถุนี้เปนสีอะไร
1. เหลือง 2. เขียว

3. แดง 4. น้ําเงิน

5. ดํา

16. ชายคนหนึ่งตองการตัดแวน เมื่อวัดระยะพบวาเขามองตัวอักษรไดชัดเจนเมื่อตัวอักษรอยูหางจากตา


ไมนอยกวา 1 เมตร เขาจะตองตัดแวนที่ทําจากเลนสชนิดใด และมีความยาวโฟกัสเทาไร
1. เลนสเวา, f = 25 cm

2. เลนสเวา, f = 33.3 cm

3. เลนสนูน, f = 25 cm

4. เลนสนูน, f = 33.3 cm

5. เลนสนูน, f = 100 cm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 213

17. หองทํางานกวาง 2 เมตร ยาว 3 เมตร สูง 3 เมตร ถาตองการความสวางบนพื้นหอง 60 ลักซ จะตอง

แสงและทัศนอุปกรณ
ใชหลอดไฟขนาด 50 วัตต ที่ีความเขมการสองสวาง 45 แคนเดลา จํานวนกี่หลอด
1. 6 หลอด 2. 8 หลอด

3. 10 หลอด 4. 12 หลอด

5. 14 หลอด

18. หองนั่งเลนกวาง 4 เมตร ยาว 5 เมตร ถาตองการใหหองนี้มีความสวางเฉลี่ย 300 ลักซ หองนั่งเลน


หองนี้มีฟลักซการสองสวางเทาไร
1. 4,000 lm 2. 5,000 lm

3. 6,000 lm 4. 7,000 lm
5. 8,000 lm

19. หองอานหนังสือกวาง 5 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 3 เมตร มีหลอดไฟติดบนเพดาน ถาตองใหหองนี้มี


ความสวาง 200 ลักซ จะตองใชหลอดไฟที่มีอัตราใหพลังงานแสงกี่ลูเมน ถามีการสูญเสียพลังงานแสง
20 เปอรเซ็นต และไมคิดดานที่เปนเพดาน

1. 8,000 lm 2. 12,000 lm

3. 18,000 lm 4. 24,000 lm

5. 28,000 lm

20. เครื่องฉายภาพเครื่องหนึ่งประกอบดวยหลอดที่ใหพลังงานแสง 1,200 ลูเมน ในการใชงานแตละ


ครั้งหลอดใหพลังงานแสงไดเพียง 80 เปอรเซ็นต ถาตองการใหภาพที่ฉายบนจอมีความสวางเฉลี่ย
200 ลักซ ภาพที่ฉายจะมีขนาดโตไดมากที่สุดเทาไร

1. 2.4 m2 2. 3.2 m2

3. 3.6 m2 4. 4.8 m2

5. 5.2 m2

เฉลย

1. 3 2. 4 3. 4 4. 3 5. 1 6. 2 7. 1 8. 2 9. 3 10. 4

11. 2 12. 2 13. 2 14. 1 15. 5 16. 4 17. 4 18. 3 19. 4 20. 4
214 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
เฉลยพรอมคําอธิบาย
แสงและทัศนอุปกรณ

1. ตอบขอ 3
อธิบาย ขอ 1 ผิด เพราะแสงสามารถเดินทางในสุญญากาศได ซึ่งไมถือเปนตัวกลางใดๆ
ขอ 2 ผิด เพราะแสงเดินทางในสุญญากาศ อากาศ ของเหลว และของแข็งไดดีมากที่สุด
ไปยังชาที่สุด ตามลําดับ
ขอ 4 ผิด เพราะหน ว ย AU เป น หน ว ยวั ด ระยะทางจากโลกถึ ง ดวงอาทิ ต ย เ ท า กั บ
1.51011 เมตร

ขอ 5 ผิด เพราะเมื่ อ แสงเดิ น ทางไปกระทบกระจกเงาจะไม มี ก ารหั ก เห แต จ ะเกิ ด


การสะทอนกลับหมด
2. ตอบขอ 4
360
อธิบาย จาก จํานวนภาพ =

1

360
แทนคา; =
60
1

= 61
60
จํานวนภาพ = 5

3. ตอบขอ 4
ความสูงของคน
อธิบาย จาก ขนาดของกระจก =
2
180
แทนคา; =
2

ขนาดของกระจก = 90 cm
4. ตอบขอ 3
อธิบาย ภาพที่เกิดจากกระจกเวา ไดภาพจริงหัวกลับทุกขนาด อยูหนากระจก ถาไดภาพเสมือน
หัวกลับจะมีขนาดโตกวาวัตถุเสมอ ยกเวนวัตถุอยูชิดขอบกระจกจะไดภาพเสมือนหัวตั้งขนาด
เทากับวัตถุพอดี
5. ตอบขอ 1
f
อธิบาย จาก m =
Sf
10
แทนคา; 2 =
S10
(m; เปนลบ เพราะเปนภาพเสมือน)
2(S10) = 10
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 215

2S20 = 10

แสงและทัศนอุปกรณ
2S = 1020

2S = 10

S = 5 cm

6. ตอบขอ 2
f
อธิบาย จาก m =
Sf
f
แทนคา; 0.2 =
60f

0.2(60f) = f

120.2f = f
12 = 1.2f

f = 10 cm

7. ตอบขอ 1
f
อธิบาย จาก m =
Sf
f
แทนคา; 0.2 =
80f
0.2(80f) = f

160.2f = f

16 = 0.8f

f = 20 cm

f = 20 cm เปนกระจกนูน
8. ตอบขอ 2
c
อธิบาย จาก n =
v
แทนคา; = 3108
2.25108
n = 1.33

9. ตอบขอ 3
sin 1 n2
อธิบาย จาก sin 2
=
n1
sin 45 n2
แทนคา; sin 30
=
n1

2
2
n2 =
1
2
n2 = 1.4
216 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
10. ตอบขอ 4
แสงและทัศนอุปกรณ

อธิบาย จากโจทย nวัตถุ = nน้ํา= 43 และ nตา = nอากาศ = 1

nวัตถุ ความลึกจริง
จาก nตา =
ความลึกปรากฏ
4
แทนคา; 3 = ความลึกจริง
1 0.6
ความลึกจริง = 0.8 cm

11. ตอบขอ 2
1
อธิบาย จาก = 1 1
f S S
1 1 1
แทนคา; 10
= 
20 S
1 1 1
= 
S 10 20
1 1
=
S 20

S = 20 cm

ดังนั้น ไดภาพจริงหัวกลับที่ระยะ 20 cm
12. ตอบขอ 2

อธิบาย
30

ตัวกลาง
อากาศ

sin 1 v1
จาก sin 2
=
v2

sin 30 v1
แทนคา; sin 90
=
3108
1
v1 = 3108
2
v1 = 1.5108 m/s

13. ตอบขอ 2
sin 1 1
อธิบาย จาก sin 2
=
2
1 sin 53
แทนคา; 2
=
sin 90
1 4
=
2 5
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 217

14. ตอบขอ 1

แสงและทัศนอุปกรณ
f
อธิบาย จาก m =
Sf
10
แทนคา; 2 =
S10
2(S10) = 10

2S20 = 10

2S = 1020

2S = 10

S = 5 cm
S
จาก m =
S
S = mS

= (2)(5)

S = 10 cm

S = 10 cm อยูหนาเลนส
ดังนั้น ภาพและวัตถุอยูหางกัน 105 = 5 cm
15. ตอบขอ 5
อธิบาย จะเห็นเปนสีดํา เพราะวัตถุที่มีสีเหลืองจะสะทอนแสงสีเหลือง แสงสีแดง และแสงสีเขียว
ถามีแสงสีน้ําเงินตกกระทบวัตถุสีเหลือง แสงสีน้ําเงินจะถูกดูดกลืน ทําใหเปนสีดํา ดังรูป

น้ําเงิน
น้ําเงินเขียว มวงแดง
ดํา
เขียว แดง

เหลือง

16. ตอบขอ 4
อธิบาย ระยะที่มองเห็นชัด คือ 100 เซนติเมตร ซึ่งมากกวา 25 เซนติเมตร แสดงวาชายคนนี้
สายตายาวตองใชเลนสนูน ซึ่งหาความยาวโฟกัสไดดังนี้
1 1 1
จาก f
= 
S S

1 1 1
แทนคา; f
= 
25 (100)
218 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
1 4 1
=
แสงและทัศนอุปกรณ


f 100 100
3
=
100
100
f =
3
f = 33.3 cm

17. ตอบขอ 4
nI
อธิบาย จาก E =
R2
n45
แทนคา; 60 =
32
609
n =
45

n = 12 หลอด
18. ตอบขอ 3
F
อธิบาย จาก E =
A
F
แทนคา; 300 =
54
F = 6 000 lm ,
19. ตอบขอ 4

อธิบาย
3

5
6

หา Aพื้น = 56 = 30 m2
Aฝาดานกวาง = (53)2 ดาน = 30 m2

Aฝาดานยาว = (63)2 ดาน = 36 m2

Aรวม = 303036 = 96 m2

มีการสูญเสีย 20% แสดงวาเหลือ 80%


F
จาก E =
A
F
แทนคา; 200 =
96
80%

F 80
200 = 
96 100
F = 24,000 lm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 219

20. ตอบขอ 4

แสงและทัศนอุปกรณ
F
อธิบาย จาก E =
A
1,200
แทนคา; 200 =
A
80%

1,200 80
A = 
200 100

A = 4.8 m2
220
แบบทดสอบชุดที่ 1
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

แบบทดสอบชุดที่ 1

จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. ทองคําแทงมวล 0.5 กิโลกรัม จะมีปริมาตรเทาไร (กําหนดใหความถวงจําเพาะของทองคําเทากับ 19.3)

1. 19.3103 m3 2. 19.3103 m3

3. 2.59103 m3 4. 2.59103 m3

5. 2.59105 m3

2. ถังน้าํ ฝาเปดสูง 3 เมตร มีนาํ้ อยูภ ายใน 23 ของถัง จงหาความดันทีก่ น ถัง (กําหนดให น้าํ = 103 kg/m3,
P0 = 105 Pa)

1. 2103 Pa 2. 2104 Pa

3. 1.2104 Pa 4. 1.2105 Pa

5. 2108 Pa

3. จากรูป เมื่อปลอยใหแกสชนิดหนึ่งที่บรรจุในถังขยายตัวที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จนมีปริมาตร


สุดทายเปน 2 ลิตร ทําใหความสูงของปรอทในแมนอมิเตอรตางกัน 50 มิลลิเมตร จงหาจํานวนโมล
ของแกสในถัง (กําหนดให ปรอท = 13.6103 kg/m3, R = 8.31 J/molK)

760 mmHg 1. 0.051 mol

2. 0.063 mol
Gas
3. 0.075 mol
50 mm
4. 0.088 mol

5. 0.092 mol

4. ถังน้าํ สูง 1 เมตร บรรจุนาํ้ ไวเต็มถังแลวนําไปไวในลิฟตทก่ี าํ ลังเคลือ่ นทีข่ น้ึ ในแนวดิง่ ดวยความเรง 2 เมตร
ตอวินาที2 จงหาความดันของน้าํ ทีก่ น ถัง
1. 8 kPa 2. 10 kPa

3. 12 kPa 4. 14 kPa

5. 16 kPa
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 221

5. ฝายน้ําลนกั้นระหวางคลองสงน้ํากวาง 10 เมตร มีน้ําลึก 4 เมตร ดังรูป จงหาแรงดันของน้ําที่กระทํา

แบบทดสอบชุดที่ 1
ตอเขื่อน
1. 2.0104 N

2. 3.5105 N

เมต
10

3. 4.6105 N

4m 4. 8.0105 N

5. 9.2105 N

6. เครื่องอัดไฮดรอลิกแบบมีคานโยก ลูกสูบเล็กและลูกสูบใหญมีขนาด 5 ตารางเซนติเมตร และ


60 ตารางเซนติเมตร ตามลําดับ ถาออกแรงกดที่ปลายคาน 40 นิวตัน จะสามารถยกน้ําหนัก

ไดมากที่สุดเทาไร
F = 40 N
10 cm 40 cm
W

1. 480 N 2. 840 N

3. 1,200 N 4. 1,800 N

5. 2,400 N

7. เครือ่ งวัดไฮดรอลิกมีพนื้ ทีห่ นาตัดลูกสูบเล็กตอลูกสูบใหญเปน 1 : 2 เมือ่ นําแทงเหล็กมวล 20 กิโลกรัม


วางบนลูกสูบเล็ก ทําใหสปริงทีย่ ดึ อยูด า นบนลูกสูบใหญหดตัวเปนระยะ 1 เซนติเมตร จงหาคานิจของ
สปริง

20 kg สปริง

1. 10 kN/m 2. 20 kN/m

3. 30 kN/m 4. 40 kN/m

5. 50 kN/m
222 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
8. เครื่องอัดไฮดรอลิกเครื่องหนึ่งเมื่อออกแรงกดที่ปลายคาน 2,000 นิวตัน จงหาวาแทงเหล็กที่มีพื้นที่
แบบทดสอบชุดที่ 1

หนาตัด 2 ตารางเซนติเมตร ที่ถูกยึดเอาไวดานลูกสูบใหญจะหดตัวเทาไร กําหนดใหลูกสูบเล็กและ


ลูกสูบใหญมีพื้นที่หนาตัด 1 : 10 และแทงเหล็กมีคามอดุลัสของยังเทากับ 21011 นิวตันตอตาราง
เมตร
แทงเหล็ก
5m F1 = 2,000 N
1m
20 cm
F2
A a

1. 0.01 cm 2. 0.03 cm

3. 0.05 cm 4. 0.07 cm

5. 0.09 cm

9. ใชลูกตุมมวล M ผูกเชือกแลวนําไปจุมในของเหลวสามชนิด คือ น้ํา น้ํามัน และน้ําเชื่อม และมีแรงดึง


เชือก T1, T2 และ T3 ตามลําดับ ขอใดถูกตอง
T1 T2 T3

M M M

น้ํา น้ํามัน น้ําเชื่อม

1. T2  T3  T1 2. T2  T1  T3

3. T3  T1  T2 4. T3  T2  T1

5. T1  T2  T3

10. ในการออกแบบโปะเทียบเรือรูปสี่เหลีย่ ม จะตองใหมีสดั สวนของสวนทีโ่ ผลพน น้ําตอสวนทีจ่ มน้าํ เปน


1 : 3 จงหาความสูงของโปะ เมื่อตองการใหโปะรับน้ําหนักคนได 50 คน โดยมีมวลเฉลี่ย 60 กิโลกรัม

ตอคน และตองใหมีพื้นที่รองรับ 5 คนตอตารางเมตร และโปะมีมวล 1,500 กิโลกรัม


1. 0.400 m 2. 0.452 m

3. 0.525 m 4. 0.625 m

5. 0.675 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 223

11. ทอนไมหนึ่งลอยอยูในคลองโดยมีสวนที่จมคิดเปน 82 เปอรเซ็นตของทั้งทอน จงหาความหนาแนน

แบบทดสอบชุดที่ 1
ของทอนไมนี้ (กําหนดให น้ําคลอง = 103 kg/m3)
1. 0.6103 kg/m3 2. 0.82103 kg/m3

3. 0.95103 kg/m3 4. 1.2103 kg/m3

5. 1.7103 kg/m3

12. หวงวงกลมบางมากมีเสนรอบวง 20 เซนติเมตร มวล 0.004 กิโลกรัม วางอยูบนผิวของของเหลว


ชนิดหนึ่ง ถาสาเหตุที่หวงไมจมน้ําเปนเพราะมาจากความตึงผิวของของเหลวเพียงอยางเดียว
จงหาความตึงผิวของของเหลวชนิดนี้
1. 0.1 N/m 2. 0.2 N/m
3. 0.3 N/m 4. 0.6 N/m

5. 0.8 N/m

13. ฝายน้ําลนมีลักษณะดังรูป จงหาความเร็วของน้ําดานที่ลนออกมา


ผิวน้ํา
1. 6 m/s

v1 = 2 m/s 2. 8 m/s

h1 = 8 m 3. 10 m/s

4. 12 m/s
h2 = 1 m
v 5. 16 m/s

14. จากรูป เปนภาพตัดขวางของปกเครื่องบิน บริเวณใดมีความดันของอากาศนอยที่สุด

A
B

D
ทิศทางการไหลของอากาศ

1. A 2. B

3. C 4. D

5. เทากันทุกบริเวณ
224 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
15. กราฟในรูปใดตอไปนี้สอดคลองกับกฎของชารล เมื่อ P คือ ความดัน, V คือ ปริมาตร และ T คือ
แบบทดสอบชุดที่ 1

อุณหภูมิ
1. V 2. P
P V

T (K) T (K)

V P
3. 4.
P V

T (K) T (K)

V
5.

T (K)

16. กระติกหุมฉนวนกันความรอนอยางดีบรรจุน้ําแข็ง 5 กิโลกรัม ตอมาเติมน้ําอุน 5 กิโลกรัม อุณหภูมิ


50 องศาเซลเซียส ลงไปในกระติกแลวปดฝาสนิท เมื่อระบบเขาสูสมดุลแลว ขอใดถูกตอง (กําหนดให

cน้ํา = 4.2 kJ/kgC, Lน้าํ แข็ง = 333 kJ/kg)

1. น้ําแข็งละลายหมดพอดี 2. น้ําแข็งเหลือในกระติก 1.85 kg


3. น้ําแข็งเหลือในกระติก 2.35 kg 4. น้ําแข็งเหลือในกระติก 3.15 kg
5. น้ําแข็งไมละลายเลย
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 225

17. กระติกตมน้ํารอนขนาด 220 โวลต ใชกระแสไฟฟา 5 แอมแปร ใชตมน้ํา 2 ลิตร อุณหภูมิ 25 องศา

แบบทดสอบชุดที่ 1
เซลเซียส ใชเวลาเทาไรน้ําจึงจะเริ่มเดือด ถากระติกตมน้ํามีประสิทธิภาพรอยละ 80 (กําหนดให cน้ํา
= 4.2 kJ/kgK)

1. 520 s 2. 615 s

3. 700 s 4. 716 s

5. 815 s

18. น้ําตกแหงหนึ่งสูง 42 เมตร ถาพลังงานศักยของน้ําตกเปลี่ยนรูปเปนพลังงานความรอนทั้งหมด


อุณหภูมิดานลางของน้ําตกจะสูงขึ้นจากเดิมเทาไร (กําหนดให cน้ํา = 4.2 kJ/kgK)
1. 0.1 C 2. 0.2 C
3. 0.3 C 4. 0.4 C

5. 0.5 C

19. จงหาพลังงานความรอนในการตมน้ํา 2 กิโลกรัม อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ใหเดือดกลายเปนไอ


(กําหนดให Lไอ = 2,256 J/kg, cน้ํา = 4.2103 J/kgC)

1. 2104 J 2. 3.5104 J

3. 6.35105 J 4. 4.23106 J

5. 4.65106 J

20. แกสชนิดหนึ่งถูกบรรจุไวในถังปริมาตร 0.1 ลูกบาศกเมตร ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ


27 องศาเซลเซียส ถาอุณหภูมิเพิ่มเปน 37 องศาเซลเซียส และปริมาตรของแกสไมเปลี่ยนแปลง
ความดันของแกสจะเปนเทาไร
1. 0.85 atm 2. 0.92 atm

3. 0.95 atm 4. 1.03 atm

5. 1.25 atm
21. แกสอุดมคติชนิดหนึ่งมีปริมาตร 0.5 ลูกบาศกเมตร ความดัน 3105 พาสคัล อุณหภูมิ
27 องศาเซลเซียส จะมีจํานวนกี่โมเลกุล

1. 1.51020 โมเลกุล 2. 2.21022 โมเลกุล

3. 2.41024 โมเลกุล 4. 3.21024 โมเลกุล

5. 3.61024 โมเลกุล

22. แกสที่มีความดัน 4105 พาสคัล ปริมาตร 50 ลิตร จะมีพลังงานจลนเทาไร


1. 3104 J 2. 4104 J

3. 5105 J 4. 6105 J

5. 7104 J
226 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
23. ลูกบอลลอยอยูบนผิวน้ําหางจากฝง 20 เมตร ทันใดนั้นมีคลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ผานลูกบอลเขาหา
แบบทดสอบชุดที่ 1

ฝง พบวาคลื่นเคลื่อนที่จากลูกบอลถึงฝงใชเวลา 5 วินาที ขณะที่คลื่นเคลื่อนที่ผานลูกบอล ลูกบอล


เคลื่อนที่ขึ้นลง 4 ครั้ง ในเวลา 2 วินาที จงหาวาคลื่นดังกลาวมีความยาวคลื่นเทาไร

20 m

1. 1.5 m 2. 2.0 m

3. 2.5 m 4. 3.5 m

5. 3.5 m

24. คลื่นน้ําขบวนหนึ่งมีการเคลื่อนที่ ดังรูป ถาที่จุด A มีเฟส 0 แลวจุด B มีเฟสเทาไร


2m

B
1.2 m

1. 124 2. 156

3. 216 4. 240

5. 252

25. คลืน่ ในเสนเชือกเสนหนึ่งเริ่มตนมีลกั ษณะการเคลือ่ นที่ดงั รูป A เมือ่ เวลาผานไป 0.5 วินาที มีลักษณะ
ดังรูป B จงหาความถี่คลื่น

รูป A ระยะทาง (cm)


5 10 15 20 25 30 35
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 227

แบบทดสอบชุดที่ 1
รูป B ระยะทาง (cm)
5 10 15 20 25 30 35

1. 0.5 Hz 2. 1.0 Hz

3. 1.5 Hz 4. 2.0 Hz

5. 2.5 Hz

26. คลื่นน้ํามีระยะระหวางสันที่ 1 ถึงสันที่ 5 เทากับ 12 เมตร เคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 6 เมตรตอวินาที


จงหาความถี่ของแหลงกําเนิด
1. 2 Hz 2. 4 Hz

3. 6 Hz 4. 8 Hz

5. 10 Hz

27. คลื่นขบวนหนึ่งเกิดจากแหลงกําเนิดที่มีความถี่ 2 เฮิรตซ ถาจุดสองจุดบนคลื่นใชเวลาเคลื่อนที่


ตางกัน 5 วินาที จุดสองจุดนี้มีเฟสตางกันเทาไร
1. 10π rad 2. 20π rad

3. 25π rad 4. 30π rad

5. 35π rad

28. คลื่นน้ําขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 4 เมตรตอวินาที จากบริเวณน้ําลึกไปยังน้ําตื้น ถาคลื่น


มีมุมตกกระทบ 53 องศา และทําใหเกิดการหักเหดวยมุม 37 องศา จงหาความเร็วของคลื่นในบริเวณ
น้ําตื้น
1. 2 m/s 2. 3 m/s

3. 4 m/s 4. 5 m/s

5. 6 m/s

29. คลื่นน้ําเคลื่อนที่จากแหลงกําเนิดความถี่ 4 เฮิรตซ ดวยอัตราเร็ว 8 เซนติเมตรตอวินาที ผานชองเปด


เดี่ยวกวาง 4 เซนติเมตร จงหาวาแนวบัพแรกเบนจากแนวกลางดวยมุมเทาไร
1. 30 2. 37

3. 45 4. 53

5. 60
228 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
30. คลื่นเสียงเคลื่อนที่จากแหลงกําเนิดความถี่ 1,730 เฮิรตซ ในอากาศอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
แบบทดสอบชุดที่ 1

จงหาความยาวคลื่นเสียงนี้
1. 0.2 m 2. 0.4 m

3. 0.5 m 4. 0.6 m

5. 0.8 m

31. แหลงกําเนิดเสียงกําลัง 4π1010 วัตต กระจายเสียงออกไปทุกทิศทาง ผูฟงตองอยูหางจาก


แหลงกําเนิดเสียงมากที่สุดเทาไร จึงจะยังพอไดยินเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงนี้
1. 8 m 2. 10 m

3. 16 m 4. 100 m
5. 1,000 m

32. ทหารคนหนึง่ ขวางระเบิดออกไปทีร่ ะยะ 10 เมตร โดยระเบิดมีกาํ ลังเสียง 4π102 วัตตตอ ตารางเมตร2
ทหารคนที่ขวางระเบิดออกไปจะไดยินเสียงระเบิดเทาไร

1. 80 dB 2. 90 dB

3. 100 dB 4. 110 dB

5. 120 dB

33. เรือประมงลําหนึง่ สํารวจฝูงปลาดวยคลืน่ โซนารทมี่ คี วามถี่ 25,000 เฮิรตซ ลงไปในน้าํ โดยคลืน่ โซนาร
เคลื่อนที่ในน้ําดวยความเร็ว 1,500 เมตรตอวินาที จงหาวาปลามีขนาดเทาไรจึงจะไมสามารถสํารวจ
เจอดวยเรือลํานี้

1. เล็กกวา 5 cm
2. เล็กกวา 6 cm
3. โตกวา 10 cm
4. โตกวา 15 cm
5. สํารวจไดทุกขนาด
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 229

34. นาย A และนาย B ยืนดูพลุในชวงเทศกาลปใหม หลังจากที่พลุแตกก็มีเสียงดังออกมารอบทิศทาง

แบบทดสอบชุดที่ 1
ทําใหนาย A กับนาย B ไดยินเสียงพลุดังตางกัน 2.5 เดซิเบล ถานาย A ยืนหางจากพลุ 15 เมตร
จงหาวา นาย A และนาย B ยืนหางกันเทาไร

1. 20 m
90 2. 25 m
A B
3. 30 m

4. 35 m

5. 40 m

35. จากรูป บั้งไฟอันหนึ่งกําลังพุงขึ้นไปในอากาศ หลังจากพุงขึ้นไปไดสักครูก็เกิดระเบิดขึ้น ผูชมไดยิน


เสียระเบิดหลังจากเห็นแสงจากการระเบิดไปแลวเปนเวลา 5 วินาที ถาขณะนั้นอากาศมีอุณหภูมิ 25
องศาเซลเซียส จงหาวาบั้งไฟระเบิดที่ความสูงเทาไร

1. 1,215 m

2. 1,310 m

3. 1,520 m
h
4. 1,730 m

5. 1,850 m

36. เรือลําหนึ่งกําลังแลนออกจากหนาผา ขณะที่อยูหางจากหนาผา 50 เมตร เรือก็ปลอยเสียงหวูดออกไป


หลังจากนั้นอีก 0.4 วินาที คนบนเรือไดยินเสียงสะทอนกลับ จงคํานวณหาอัตราเร็วของเรือ (ถาขณะ
นั้นอากาศมีอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส)

50 m

1. 40 m/s 2. 80 m/s

3. 100 m/s 4. 120 m/s

5. 140 m/s
230 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
37. ชายคนหนึ่งยืนหางจากแหลงกําเนิดเสียงที่ระยะ 10 เมตร วัดความเขมเสียงได 1010 วัตตตอ
แบบทดสอบชุดที่ 1

ตารางเมตร จงหากําลังของแหลงกําเนิดเสียง
1. 2108 W 2. 2π1010 W

3. 4108 W 4. 4π108 W

5. 4π1010 W

38. เสียงจากหอกระจายขาวกระจายออกไปทุกทิศทาง ณ ตําแหนงที่หางจากหอกระจายขาว 100 เมตร


วัดระดับความเขมเสียงได 60 เดซิเบล ที่ระยะหางจากหอกระจายขาว 1 กิโลเมตร ผูฟงจะไดยินเสียง
มีระดับความเขมเสียงเทาไร
1. 20 dB 2. 40 dB
3. 50 dB 4. 70 dB

5. 80 dB

39. ตีกลอง 1 ใบ วัดระดับความเขมเสียงได 40 เดซิเบล ถาตีกลองพรอมกัน 10 ใบ จะมีระดับ


ความเขมเสียงเทาไร
1. 20 dB 2. 30 dB

3. 40 dB 4. 50 dB

5. 60 dB

40. เคาะสอมเสียงความถี่ 400 เฮิรตซ พรอมกับสอมเสียงที่มีความถี่เทาไร จึงจะไดยินเปนจังหวะ


4 ครั้งตอวินาที

1. 396 Hz 2. 400 Hz

3. 402 Hz 4. 404 Hz

5. ถูกตองทั้งขอ 1 และ 4
41. หลอดแกวปลายเปดสองดาน นําปลายดานหนึ่งจุมน้ํา อีกดานอยูสูงจากผิวน้ํา 40 เซนติเมตร
จงหาความถี่ที่ทําใหเกิดการสั่นพองครั้งแรก กําหนดใหความเร็วเสียงในอากาศเทากับ 340 เมตร
ตอวินาที
1. 200.5 Hz 2. 212.5 Hz

3. 220.0 Hz 4. 350.5 Hz

5. 400.0 Hz
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 231

42. จากรูป เสียงเคลือ่ นทีจ่ ากลําโพงดวยอัตราเร็ว 346 เมตรตอวินาที เขาชนแผนโลหะทีอ่ ยูห า งจากลําโพง

แบบทดสอบชุดที่ 1
1 เมตร ทําใหเกิดคลื่นนิ่ง จงหาความถี่ของเสียงจากลําโพง

A A A A A

N N N N

แผนโลหะ
1 เมตร

1. 346 Hz 2. 510 Hz

3. 692 Hz 4. 720 Hz

5. 815 Hz

43. เคาะสอมเสียงทําใหมีความถี่ 1,400 เฮิรตซ แลวนําไปวางไวหนาหลอดเรโซแนนซ จงหาระยะ L ที่


ทําใหไดยินเสียงดังมากครั้งแรก ถาขณะนั้นอัตราเร็วเสียงในอากาศเทากับ 350 เมตรตอวินาที
1. 6.25 cm

2. 12.50 cm

3. 16.75 cm

L 4. 25.00 cm

5. 50.00 cm

44. จากรูป S1 และ S2 เปนลําโพง 2 ตัว วางหางกัน 5 เมตร ที่จุด P เปนจุดที่เสียงมีการแทรกสอดแบบ


เสริมกันเปนลําดับที่ 5 ถาขณะนั้นเสียงมีความเร็ว 340 เมตรตอวินาที จงหาความถี่ของเสียงจาก
ลําโพงทั้งสองตัว
S1 P

10 m

5m 
Q
50 m

S2

1. 340 Hz 2. 680 Hz

3. 1,020 Hz 4. 1,360 Hz

5. 1,700 Hz
232 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
45. ใชเสียงที่มีความถี่ 865 เฮิรตซ เขาไปในหลอดเรโซแนนซ ปรากฏวาตําแหนงที่ทําใหเกิดเสียงดัง
แบบทดสอบชุดที่ 1

ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 3 หางกัน 40 เซนติเมตร จงหาวาขณะทดลองอากาศมีอุณหภูมิเทาไร


1. 15 C 2. 20 C

3. 25 C 4. 30 C

5. 35 C

46. รถพยาบาลขับดวยความเร็ว 30 เมตรตอวินาที เปดไซเรนความถี่ 1,000 เฮิรตซ ออกมาตลอดเวลา


ชายคนหนึ่งขับรถยนตดวยความเร็ว 10 เมตรตอวินาที อยูดานหนาและไปทางเดียวกับรถพยาบาล
จะไดยินเสียงไซเรนความถี่เทาไร กําหนดใหความเร็วเสียงในอากาศเทากับ 340 เมตรตอวินาที

รถพยาบาล v = 30 m/s
v = 10 m/s

1. 920 Hz 2. 980.5 Hz

3. 1,064.5 Hz 4. 1,120 Hz

5. 1,250 Hz

47. รถยนตสองคันวิ่งสวนทางกันมาดวยอัตราเร็ว 20 เมตรตอวินาทีเทากัน ถาคนขับรถยนตคันใด


คันหนึ่งบีบแตรออกมาดวยความถี่ 2,000 เฮิรตซ คนขับรถอีกคันจะไดยินเสียงแตรมีความถี่เทาไร
ถาความเร็วเสียงในอากาศเทากับ 340 เมตรตอวินาที
1. 1,920 Hz 2. 2,130 Hz

3. 2,250 Hz 4. 2,300 Hz

5. 2,350 Hz

48. รถยนตคนหนึ่งกําลังวิ่งดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที แลวบีบแตรความถี่ 1,000 เฮิรตซ คนขับรถ


จักรยานยนตที่วิ่งสนทางมาดวยความเร็ว 30 เมตรตอวินาที จะไดยินเสียงแตรรถยนตมีความถี่เทาไร
ถาขณะนั้นอากาศมีอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส

v = 20 m/s v = 30 m/s

1. 965 Hz 2. 1,025 Hz

3. 1,089 Hz 4. 1,156 Hz

5. 1,222 Hz
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 233

49. เครื่องบินไอพนกําลังบินอยูในแนวระดับเหนือพื้นดินดวยความเร็ว 2 มัค คนที่ยืนอยูบนพื้นดิน

แบบทดสอบชุดที่ 1
ไดยินเสียงเครื่องบินเมื่อเครื่องบินผานศีรษะไปแลวนาน 10 วินาที ถาเครื่องบินไอพนมีความเร็ว
510 เมตรตอวินาที อยากทราบวาเครื่องบินไอพนบินอยูสูงจากพื้นดินเทาไร

1. 2,522.2 m 2. 2,675.3 m

3. 2,842.5 m 4. 2,944.5 m

5. 2,958.9 m

50. เครื่องบินรบลําหนึ่งบินดวยความเร็ว 510 เมตรตอวินาที ในอากาศอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส


จงหาเลขมัคของเครื่องบินรบ
1. 1.2 2. 1.3
3. 1.4 4. 1.5

5. 1.6

51. ใชแสงสีเขียวความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร สองผานสลิตเดี่ยว ทําใหแถบมืดแรกเบนจากแนวกลาง


30 องศา จงหาความกวางของสลิต

1. 1 mm 2. 3 mm

3. 5 mm 4. 1 m

5. 2 m

52. ใชแสงสีหนึ่งที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร สองผานเกรตติงที่มีจํานวน 5,000 ชองตอเซนติเมตร


จงหาวาแถบสวางที่ 2 เบนจากแถบสวางกลางเทาไร
1. 30 2. 37

3. 45 4. 53

5. 60

53. แสงสีหนึ่งตกตั้งฉากกับสลิตคูซึ่งมีระยะหางกัน 0.5 มิลลิเมตร ปรากฏวาแถบสวางลําดับที่ 4 และที่ 6


อยูหางกัน 2 มิลลิเมตร บนฉากที่อยูหางออกไป 1 เมตร จงหาความยาวคลื่นแสงที่ใช
1. 400 nm 2. 500 nm

3. 600 nm 4. 700 nm

5. 800 nm

54. จงหาความยาวคลื่นแสงที่ใชสองผานเกรตติงขนาด 4,000 ชองตอเซนติเมตร แลวทําใหแถบสวางที่ 2


เบนทํามุม 30 องศากับแถบสวางกลาง
1. 400 nm 2. 450 nm

3. 525 nm 4. 550 nm

5. 625 nm
234 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
55. ถาตองการใหหอ งทีม่ พี น้ื ที่ 20 ตารางเมตร มีความสวางเฉลีย่ 500 ลักซ จะตองใชหลอดไฟทีม่ ฟี ลักซ
แบบทดสอบชุดที่ 1

สองสวางหลอดละ 800 ลูเมน จํานวนกี่หลอด


1. 10 หลอด 2. 11 หลอด

3. 12 หลอด 4. 13 หลอด

5. 14 หลอด

56. ถาตองการติดหลอดไฟขนาด 60 วัตต ใหไดความสวางเฉลี่ย 650 ลักซ ลงบนพื้นที่ 5 ตารางเมตร


จะตองใชหลอดไฟที่มีฟลักซสองสวางหลอดละ 400 ลูเมน จํานวนกี่หลอด
1. 7 หลอด 2. 8 หลอด

3. 9 หลอด 4. 10 หลอด
5. 12 หลอด

57. วางวัตถุหา งจากเลนสเวาทีม่ คี วามยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร เปนระยะ 60 เซนติเมตร จะเกิดกําลังขยาย


ของภาพที่มีขนาดเทาไร
1. 0.10 2. 0.25

3. 0.50 4. 2.0

5. 3.5

58. วางวัตถุอันหนึ่งไวหนากระจกโคงที่มีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร ทําใหเกิดภาพเสมือนขนาด


0.5 เทาของวัตถุ จะตองวางวัตถุหางจากกระจกเทาไร

1. 20 cm 2. 30 cm

3. 50 cm 4. 60 cm

5. 70 cm

59. เมื่อนําวัตถุมาวางไวหนากระจกโคงชนิดหนึ่งที่ระยะ 10 เซนติเมตร พบวาเกิดภาพซึ่งตองเอาฉากรับ


ไดที่ระยะ 20 เซนติเมตร ขอใดถูกตอง
1. กระจกนูน, มีความยาวโฟกัส 5.5 cm 2. กระจกนูน, มีความยาวโฟกัส 6.7 cm

3. กระจกเวา, มีความยาวโฟกัส 5.5 cm 4. กระจกเวา, มีความยาวโฟกัส 6.7 cm

5. กระจกเวา, มีความยาวโฟกัส 8.2 cm

60. ในการทดลองหาความยาวโฟกัสของกระจกเวาอันหนึ่ง พบวาเมื่อวางวัตถุไวหางจากกระจก 40


เซนติเมตร ไดภาพจริงมีความสูงเปน 3 เทาของวัตถุ ถาวางวัตถุหางจากกระจกเปนระยะ 20
เซนติเมตร ไดภาพมีลักษณะอยางไร
1. ภาพจริงขนาดเทาวัตถุ 2. ภาพจริงโตกวาวัตถุ 3 เทา

3. ภาพเสมือนขนาดเทาวัตถุ 4. ภาพเสมือนโตกวาวัตถุ 3 เทา

5. ภาพเสมือนโตกวาวัตถุ 5 เทา
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 235

แบบทดสอบชุดที่ 1
เฉลย

1. 5 2. 4 3. 4 4. 3 5. 4 6. 5 7. 4 8. 3 9. 3 10. 5

11. 2 12. 1 13. 4 14. 2 15. 1 16. 2 17. 4 18. 1 19. 3 20. 4

21. 5 22. 1 23. 2 24. 3 25. 3 26. 1 27. 2 28. 2 29. 1 30. 1

31. 2 32. 5 33. 2 34. 2 35. 4 36. 5 37. 4 38. 2 39. 4 40. 5

41. 2 42. 3 43. 1 44. 5 45. 3 46. 3 47. 3 48. 4 49. 4 50. 4

51. 4 52. 1 53. 2 54. 5 55. 4 56. 3 57. 2 58. 1 59. 4 60. 4

เฉลยพรอมคําอธิบาย
1. ตอบขอ 5
อธิบาย จากโจทย ทองคํา = 19.3103 kg/m3
m
จาก  =
V
0.5
แทนคา; 19.3103 =
V
0.5
V =
19.3103
V = 2.59105 m3

ตอบขอ 4

อธิบาย จากโจทย h = 23 3 = 2 m
จาก Pสัมบูรณ = PgP0 ( เนื่องจากเปนถังเปดตองหา Pสัมบูรณ)
= ghP0
แทนคา; = (103102)105

Pสัมบูรณ = 1.2105 Pa
236 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
3. ตอบขอ 4
แบบทดสอบชุดที่ 1

อธิบาย
P0

Gas
Px
5010 m
3

ระดับอางอิง

พิจารณา Pซาย = Pขวา

Px = PgP0

= g(50103)g(760103)

= (13.6103)(10)(810103)

Px = 110,160 Pa

จาก PV = nRT

แทนคา; 110,1602103 = n8.31(27273)

n = 0.088 mol

4. ตอบขอ 3

อธิบาย
N

a = 2 m/s2 ถังน้ํา 1m

mg

จาก F = ma

Nmg = ma

N = mamg

N = m(ag)
F
และจาก P =
A
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 237

m(ag)
แทนคา F; ;
m = V = Ah

แบบทดสอบชุดที่ 1
=
A
Ah(ag)
=
A

= h(ag)

= 1031(210)

= 12103

P = 12,000 Pa = 12 kPa

5. ตอบขอ 4
gh2L
อธิบาย จาก F =
2
103104210
แทนคา; =
2
F = 8.0105 N

6. ตอบขอ 5
W A L
อธิบาย จาก F
=
a   
แทนคา; W
40
= 60550
10 

W = 2,400 N

7. ตอบขอ 4
อธิบาย พิจารณา Pซาย = Pขวา

mg F
=
a A
200 F
แทนคา; 1
=
2

F = 400 N

F
จาก k =
x
400
แทนคา; =
0.01

k = 4104 N/m = 40 kN/m


238 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
8. ตอบขอ 3
แบบทดสอบชุดที่ 1

อธิบาย จาก Mทวน = Mตาม

F1L1 = F2L2

แทนคา; 2,0005 = F21

F2 = 10,000 N

F2 F
จาก a =
A
10,000 F
แทนคา; 1
= 10

F = 105 N
FLo
จาก E =
AL
FLo
L =
AE
(105)(20102)
แทนคา; =
(2104)(21011)

L = 5104 m = 0.05 cm

9. ตอบขอ 3
อธิบาย เนื่องจากแรงพยุงขึ้นอยูกับความหนาแนนของของเหลว
จาก F = 0

TFB = mg

T = mgFB

นั่นคือ เมื่อมีแรงพยุงมาก แรงดึงเชือกจะนอย


ดังนั้น แรงพยุงของน้ําเชื่อม  น้ํา  น้ํามัน จะไดวา T3  T1  T2
10. ตอบขอ 5

อธิบาย

m
โปะg
FB
mคนg
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 239

คน 5 คน ใชพื้นที่ 1 ตารางเมตร

แบบทดสอบชุดที่ 1
คน 50 คน ใชพื้นที่ 150
5
= 10 ตารางเมตร

จาก F = 0

FB = mโปะgmคนg

ลVจg = [(5060)10](1,50010)

2
แทนคา;  
103 h10 10 = 30,00015,000
3
2
105h = 45,000
3

h = 0.675 m

11. ตอบขอ 2
อธิบาย จากโจทย Vไม = 100% และ Vจม = 82%

82%

mg FB

จาก F = 0

FB = mg

ลVจg = ไมVไม g
แทนคา; 10382%10 = ไม100%10

ไม = 820 kg/m3 = 0.82103 kg/m3

12. ตอบขอ 1
อธิบาย จากโจทย L = 0.22 = 0.4 m; (หวงตองคูณ 2)
F
จาก  =
L
mg
=
L
0.00410
แทนคา; =
0.4
 = 0.1 N/m
240 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
13. ตอบขอ 4
แบบทดสอบชุดที่ 1

1 1
อธิบาย จาก P1gh1 v21
2
= P2gh2 v22
2
1 1
gh1 v21
2
= gh2 v22 (
2
; ตัด P ได เพราะปลายเปด)
v21 v22
gh1 = gh2
2 2
22 v22
แทนคา; (108)  
2
= (101)  
2
v
2
2
802 = 10
2
v22
72 =
2
v22
= 144
2
v2 = 12 m/s

14. ตอบขอ 2
อธิบาย จากรูป เมื่อเครื่องบินเคลื่อนที่ อากาศที่บริเวณเหนือปกเครื่องบิน (B) มีอัตราเร็วมากกวา
บริเวณใตปกเครื่องบิน (C) ทําใหความดันบริเวณใตปกมีคามากกวาความดันเหนือปกเครื่องบิน จึง
ทําใหเกิดแรงยกขึ้นที่ปกเครื่องบิน ดังนั้นบริเวณ B จึงมีความดันของอากาศนอยที่สุด
15. ตอบขอ 1
อธิบาย กฎของชารล กลาววา สําหรับแกสปริมาณหนึ่งที่ความดันคงตัว ปริมาตรของแกสจะ
แปรผันตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ
16. ตอบขอ 2
อธิบาย จาก Qลด = Qเพิม่

(mcT)น้ําอุน = (mL)น้าํ แข็ง

54.2(500) = m333

m = 3.15 kg
ดังนั้น เหลือน้ําแข็งในกระติกเทากับ 53.15 = 1.85 kg
17. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก Q = mcT .....(1)

และ W = Pt .....(2)
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 241

(2) = (1); W = Q

แบบทดสอบชุดที่ 1
80
100 Pt = mcT

(0.8)IVt = mcT ; P = IV

0.85220t = 24.2103(10025) ; น้ํา 2 ลิตร = 2 kg


t = 716 s

18. ตอบขอ 1

อธิบาย

Ep

h = 42 m

Q

จาก Ep = mgh .....(1)

และ Q = mcT .....(2)

(2) = (1); Q = Ep

mcT = mgh
gh
T =
C
แทนคา; = 1042
4.2103
T = 0.1 C

19. ตอบขอ 3

อธิบาย 25C 100C 100C

Q1 Q2
น้ํา น้ํา ไอน้ํา

จาก Qรวม = Q1Q2

= mcTmL

แทนคา; = (24.2103)(10025)(22,256)

Qรวม = 6.35105 J
242 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
20. ตอบขอ 4
แบบทดสอบชุดที่ 1

P1V1 P2V2
อธิบาย จาก T1
=
T2
1 P2
แทนคา; (27327)
=
(27337)
P2 = 1.03 atm

21. ตอบขอ 5
อธิบาย จาก PV = NkBT
PV
N =
kBT
31050.5
แทนคา; =
(1.381023)(27327)

N = 3.61025 โมเลกุล
22. ตอบขอ 1
อธิบาย จากโจทย V = 50  = 50103 m3
3
จาก Ek =
2
PV
3
แทนคา; = 410550103
2
Ek = 3104 J

23. ตอบขอ 2
S
อธิบาย จาก v =
t
20
แทนคา; =
5

v = 4 m/s

จากโจทย คลื่นสั่น 4 ครั้งในเวลา 2 วินาที แสดงวามีความถี่ 2 ครั้งตอวินาที


จาก v = f

v
 =
f
4
แทนคา; =
2

 = 2.0 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 243

24. ตอบขอ 3

แบบทดสอบชุดที่ 1
อธิบาย จากรูป  = 2m
360x
จาก  =

= 3601.2
2
 = 216

25. ตอบขอ 3
อธิบาย จากรูป  = 20 cm

S
จาก v =
t
15
แทนคา; =
0.5

v = 30 cm/s

จาก v = f

v
f =

30
แทนคา; =
20

f = 1.5 Hz

26. ตอบขอ 1

อธิบาย
12 m

1 2 3 4 5

จากรูป จะไดวา  = 3m

จาก v = f
v
f =

6
แทนคา; =
3
f = 2 Hz
244 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
27. ตอบขอ 2
แบบทดสอบชุดที่ 1

อธิบาย จาก  = 2πft

แทนคา; = 2π25

 = 20π rad

28. ตอบขอ 2
sin ลึก vลึก
อธิบาย จาก =
vตื้น
sin ตื้น

sin 53 4
แทนคา; sin 37
=
vตื้น
4
5 4
=
3 vตื้น
5
vตื้น = 3 m/s

29. ตอบขอ 1
อธิบาย หา , จาก v = f
v
 =
f
8
แทนคา; =
4
 = 2 cm

หา , จาก d sin  = n

แทนคา; 4sin  = 12


1
sin  =
2
 = 30

30. ตอบขอ 1
อธิบาย หา v, จาก v = 3310.6t

แทนคา; = 331(0.625)

v = 346 m/s

หา , จาก v = f
v
 =
f
346
แทนคา; =
1,730
 = 0.2 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 245

31. ตอบขอ 2

แบบทดสอบชุดที่ 1
อธิบาย โจทยถามระยะไกลสุดที่ยังพอไดยินเสียงตองใช I = 1012 W/m2

P
จาก I =
4πR2

4π1010
1012 =
4πR2

R2 = 102

R = 10 m

32. ตอบขอ 5
P
อธิบาย จาก I =
4πR2
2
4π10
แทนคา; =
4π102

I = 1 W/m2

I
จาก  = 10 log I
0
 
1
แทนคา; = 10 log  10 
12

 = 120 dB

33. ตอบขอ 2
อธิบาย คลื่นเสียงจะสามารถสะทอนวัตถุชนิดใดๆ ไดก็ตอเมื่อมีความยาวคลื่นนอยกวาหรือเทากับ
ขนาดของวัตถุนั้นๆ
จาก v = f

v
 =
f
1,500
=
25,000

 = 0.06 m = 6 cm

นั่นคือ ปลาที่มีขนาดเล็กกวา 6 cm จะไมสามารถสะทอนคลื่นเสียงนี้ได


246 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
34. ตอบขอ 2
แบบทดสอบชุดที่ 1

อธิบาย

90
A B

5m
R

=1
2

1
1 R 2

จาก 12 = 20 log RR  2


1

R
20 log  
2
2.5 =
15
R
log  
2
0.125 =
15
R2
100.125 =
15

R2 = 20 m

2 2
หา AB, จาก AB = R1 + R 2

2 2
= (15) + (20)

AB = 25 m

35. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก v = 3310.6t

แทนคา; = 331(0.625)

v = 346 m/s
h
และจาก v =
t
h = vt

แทนคา; = 3465

h = 1,730 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 247

36. ตอบขอ 5

แบบทดสอบชุดที่ 1
อธิบาย
B
A
C

v1 v2

50 m x

จากรูปตําแหนง C คือ ตําแหนงที่ไดยินเสียงสะทอน


จาก v = 3310.6t

แทนคา; = 331(0.615)

v = 340 m/s

หา t1 ซึ่งคือ ชวงเวลาที่เสียงเคลื่อนที่จาก A → B
S
จาก v =
t
50
แทนคา; 340 =
t

t = 0.15 s

หา t2 ซึ่งคือ ชวงเวลาที่เสียงเคลื่อนที่จาก B→C ซึ่งเทากับชวงเวลาที่เรือเคลื่อนที่จาก


A→C

จะได t2 = 0.4t1

= 0.40.15

t2 = 0.25 s

S
หาระยะ BC, จาก v =
t
BC
340 =
0.25

BC = 85 m

หา x, จาก x50 = BC

x50 = 85

x = 35 m

x
หา vเรือ, vเรือ =
t
35
แทนคา; =
0.25

vเรือ = 140 m/s


248 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
37. ตอบขอ 4
P
แบบทดสอบชุดที่ 1

อธิบาย จาก I =
4πR2
P
แทนคา; 1010 =
4π102
P = 4π108 W

38. ตอบขอ 2
R1
อธิบาย จาก 21 = 20 log R
2
 
102
แทนคา; 260 = 20 log  10 
3

260 = 20 log (101)

260 = 20

2 = 2060 = 40 dB

39. ตอบขอ 4
P2
อธิบาย จาก 21 = 10 log P
1
 
แทนคา; 240 = 10 log 101
240 = 10
2 = 50 dB

40. ตอบขอ 5
อธิบาย จาก fB = |f1f2|
แทนคา; 4 = |400f2|
f2 = 4004

f2 = 396 Hz และ 404 Hz


41. ตอบขอ 2

อธิบาย
0.4 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 249

เมื่อจุมน้ํา 1 ดาน ใหคิดเปนหลอดปลายปด

แบบทดสอบชุดที่ 1
(2n1)v
จาก fn =
4L
(2(1)1)(340)
แทนคา; f1 =
40.4
f1 = 212.5 Hz

42. ตอบขอ 3
อธิบาย จากรูป  = 0.5 m

จาก v = f

v
f =

346
แทนคา; =
0.5

f = 692 Hz

43. ตอบขอ 1
อธิบาย เสียงดังมากครั้งแรก จากรูปแสดงวา L =

4

จาก v = f

v
 =
f
350
แทนคา; =
1,400

 = 0.25 m


จะไดวา L =
4
0.25
แทนคา; =
4

L = 0.0625 m = 6.25 cm

44. ตอบขอ 5
อธิบาย จากรูป เมื่อเกิดการแทรกสอดแบบเสริม (n = 5)
จาก d sin  = n
dx
= n
L
250 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
10
แทนคา 5  50  = 5
แบบทดสอบชุดที่ 1

 = 0.2 m

จาก v = f
v
f =

340
แทนคา; =
0.2
f = 1,700 Hz

45. ตอบขอ 3

อธิบาย 1 2 3

0.4 m

จากรูป  = 0.4 m

จาก v = f

แทนคา; = 0.4865

v = 346 m/s

tและจาก v = 3310.6t

แทนคา; 346 = 3310.6t

15 = 0.6t
t = 25 C

46. ตอบขอ 3
อธิบาย วาดรูปทิศของ v
vS vL

v0

จาก fL =  vv  vv f
0

0
L

S
s
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 251

34010
แทนคา; =  34030 1,000

แบบทดสอบชุดที่ 1
fL = 1,064.5 Hz

47. ตอบขอ 3
อธิบาย วาดรูปทิศของ v
vS vL

v0

จาก fL =  vv  vv f
0

0
L

s
s

34020
แทนคา; =  34020 2,000
fL = 2,250 Hz

48. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก v = 3310.6t

แทนคา; = 331(0.615)

v = 340 m/s

v = 340 m/s

vs = 20 m/s vL = 30 m/s

fs = 1,000 Hz

vvL
จาก fL =  vv f s
s

34030
แทนคา; =  34020 1,000
370
=  320 1,000
f L = 1,156 Hz
252 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
49. ตอบขอ 4 A
แบบทดสอบชุดที่ 1

อธิบาย B

v

C
1
จาก sin  =
M
1
แทนคา; sin  =
2

 = 30

h
จาก ABC, tan  =
AB

h = AB tan 

= (vt) tan 30

แทนคา; = (51010) 1
√3
h = 2,944.5 m

50. ตอบขอ 4
อธิบาย หา v0, จาก v0 = 3310.6t

แทนคา; = 331(0.615)

v0 = 340 m/s
vS
จาก M = v0

แทนคา; = 510
340
M = 1.5

51. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก d sin  = n

แทนคา; d sin 30 = 1500109


1
d = 5107
2
d = 106 m = 1 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 253

52. ตอบขอ 1

แบบทดสอบชุดที่ 1
อธิบาย จากโจทย N = 5103 ชอง/cm = 5105 ชอง/m
จาก d sin  = n

แทนคา; 1 sin  = 2500109


5
510
sin  = 0.5

 = sin1(0.5)
 = 30

53. ตอบขอ 2
อธิบาย แถบสวางที่ 4 และ 6 อยูหางกัน 2 mm ดังนั้น ถาแถบที่ 1 จะหางจากแนวกลาง 1 mm

นั่นคือ n = 1 และ x = 1 mm

A6
2 mm

A4

S1 A2

A0

S2

dx
จาก L
= n

dx
 =
nL

0.5103103
แทนคา; =
11

= 0.5106

 = 500 nm

54. ตอบขอ 5
อธิบาย จากโจทย N = 4103 ชอง/cm = 4105 ชอง/m
จาก d sin  = n

1
sin 30 = n
N
254 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
1 1
 = 2
2
แบบทดสอบชุดที่ 1

5
410
 = 6.2510 = 625 nm
7

55. ตอบขอ 4
nF
อธิบาย จาก E =
A
EA
n =
F
50020
แทนคา; =
800
n = 12.5

นั่นคือ ตองใชหลอดไฟจํานวน 13 หลอด


56. ตอบขอ 3
nF
อธิบาย จาก E =
A
n400
แทนคา; 650 =
5
n = 8.125  9 หลอด
57. ตอบขอ 2
อธิบาย เลนสเวาโฟกัสเปนลบ
f
จาก m =
Sf
20
แทนคา; =
60(20)
20
=
80
1
=  = 0.25
4
m = 0.25 ; ( เปนภาพเสมือน)
58. ตอบขอ 1
อธิบาย จากโจทยไดภาพเสมือนขนาดเล็กกวาวัตถุ แสดงวาเปนกระจกนูน โฟกัสและกําลังขยาย
มีคาเปนลบ
f
จาก m =
Sf
20
แทนคา; 0.5 =
S(20)
20
S20 =
0.5
S = 20 cm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 255

59. ตอบขอ 4

แบบทดสอบชุดที่ 1
อธิบาย เนื่องจากภาพที่เกิดตองใชฉากมารับ แสดงวาเปนภาพจริง ดังนั้นกระจกที่ใชตองเปน
กระจกเวา
วัตถุ

ภาพ
10 cm

20 cm

1 1 1
จาก f
= 
S S
1 1
แทนคา; = 
10 20
2 1
= 
20 10
1 3
=
f 20

f = 6.7 cm

60. ตอบขอ 4
อธิบาย ตอนแรก

ภาพจริง
Lq = 40 cm

1
จาก m =
Sf
f
แทนคา; 3 =
40f
3(40f) = f

1203f = f

120 = 4f

f = 30 cm
256 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ตอนหลัง
แบบทดสอบชุดที่ 1

20 cm

f
จาก m =
Sf
30
=
2030
30
=
10

m = 3

S
หรือ S, จาก m =
S
S
3 =
20

S = 60 cm

นั่นคือ ไดภาพเสมือนหัวตั้งขนาด 3 เทา ที่ระยะ 60 cm


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 257

แบบทดสอบชุดที่ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2
จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. จงหาแรงดันอากาศที่กดลงบนพื้นหองที่มีพื้นที่ 10 ตารางเมตร กําหนดใหความดันอากาศเทากับ
105 นิวตันตอตารางเมตร

1. 1105 N 2. 2105 N

3. 1106 N 4. 2106 N

5. 3106 N

2. นําน้ําที่มีความหนาแนน 103 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ใสไวในถังที่เปดฝาลึก 2 เมตร ถานําน้ํามัน


ที่มีความหนาแนน 800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ใสไวในถังที่มีลักษณะแบบเดียวกันกับที่ใสน้ํา
จะตองใสน้ํามันลึกเทาไร จึงจะมีความดันที่กนถังเทากับถังที่ใสน้ํา
1. 1.2 m 2. 1.5 m

3. 2.0 m 4. 2.5 m

5. 3.0 m

3. วัดความดันของน้ําในทอประปาที่อยูชั้นลางของตึกได 250 กิโลพาสคัล น้ําในทอประปาจะสามารถ


ดันตัวขึ้นไปไดสูงที่สุดเทาไร ถาถือวาน้ําประปาในทอไมมีการไหล
1. 12 m 2. 18 m

3. 22 m 4. 25 m

5. 25 m

4. หลอดแกวรูปตัวยูดานขวามีพื้นที่หนาตัดเปน 4 เทาของดานซาย ตอนแรกบรรจุน้ําความหนาแนน


1 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตรไวครึ่งหนึ่ง ตอมาเติมน้ํามันที่มีความหนาแนน 0.8 กรัมตอลูกบาศก-
เซนติเมตร ลงไปในหลอดดานซายสูง 10 เซนติเมตร จงหาวาระดับน้ําในหลอดดานขวาจะสูงกวา
ระดับน้ําในหลอดดานซายเทาไร
1. 2 m 2. 4 m

3. 6 m 4. 8 m

5. 10 m
258 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
5. บารอมิเตอรแบบปรอทมีลักษณะดังรูป ขณะนั้นความดันบรรยากาศมีคาเทาไร
แบบทดสอบชุดที่ 2

1. 720 mmHg

2. 730 mmHg
x = 95 cm
3. 740 mmHg
53
4. 750 mmHg
ปรอท 5. 760 mmHg

6. ในชวงเดือนธันวาคมเกิดฝนตกหนักทําใหระดับน้ําในเขื่อนเพิ่มจาก 6 เมตร เปน 8 เมตร จงหาวา


แรงดันของน้ําในเขื่อนเพิ่มขึ้นจากเดิมกี่เปอรเซ็นต
1. 20.25 2. 35.30

3. 45.00 4. 55.26

5. 77.78

7. เขื่อนกั้นน้ํามีลักษณะดังรูป จงหาแรงดันของน้ําที่กระทําตอเขื่อน (กําหนดให น้ํา = 103 kg/m3)

1. 2105 N
m

2. 3105 N
0
10

3. 4106 N

4. 4107 N
8m
53 5. 5107 N

8. ชั่งวัตถุกอนหนึ่งในอากาศไดหนัก 30 นิวตัน แตเมื่อนําไปชั่งในน้ําไดหนัก 20 นิวตัน จงหาความ


หนาแนนของวัตถุดังกลาว
1. 2103 kg/m3 2. 3103 kg/m3

3. 4103 kg/m3 4. 5103 kg/m3

5. 6103 kg/m3

9. แทงเหล็กมวล 400 กิโลกรัม จมอยูในน้ํา จะตองออกแรงยกเทาไร จึงจะทําใหแทงเหล็กเคลื่อนที่ขึ้น


ดวยความเร็วคงตัว (กําหนดใหมีปริมาตร 0.05 ลูกบาศกเมตร)
1. 2,500 N 2. 3,000 N

3. 3,200 N 4. 3,500 N

5. 3,700 N
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 259

10. แพไมไผสรางเองมีมวล 20 กิโลกรัม กวาง 2 เมตร ยาว 3 เมตร หนา 0.1 เมตร นํามาใชใน

แบบทดสอบชุดที่ 2
การชวยเหลือชาวบานที่ประสบภัยน้ําทวม แพไมไผจะสามารถบรรทุกคนไดมากที่สุดเทาไร (กําหนด
ใหคนมีมวลเฉลี่ย 50 kg, น้ํา = 103 kg/m3)
1. 8 คน 2. 9 คน

3. 10 คน 4. 11 คน

5. 12 คน

11. เครื่องอัดไฮดรอลิกใชสําหรับยกรถยนตเครื่องหนึ่ง ภายในบรรจุน้ํามันที่มีความหนาแนน 0.8 กรัม


ตอลูกบาศกเซนติเมตร มีพื้นที่หนาตัดของลูกสูบใหญและลูกสูบเล็กเทากับ 103 ตารางเซนติเมตร
และ 20 ตารางเซนติเมตร ตามลําดับ ถาตองการยกรถยนตมวล 1,200 กิโลกรัม จะตองออกแรงกดที่
ลูกสูบเล็กเทาไร ถาขณะที่เริ่มกดลูกสูบเล็ก ระดับน้ํามันในลูกสูบเล็กอยูสูงกวาระดับน้ํามันในลูกสูบ
ใหญ 50 เซนติเมตร
1. 120 N 2. 135 N

3. 182 N 4. 232 N

5. 254 N

12. ในการทดลองหาความตึงผิวของของเหลวโดยใชเครื่องมือดังรูป ถาใชแผนพลาสติกทึบที่มีความยาว


รอบรูป 40 เซนติเมตร พบวาจะตองแขวนมวลถวงน้ําหนักทั้งหมด 50 กรัม จึงจะทําใหแผนพลาสติก
หลุดจากผิวของเหลวพอดี จงหาคาความตึงผิวของของเหลวนี้
10 cm 50 cm

1. 0.12 N/m 2. 0.18 N/m

3. 0.25 N/m 4. 0.32 N/m

5. 0.54 N/m
260 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
13. ถังเก็บน้ําสูง 1 เมตร ภายในบรรจุน้ําไว ดังรูป จงหาความเร็วของน้ําที่พุงออกจากทอดานลาง
แบบทดสอบชุดที่ 2

1. 3 m/s
1m
2. 4 m/s

3. 5 m/s

4. 6 m/s
1m v 5. 7 m/s
0.2 m

14. ทอน้ําคอคอดวางตัวในแนวระดับเหนือพื้นดิน 20 เมตร ดังรูป เมื่อน้ําพุงออกจากปลายทอ B ปรากฏ


วาพุงไปไดไกลในแนวระดับ 12 เมตร ถาทอ B มีพื้นที่หนาตัดเล็กกวาทอ A สองเทา จงคํานวณ
หาความเร็วของน้ําในทอ A

B A

20 m

12 m พื้นดิน

1. 2 m/s 2. 3 m/s

3. 4 m/s 4. 5 m/s

5. 6 m/s

15. หวงกลมมวลนอยมากมีรัศมี 7 เซนติเมตร ลอยอยูบนผิวของเหลวชนิดหนึ่งที่มีคาความตึงผิว 0.02

นิวตันตอเมตร จงหาแรงดึงนอยที่สุดที่ใชดึงหวงกลมใหหลุดออกจากผิวของเหลวพอดี
1. 1.25102 N 2. 1.38102 N

3. 1.42102 N 4. 1.53102 N

5. 1.76102 N

16. อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส มีคากี่เคลวิน


1. 227 2. 273

3. 300 4. 327

5. 373
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 261

17. เมื่อนําน้ํามวล 2 กิโลกรัม มาใหความรอน ทําใหไดผลดังกราฟ จงหาพลังงานความรอนที่ใช

แบบทดสอบชุดที่ 2
(กําหนดให cน้ํา = 4.2103 J/kgC)

อุณหภูมิ (C)
1. 220 kJ

2. 350 kJ
80
3. 462 kJ

4. 525 kJ

25 5. 623 kJ

เวลา (s)
2 4 6 8 10

18. แทงทองแดงมวล 5 กิโลกรัม ถูกลากใหเคลือ่ นทีไ่ ปบนพืน้ ทีม่ สี มั ประสิทธิค์ วามเสียดทาน 0.2 ดวยแรง
50 นิวตัน เปนเวลานาน 10 วินาที ถา 50 เปอรเซ็นตของงานที่เกิดขึ้นเนื่องจากแรงเสียดทานกลาย

เปนความรอนใหแกแทงทองแดง จงหาวาแทงทองแดงนี้จะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจากเดิมเทาไร (กําหนด


ให cทองแดง = 400 J/kgK)
1. 0.5 C 2. 1.0 C

3. 1.5 C 4. 2.0 C

5. 2.5 C

19. น้ําตกแหงหนึ่งสูง 80 เมตร ถาพลังงานศักยของน้ําเปลี่ยนรูปเปนพลังงานความรอนทั้งหมด


จงหาวาอุณหภูมิของน้ําจะเพิ่มขึ้นจากเดิมกี่องศาเซลเซียส (กําหนดให cน้ํา = 4.2103 J/kgC)
1. 0.2 C 2. 0.4 C

3. 0.5 C 4. 0.6 C

5. 1.5 C

20. กระปองเหล็กมวล 1 กิโลกรัม บรรจุน้ําไว 2 กิโลกรัม อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส นําแทงเหล็กมวล


0.5 กิโลกรัม อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ใสลงในกระปอง จงหาอุณหภูมิสุดทายของการผสม

(กําหนดให cน้ํา = 4.2103 J/kgC, cเหล็ก = 0.5103 J/kgC)

1. 27 C 2. 29 C

3. 35 C 4. 37 C

5. 42 C
262 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
21. นําน้ํามวล 0.5 กิโลกรัม อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ในตูเย็นที่มีกําลัง 200 วัตต นานเทาไรน้ําจึงจะ
แบบทดสอบชุดที่ 2

กลายเปนน้ําแข็ง (กําหนดให cน้ํา = 4.2103 J/kgC, Lน้ําแข็ง = 336103 J/kg)


1. 12.5 นาที 2. 14.2 นาที

3. 18.4 นาที 4. 19.5 นาที

5. 20.5 นาที

22. ใหความรอนในอัตราคงที่แกวัตถุชนิดหนึ่งที่มีมวล 2 กิโลกรัม ไดกราฟแสดงความสัมพันธระหวาง


อุณหภูมิและเวลา ดังรูป จงหาคาความจุความรอนจําเพาะของวัตถุชนิดนี้ ถาความรอนแฝงจําเพาะ
ของการหลอมเหลวของวัตถุชนิดนี้เทากับ 1.5105 จูลตอกิโลกรัม

T(C)

50

t(min)
1 6

1. 200 J/kgK 2. 400 J/kgK

3. 600 J/kgK 4. 800 J/kgK

5. 1,000 J/kgK

23. นําน้าํ แข็งมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ใสลงไปในน้าํ 400 กรัม อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิสุดทายจะเปนเทาไร (กําหนดให Lน้ําแข็ง = 80 cal/g cน้ํา = 1 cal/gC)
1. 20 C 2. 24 C

3. 36 C 4. 40 C

5. 48 C

24. วัดความดันเกจในยางรถยนตได 2105 พาสคัล ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส เมื่อรถยนตขับ


จนถึงชวงเวลาบาย ทําใหอณ
ุ หภูมใิ นยางเพิม่ ขึน้ เปน 87 องศาเซลเซียส ถาถือวาปริมาตรของยางรถยนต
ไมเปลี่ยนแปลง ความดันเกจของรถยนตจะเปนเทาไร (กําหนดใหความดันบรรยากาศ = 105 Pa)
1. 1.8105 Pa 2. 2.2105 Pa

3. 2.6105 Pa 4. 3.5105 Pa

5. 4.2105 Pa
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 263

25. ถาอากาศภายในหองเพิ่มขึ้นจาก 27 องศาเซลเซียส ไปเปน 37 องศาเซลเซียส และความดันในหอง

แบบทดสอบชุดที่ 2
ไมเปลี่ยนแปลง จะมีอากาศไหลออกจากหองกี่โมล หากเดิมมีอากาศอยูในหอง 2,000 โมล
1. 64.5 mol 2. 460 mol

3. 1,620 mol 4. 1,940 mol

5. 1,980 mol

26. บรรจุแกสออกซิเจนมวล 128 กรัม ไวในถังปดสนิททําใหเกิดความดัน 2105 พาสคัล ถาแกสออกซิเจน


มีอุณหภูมิ 57 องศาเซลเซียส จงหาปริมาตรของแกสออกซิเจนในถัง (กําหนดให 0 = 16)
1. 0.02 m3 2. 0.03 m3

3. 0.04 m3 4. 0.05 m3
5. 0.06 m3

27. จากการทดลองวัดอัตราเร็วของโมเลกุลแตละตัวไดทั้งหมด 10 ตัว การกระจายอัตราเร็วโมเลกุลดัง


ตาราง จงหาคารากที่สองของกําลังสองเฉลี่ยของอัตราเร็ว

อัตราเร็วโมเลกุล (m/s) 2 3 4 5 7 9

จํานวนโมเลกุล 2 1 3 1 2 1

1. 2.3 m/s 2. 3.4 m/s

3. 4.3 m/s 4. 4.8 m/s

5. 5.2 m/s

28. แกสในอุดมคติจะมีพลังงานจลนเฉลี่ยเทาไร เมื่ออุณหภูมิเทากับ 37 องศาเซลเซียส (กําหนดให


kB = 1.381023 J/K)

1. 2.51021 J 2. 2.81021 J

3. 4.81021 J 4. 5.21021 J

5. 6.41021 J

29. คลื่นน้ําขบวนหนึ่งเคลื่อนที่จากแหลงกําเนิดที่มีความถี่ 10 เฮิรตซ เขากระทบฝง โดยแหลงกําเนิด


อยูหางจากฝง 20 เมตร พบวาคลื่นใชเวลาในการเคลื่อนที่ 5 วินาที จงหาความยาวคลื่น
1. 0.2 m 2. 0.4 m

3. 1.6 m 4. 2.5 m

5. 3.2 m
264 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
30. เชือกเสนหนึ่งยาว 120 เซนติเมตร ปลายทั้งสองดานถูกตรึงแนน ดีดเสนเชือกใหสันดวยความเร็ว 160
แบบทดสอบชุดที่ 2

เมตรตอวินาที จงหาความถี่ของคลื่นในเสนเชือก

120 cm

1. 120 Hz 2. 200 Hz

3. 310 Hz 4. 430 Hz
5. 540 Hz

31. แหลงกําเนิดคลื่นมีความถี่ 10 เฮิรตซ ทําใหเกิดคลื่นเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 2 เมตรตอวินาที จุดสอง


จุดบนคลื่นอยูหางกัน 0.5 เมตร มีเฟสตางกันเทาไร
1. 360 2. 450

3. 720 4. 900

5. 1,020

32. คลื่นน้ําตอเนื่องขบวนหนึ่ง เกิดจากแหลงกําเนิดที่มีความถี่ 4 เฮิรตซ เคลื่อนที่ดวยความเร็ว


10 เมตรตอวินาที จุดสองจุดบนคลื่นที่อยูหางกัน 5 เมตร จะมีเฟสตางกันเทาไร

1. π rad 2. 2π rad

3. 3π rad 4. 4π rad

5. 5π rad

33. เชือกยาว 2 เมตร ดานหนึ่งผูกปลายติดกับผนังแนน แลวสะบัดปลายอีกดานหนึ่งดวยความถี่


10 เฮิรตซ ทําใหคลื่นเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที จงหาตําแหนงบัพและปฏิบัพ

ที่เกิดขึ้นบนเชือก
1. N = 3, A = 2 2. N = 2, A = 2

3. N = 2, A = 3 4. N = 3, A = 3

5. N = 3, A = 4

34. คลื่นสองคลื่นเคลื่อนที่มารวมกันแลว เกิดการแทรกสอดแบบหักลาง ขอใดถูกตอง


1. ผลตางเฟสของคลื่นทั้งสองเทากับ 360 องศา

2. ผลตางเฟสของคลื่นทั้งสองเทากับ 180 องศา

3. ผลตางเฟสของคลื่นทั้งสองเทากับ 0 องศา
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 265

4. ผลตางของระยะทางเดินของคลื่นทั้งสองเปนจํานวนเต็มของความยาวคลื่น

แบบทดสอบชุดที่ 2
5. ไมสามารถสรุปได

35. ในการทดลองเรื่องการแทรกสอดของคลื่นน้ําโดยใชมอเตอรความถี่ 50 เฮิรตซ พบวาจุด P เปนจุด


เปดจุดที่อยูบนเสนปฏิบัพที่ 2 ถาระยะ S1P = 8 เซนติเมตร S2P = 2 เซนติเมตร จงหาวาคลื่นน้ํา
มีความเร็วเทาไร
ปฏิบัพ

S1 S2

1. 0.8 m/s 2. 1.0 m/s

3. 1.2 m/s 4. 1.5 m/s

5. 1.7 m/s

36. คลื่นน้ําเคลื่อนที่จากบริเวณ A ไปยังบริเวณ B ทําใหเกิดการหักเห ดังรูป ถาบริเวณ A หนาคลื่นอยู


หางกัน 10 เซนติเมตร และในบริเวณ B คลื่นมีความเร็ว 4 เมตรตอวินาที จงหาความถี่ของคลื่น

45

10 cm
A
30

1. 80 Hz 2. 100 Hz

3. 200 Hz 4. 250 Hz

5. 300 Hz
266 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
37. คลื่นน้ําตอเนื่องเคลื่อนที่ผานชองเปดเดี่ยวกวาง 2 เซนติเมตร ทําใหเกิดคลื่นใหมที่มีความยาวคลื่น
แบบทดสอบชุดที่ 2

1 เซนติเมตร จงหาแนวบัพและแนวปฏิบัพที่เกิดขึ้นทั้งหมด

1. A = 2, N = 2 2. A = 3, N = 2

3. A = 5, N = 4 4. A = 4, N = 5

5. A = 5, N = 3

38. ในการสํารวจความลึกของทะเลโดยใชคลื่นโซนาร พบวาคลื่นโซนารใชเวลาเดินทางทั้งหมด 4 วินาที


จงหาความลึกของทะเล ถาอัตราเร็วของเสียงในน้ําทะเลเทากับ 1,500 เมตรตอวินาที
1. 400 m 2. 800 m

3. 1,000 m 4. 3,000 m

5. 5,000 m

39. ผูฟงสามารถอยูหางจากแหลงกําเนิดเสียงที่มีกําลัง π1010 วัตต ไดมากที่สุดเทาไร จึงจะยังพอ


ไดยินเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงดังกลาว
1. 5 m 2. 10 m

3. 15 m 4. 20 m

5. 25 m

40. ในโรงงานผลิตผลไมกระปองแหงหนึ่งใชวิธีการคัดแยกขนาดของผลไมในขณะกําลังไหลผานรางน้ํา
โดยใชคลื่นโซนาร ซึ่งตองการแยกผลไมที่มีขนาดใหญกวาและเล็กกวา 5 เซนติเมตร ออกจากกัน จง
คํานวณหาความถีข่ องคลืน่ โซนารทใี่ ช กําหนดใหความเร็วของเสียงในน้าํ เทากับ 1,500 เมตรตอวินาที
1. 3104 Hz 2. 4104 Hz

3. 5104 Hz 4. 3105 Hz

5. 4105 Hz

41. ลําโพง S1 และ S2 วางหางกัน 6 เมตร ผูสังเกตยืนอยูที่จุด P ไดยินเสียงดังชัดเจน เมื่อเขาเดินจาก


จุด P ไปยังจุด Q เขาจะไดยนิ เสียงจางหายไปกีค่ รัง้ ถาเสียงจากลําโพงทัง้ สองมีความยาวคลื่น 1 เมตร
8m

S1 P

6m

S2 Q

8m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 267

1. 2 ครั้ง 2. 4 ครั้ง

แบบทดสอบชุดที่ 2
3. 6 ครั้ง 4. 8 ครั้ง

5. 10 ครั้ง

42. เมื่อวัดระดับความเขมเสียงจากเครื่องเจาะถนนที่ระยะ 10 เมตร วัดได 100 เดซิเบล ถาวัดระดับความ


เขมเสียงที่ระยะ 100 เมตร จะวัดไดกี่เดซิเบล
1. 60 2. 80

3. 100 4. 120

5. 1,000

43. ในโรงงานโลหะแหงหนึ่งเสียงดังมากจนคนที่อยูหางจากเครื่องจักรเปนระยะ 1 เมตร ทนฟงเสียง


ไมได จงหาวาเครื่องจักรในโรงงานแหงนี้จะไดยินเสียงไปไกลถึงระยะเทาไร ถาสมมติวาในโรงงาน
ไมมีผนังกั้นเสียงและไมมีการดูดกลืนเสียง
1. 102 m 2. 103 m

3. 104 m 4. 105 m

5. 106 m

44. นักดนตรีคนหนึ่งเลนกีตารความถี่ 256 เฮิรซ สวนนักดนตรีอีกคนหนึ่งเลนเปยโนความถี่ 262 เฮิรตซ


ถานักดนตรีทั้งสองคนเลนดนตรีพรอมกัน จะเกิดเปนจังหวะกี่ครั้งตอวินาที
1. 3 2. 4

3. 5 4. 6

5. 7

45. เคาะสอมเสียงแลวนําไปจอหนาหลอดเรโซแนนซอันหนึ่ง เลื่อนลูกสูบออกชาๆ จะไดยินเสียงดัง


มากที่สุดครั้งที่ 2 ที่ระยะหางจากปากหลอด 1.5 เมตร ถาความเร็วเสียงในอากาศ 340 เมตรตอวินาที
จงหาความถี่ของสอมเสียง
1. 150 Hz 2. 170 Hz

3. 220 Hz 4. 340 Hz

5. 680 Hz

46. ชายคนหนึ่งยืนหางจากแหลงกําเนิดเสียงที่มีกําลัง 4π108 วัตต เปนระยะ 10 เมตร เขาจะได


ยินเสียงมีระดับความเขมเสียงเทาไร
1. 20 dB 2. 40 dB

3. 60 dB 4. 80 dB

5. 100 dB
268 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
47. ในโรงงานแหงหนึ่งวัดระดับความเขมเสียงได 100 เดซิเบล พนักงานจึงใสที่ครอบหูทําใหไดยินเสียง
แบบทดสอบชุดที่ 2

มีความเขมเพียง 0.01 เปอรเซ็นตจากเดิม จงหาวาพนักงานจะไดยินเสียงดังเทาไร


1. 10 dB 2. 20 dB

3. 40 dB 4. 60 dB

5. 80 dB

48. บานหลังหนึ่งอยูหางจากสนามบิน 100 เมตร คนในบานไดยินเสียงเครื่องบิน 80 เดซิเบล ถาตองให


คนในบานไดยินเสียงเพียง 60 เดซิเบล จะตองยายบานใหอยูหางจากสนามบินเทาไร
1. 500 m 2. 750 m

3. 1,000 m 4. 10,000 m

5. 30,000 m

49. ชายคนหนึ่งยืนรอรถประจําทางอยูริมถนน เขาไดยินเสียงแตรรถประจําทางดัง 4 ครั้ง โดยแตละครั้ง


เขาไดยินเสียงแหลมขึ้นเรื่อยๆ รถประจําทางคันดังกลาวมีการเคลื่อนที่เปนอยางไร
1. กําลังเคลื่อนที่เขาหาคนฟงดวยความเร็วคงตัว

2. กําลังเคลื่อนที่เขาหาคนฟงดวยความเรงคงตัว

3. กําลังเคลื่อนที่ออกจากคนฟงดวยความเร็วคงตัว

4. กําลังเคลื่อนที่ออกจากคนฟงดวยความเรงคงตัว

5. กําลังเคลื่อนที่เปนวงกลมรอบๆ ผูฟง

50. รถตํารวจขับดวยอัตราเร็ว 30 เมตรตอวินาที ไลตามรถคนรายที่ขับดวยอัตราเร็ว 20 เมตรตอวินาที


ถารถตํารวจเปดไซเรนดวยความถี่ 1,000 เฮิรตซ คนรายจะไดยินเสียงความถี่เทาไร ถาขณะนั้น
อากาศมีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
1. 925.4 Hz 2. 1,031.6 Hz

3. 1,150.2 Hz 4. 1,220.5 Hz

5. 1,225.2 Hz

51. จรวดบินดวยความเร็ว 510 เมตรตอวินาที ในแนวระดับเหนือพื้นดินสูง 6 กิโลเมตร ถาอากาศ


มีอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส จงหาวาขณะที่ผูฟงอยูบนพื้นดินไดยินเสียงนั้น จรวดอยูหางจาก
ผูฟงเทาไร
1. 4 km 2. 5 km

3. 6 km 4. 8 km

5. 9 km
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 269

52. เครื่องบินไอพนบินดวยอัตราเร็ว 510 เมตรตอวินาที ในแนวระดับเหนือพื้นดิน 4 กิโลเมตร ผูสังเกต

แบบทดสอบชุดที่ 2
ยืนอยูบ นพืน้ ดินจะไดยนิ เสียงเครือ่ งบินเมือ่ เครือ่ งบินอยูห า งจากผูส งั เกตเปนระยะทางเทาไร กําหนด
ใหอัตราเร็วเสียงในอากาศเทากับ 340 เมตรตอวินาที

4 km

พื้นดิน

1. 3 km 2. 4 km

3. 5 km 4. 6 km

5. 7 km

53. ณ จุดหนึ่งสามารถวัดระดับความเขมเสียงได 60 เดซิเบล จงหาวาจุดนั้นมีความเขมเสียงเทาไร


1. 108 W/m2 2. 107 W/m2

3. 106 W/m2 4. 105 W/m2

5. 104 W/m2

54. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ผานสลิตคูในแนวตั้งฉากเกิดการแทรกสอดบนฉากที่อยู


หางจากสลิต 1 เมตร วัดระยะระหวางกึ่งกลางของแถบสวาง 2 แถบที่อยูถัดกันได 2 มิลลิเมตร สลิต
คูนี้มีระยะหางกันเทาไร
1. 0.1 mm 2. 0.2 mm

3. 0.3 mm 4. 0.4 mm

5. 0.5 mm

55. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากสลิตเดี่ยวที่มีความกวาง 0.02 เซนติเมตร ทําให


เกิดการเลี้ยวเบนบนฉากที่อยูหางออกไป 1 เมตร จงหาความกวางของสวางที่สวางที่สุด
1. 2 mm 2. 3 mm

3. 4 mm 4. 5 mm

5. 6 mm
270 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
56. หลอดไฟขนาด 220 โวลต 60 วัตต มีความเขมแหงการสองสวาง 25 แคนเดลา ถาตองการความสวาง
แบบทดสอบชุดที่ 2

บนโตะอานหนังสือ 400 ลักซ จะตองทําโคมไฟใหมีขาหลอดสูงเทาไร


1. 15 cm 2. 20 cm

3. 25 cm 4. 30 cm

5. 35 cm

57. วางวัตถุไวหนากระจกเวา ทําใหเกิดภาพจริงขนาด 2 เทาของวัตถุ เมื่อเลื่อนวัตถุใหเขากระจกไปอีก 5


เซนติเมตร ทําใหเกิดภาพเสมือนที่มีกําลังขยาย 2 เทาของวัตถุ จงหาความยาวโฟกัสของกระจก
1. 5 cm 2. 10 cm

3. 15 cm 4. 20 cm

5. 25 cm

58. วางวัตถุไวหนาเลนสนูนซึ่งมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ที่ระยะ 20 เซนติเมตร ภาพที่เกิดขึ้นมี


ลักษณะเปนอยางไร
1. ไดภาพจริงหัวกลับ หลังเลนส 10 cm 2. ไดภาพจริงหัวกลับ หลังเลนส 20 cm

3. ไดภาพเสมือนหัวตั้ง หลังเลนส 10 cm 4. ไดภาพเสมือนหัวตั้ง หลังเลนส 20 cm

5. ไดภาพเสมือนหัวตั้ง หนาเลนส 20 cm

59. วัตถุสูง 8 เซนติเมตร นําไปวางไวหนาเลนสนูนที่ระยะ 24 เซนติเมตร ไดภาพจริงหางจากเลนส 48


เซนติเมตร จงหาความสูงของภาพและความยาวโฟกัสของเลนสนูนเปนเทาไร
1. 4 cm และ 8 cm 2. 8 cm และ 4 cm

3. 16 cm และ 8 cm 4. 8 cm และ 16 cm

5. 16 cm และ 16 cm

60. นําวัตถุมาวางหนากระจกเวาที่มีรัศมีความโคง 20 เซนติเมตร ทําใหเกิดภาพจริงขนาดใหญเปน


2.0 เทาของวัตถุ อยากทราบวาวัตถุวางหางจากกระจกเปนระยะเทาไร

1. 10 cm 2. 15 cm

3. 20 cm 4. 25 cm

5. 30 cm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 271

แบบทดสอบชุดที่ 2
เฉลย

1. 3 2. 4 3. 4 4. 1 5. 5 6. 5 7. 4 8. 2 9. 4 10. 4

11. 4 12. 3 13. 4 14. 2 15. 5 16. 3 17. 3 18. 2 19. 1 20. 1

21. 3 22. 3 23. 2 24. 3 25. 1 26. 4 27. 5 28. 5 29. 2 30. 2

31. 4 32. 4 33. 1 34. 2 35. 4 36. 1 37. 3 38. 4 39. 1 40. 1

41. 2 42. 2 43. 5 44. 4 45. 2 46. 1 47. 4 48. 3 49. 1 50. 2

51. 5 52. 4 53. 3 54. 3 55. 4 56. 3 57. 1 58. 2 59. 5 60. 2

เฉลยพรอมคําอธิบาย
1. ตอบขอ 3
F
อธิบาย จาก P =
A
F = PA

แทนคา; = 10510

F = 1106 N

2. ตอบขอ 4
อธิบาย เนื่องจากเปนถังฝาเปด ตองคิด Pสัมบูรณ
จาก Pสัมบูรณน้ํา = Pสัมบูรณน้ํามัน

Pg P0 = Pg
น้ํา น้ํามันP0
(gh)น้ํา = (gh)น้ํามัน

แทนคา; 1,000102 = 80010h

h = 2.5 m
272 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
3. ตอบขอ 4
แบบทดสอบชุดที่ 2

อธิบาย เครื่องมือวัดความดันโดยปกติจะวัดคาความดันเกจ ดังนั้น


จาก Pg = gh

F = PA

250103 = 10310h

h = 25 m

4. ตอบขอ 1

อธิบาย

10 cm
h

น้ำ

จาก Pซาย = Pขวา

F = PA

(gh)ซาย = (gh)ขวา

แทนคา; 0.81010 = 110h

h = 8 cm

นั่นคือ ขาโต 4 เทา ดังนั้น hจริง = 84 = 2 cm


5. ตอบขอ 5
อธิบาย จาก Pa = g(xsin 53)

4
แทนคา; = g95
5

= g76

Pa = 76 cmHg = 760 mmHg


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 273

6. ตอบขอ 5

แบบทดสอบชุดที่ 2
gh2L
อธิบาย จาก F =
2

อัตราสวนของแรงดันน้ํา ตอนแรกและหลังฝนตก คือ


2
F2 h2
F1
=  
h1

F2 8 2
แทนคา; F1
= 
6

64
=
36

64
F2 = F
36 1

แรงดันเพิ่มขึ้น; F = F2F1

64
= F F
36 1 1

28
F = F
36 1

F
คิดเปนเปอรเซ็นตไดจาก =
F1
100%

28
= 100%
36

= 77.78%

7. ตอบขอ 4
gh2L
อธิบาย จาก F =
2 sin 53

1031082100
แทนคา; =
4
2
5

F = 4107 N
274 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
8. ตอบขอ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2

อธิบาย

FB
mg

ชั่งในน้ํา, หา Vจม กอน


จาก F = 0

TFB = mg

แทนคา; 20ลVจg = 30

103Vจ10 = 10

Vจ = 103 m3

จะไดวา Vจม = Vวัตถุ เนื่องจากจมทั้งกอน


ชั่งในอากาศ, mg = 30

m = 3 kg
m
หา , จาก ว =
Vว
3
แทนคา; =
103
ว = 3103 kg/m3
9. ตอบขอ 4

อธิบาย
Fยก

FB
mg

จาก F = 0

FยกFB = mg
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 275

FยกลVจg = mg

แบบทดสอบชุดที่ 2
Fยก = mgลVจg

แทนคา; = (40010)(1030.0510)

Fยก = 3,500 N

10. ตอบขอ 4

อธิบาย

mg
FB
mg คน
แพ

จากโจทย Vแพ = 230.1 = 0.6 m3

จาก F = 0

mคนgmแพg = FB

mคนgmแพg = ลVจg

แทนคา; mคนg(2010) = 1030.610

mคนg = 5 800 ,
mคน = 580 kg

จํานวนคน = 580
50
= 11.6  11 คน
11. ตอบขอ 4

อธิบาย
F

h = 0.5 m

12,000 N

จากโจทย น้ํามัน = 0.8 g/cm3 = 800 kg/m3


จาก Pขวา = Pซาย

W F
=  gh
A a น้ํามัน
276 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
12,000 F
แทนคา; = (800100.5)
แบบทดสอบชุดที่ 2

103104 20104
F
120,000 = 4,000
20104
F
116,000 =
20104

F = 232 N

12. ตอบขอ 3
อธิบาย หา F, จาก Mทวน = Mตาม

mgL1 = FL2
แทนคา; 501031010 = F50

F = 0.1 N
F
จาก  =
L
0.1
แทนคา; =
40102
 = 0.25 N/m

13. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก v = 2gh
แทนคา; = 2101.8
v = 6 m/s

14. ตอบขอ 2
1
อธิบาย จาก h = uyt gt2
2
1
แทนคา; 20 = 0 (10)t2; uy = 0
2

t = 2s

หา vB, จาก Sx = vBt

แทนคา; 12 = vB2

vB = 6 m s /
หา vA, จาก QA = QB

AAvA = ABvB

แทนคา; 2ABvA = AB6

vA = 3 m/s
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 277

15. ตอบขอ 5

แบบทดสอบชุดที่ 2
อธิบาย เนื่องจากวัสดุทดสอบเปนหวงกลม ดังนั้น  = 2 เทาของรอบวง และหวงกลมมีมวลนอย
มาก ดังนั้น m = 0
จาก F = 

= (22πR)
22
แทนคา; = 0.0222
7
7102

F = 1.76102 N

16. ตอบขอ 3
C K273
อธิบาย จาก 5
=
5
แทนคา; 27 = K273

K = 300

17. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก Q = mcT

แทนคา; = 24.2103(8025)

= 462103 J

Q = 462 kJ

18. ตอบขอ 2

อธิบาย
m = 5 kg F

จาก F = ma

Ff = ma

Fmg = ma

แทนคา; 50(0.2510) = 5a

5010 = 5a

a = 8m/s2

1
จาก S = ut at2
2
1
แทนคา; = 0 (8)(10)2
2
278 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
S = 400 m
แบบทดสอบชุดที่ 2

และจาก W = fS

= mgS

แทนคา; = 0.2510400

,
W = 4 000 J

เนื่องจาก 50% ของงานเนื่องจากแรงเสียดทานกลายเปนความรอน แสดงวา


50
Q = 100 4,000

Q = 2,000 J

หา t, จาก Q = mct


แทนคา; 2,000 = 5400t

t = 1.0 C

19. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก Ep = Q

mgh = mcT

gh = cT

แทนคา; 1080 = 4.2103T

T = 0.2 C

20. ตอบขอ 1

อธิบาย
100 C T C

0.5 kg Q1
ให แทงเหล็ก

25 C T C

1 kg Q2
กระปอง
รับ 25 C T C

2 kg Q3
น้ํา
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 279

จาก

แบบทดสอบชุดที่ 2
Qให = Qรับ

Q1 = Q2Q3

(mcT)แทงเหล็ก = (mcT)กระปอง(mcT)น้ํา

แทนคา; (0.50.5103(100T)) = [10.5103(T25)][24.2103(T25)]

25,000250T = 500T12,5008,400T210,000

25,000210,00012,500 = 8,400T500T250T

,
247 500 = 9 150T,
T = 27 C

21. ตอบขอ 3

อธิบาย 25 C 0 C 0 C

0.5 kg Q1 Q2


น้ํา น้ําแข็ง
น้ํา

จาก Qรวม = Q1 Q2

= mcTmL

แทนคา; = [0.54.2103(250)][0.5336103]

= 52,500168,000

Q = 2.205105 J
Q
หา t, จาก P =
t
2.205105
t =
200
,
t = 1 102.5 s = 18.4 นาที
22. ตอบขอ 3
อธิบาย จากกราฟชวงเวลา 1 ถึง 6 นาที รวม 5 นาที
หา Q, จาก Q = mL

แทนคา; = 2(1.5105)

Q = 3105 J

ในเวลา 5 นาที จะใหความรอนแกวัตถุ Q = 3105 J


5
และในเวลา 1 นาทีจะใหความรอนแกวัตถุ Q = 310
5
= 6104 J

พิจารณาชวงเวลา 1 นาทีแรกเปนชองที่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
280 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
ดังนั้น Q = mct
แบบทดสอบชุดที่ 2

แทนคา; 6104 = 2C(500)

c = 600 J/kgK

23. ตอบขอ 2

อธิบาย

0 C 0 C t C

ดูด น้ําแข็ง mL น้ํา mct น้ํา

50 C t C

mct
คาย น้ํา น้ํา

จาก Qดูด = Qคาย

(mL)น้ําแข็ง(mct)น้ํา = (mct)น้าํ

แทนคา; (10080)(1001(t0)) = 4001(50t)

8,000100t = 20,000400t

500t = 12,000

t = 24 C

24. ตอบขอ 3
(PgP0)1V (PgP0)2V
อธิบาย จาก T1
=
T2

(2105105) Pg 105
2
แทนคา; (27327)
=
(27387)

Pg = 2.6105 Pa
2

25. ตอบขอ 1
P1V1 P2V2
อธิบาย จาก =
n1T1 n 2T 2
PV PV
แทนคา; (2,000)(27327)
=
n2(27337)

n2 = 2,000300
310
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 281

n2 = 1,935.5 mol

แบบทดสอบชุดที่ 2
อากาศไหลออก = 2,0001,935.5 = 64.5 mol
26. ตอบขอ 4
อธิบาย แกสออกซิเจน (O2) มวล 128 กรัม จะมีจํานวนโมล = 128
32
= 4 mol

จาก PV = nRT
5
แทนคา; 210 V = 48.31(57273)

V = 0.05 m3

27. ตอบขอ 5 2
Σvi
อธิบาย จาก vrms =
N

2 2 2 2 2 2
N1 (v1 ) + N 2 (v2 ) + N 3 (v3 ) + N 4 (v4 ) + N 5 (v5 ) + N 6 (v6 )
=
ΣN

2 2 2 2 2 2
2(2 ) + 1(3 ) + 3(4 ) + 1(5 ) + 2(7 ) + 1(9 )
แทนคา; =
10

vrms = 5.2 m s /
28. ตอบขอ 5
3
อธิบาย จาก Ek = k T
2 B
3
แทนคา; =
2
1.381023(27337)

Ek = 6.41021 J

29. ตอบขอ 2
S
อธิบาย จาก v =
t
20
แทนคา; =
5
v = 4 m/s

จาก v = f
v
 =
f
4
แทนคา; =
10
 = 0.4 m
282 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
30. ตอบขอ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2

อธิบาย

1.2 m

จากรูป คลื่นนิ่ง 3 ลูบ โดยแตละลูบมีความยาวเทากับ 2


3
ดังนั้น 2
 = 1.2

 = 0.8 m

หา f, จาก v = f

v
f =

160
แทนคา; =
0.8

f = 200 Hz

31. ตอบขอ 4
อธิบาย คลื่นมีความถี่ 10 Hz และมีอัตราเร็ว 2 m/s สามารถหาความยาวคลื่นได
จาก v = f

v
 =
f
2
แทนคา; =
10

 = 0.2 m

0.2 m

360x
จาก  =

3600.5
แทนคา; =
0.2

 = 900
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 283

32. ตอบขอ 4

แบบทดสอบชุดที่ 2
อธิบาย หา , จาก v = f
v
 =
f
10
แทนคา; =
4
 = 2.5 m

2πx
จาก  =

2π(5)
แทนคา; =
2.5
 = 4π rad

33. ตอบขอ 1
อธิบาย หา , จาก v = f
v
 =
f
20
แทนคา; =
10
 = 2m

วาดรูป A A
N N
N

=2m

จากรูป คลื่นมีตําแหนงบัพ (N) 3 แนว และมีตําแหนงปฏิบัพ (A) 2 แนว


34. ตอบขอ 2
อธิบาย การแทรกสอดแบบหักลางเกิดขึ้นเมื่อคลื่นที่เคลื่อนที่มาพบกัน มีเฟสตางกัน 180 หรือมี
ผลตางของระยะทางที่คลื่นทั้งสองเคลื่อนที่เทากับจํานวนเต็มบวกครึ่งหนึ่งของความยาวคลื่น คือ
สันคลื่นพบกับทองคลื่น หรือทองคลื่นพบกับสันคลื่น ดังรูป เชน

2
t=0
1

t=1

2
t=3
1
284 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
35. ตอบขอ 4
แบบทดสอบชุดที่ 2

อธิบาย
A0 N1 A1 N2 A2

S1 S2

จากรูป จุด P อยูบนแนวปฏิบัพที่ 2


จาก |S1PS2P| = n

แทนคา; |82| = 2

6 = 2

 = 3 cm

หา v, จาก v = f

แทนคา; = 350

/
v = 150 cm s = 1.5 m s /
36. ตอบขอ 1
sin A vA
อธิบาย จาก sin B
=
vB

sin 45 vA
แทนคา; sin 30
=
4 2

2
2 vA
=
1 4 2
2
vA
2 =
4 2

vA = 4 2  2

vA = 8 m s /
หา f, จาก v = f

v
f =

ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 285

8
แทนคา; =
0.1

แบบทดสอบชุดที่ 2
f = 80 Hz

37. ตอบขอ 3
อธิบาย หาแนวบัพ (N), จาก d sin  = n

2 sin 90 = n1

n = 2

ดังนั้น มีแนวบัพทั้งหมด 4 แนว (ซาย 2, ขวา 2) และมีแนวปฏิบัพทั้งหมด 5 แนว (ซาย 2,


ขวา 2 กลาง 1)
38. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก 2S = vt

แทนคา; 2S = 1,5004

S = 3,000 m

39. ตอบขอ 1
P
อธิบาย จาก I =
4πR2
P
R2 =
4πI
π1010
แทนคา; =
4π1012

R2 = 25

R = 5m

40. ตอบขอ 1
อธิบาย เนื่ อ งจากวั ต ถุ ที่ ส ะท อ นคลื่ น ได ต อ งมี ข นาดเท า หรื อ ใหญ ก ว า ขนาดของความยาวที่
ตกกระทบ ดังนั้น ตองใชเสียงที่มีความยาวคลื่น 5 cm จึงจะแยกผลไมที่มีขนาดใหญกวา 5 cm
(สะทอนคลื่น) ออกจากผลไมที่มีขนาดเล็กกวา 5 cm (ไมสะทอนคลื่น) ได
จาก v = f

v
f =

1,500
แทนคา; =
5102
f = 3104 Hz
286 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
41. ตอบขอ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2

อธิบาย เนื่องจากการแทรกสอดจะเกิดเรียงตามลําดับแนวปฏิบัพกลาง (A0) แลวกระจายออกไป


ทั้งสองขาง ขางละเทาๆ กัน โดยสลับไปเปนแนวบัพและแนวปฏิบัพ ดังนั้นสามารถคํานวณหาแนว
ปฏิบัพจาก A0 ถึงจุด P ได
8m P
S1 A2
N2
A1
N1
6m A0
N1
A1
N2
S2 A2
Q

จากโจทย S1P = 8 m และ S2P = 62 + 82 = 10 m

หาลําดับการแทรกสอดแบบเสริมจาก
|S1PS2P| = n
แทนคา; |810| = n1
n = 2

แสดงวาจุด P และจุด Q เปนจุดปฏิบัพลําดับที่ 2 (A2)


ดังนั้น จากจุด P ถึงจุด A0 ก็จะมีจุดบัพ 2 จุด และจุด Q ถึงจุด A ก็จะมีบัพ 2 จุด เชนกัน
นั่นคือ จุดบัพทั้งหมดจากจุด P ถึงจุด Q จะมี 4 จุด หรือไดยินเสียงหายไป 4 ครั้งนั่นเอง
42. ตอบขอ 2
R1
อธิบาย จาก 21 = 20 log R 
2

100 = 20 log 1010 


2

2100 = 20 log(101)

2100 = 20

2 = 80 dB
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 287

43. ตอบขอ 5

แบบทดสอบชุดที่ 2
อธิบาย ที่ระยะ 1 เมตร ทนฟงเสียงไมได แสดงวา I = 1 W/m2
P
จาก I =
4πR2
P = 4πR2I

แทนคา; = 4π121

P = 4π W

หาระยะไกลสุดใช I = 1012 W/m2


P
จาก I =
4πR2
P
R2 =
4πI

แทนคา; =
4π1012
R2 = 1012

R = 106 m

44. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก fB = |f1f2|
แทนคา; = |256262|
f B = 6 Hz

45. ตอบขอ 2

อธิบาย
1.5 m

จากรูป 34 = 1.5 m จะได  = 2m

จาก v = f

v
f =

340
แทนคา; =
2

f = 170 Hz
288 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
46. ตอบขอ 1
แบบทดสอบชุดที่ 2

P
อธิบาย หา I, จาก I =
4πR2
4π108
แทนคา; =
4π102

I = 1010 W/m2
I
หา , จาก  = 10 log I  0

1010
แทนคา; = 10 log  10  12

= 10 log (102)

 = 20 dB
47. ตอบขอ 4
I2
อธิบาย จาก 21 = 10 log I  1

102
แทนคา; 2100 = 10 log  10  2

2100 = 10 log (104)

2100 = 40

2 = 60 dB
48. ตอบขอ 3
R1
อธิบาย จาก 21 = 20 log R  2

แทนคา; 6080 = 20 log  100


R  2

2
20 = 20 log  10R  2

2
20

20
= log  10R 
2

2
1 = log  10R 
2

102
101 =
R2

102
R2 =
101
R2 = 1,000 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 289

49. ตอบขอ 1

แบบทดสอบชุดที่ 2
อธิบาย ไดยินเสียงแหลมขึ้นเรื่อยๆ นั่นคือไดยินเสียงมีความถี่เพิ่มขึ้น ดังนั้นจากเรื่องปรากฏการณ
ดอปเพลอร แสดงวารถประจําทางกําลังเคลื่อนที่เขาหาผูฟงดวยความเร็วคงตัว

vs

50. ตอบขอ 2
อธิบาย หา v0, จาก v0 = 3310.6t

แทนคา; = 3310.6(25)

v0 = 346 m/s

วาดรูปทิศทางของ v กอน
vS vL

v0
v0  vL
จาก fL =  v  v f
0 S
s

34620
แทนคา; =  34630 1,000
f L = 1,031.6 Hz

51. ตอบขอ 5
อธิบาย หา v0, จาก v0 = 3310.6t

แทนคา; = 331(0.615)

v0 = 340 m/s
x vs
จาก h
=
v0

x 510
แทนคา; =
6,000 340
x = 9,000 m = 9 km
290 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
52. ตอบขอ 4
แบบทดสอบชุดที่ 2

อธิบาย vs = 510 m/s


 P

h = 4 km
x

x vs
จาก h
=
v0

x 510
แทนคา; 4
=
340

x = 6 km

53. ตอบขอ 3
I
อธิบาย จาก  = 10 log I 0

I
แทนคา; 60 = 10 log  10  12

60 I
10
= log  10 
12

I
6 = log  10 
12

I
106 =
1012
I = 106 W/m2

54. ตอบขอ 3
อธิบาย จากโจทย ระยะระหวางแถบสวาง 2 แถบ แสดงวา n = 1
dx
จาก L
= n

nL
d =
x
16001091
แทนคา; =
2103

d = 3104 m = 0.3 mm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 291

55. ตอบขอ 4

แบบทดสอบชุดที่ 2
อธิบาย ความกวางของแถบสวางที่สวางที่สุด คือ ความกวางของ A0 สามารถหาไดจากระยะ
ระหวางแถบมืดแรกทั้งสองขางของ A0 จากภาพคือ ระยะ 2x

N1

d = 0.02 cm A

N1
L=1m

dx
จาก L
= n

(0.02102)x
แทนคา; = 1(500109)
1
x = 2.5103 m

ดังนั้น ความกวางของ A0 = 2x

แทนคา; = 22.5103

A0 = 5103 m = 5 mm
56. ตอบขอ 3

I
อธิบาย จาก E =
R2

R2 = I
E
25
แทนคา; =
400

R2 = 1
16
R = 0.25 m = 25 cm
292 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
57. ตอบขอ 1
แบบทดสอบชุดที่ 2

อธิบาย สมมติ ตอนแรกวางวัตถุหางจากกระจกเปนระยะ S ทําใหเกิดภาพจริงขนาด 2 เทา นั่นคือ


m=2

ตอนแรก ตอนหลัง

5 cm

f
จาก m =
Sf
f
แทนคา 2 =
Sf
2S2f = f

3f
S =
2
()
..... 1

เมื่อเลื่อนวัตถุเขาใกลกระจกอีก 5 cm จะมีระยะวัตถุใหมเปน S2 = S5 และใหภาพเสมือน


กําลังขยาย 2 เทา นั่นคือ m2 = 2
f
จาก m2 =
Sf
f
แทนคา; 2 =
(S5)f
2((S5)f) = f

2S102f = f

10f = 2S

แทน S จาก (1); 10f = 2  3f2 


f = 5 cm

58. ตอบขอ 2

อธิบาย

ภาพ
วัตถุ F f

20 cm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 293

1 1 1
จาก =

แบบทดสอบชุดที่ 2

f S S

1 1 1
= 
10 20 S
1 1 1
= 
S 10 20
2 1
= 
20 20
1 1
=
S 20

S = 20 cm

นั่นคือ ไดภาพจริงหัวกลับ หลังเลนสที่ระยะ 20 cm


59. ตอบขอ 5

อธิบาย

y = 8 cm

f f

S = 24 cm S´ = 48 cm

y S
จาก y
=
S
y 48
แทนคา; 8
=
24

y = 16 cm

1 1 1
และจาก f
= 
S S
1 1
แทนคา = 
24 48
2 1
= 
48 48
1 3
=
f 48

f = 16 cm
294 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
60. ตอบขอ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2

R
อธิบาย จากโจทยเกิดภาพจริงขนาดใหญกวาวัตถุ แสดงวาเปนกระจกเวา และ f = 2
= 10 cm
f
จาก m =
Sf
10
แทนคา; 2.0 =
S10
10
S10 =
2.0

S = 15 cm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 295

แบบทดสอบชุดที่ 3
แบบทดสอบชุดที่ 3

จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. ทอนไมทอนหนึ่งลอยอยูในน้ําที่มีความหนาแนน 103 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร พบวามีสวนที่ลอย

คิดเปน 14 ของปริมาตรทั้งทอน จงหาความหนาแนนของทอนไม


1. 500 kg/m3 2. 650 kg/m3

3. 750 kg/m3 4. 800 kg/m3

5. 890 kg/m3

2. หลอดแกวรูปตัวยูบรรจุน้ํา ตอมาเติมน้ํามันความหนาแนน 0.8 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ที่ดาน


ขวาสูง 10 เซนติเมตร ระดับน้ําดานซายมือสูงกวาระดับน้ําดานขวามือกี่เซนติเมตร
1. 2 cm 2. 6 cm

3. 7 cm 4. 8 cm

5. 9 cm

3. จากรูปเปนคลื่นนิ่งในเสนเชือกที่มีปลายทั้งสองถูกตรึงไว ถาเชือกยาว 1 เมตร และมีความเร็วใน


เสนเชือก 200 เมตรตอวินาที จงหาความถี่ในเสนเชือก
1. 200 Hz

2. 300 Hz

3. 400 Hz
1m 4. 500 Hz

5. 600 Hz

4. เชือกเสนหนึ่งยาว 80 เซนติเมตร ถูกทําใหสั่นดวยความถี่ 200 เฮิรตซ ดังรูป จงหาความเร็วคลื่น


ในเสนเชือก
1. 80 m/s

2. 100 m/s

3. 120 m/s

4. 240 m/s
80 cm
5. 360 m/s
296 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
5. ขวดใบหนึ่งมีรัศมี 7 เซนติเมตร ลอยอยูในน้ํา ดังรูป จงหามวลของขวด
แบบทดสอบชุดที่ 3

1. 1.00 kg

2. 1.25 kg

3. 1.54 kg

10 cm 4. 1.85 kg

5. 2.02 kg

6. ถาอุณหภูมิของแกสในภาชนะใบหนึ่งเพิ่มจาก 27 องศาเซลเซียส เปน 57 องศาเซลเซียส โดย


ความดันไมเปลี่ยนแปลง จงหาอัตราสวนของปริมาตรใหมตอปริมาตรเดิมของแกส
1. 1.1 2. 1.5
3. 1.7 4. 2.3

5. 2.4

7. จะตองใหความรอนเทาไรแกแกสที่มีจํานวน 0.2 โมล ที่บรรจุอยูในกระบอกสูบ จึงจะทําใหลูกสูบ


ทํางาน 40 จูล และมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 เคลวิน (กําหนดให R = 8.31 J/molK)
1. 42 J 2. 58 J

3. 60 J 4. 62 J

5. 65 J

8. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 400 นาโมเมตร ตกตั้งฉากสลิตเดี่ยวที่มีความกวาง 1 มิลลิเมตร ทําใหเกิด


แถบมืดแรกอยูหางจากแถบสวางกลาง 4 มิลลิเมตร จงหาระยะหางระหวางสลิตเดี่ยวกับฉาก
1. 1 m 2. 2 m

3. 5 m 4. 10 m

5. 15 m

9. ถามุมวิกฤตของตัวกลางชนิดหนึ่งเทากับ 37 องศา จงหาอัตราเร็วของแสงในตัวกลางนี้


1. 1.0108 m/s 2. 1.8108 m/s

3. 2.2108 m/s 4. 2.4108 m/s

5. 3.0108 m/s

10. คลื่นน้ําเคลื่อนที่จากน้ําตื้นไปยังน้ําลึก ถามุมตกกระทบและมุมหักเหเทากับ 30 และ 53 องศา


ตามลําดับ ถาความยาวคลื่นในน้ําตื้นเทากับ 4 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นในน้ําลึก
1. 2.2 cm 2. 4.2 cm

3. 4.8 cm 4. 6.4 cm

5. 7.2 cm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 297

11. เมื่อใชแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคู เกิดการแทรกสอดบนฉากที่อยู

แบบทดสอบชุดที่ 3
หางออกไป 1 เมตร ถาสลิตคูหางกัน 0.1 มิลลิเมตร แถบสวางสองแถบที่อยูติดกันหางกันเทาไร
1. 2 mm 2. 3 mm

3. 4 mm 4. 5 mm

5. 6 mm

12. ทันตแพทยถือกระจกเวารัศมีความโคง 2 เซนติเมตร หางจากฟนเปนระยะ 0.5 เซนติเมตร


ทันตแพทยจะเห็นฟนในกระจกขยายเปนกี่เทาจากเดิม
1. 1.5 เทา 2. 2.0 เทา

3. 2.5 เทา 4. 3.0 เทา

5. 3.5 เทา

13. ถาคลื่นน้ําเคลื่อนที่จากบริเวณน้ําลึกไปยังน้ําตื้น แลวทําใหความยาวคลื่นลดลงครึ่งหนึ่ง จงหา


อัตราเร็วของคลื่นในน้ําลึกตออัตราเร็วของคลื่นในน้ําตื้น
1. 0.5 2. 1.0

3. 1.5 4. 2.0

5. 2.5

14. นักดนตรีสองคนเลนกีตารพรอมกันดวยความถี่ 500 เฮิรตซ และ 506 เฮิรตซ ตามลําดับ จงหา


ความถี่บีตสที่เกิดขึ้น
1. 3 Hz 2. 4 Hz

3. 5 Hz 4. 6 Hz

5. 7 Hz

15. วัตถุอันหนึ่งจมอยูใน้ํา โดยมีสวนที่จมคิดเปน 50 เปอรเซ็นตของทั้งกอน จงหาความหนาแนน


ของวัตถุ
1. 500 kg/m3 2. 650 kg/m3

3. 700 kg/m3 4. 750 kg/m3

5. 800 kg/m3

16. ถาใชกระติกตมน้ํารอนขนาด 1,000 วัตต ตมน้ํา 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส น้ําจะเริ่ม


เดือดในเวลากี่นาที ถากระติกตมน้ํามีประสิทธิภาพ 80 เปอรเซ็นต (กําหนดให cน้ํา = 4.2 kJ/kgK)
1. 7 นาที 2. 8 นาที

3. 9 นาที 4. 10 นาที

5. 11 นาที
298 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
17. ในการปรับเทียบเสียงของกีตารระดับเสียง C โดยเทียบกับเครื่องเทียบเสียงความถี่ 256 เฮิรตซ
แบบทดสอบชุดที่ 3

พบวาเกิดความถี่บีตส 2 ครั้งตอวินาที จงหาความถี่ที่เปนไปไดของกีตาร


1. 254 Hz 2. 256 Hz

3. 258 Hz 4. 254 หรือ 258 Hz


5. ไมมีขอใดถูกตอง
18. วางวัตถุอันหนึ่งไวหนาเลนสนูนซึ่งมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ทําใหเกิดภาพเสมือนที่มีขนาด
เปน 3 เทาของวัตถุ ภาพที่เกิดขึ้นหางจากเลนสเทาไร
1. 10 cm 2. 20 cm

3. 30 cm 4. 40 cm
5. 50 cm

19. กอนน้ําแข็งที่ขั้วโลกเหนือมีความถวงจําเพาะเทากับ 0.92 ลอยอยูในน้ําทะเลที่มีความหนาแนน


1.025103 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร จงหาอัตราสวนของปริมาตรทั้งกอนตอปริมาตรที่จมน้ํา

1. 1.1 2. 1.4

3. 1.6 4. 2.5

5. 2.8

20. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ปริมาตร 0.01 ลูกบาศกเมตร นําไปลอยน้ําที่มีความหนาแนน 103 กิโลกรัม


ตอลูกบาศกเมตร จะมีแรงพยุงเทาไร
1. 80 N 2. 90 N

3. 100 N 4. 110 N

5. 120 N

21. ในการทดลองเรื่องความตึงผิวโดยใชหวงวงกลมที่มีเสนรอบวง 20 เซนติเมตร พบวาตองใชแรงดึง


0.02 นิวตัน จึงจะทําใหหวงวงกลมหลุดออกจากผิวของเหลวพอดี จงหาความตึงผิวของของเหลวนี้
1. 0.01 N/m 2. 0.03 N/m

3. 0.05 N/m 4. 0.07 N/m

5. 0.09 N/m

22. นักเรียนคนหนึ่งตองการทดลองเรื่องความหนืดของน้ํามันชนิดหนึ่งโดยใชวัตถุทรงกลมรัศมี
3 มิ ล ลิ เ มตร มี ค วามหนาแน น 1.8103 กิ โ ลกรั ม ต อ ลู ก บาศก เ มตร ให ต กลงในน้ํ า มั น ที่ มี

ความหนาแนน 800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร และมีความหนืด 2 พาสคัล-วินาที จงหาความเร็ว


ปลายของวัตถุ
1. 0.01 m/s 2. 0.05 m/s

3. 0.08 m/s 4. 0.10 m/s

5. 0.15 m/s
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 299

23. ทอน้ําดับเพลิง ดังรูป ปลายทอดาน A และ B มีพื้นที่หนาตัด 20 ตารางเซนติเมตร และ

แบบทดสอบชุดที่ 3
5 ตารางเซนติเมตร ตามลําดับ ถาความเร็วของน้ําดาน A เทากับ 4 เมตรตอวินาที จงหาความเร็ว

ของน้ําที่ดาน B
1. 8 m/s

2. 10 m/s
A B 3. 14 m/s

4. 16 m/s

5. 18 m/s

24. เขื่อนกั้นน้ํามีสันเขื่อนยาว 100 เมตร มีน้ําอยูลึก 10 เมตร จงหาแรงดันของน้ําที่กระทําตอเขื่อน


1. 2107 N

2. 4107 N
m0
10

3. 5107 N

4. 4108 N

5. 5108 N
10 m

25. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม ปริมาตร 0.01 ลูกบาศกเมตร นํามาชั่งในน้ําดวยเครื่องชั่งสปริง ดังรูป


เครื่องชั่งอานคาไดกี่นิวตัน
1. 50 N

2. 100 N

3. 150 N

4. 200 N

5. 250 N

26. เมื่อใชหลอดรูเล็กรัศมี 0.1 มิลลิเมตร จุมลงไปในของเหลวที่มีความหนาแนน 1.2103 กิโลกรัมตอ


ลูกบาศกเมตร พบวาของเหลวซึมตามหลอดรูเล็กสูง 3 เซนติเมตร จงหาความตึงผิวของของเหลวนี้
1. 0.018 N/m

2. 0.025 N/m
3 cm
3. 0.040 N/m

4. 0.044 N/m

5. 0.052 N/m
300 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
27. รถยนตมวล 1,000 กิโลกรัม วิ่งดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที ถาพลังงานจลนเปลี่ยนเปน
แบบทดสอบชุดที่ 3

พลังงานความรอน 40 เปอรเซ็นต จงหาวาจะเกิดความรอนขึ้นเทาไร


1. 8104 J 2. 1105 J

3. 2105 J 4. 3105 J

5. 4105 J

28. แกสไนโตรเจน (N2) มีมวล 1 กิโลกรัม บรรจุในถังปริมาณ 103 ลูกบาศกเมตร อุณหภูมิ


27 องศาเซลเซียส จงหาความดันของแกสไนโตรเจน (กําหนดให N = 14 และ R = 8.31 J/molK)

1. 5.0104 Pa 2. 6.5104 Pa

3. 7.2104 Pa 4. 8.9104 Pa
5. 9.5104 Pa

29. แกสจํานวน 20 โมล อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส มีพลังงานจลนเทาไร (กําหนดให R = 8.31 J/molK)


1. 6.2104 J 2. 7.5104 J

3. 8.2104 J 4. 8.7104 J

5. 9.3104 J

30. คลื่นน้ํามีความยาวคลื่น 4 เซนติเมตร เคลื่อนที่ผานชองเปดเดี่ยวกวาง 5 เซนติเมตร จงหาวา


แนวบัพแรกเบนจากแนวกลางบนฉากเทาไร
1. 30 2. 37

3. 45 4. 53

5. 60

31. จากกราฟเปนความสัมพันธระหวางความดันกับความลึกของของเหลวชนิดหนึ่ง จงหาวาของเหลวนี้


มีความถวงจําเพาะเทาไร
P102 N/m2

60 1. 0.3

40 2. 0.5

3. 2.4

4. 3.0

5. 5.0
0 h102 m
80 120
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 301

32. บรรจุน้ําและน้ํามันในหลอดแกวรูปตัวยู โดยน้ํามันอยูในขาหลอดดานซาย และน้ําอยูในขาหลอด

แบบทดสอบชุดที่ 3
ดานขวา เมื่อน้ําและน้ํามันอยูในภาวะสมดุล ระดับน้ําและน้ํามันเปนดังรูป จงหาความหนาแนนของ
น้ํามัน (กําหนดให น้ํา = 1 g/cm3)

1. 400 kg/m3
น้ํามัน 20 cm
16 cm 2. 650 kg/m3

3. 720 kg/m3

4. 800 kg/m3
น้ํา
5. 850 kg/m3

33. ถังสองใบ ใบแรกบรรจุน้ําอยางเดียว ใบที่สองมีน้ําและน้ํามันบรรจุอยู โดยชั้นของน้ํามันสูง 0.1 เมตร


ดังรูป จงหาวาความดันที่กนถังทั้งสองใบจะตางกันเทาไร (กําหนดให น้ํา = 103 kg/m3 และ น้ํามัน =
8102 kg/m3)

น้ํามัน 0.1 m

น้ํา
น้ํา

1. 80 Pa 2. 100 Pa

3. 160 Pa 4. 180 Pa

5. 200 Pa
34. วัตถุกอนหนึ่งลอยอยูในน้ํา โดยพบวามีสวนที่ลอย 1 สวน และจม 4 สวนโดยปริมาตร จงหาความ
หนาแนนของวัตถุดังกลาว (กําหนดให น้ํา = 103 kg/m3)
1. 500 kg/m3 2. 600 kg/m3

3. 700 kg/m3 4. 800 kg/m3

5. 900 kg/m3

35. กลองพลาสติกทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศกยาวดานละ 50 เซนติเมตร มวล 10 กิโลกรัม นําไปวางในอางน้ํา


ตองเปดน้ําใสในอางใหระดับน้ําสูงเทาไร กลองพลาสติกจึงเริ่มลอย (กําหนดให น้ํา = 103 kg/m3)
1. 4 cm 2. 5 cm

3. 10 cm 4. 12 cm

5. 15 cm
302 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
36. เครือ่ งอัดไฮดรอลิกเครือ่ งหนึง่ ลูกสูบใหญมพี นื้ ทีห่ นาตัด 500 ตารางเซนติเมตร และมีมวล 250 กิโลกรัม
แบบทดสอบชุดที่ 3

วางอยูบนลูกสูบ และลูกสูบเล็กมีพื้นที่หนาตัด 50 ตารางเซนติเมตร ถาเครื่องอัดไฮดรอกลิกอยูใน


ระบบสมดุล โดยระดับน้ํามันในลูกสูบเล็กสูงกวาระดับน้ํามันในลูกสูบใหญ 1 เมตร จงหาวาวัตถุที่
วางอยูบนลูกสูบเล็กมีมวลเทาไร ถาน้ํามันในเครื่องอัดไฮดรอลิกมีความหนาแนน 800 กิโลกรัมตอ
ลูกบากศกเมตร
m

250 kg 1m

1. 10 kg 2. 15 kg

3. 21 kg 4. 25 kg

5. 50 kg

37. น้ําไหลออกจากทอดวยอัตราเร็ว 0.5 เมตรวินาที เมื่อนําภาชนะไปรองรับ ปรากฏวาสามารถรับน้ํา


ได 1 ลิตร ในเวลา 10 วินาที พื้นที่หนาตัดของทอมีขนาดเทาไร
1. 2.0 cm2 2. 2.2 cm2

3. 2.5 cm2 4. 2.8 cm2

5. 3.0 cm2

38. หวงวงกลมบางรัศมี 7 เซนติเมตร มวล 80 กรัม นําไปใชในการวัดความตึงผิวของของเหลวชนิดหนึ่ง


พบวาเมื่อออกแรง 1 นิวตัน สามารถดึงหวงใหหลุดออกจากผิวของของเหลวไดพอดี แตผิวของเหลว
ที่สัมผัสกับหวงขณะนั้นเอียงทํามุม 60 องศากับแนวดิ่ง จงหาสัมประสิทธิ์ความหนืดของของเหลว
ชนิดนี้ 1N

60 mg 60

F F

1. 0.25 N/m 2. 0.37 N/m

3. 0.45 N/m 4. 0.52 N/m

5. 0.61 N/m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 303

39. จะตองใชความรอนเทาไรในการทําใหน้ําแข็งมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส กลายเปนน้ํา

แบบทดสอบชุดที่ 3
ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส (กําหนดให cน้ํา = 4.2 kJ/kgK, Lน้ําแข็ง = 333 kJ/kg)
1. 25.2 kJ 2. 30.9 kJ

3. 41.7 kJ 4. 45.2 kJ

5. 50.5 kJ

40. ถาตองการใหโลหะมวล 1 กิโลกรัม รอนขึน้ จากอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เพิม่ เปน 120 องศาเซลเซียส
ในเวลา 5 นาที จะตองใหความรอนดวยกําลังเทาไร (กําหนดใหคา ความจุความรอนจําเพาะของโลหะ
เทากับ 500 J/kgK)
1. 100 W 2. 150 W
.
3 200 W 4. 250 W

5. 300 W

41. ถาอุณหภูมิของแกสชนิดหนึ่งลดลงจาก 37 องศาเซลเซียส เหลือ 27 องศาเซลเซียส พลังงานจลนเฉลี่ย


ของโมเลกุลของแกสจะลดลงจากเดิมกี่เปอรเซ็นต
1. 2.5 2. 3.0

3. 3.5 4. 4.0

5. 4.5

42. ถังบรรจุแกสปดสนิทมีปริมาตร 2 ลูกบาศกเมตร บรรจุแกสความดัน 5104 พาสคัล ที่อุณหภูมิ 27


องศาเซลเซียส ถาปลอยใหแกสรัว่ ออกจากถังจนความดันลดลงเหลือ 14 ของความดันเดิม แตอณ
ุ หภูมิ
ยังเทาเดิม แกสรั่วออกไปจํานวนกี่โมล (กําหนดให R = 8.31 J/molK)
1. 12.22 mol 2. 18.55 mol

3. 25.60 mol 4. 30.08 mol

5. 34.34 mol

43. จงหาพลังงานความรอนที่ทําใหแกสจํานวน 2 โมล ที่บรรจุอยูในกระบอกสูบ ทํางาน 41 จูล และมี


อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 เคลวิน
1. 250.5 J 2. 290.3 J

.
3 310.4 J 4. 350.7 J

5. 390.6 J
304 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
44. คลืน่ น้าํ เคลือ่ นทีจ่ ากบริเวณน้าํ ลึกสูน า้ํ ตืน้ แลวทําใหความยาวคลืน่ ลดลงครึง่ หนึง่ จงหาอัตราสวนของ
แบบทดสอบชุดที่ 3

ความเร็วของคลื่นในน้ําลึกกับอัตราเร็วของคลื่นในน้ําตื้น
1. 0.5 2. 1.0

3. 1.5 4. 2.0

5. 2.5

45. คลื่นตอเนื่องขบวนหนึ่งใชเวลาในการเคลื่อนที่ครบหนึ่งรอบนาน 2 วินาที จุด 2 จุดบนคลื่นอยูหาง


กัน 60 เซนติเมตร มีเฟสตางกัน 3π เรเดียน คลื่นขบวนนี้มีความเร็วเทาไร
1. 0.2 m/s 2. 0.4 m/s

3. 0.6 m/s 4. 0.8 m/s

5. 1.0 m/s

46. นักเรียนคนหนึ่งบันทึกลักษณะของคลื่นในเสนเชือกจากการทดลองไดดังรูป ขอใดถูกตอง


การกระจัด (cm)
10

เวลา (s)
4 12 20 28

10

1. เฟสเริ่มตน 0 องศา คาบ 4 วินาที ความถี่ 0.25 เฮิรตซ แอมพลิจูด 5 cm


2. เฟสเริ่มตน 0 องศา คาบ 12 วินาที ความถี่ 0.08 เฮิรตซ แอมพลิจูด 5 cm

3. เฟสเริ่มตน 90 องศา คาบ 16 วินาที ความถี่ 0.0625 เฮิรตซ แอมพลิจูด 10 cm

4. เฟสเริ่มตน 90 องศา คาบ 12 วินาที ความถี่ 0.25 เฮิรตซ แอมพลิจูด 10 cm

5. เฟสเริ่มตน 180 องศา คาบ 20 วินาที ความถี่ 0.0625 เฮิรตซ แอมพลิจูด 10 cm

47. วัดคามุมวิกฤตของแสงในตัวกลางชนิดหนึ่งได 30 องศา ความเร็วของแสงในตัวกลางดังกลาวเปน


เทาไร
1. 1.0108 m/s 2. 1.5108 m/s

3. 2.0108 m/s 4. 2.5108 m/s

5. 3.0108 m/s
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 305

48. คลื่นสองขบวนที่ีมีแอมพลิจูด ความถี่ และความยาวคลื่นเทากัน แตมีเฟสตางกัน 180 องศา เมื่อเกิด

แบบทดสอบชุดที่ 3
แทรกสอดกัน ขอใดถูกตอง
1. ความถี่ ความยาวคลื่น และแอมพลิจูดเทาเดิม

2. แอมพลิจูดเทาเดิม แตความถี่ลดลง 2 เทา

3. ความถี่เทาเดิม แตแอมพลิจูดเปนศูนย

4. ความถี่เทาเดิม แตแอมพลิจูดเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา

5. แอมพลิจูดและความถี่เปนสองเทาของเดิม

49. ถาขณะนั้นอุณหภูมิของอากาศเทากับ 15 องศาเซลเซียส นักเรียนคนหนึ่งไดยินเสียงสะทอนของเสียง


ที่เขาตะโกนออกไป เมื่อเขายืนหางจากกําแพงสะทอนเสียงอยางนอยเทาไร
1. 17 m 2. 20 m

3. 24 m 4. 28 m

5. 32 m

50. ทําการทดลองการแทรกสอดของเสียง โดยวางลําโพง 2 ตัวหางกัน 1 เมตร พบวาเมื่อฟงเสียงดาน


หนาลําโพงที่ตําแหนงตางๆ กัน ในแนวขนานที่หางจากลําโพงไป 4 เมตร โดยไดยินเสียงที่ตําแหนง
ตางๆ ดังรูป จงหาวาความถี่ของลําโพงที่ใชมีคาเทาไร ถาขณะนั้นความเร็วเสียงในอากาศเทากับ 340
เมตรตอวินาที
ดัง

50 cm

1. 2,000 Hz
1m
ดัง 2. 2,240 Hz

3. 2,420 Hz
50 cm
4. 2,530 Hz
ดัง 5. 2,720 Hz

4m

51. ในการจัดกิจกรรมกลางแจงแหงหนึ่ง ตองการใหผูชมที่อยูหางจากเวที 100 เมตร ไดยินเสียง 80

เดซิเบล จะตองใชลําโพงที่มีกําลังเทาไร
1. 12.6 W 2. 20.5 W

3. 50.5 W 4. 200.2 W

5. 525.3 W
306 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
52. เมื่อพนักงานในโรงงานยืนชิดกับเครื่องจักรวัดระดับความเขมเสียงได 120 เดซิเบล พนักงานจึงตอง
แบบทดสอบชุดที่ 3

ใชเครื่องลดระดับความเขมเสียงแบบครอบหู ทําใหสามารถลดความเขมเสียงลงได 99.99 เปอรเซ็นต


เขาจะไดยินเสียงเครื่องจักรมีระดับความเขมเสียงเทาไร
1. 40 dB 2. 50 dB

3. 60 dB 4. 80 dB

5. 70 dB

53. นําสอมเสียงที่มีความถี่ 1,700 เฮิรตซ ไปจอที่ปากแกวน้ําสูง 20 เซนติเมตร ดังรูป จะตองเติมน้ํา


ลงไปในแกวสูงเทาไร จึงจะทําใหไดยินเสียงดังมากที่สุดครั้งแรก กําหนดใหอัตราเร็วของเสียงใน
อากาศเทากับ 340 เมตรตอวินาที

20 cm

1. 5 cm 2. 10 cm

3. 12 cm 4. 15 cm

5. 17 cm

54. คลื่นเสียงสองคลื่นเคลื่อนที่มาพบกันวัดความถี่รวมของเสียงได 488 เฮิรตซ และทําใหเกิดเสียงบีตส


4 ครั้งตอวินาที จงหาความถี่ของคลื่นเสียงทั้งสอง

1. 482 และ 490 Hz 2. 486 และ 490 Hz

3. 488 และ 488 Hz 4. 490 และ 494 Hz

5. 400 และ 404 Hz

55. แหลงกําเนิดเสียงความถี่ 1,000 เฮิรตซ เคลื่อนที่ดวยความเร็ว 28 เมตรตอวินาที ผูฟงเคลื่อนที่เขาหา


แหลงกําเนิดในทิศสวนทางกันดวยความเร็ว 8 เมตรตอวินาที ขณะนัน้ อัตราเร็วของเสียงในอากาศนิ่ง
เทากับ 340 เมตรตอวินาที จงหาความถี่ที่ผูฟงไดยิน ถาขณะนั้นมีลมพัดจากทิศของผูฟงเขาหาแหลง
กําเนิดดวยอัตราเร็ว 2 เมตรตอวินาที
1. 825 Hz 2. 1,000 Hz

3. 1,116 Hz 4. 1,222 Hz

5. 1,346 Hz
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 307

56 . เครือ่ งบินไอพนลําหนึง่ บินอยูใ นแนวระดับเหนือพืน้ ดิน 6 กิโลเมตร ชายคนหนึง่ ยืนอยูท พี่ นื้ ดินไดยนิ

แบบทดสอบชุดที่ 3
เสียงเครื่องบินเมื่อเครื่องบินผานศีรษะไปแลว 8 วินาที ถามุมระหวางหนาคลื่นกระแทกกับแนวการ
เคลื่อนที่เทากับ 37 องศา จงหาความเร็วของเครื่องบิน
1. 360 m/s 2. 510 m/s

3. 640 m/s 4. 810 m/s

5. 1,000 m/s

57. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตเดี่ยวที่มีความกวาง 40 ไมโครเมตร เกิด


การเลี้ยวเบนบนฉาก พบวาแถบมืดแรกอยูหางจากแถบสวาง 5 มิลลิเมตร จงหาวาฉากวางหางจาก
สลิตเทาไร
1. 0.4 m 2. 0.6 m

3. 0.8 m 4. 1.0 m

5. 1.2 m

58. ใชแสงสีหนึง่ สองผานเกรตติงชนิด 400 ชองตอมิลลิเมตรในแนวตัง้ ฉาก แลวทําใหเกิดแถบสวางทัง้ หมด


5 แถบ จงหาวาแสงที่ใชความยาวคลื่นเทาไร

1. 600 nm 2. 720 nm

3. 860 nm 4. 1,250 nm

5. 1,320 nm

59. วางกระจกเงาราบไวหนากระจกนูน โดยหันหนาไปทางเดียวกันหางกัน 20 เซนติเมตร นําวัตถุไปวาง


ไวหนากระจกเงาราบหาง 30 เซนติเมตร ปรากฏวาเกิดภาพจากกระจกทั้งสองไมมีแพรัลแลกซ จงหา
วากระจูกนูนมีความยาวโฟกัสเทาไร
1. 10.2 cm 2. 12.5 cm

.
3 15.4 cm 4. 16.2 cm
5. 20.5 cm

60. เลนสมีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร จงหาระยะวัตถุที่จะทําใหเกิดภาพที่มีขนาด 0.25 เทาของวัตถุ


1. 20 cm 2. 40 cm

3. 60 cm 4. 80 cm

5. 100 cm
308
แบบทดสอบชุดที่ 3
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

เฉลย

1. 3 2. 4 3. 4 4. 1 5. 3 6. 1 7. 5 8. 4 9. 2 10. 4

11. 4 12. 2 13. 4 14. 4 15. 1 16. 1 17. 4 18. 4 19. 1 20. 3

21. 3 22. 1 23. 4 24. 3 25. 2 26. 1 27. 1 28. 4 29. 2 30. 4

31. 2 32. 4 33. 5 34. 4 35. 1 36. 3 37. 1 38. 3 39. 3 40. 3

41. 2 42. 4 43. 2 44. 4 45. 1 46. 3 47. 2 48. 3 49. 1 50. 5
51. 1 52. 5 53. 4 54. 2 55. 3 56. 5 57. 1 58. 4 59. 2 60. 3

เฉลยพรอมคําอธิบาย
1. ตอบขอ 3

อธิบาย

mg FB

จากรูป Vจม = 3 สวน และ Vวัตถุ = 4 สวน


จาก F = 0

FB = mg

ลVจg = วVวg

แทนคา; 103310 = ว410

ว = 750 kg/m3
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 309

2. ตอบขอ 4

แบบทดสอบชุดที่ 3
อธิบาย A B

hA น้ํามัน 10 cm
ตําแหนงอางอิง

น้ํา

จาก PA = PB

(gh)A = (gh)B

แทนคา; (110hA) = (0.81010)


hA = 8 cm

3. ตอบขอ 4
อธิบาย จากรูป มีคลื่น 2.5 ลูก ยาว 1 เมตร จะได  = 0.4 m
จาก v = λf
v
f =
λ
200
แทนคา; =
0.4

f = 500 Hz

4. ตอบขอ 1
อธิบาย จากรูป มีคลื่น 2 ลูก ยาว 80 cm จะได  = 0.4 m
จาก v = λf

แทนคา; = 0.4200

v = 80 m/s

5. ตอบขอ 3

อธิบาย

10 cm

mg FB

จาก Vจม = πr2h


310 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
22
แทนคา; = (7102)20.1
7
แบบทดสอบชุดที่ 3

Vจม = 1.54103 m3

จาก F = 0

FB = mg

ลVจg = mg

แทนคา; 1031.5410310 = m10

m = 1.54 kg

6. ตอบขอ 1
P1V1 P2V2
อธิบาย จาก T1
=
T2
PV1 PV2
(27327)
=
(27357)
; (P1 = P2 = P)
V2 330 = 1.1
=
V1 300
7. ตอบขอ 5
อธิบาย จาก Q = UW
3
= nRTW
2

แทนคา; = 320.28.311040
Q = 64.9 J  65 J

8. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก dx = n
L
1034103
แทนคา; L
= (1)(400109)
4106
L =
4107
L = 10 m

9. ตอบขอ 2
อธิบาย จากโจทย 2 = c = 90
v1 sin 1
จาก v2 =
sin 2
v1 sin 37
แทนคา; 310 8 =
sin 90
3
v1 = 3108
5
v1 = 1.8108 m/s
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 311

10. ตอบขอ 4

แบบทดสอบชุดที่ 3
1 sin 1
อธิบาย จาก 2
=
sin 2
sin 2
2 = 1
sin 1
sin 53
แทนคา; = 4
sin 30
4
5
= 4
1
2
2 = 6.4 cm
11. ตอบขอ 4
อธิบาย จากโจทย แถบสวางที่อยูติดกัน แสดงวา n = 1
จาก dx = n
L
nL
x =
d
15001091
แทนคา; =
1104
x = 5103 m = 5 mm

12. ตอบขอ 2
f
อธิบาย จาก m =
Sf
1
แทนคา; =
0.51
1
= = 2
0.5
m = 2.0 เทา
13. ตอบขอ 4
vลึก ลึก
อธิบาย จาก vตื้น =
ตื้น

1
แทนคา; =
1
2
vลึก
vตื้น = 2.0
312 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
14. ตอบขอ 4
แบบทดสอบชุดที่ 3

อธิบาย จาก fB = |f1f2|


แทนคา; = |500506|
fB = 6 Hz

15. ตอบขอ 1

อธิบาย

FB
mg

จากรูป Vจม = 50% และ Vวัตถุ = 100%


จาก F = 0

FB = mg

ลVจg = วVวg

แทนคา; 10350%10 = ว100%10

ว = 500 kg/m3

16. ตอบขอ 1
80
อธิบาย จากโจทย P = 1,000 100 = 800 W

Q
จาก P =
t
Q
t =
P
mct
=
P

แทนคา; = 14.2103[(100273)(20273)]
800
t = 420 s = 7 นาที
17. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก fB = |f1f2|
แทนคา; 2 = |256f2|
f2 = 256  2

f2 = 254, 258 Hz
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 313

18. ตอบขอ 4

แบบทดสอบชุดที่ 3
อธิบาย จากโจทย เปนเลนสนูน จะไดวาโฟกัมีคาเปนบวก
จาก m = Sf
f
แทนคา; 3 = S10
10
(3)(10) = S10

30 = S10

S = 40 cm

19. ตอบขอ 1

อธิบาย

FB

mg

จากโจทย ความถวงจําเพาะ = 0.92 จะไดวา  = 0.92103 kg/m3


จาก F = 0

FB = mg

ลVจg = วVวg

แทนคา;1.025103Vจ10 = 0.92103Vว10

Vว 1.025103
= = 1.1
Vจ 0.92103
20. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก FB = ลVจg

แทนคา; = 1030.0110

FB = 100 N

21. ตอบขอ 3
อธิบาย หวงมีสวนสัมผัสผิวของเหลวทั้ง 2 ดาน จะไดวา L = 0.22 = 0.4 m
จาก  = F
L
0.02
แทนคา; =
0.4
 = 0.05 N/m
314 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
22. ตอบขอ 1
แบบทดสอบชุดที่ 3

2gr2(วล)
อธิบาย จาก vT =
9
210(3103)2(1.81030.8103)
แทนคา; =
92

= 2109106103
92

vT = 102 = 0.01 m/s

23. ตอบขอ 4
อธิบาย จากโจทย A = A1 = 20 cm2 และ B = A2 = 5 cm2
จาก A1v1 = A2v2

แทนคา; 204 = 5v2


204
v2 =
5
v2 = 16 m/s

24. ตอบขอ 3
gh2L
อธิบาย จาก F =
2
10310102100
แทนคา; =
2
F = 5107 N

25. ตอบขอ 2

อธิบาย
T

FB
mg

จาก F = 0

TFB = mg

TลVจg = mg ; (Vจม = Vวัตถุ เพราะจมทั้งกอน)


3
แทนคา; T(10 0.0110) = 2010

T100 = 200

T = 100 N
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 315

26. ตอบขอ 1

แบบทดสอบชุดที่ 3
ลrgh
อธิบาย จาก  =
2
1.21030.1103103102
แทนคา; =
2
 = 0.018 N/m

27. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก Q = Ek
1 2
= mv 40%
2
1 40
แทนคา; = 1,000202
2 100

Q = 8104 J

28. ตอบขอ 4
m
อธิบาย จาก PV =
M
RT

18.31(27327)
แทนคา; P103 =
28
P = 89103 = 8.9104 Pa

29. ตอบขอ 2
3
อธิบาย จาก Ek =
2
nRT

3
แทนคา; =
2
208.31(27327)

Ek = 7.48104  7.5104 J

30. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก d sin  = n ; (หาจากแนวบัพ)
แทนคา; (5)sin  = 14
4
sin  =
5
 = sin1  45 
 = 53
316 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
31. ตอบขอ 2
แบบทดสอบชุดที่ 3

อธิบาย P102 N/m2

40

0 h102 m
80

จาก P = gh

P
g =
h
( ; ความชันของกราฟ)
(40102)0
แทนคา; =
(80102)0
= 0.5104

g = 5103

 = 500 kg/m3
ของเหลว
จาก ความถวงจําเพาะ =
น้ํา

แทนคา; = 500
1,000
ความถวงจําเพาะ = 05 .
32. ตอบขอ 4
อธิบาย

น้ํามัน 20 cm
16 cm

ระดับอางอิง

น้ํา

จาก Pซาย = Pขวา

น้ํามันghน้ํามัน = น้าํ ghน้ํา


ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 317

แทนคา; น้ํามัน1020 = 11016

แบบทดสอบชุดที่ 3
น้ํามัน = 0.8 g/cm3 = 800 kg/m3
33. ตอบขอ 5

อธิบาย

น้ํามัน 0.1 m

h0.1 m น้ํา
น้ํา

สมมติ ระดับน้ําในถังใบที่ 2 สูง h เมตร


ระดับน้ําในถังใบแรกสูง h0.1 เมตร
ความดันที่กนถังใบแรก; P1 = Pน้ํา

= น้าํ g(h0.1)

และความดันที่กนถังใบที่สอง; P2 = Pน้ําPน้ํามัน

= น้าํ ghน้ํามันg(0.1)

จะได P = P1P2

= น้าํ g(h0.1)น้ําghน้ํามันg(0.1)

= น้าํ ghน้ําg(0.1)น้ําghน้ํามันg(0.1)

= น้าํ g(0.1)น้ํามันg(0.1)

= g(0.1)(น้ําน้ํามัน)

= 10(0.1)(1,000800)
P = 200 Pa

34. ตอบขอ 4

อธิบาย

4
Vจม = V
5

FB
mg
318 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
จากโจทย วัตถุลอยน้ํา 1 สวน และจม 4 สวน ปริมาตรที่จม (Vจม) = 45 V
แบบทดสอบชุดที่ 3

จาก F = 0

FB = mg

ลVจg = วVวg
4
103 V = วV
5
ว = 800 kg/m3
35. ตอบขอ 1

อธิบาย

กลองพลาสติกมีพื้นที่ = 0.50.5 = 0.25 m3 กลองจะเริ่มลอยก็ตอเมื่อ แรงพยุง = น้ําหนัก


ของกลองและสมมติใหระดับน้ําสูง h (ลังจึงจะเริ่มลอย)
จาก FB = mg

ลVจg = mg
ลVจ = m
แทนคา; 103(Ah) = m

103(0.25h) = 10

h = 0.04 m = 4 cm

36. ตอบขอ 3

อธิบาย
m
250 kg 1m
ระดับอางอิง

จาก Pซาย = Pขวา

W1 W2
A1
= a2 gh

2,500 mg
แทนคา; = (800101)
500104 50104
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 319

10m
5104 = 8,000

แบบทดสอบชุดที่ 3
50104
10m
42,000 =
50104
m = 21 kg

37. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก Q1 = Q2

Av = V
t
1103
แทนคา; A0.5 =
10

A = 2104 m2 = 2.0 cm2

38. ตอบขอ 3
อธิบาย จากรูป หวง = 2πR2
22
แทนคา; = 2 71022
7
หวง = 0.88 cm

จาก F = 0

F1 = mgF2 cos 60

= mg cos 60


1
แทนคา; 1 = (8010310)(0.88) 2
0.2 = 0.44

 = 0.45 N/m

39. ตอบขอ 3

อธิบาย
0 C 0 C 20 C

Q1 Q2
น้ําแข็ง น้ํา น้ํา

จาก Qรวม = Q1Q2

= mLmct

แทนคา; = (0.1)(333103)(0.14.2103)(200)

= 33310284102

Qรวม = 41.7103 J = 41.7 kJ


320 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
40. ตอบขอ 2
แบบทดสอบชุดที่ 3

อธิบาย งานในการใหความรอน = พลังงานความรอน


W = Q

Pt = mct

P = mct
t

แทนคา; = 1500(12030)
560
= 50090
300
P = 150 W

41. ตอบขอ 2
อธิบาย อุณหภูมิของแกสลดลงจาก 37 C เหลือ 27 C
หา T1 = 37 C = 37273 = 310 K
และ T2 = 27 C = 27273 = 300 K
3
จาก <Ek > = k T
2 B
<Ek > T2
2
จะได =
T1
<Ek >
1
300
=
310

<Ek > = 0.97<Ek >


2 1

<Ek2>
ดังนั้น พลังงานลดลงจากเดิม = 100%  100%
<Ek >
1

<Ek1>0.97 <EK1>
= 100%  100%
<Ek >
1

= 3.0%

42. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก PV = nRT
P1V1 P2V2
จะได n1 = RT1 n2 = RT2
1
แทนคา; =
(5104)(2)
=
 4 510 (2)
4

8.31(27273) 8.31(27273)
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 321

105 25,000
= =
2,493 2,493

แบบทดสอบชุดที่ 3
.
n1 = 40 11 n2 = 10.03

ดังนั้น จํานวนโมลของแกสที่รั่ว = n1n2

= 40.1110.03

= .
30 08 mol

43. ตอบขอ 2
อธิบาย จาก Q = UW
3
= nRTW
2
3
แทนคา; =
2
(2)(8.31)(10)41

Q = 290.3 J

44. ตอบขอ 4
vลึก ลึก
อธิบาย จาก vตื้น
=
ตื้น
vลึก ลึก
แทนคา; vตื้น
=
1

2 ตื้น
vลึก = 2.0vตื้น

45. ตอบขอ 1
อธิบาย คลื่นใชเวลาเคลื่อนที่ครบรอบนาน 2 วินาที ดังนั้น คาบ (T) = 2 s และ .
x = 0 6 m

 = 3π rad
2πx
หา , จาก  =

2πx
 =

2π0.6
แทนคา; =

 = 0.4 m

หา v, จาก v =

T
0.4
แทนคา; =
2

v = 0.2 m/s
322 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
46. ตอบขอ 3
แบบทดสอบชุดที่ 3

อธิบาย จากรูป เฟสเริ่มตนที่ 90 องศา มีแอมพลิจูด 10 cm


และมีคาบ (เวลาที่เคลื่อนที่ครบ 1 ลูก) = 16 วินาที
1
ดังนั้น =
T
แทนคา; ความถี่ (f) = 161
f = 0.0625 Hz

47. ตอบขอ 2

อธิบาย

อากาศ
ตัวกลาง
30

แสง

(sin )ตัวกลาง vตัวกลาง


จาก (sin )อากาศ
= vอากาศ

sin 30 vตัวกลาง


=
sin 90 3108
1 vตัวกลาง
=
2 3108

vตัวกลาง = 1.5108 m/s


48. ตอบขอ 3

อธิบาย
2

คลื่นที่มีเฟสตางกัน 180 เมื่อแทรกสอดกันจะเปนการแทรกสอดแบบหักลางซึ่งทําให


แอมพลิจูดเปนศูนย แตความถี่ยังคงเดิม
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 323

49. ตอบขอ 1

แบบทดสอบชุดที่ 3
อธิบาย หูมนุษยจะไดยินเสียงสะทอนไดเมื่อเสียงใชเวลาเดินทางไป-กลับ อยางนอยตองเทากับ
0.1 วินาที

จาก v = 3310.6t
แทนคา; = 331(0.615)

v = 340 m/s

หา S, จาก 2S = vt

แทนคา; 2S = 3400.1

S = 17 m

50. ตอบขอ 5
อธิบาย เนื่องจากตําแหนงที่ไดยินเสียงดังเปนการแทรกสอดแบบเสริม
dx
หา , จาก L
= n

แทนคา; 10.5 = (1)


4

 = 0.125 m

หา f, จาก v = f

v
f =

340
แทนคา; =
0.125

f = 2,720 Hz

51. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก  = 10 log  II 
0

I
10 log 
10 
80 = 12

I
log 
10 
8 = 12
324 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
I
108 =
แบบทดสอบชุดที่ 3

10
12

I = 104 W/m2

P
หา P, จาก I =
4πR2
P = 4πR2I

แทนคา; = 4π(100)2104

P = 12 6 W .
52. ตอบขอ 5
อธิบาย ความเขมเสียงลดลง 99.99% หมายความวา ถา I1 = 100% I2 = 0.01%
จาก 21 = 10 log  II 
2

102
แทนคา; 2120 = 10 log  102 
2120 = 10 log (104)
2120 = 40
2 = 80 dB
53. ตอบขอ 4

อธิบาย

4
0.2 m

น้ํา h

ทําใหไดยินเสียงดังมากที่สุดครั้งแรก แสดงวา L = 4

หา , จาก v = f

v
 =
f
340
แทนคา; =
1,700
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 325

.
 = 0 2 m = 20 cm

แบบทดสอบชุดที่ 3
20
จากรูป 
4
=
4
= 5 cm

ดังนั้น ตองเติมน้ําใหสูงจากกนแกว = 205 = 15 cm


54. ตอบขอ 2
f1f2
อธิบาย จาก fรวม =
2
f1f2
แทนคา; 488 =
2
976 = f1f2 .....(1)
จาก fB = |f1f2|
4 = f1f2 .....(2)
นํา (1)(2); 980 = 2f1

f1 = 490 Hz

นํา f1 แทนใน (1); 976 = 490f2

f2 = 486 Hz

ดังนั้น ความถี่ของคลื่นเสียงแตละคลื่นมีคา 486 Hz และ 490 Hz


55. ตอบขอ 3
อธิบาย วาดรูปหาทิศ v
vs = 28 m/s vL = 8 m/s

v0 = 340 m/s vลม = 2 m/s

v0v vl
จาก fL =  v vลมลมv f
0 S
s

34028
=  340228 1,000
=  346
310 
1,000

f L = 1,116 Hz
326 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
56. ตอบขอ 5
แบบทดสอบชุดที่ 3

อธิบาย
S
37 

h = 6,000 m

เครื่องบินมีความเร็ว = vS ในเวลา 4 วินาที จะบินไดระยะทาง


S = vSt = 8vS

h
จากรูป tan  =
S
6,000
แทนคา; tan 37 =
8vS
3 6,000
=
4 8vS
6,0004
vS =
83

vS = 1,000 m/s

57. ตอบขอ 1

อธิบาย
N1
5 mm

40 cm A0

dx
จาก L
= n

dx
L =
n
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 327

(40106)(5103)
แทนคา;

แบบทดสอบชุดที่ 3
=
(1)(500109)
L = 04 m .
58. ตอบขอ 4
อธิบาย เกิดแถบสวางทั้งหมด 5 แถบ แสดงวา ซาย 2 แถบ ขวา 2 แถบ และกลาง 1 แถบ
จะได n = 2 และ  = 90
จากโจทย เกรตติงชนิด 400 ชอง/mm = 400103 ชอง/m = 4105 ชอง/m
จาก d sin  = n
1
sin  = n
N
sin 
 =
nN

แทนคา; = sin 90


24105
= 1
8105
,
 = 1.25106 m = 1 250 nm

59. ตอบขอ 2
อธิบาย ภาพจากกระจกเงาราบและกระจกนูนไมมีแพรัลแลกซ แสดงวาเกิดภาพที่จุดเดียวกัน จาก
กระจกเงาราบ S = S = 30 cm
ดังนั้น ภาพจากกระจกนูนอยูหลังกระจกหาง 3020 = 10 cm แสดงความยาวโฟกัสเปน
ลบเพราะ f อยูหนาแรก

ภาพ วัตถุ

10 cm 20 cm 30 cm

1 1 1
จาก f
= 
S S
1 1
แทนคา; = 
50 10
1 5
= 
50 50
328 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
1 4
= 
f 50
แบบทดสอบชุดที่ 3

.
f =  212 5 cm

60. ตอบขอ 3
อธิบาย เลนสเวามีกําลังขยาย 0.25 (m = 0.25 เพราะเลนสเวาใหภาพเสมือนขนาดเล็กเสมอ)
f
จาก m =
Sf

แทนคา 0.25 = 20


S(20)
0.25(S20) = 20

0.25S5 = 20
0.25S = 15

S = 60 cm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 329

แบบทดสอบชุดที่ 4

แบบทดสอบชุดที่ 4
จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. ทองคํามีความถวงจําเพาะ 19.3 จะมีความหนาแนนกี่กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร
1. 7.8103 2. 15.3103
3. 19.3 4. 19.3103
5. 18.2
2. ลูกบอลมวล 0.5 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือกอยูที่กนสระนํ้าทําใหมีแรงดึงเชือก 85 นิวตัน จงหา
ปริมาตรของลูกบอล
1. 5.0103 m3 2. 5.5103 m3
3. 8.0103 m3 4. 8.5103 m3
5. 9.0103 m3
3. ถังบรรจุนํ้ามีความสูง 1 เมตร วางอยูบนเสาสูง 9 เมตร ถาภายในถังมีนํ้าอยูเต็ม และตอทอ
ลงมายังพื้นดิน จงหาความเร็วของนํ้าที่ปลายทอดานลาง

v=?

1. 5 m/s 2. 5√2 m/s


3. 10 m/s 4. 10√2 m/s
5. 20 m/s
4. สมปองสามารถทนความดันได 105 นิวตันตอตารางเมตร เขาจะสามารถดํานํ้าจืดไดลึกที่สุดเทาไร
(กําหนดให นํ้า = 103 kg/m3)
1. 5 m 2. 10 m
3. 15 m 4. 20 m
5. 25 m
5. นํ้ามันบรรจุอยูในถังสูง 50 เซนติเมตร จงหาความดันเกจที่กนถัง (กําหนดให นํ้ามัน = 800 kg/m3)
1. 400 Pa 2. 500 Pa
3. 800 Pa 4. 4,000 Pa
5. 8,000 Pa
330 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
6. จุดที่อยูลึกจากผิวนํ้าเปนระยะ 400 เซนติเมตร จะมีความดันเกจเทาไร (กําหนดให นํ้า = 103 kg/m3)
แบบทดสอบชุดที่ 4

1. 2104 Pa 2. 3104 Pa

3. 4104 Pa 4. 5104 Pa

5. 6104 Pa

7. จงคํานวณหาความดันในฟองอากาศซึ่งจมอยูในนํ้าลึก 10 เมตร (กําหนดให นํ้า = 103 kg/m3 และ Pa


= 105 N/m2)
1. 100 kPa 2. 200 kPa
3. 300 kPa 4. 400 kPa
5. 500 kPa
8. จากรูปเปนบารอมิเตอรแบบปรอท จงหาความดันบรรยากาศในขณะนั้น

60 cm

53

ปรอท

1. 480 mmHg 2. 520 mmHg


3. 630 mmHg 4. 720 mmHg

5. 760 mmHg
9. วัตถุทรงกลมกลวงมีความหนาแนน 880 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร นําไปลอยนํ้าความหนาแนน
103 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร มีสวนที่จมคิดเปนกี่เปอรเซ็นตของปริมาตรทั้งกอน
1. 80% 2. 82%
3. 88% 4. 90%
5. 92%

10. อะลูมิเนียมมวล 1 กิโลกรัม มีความหนาแนน 2,500 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร นําไปชั่งในนํ้าที่มี


ความหนาแนน 1,000 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ดังรูป เครื่องชั่งอานคาไดเทาไร
1. 4.0 N

2. 4.2 N

3. 5.2 N

4. 6.0 N
1 kg
5. 6.5 N
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 331

11. เครือ่ งอัดไฮดรอลิกเครือ่ งหนึง่ ลูกสูบใหญมพี นื้ ที่ 100 ตารางเซนติเมตร และลูกสูบเล็กมีพนื้ ที่ 5 ตาราง

แบบทดสอบชุดที่ 4
เซนติเมตร
A B
10 cm 70 cm F = 20 N
W
F

1. 1,800 N 2. 2,500 N
3. 2,800 N 4. 3,200 N

5. 3,500 N
12. นํ้าถูกปมเขาไปในปลายดานหนึ่งของทอยาวเพื่อสงนํ้าดวยอัตรา 40 ลิตรตอนาที พบวาที่ปลายอีก
ดานหนึ่ง นํ้าไหลออกดวยอัตรา 30 ลิตรตอนาที ขอใดถูกตอง
1. ทอสงนํ้ามีรูรั่ว 2. นํ้าถูกปมขึ้นที่สูง
3. นํ้าถูกปมลงที่ตํ่า 4. เสนผานศูนยกลางของทอไมเทากัน
5. ทอสงนํ้ามีปริมาตรไมเทากัน

13. นํ้า 10 กิโลกรัม อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส เทนํ้ารอน 100 องศาเซลเซียส ลงไปกี่กิโลกรัม อุณหภูมิ
จึงจะเพิ่มเปน 50 องศาเซลเซียส
1. 2 kg 2. 4 kg
3. 6 kg 4. 8 kg
5. 10 kg

14. กลองโฟมมีนํ้าแข็งบรรจุอยู พบวาเมื่อเวลาผานไปครึ่งชั่วโมง นํ้าแข็งละลายไป 150 กรัม พลังงาน


ความรอนที่ผานกลองโฟมเขามาทําใหนํ้าแข็งละลายมีคากี่วัตต กําหนดใหคาความรอนแฝงจําเพาะ
ของการหลอมเหลวของนํ้าเทากับ 3.33105 จูลตอกิโลกรัม
1. 18.25 2. 19.52
3. 22.81 4. 27.75

5. 30.20

15. กระติ ก นํ้ า ร อ นขนาด 2 ลิ ต ร จะต อ งใช พ ลั ง งานความร อ นเท า ไรในการต ม นํ้ า จากอุ ณ หภู มิ
25 องศาเซลเซียส จนนํ้าเดือด (กําหนดให 1 cal = 4.2 J)
1. 2.4105 J 2. 4.2105 J
3. 5.4105 J 4. 6.3105 J
5. 7.2105 J
332 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
16. แกสปริมาตร 2 ลูกบาศกเมตร ที่ความดัน 105 นิวตันตอตารางเมตร จะมีพลังงานจลนเทาไร
แบบทดสอบชุดที่ 4

1. 2105 J 2. 3105 J
3. 4105 J 4. 5105 J
5. 6105 J

17. หลอดไฟขนาด 60 วัตต 220 โวลต เมื่อเปดใชงานพบวา 80 เปอรเซ็นตของพลังงานไฟฟา


กลายเปนพลังงานแสง พลังงานแสงที่เกิดขึ้นในเวลา 10 นาที มีคาเทาไร
1. 14,800 J 2. 24,400 J

3. 28,800 J 4. 32,200 J

5. 43,200 J

18. ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส แกสชนิดหนี่งมีปริมาตร 20 ลิตร จะมี


จํานวนกี่โมล (กําหนดให 1 atm = 105 N/m2, R = 8.31 J/molK)
1. 0.2 2. 0.4

3. 0.6 4. 0.8

5. 1.0

19. แกสจํานวนหนึ่งถูกบรรจุไวในกระบอกสูบ ถาทําใหแกสดังกลาวมีความดันเพิ่มขึ้นเปนสองเทาใน


ระบบที่อุณหภูมิคงที่ ขอใดไมถูกตอง
1. ปริมาตรของแกสลดลงเหลือครึ่งเดียว
2. ความหนาแนนของแกสเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา
3. จํานวนโมเลกุลตอปริมาตรคงเดิม
4. พลังงานจลนเฉลี่ยของโมเลกุลของแกสคงเดิม
5. ไมมีขอใดสอดคลอง

20. จะตองใหความรอนเทาไรแกแกสฮีเลียมจํานวน 1 โมล ที่บรรจุอยูในกระบอกสูบ แลวทําใหแกสดัน


ลูกสูบทํางาน 20 จูล และมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 เคลวิน (กําหนดให R = 8.31 J/molK)
1. 122.5 J 2. 134.3 J

3. 144.6 J 4. 152.3 J

5. 165.8 J

21. คลื่นดลในเสนเชือกเคลื่อนที่เขาหาจุดสะทอนตรึงแนน ดังรูป ขอใดแสดงลักษณะการสะทอนของ


คลื่นดลไดถูกตอง
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 333

1. 2.

แบบทดสอบชุดที่ 4
3. 4.

5.

22. เมื่อคลื่นผิวนํ้าเคลื่อนที่จากบริเวณนํ้าตื้นสูบริเวณนํ้าลึก เมื่อคลื่นกระทบแนวรอยตอระหวางนํ้าตื้น


และนํ้าลึกแลว ทิศใดที่ไมสามารถเกิดขึ้นได

นํ้าตื้น A
แนวรอยตอ
B
นํ้าลึก

C
D

1. A 2. A และ B
3. C 4. C และ D

5. B, C และ D
23. คลื่นผิวนํ้าตอเนื่องรูปไซนความถี่ 1.5 เฮิรตซ เคลื่อนที่ไปทางขวามือ ดังรูป ทองคลื่นที่ตําแหนง D
จะใชเวลาเทาไร จึงจะเคลื่อนที่ถึงตําแหนง 60 เซนติเมตร
B

A C E

D
0 10 20 30 40 50 60 70 cm

1. 1.50 s 2. 2.25 s

3. 3.00 s 4. 4.50 s

5. 5.25 s
334 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
24. คลื่นนํ้าเกิดจากแหลงกําเนิดที่มีความถี่ 3 เฮิรตซ เคลื่อนที่ดวยความเร็ว 12 เซนติเมตรตอวินาที จุด
แบบทดสอบชุดที่ 4

ที่อยูหางจากแหลงกําเนิด 20 เซนติเมตร และ 28 เซนติเมตร มีเฟสตางกันเทาไร


1. 90 2. 180

3. 270 4. 360

5. 720

25. คลื่นผิวนํ้าขบวนหนึ่งเคลื่อนที่จากบริเวณนํ้าลึกสูบริเวณนํ้าตื้น พบวาอัตราเร็วของคลื่นเปลี่ยนไป 20


เปอรเซนต ความถี่ของคลื่นผิวนํ้าจะเปลี่ยนไปกี่เปอรเซ็นต
1. 0 2. 5

3. 10 4. 15

5. 20

26. คลื่นนํ้าเกิดจากแหลงกําเนิดที่มีความถี่ 4 เฮิรตซ เคลื่อนที่ดวยความเร็ว 2 เมตรตอวินาที


จงหาระยะหางของสันคลื่นที่อยูติดกันหางกันเทาไร
1. 0.5 m 2. 1.0 m

3. 1.5 m 4. 2.0 m

5. 4.0 m

27. คลื่นในเสนเชือกเกิดจากแหลงกําเนดที่มีความถี่ 10 เฮิรตซ มีความเร็ว 20 เมตรตอวินาที จุดสองจุด


บนคลื่นที่มีระยะหางกัน 50 เซนติเมตร จะมีเฟสตางกันเทาไร
1. 60 2. 90

3. 180 4. 360

5. 720

28. คลื่นนํ้ามีอัตราเร็วในนํ้าลึกเปน 2 เทาของอัตราเร็วในนํ้าตื้น จงหามุมวิกฤต


1. 30 2. 37

3. 45 4. 53

5. 60

29. คลื่นผิวนํ้าเกิดจากแหลงกําเนิดที่สั่น 10 รอบตอวินาที ทําใหมีอัตราเร็ว 2 เมตรตอวินาที เคลื่อนที่


ผานชองแคบเดี่ยวกวาง 0.4 เมตร ในแนวตั้งฉาก จะเกิดแนวปฏิบัพทั้งหมดกี่แนว
1. 1 2. 2

3. 3 4. 4

5. 5
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 335

30. แหลงกําเนิดคลืน่ นํา้ อาพันธทาํ ใหเกิดคลืน่ ทีม่ หี นาคลืน่ เปนวงกลมสองแหลงอยูห า งกัน 10 เซนติเมตร

แบบทดสอบชุดที่ 4
และมีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร ที่ตําแหนงหนึ่งซึ่งอยูหางจากแหลงกําเนิดคลื่นทั้งสองเปนระยะ
10 เซนติเมตร และ 19 เซนติเมตร ตามลําดับ จะอยูบนแนวบัพหรือแนวปฏิบัพที่เทาไร นับจากแนว
กลาง
1. ปฏิบัพที่ 3 2. ปฏิบัพที่ 4

3. ปฏิบัพที่ 5 4. บัพที่ 4

5. บัพที่ 5

31. อุณหภูมิของอากาศ 25 องศาเซลเซียส เสียงที่เกิดจากแหลงกําเนิดความถี่ 1,730 เฮิรตซ จะมี


ความยาวคลื่นเทาไร
1. 0.2 m 2. 0.3 m

3. 0.4 m 4. 0.5 m

5. 0.6 m

32. ลูกโปงอัดแกสขนาดใหญกาํ ลังลอยขึน้ ในแนวดิง่ ดวยอัตราเร็วคงตัว 10 เมตรตอวินาที เมือ่ ลูกโปงลอย


ขึ้นไปไดนาน 18 วินาที คนที่อยูบนพื้นดินไดยินเสียงระเบิดของลูกโปง อยากทราบวาลูกโปงระเบิด
ขณะลอยอยูสูงจากพื้นดินเทาไร ถาความเร็วเสียงในอากาศขณะนั้นเทากับ 350 เมตรตอวินาที
1. 70 m 2. 92 m

3. 108 m 4. 145 m

5. 175 m

33. ขอใดเปนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางอัตราเร็วเสียงในอากาศ (v) และอุณหภูมิของอากศ (t)


ไดถูกตองที่สุด
v (m/s) v (m/s)
1. 2.

0 t (C) 0 t (C)

v(m/s) v (m/s)
3. 4.

0 t (C) 0 t (C)

v(m/s)
5.

0 t (C)
336 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
34. เรือสํารวจลําหนึ่งใชคลื่นโซนารตรวจหาวัตถุในทะเล พบวาไดรับสัญญาณสะทอนกลับจากวัตถุชนิด
แบบทดสอบชุดที่ 4

หนึ่งหลังจากปลอยสัญญาณไปแลว 0.2 วินาที หลังจากนั้นอีก 20 วินาที ก็ไดรับสัญญาณสะทอนจาก


วัตถุเดิมในเวลา 0.6 วินาที จงหาวาวัตถุนั้นจมนํ้าดวยความเร็วเทาไร กําหนดใหอัตราเร็วเสียงใน
นํ้าทะเลเทากับ 1,500 เมตรตอวินาที
1. 5 m/s 2. 10 m/s

3. 15 m/s 4. 20 m/s

5. 25 m/s

35. ในการใชคลื่นโซนารวัดความลึกของทะเล พบวาเรือสํารวจไดรับสัญญาณเสียงสะทอนกลับมา


ในเวลา 4 วินาที ทะเลบริเวณดังกลาวมีความลึกเทาไร กําหนดใหอัตราเร็วของเสียงในนํ้าทะเล
มีคา 1,500 เมตรตอวินาที
1. 1,500 m 2. 3,000 m

3. 6,000 m 4. 12,000 m

5. 15,000 m

36. ผูฟงที่ยืนหางจากแหลงกําเนิดเสียงที่มีกําลัง 8π1010 วัตต เปนระยะ 10 เมตร จะไดยินเสียง


มีความเขมเทาไร
1. 2108 W/m2 2. 2109 W/m2

3. 21010 W/m2 4. 21011 W/m2

5. 21012 W/m2

37. เคาะสอมเสียงที่มีความถี่ 204 เฮิรตซ พรอมกับสอมเสียงที่มีความถี่เทาไร จึงจะทําใหไดยิน


เสียงเปนจังหวะ 240 ครั้งตอนาที
1. 36 Hz 2. 120 Hz

3. 200 Hz 4. 208 Hz

5. 200 Hz หรือ 208 Hz


38. เคาะสอมเสียง 2 อัน อันแรกมีความถี่ 450 เฮิรตซ กับอีกอันหนึ่งซึ่งไมทราบคาความถี่ ทําใหเกิดบีตส
ทุกๆ ครึ่งวินาที จงหาความถี่ของสอมเสียงที่ไมทราบคา
1. 450 Hz 2. 448 Hz

3. 452 Hz 4. 450 Hz หรือ 454 Hz


5. 448 Hz หรือ 452 Hz
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 337

39. เมื่อเคาะสอมเสียงความถี่ 850 เฮิรตซ ทําใหเสียงกระจายไปในอากาศรอบทิศทางดวยอัตราเร็ว

แบบทดสอบชุดที่ 4
340 เมตรตอวินาที ผานจุด A และ B ดังรูป จงหาวาจุด A และ B อยูหางกันอยางนอยที่สุดเทาไร
เฟสของคลื่นเสียงจึงจะตรงขามกัน
A B

1. 0.2 m 2. 0.4 m

3. 0.6 m 4. 0.8 m

5. 1.0 m

40. ลําโพง 2 ตัววางหางกัน 5 เมตร เปนแหลงกําเนิดเสียงอาพันธเฟสตรงกัน ขณะเปดเสียงจากลําโพง


แลวทําใหเกิดคลื่นนิ่ง เมื่อเดินจากลําโพงตัวแรกไปยังตัวที่ 2 จะไดยินเสียงหายไป 10 ครั้ง ถาจุด
x เปนจุดที่ไดยินเสียงดัง จะตองเดินจากจุด x ไปยังลําโพงตัวที่สองอยางนอยเทาไร จึงจะไดยินเสียง
ดังอีกครั้ง
1 2
x

5 cm

1. 20 cm 2. 30 cm

3. 40 cm 4. 50 cm

5. 60 cm

41. จากการทดลองการสัน่ พองของเสียงโดยใชหลอดเรโซแนนซ พบวาการสัง่ พองทีเ่ กิดถัดกันเกิดขึน้ เมือ่


ตําแหนงลูกสูบหางกัน 27.5 เซนติเมตร ถาความถี่ที่ใชคือ 640 เฮิรตซ อุณหภูมิของอากาศขณะนั้น
เปนกี่องศาเซลเซียส
1. 15.0 2. 25.0

3. 32.4 4. 35.0

5. 37.2

42. ทหารยิงปนพรอมกัน 10 กระบอก ทําใหเกิดระดับความเขมเสียง 100 เดซิเบล จงหาระดับ


ความเขมเสียงของปนแตละกระบอก
1. 10 dB 2. 40 dB

3. 50 dB 4. 90 dB

5. 100 dB
338 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
43. จุดที่หางจากแหลงกําเนิดเสียง 100 เมตร ผูฟงไดยินเสียง 40 เดซิเบล จงหาวาแหลงกําเนิดเสียง
แบบทดสอบชุดที่ 4

มีกําลังเทาไร
1. 4π108 W 2. 4π106 W
3. 4π104 W 4. π106 W
5. π10 W
4

44. ชายสองคนขับรถยนตสวนทางกันดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที ทั้งคูบีบแตรใสกันดวยความถี่


1,000 เฮิรตซเทากัน แตละคนจะไดยินเสียงแตรของฝายตรงขามดวยความถี่เทาไร ถาขณะนั้น
อากาศมีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
1. 975 Hz 2. 1,000 Hz
3. 1,123 Hz 4. 1,205 Hz
5. 1,225 Hz
45. ลําโพงขนาด 4π1010 วัตต กระจายเสียงออกมารอบทิศทาง ผูฟงอยูหางจากลําโพงเปนระยะทาง
เทาไร จึงจะไดยินเสียงที่มีความเขม 1010 วัตตตอตารางเมตร
1. 1 m 2. 10 m
3. 25 m 4. 100 m
5. 1,000 m
46. เครื่องบินบินอยูเหนือศีรษะผูฟงสูงจากพื้นดิน 4 กิโลเมตร ดวยความเร็ว 1.5 มัค ผูฟงบนพื้นดิน
จะไดยินเสียงเครื่องบินอยูหางจากผูฟงเทาไร
1. 2 km 2. 3 km
3. 4 km 4. 5 km
5. 6 km
47. หลอดไฟขนาด 50 วัตต 220 โวลต จํานวน 6 หลอด แตละหลอดมีฟลักซสองสวาง 800 ลูเมน
มีตัวสะทอนใหแสงตกกระทบบนพื้นหองกวาง 3 เมตร ยาว 4 เมตร จงหาความสวางเฉลี่ยบนพื้นหอง
1. 50 lx 2. 220 lx
3. 300 lx 4. 400 lx
5. 800 lx
48. ใชแสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากบนสลิตเดี่ยวกวาง 20 ไมโครเมตร เกิดการ
แทรกสอดบนฉากทําใหแถบมืดที่ 2 อยูห า งจากแถบมืดที่ 4 เปนระยะ 5 เซนติเมตร จงหาระยะหางระหวาง
สลิตเดี่ยวกับฉาก
1. 0.2 m 2. 0.5 m
3. 1.0 m 4. 1.5 m
5. 2.0 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 339

49. ใชแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร สองผานเกรตติง ทําใหแถบสวางที่ 2 เบนเปนมุม 37 องศา

แบบทดสอบชุดที่ 4
กับแถบสวางกลาง เกรตติงที่ใชมีจํานวนกี่ชองตอเซนติเมตร
1. 5103 2. 5104

3. 5105 4. 5106

5. 5107

50. ใชแสงตกกระทบตั้งฉากกับสลิตคูซึ่งมีระยะหางระหวางสลิต 0.5 มิลลิเมตร ปรากฏวาแถบสวางที่ 2


และ 4 อยูหางกัน 2 มิลลิเมตร บนฉากรับที่อยูหางจากสลิต 1 เมตร แสงที่ใชมีความยาวคลื่นเทาไร
1. 200 nm 2. 300 nm

3. 400 nm 4. 500 nm

5. 600 nm

51. ใชแสงความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร ตกระทบตั้งฉากกับสลิตคูที่มีระยะหางกัน 0.2 มิลลิเมตร


และวางหางจากฉาก 1 เมตร แถบมืดแรกกับแถบมืดที่สองหางกันเทาไร
1. 1 mm 2. 2 mm

3. 3 mm 4. 4 mm

5. 5 mm

52. เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น  ผานสลิตคูอันหนึ่ง พบวาแถบสวางที่ 5 และแถบสวางที่ 10 บนฉากรับ


อยูหางกัน 1 เซนติเมตร ถาเปลี่ยนเปนแสงที่มีความยาวคลื่น 2 ระยะระหวางแถบสวางที่อยูติดกัน
จะเปนเทาไร
1. 0.4 cm 2. 0.6 cm

3. 0.8 cm 4. 1.0 cm

5. 1.2 cm

53. ฉายแสงสีเขียวความยาวคลืน่ 550 นาโนเมตร ใหตกกระทบตัง้ ฉากกับดานหนึง่ ของปริซมึ สามเหลีย่ ม


มุมฉากซึ่งวางอยูในอากาศ ดังรูป ถาลําแสงออกจากปริซึมเบนจากแนวเดิม 30 องศา จงหา
ดรรชนีหักเหของปริซึมนี้

1. 1.1

แสง 2. 1.3
30
3. 1.5

4. 1.7
60
5. 1.9
340 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
54. ขอความใดกลาวถูกตอง
แบบทดสอบชุดที่ 4

1. เมื่อวางวัตถุไวดานหนากระจกนูนจะเกิดภาพเสมือนเสมอ

2. ภาพที่เกิดจากเลนสเวาเปนไดทั้งภาพจริงและภาพเเสมือน

3. ภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบเปนภาพจริงเสมอ

4. ภาพที่จะเกิดจากกระจกเวามีไดเฉพาะตอนที่วางวัตถุไวหนากระจกนอยกวาความยาวโฟกัสของ

กระจก
5. ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเปนไดทั้งภาพจริงและภาพเสมือน

55. เลนสนูนบางความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตรและเลนสเวาบางความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร วางหาง


กัน 10 เซนติเมตร มีแสงขนานตกกระทบเลนสเวาเขาหาเลนสนูนอยางชาๆแสงที่ผานออกมาจาก
เลนสเวาจะมีลักษณะเปนอยางไร

แสง

10 cm

1. เปนแสงบานออกตลอดเหมือนเดิม 2. เปลี่ยนจากแสงบานออกเปนแสงลูเขา

3. เปลี่ยนจากแสงขนานเปนแสงลูเขา 4. เปลี่ยนจากแสงขนานเปนแสงบานออก

5. เปลี่ยนจากแสงบานออกเปนแสงขนาน

56. ถาวางวัตถุไวที่จุดศูนยกลางความโคงของกระจกเวาที่มีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร แลวใหวัตถุดัง


กลาวเคลื่อนที่เขาหากระจกดวยอัตราเร็วคงตัว 2 เซนติเมตรตอวินาที เวลาผานไปเทาไร ภาพที่เกิด
ในกระจกจึงจะเปนภาพหัวตั้งที่มีขนาดใหญเปน 2 เทาของวัตถุ
1. 3 s 2. 5 s

3. 7 s 4. 9 s

5. 12 s

57. เลนสนูนบางความยาวโฟกัส 15 เซนติเมตร เมื่อนําวัตถุไปวางไวหนาเลนส ทําใหเกิดภาพเสมือน


ขนาด 3 เทาของวัตถุ จงหาวาวัตถุและภาพอยูหางกันเทาไร
1. 10 cm 2. 20 cm

3. 30 cm 4. 40 cm

5. 50 cm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 341

58. ทันตแพทยใชกระจกขนาดเล็กที่มีความยาวโฟกัส 10 มิลลิเมตร ถาทันตแพทยใชกระจกนี้สองดูฟน

แบบทดสอบชุดที่ 4
แลวเห็นชัดที่สุดที่ระยะ 5 มิลลิเมตร กระจกนี้มีกําลังขยายเทาไร
1. 2 เทา 2. 3 เทา

3. 4 เทา 4. 5 เทา

5. 6 เทา

59. ผีเสื้อตัวหนึ่งบินอยูในอากาศสูงจากผิวนํ้า 3 เมตร คนที่ดํานํ้าอยูใตนํ้า และมองดูผีเสื้อตัวนี้ในแนว


เสนปกติจะเห็นผีเสื้อเปนอยางไร (กําหนดให nนํ้า = 43 )
1. ใกลเขามา 1 เมตร 2. ใกลเขามา 1.5 เมตร
3. ไกลออกไป 1 เมตร 4. ไกลออกไป 1.5 เมตร
5. สูงจากผิวนํ้า 2 เมตรเหมือนเดิม

60. วางวัตถุไวหนากระจกนูนเปนระยะ 45 เซนติเมตร ปรากฏวาไดภาพเสมือนที่มีกําลังขยาย 0.1


จงหารัศมีความโคงของกระจก
1. 10 cm 2. 15 cm

3. 30 cm 4. 35 cm

5. 45 cm
342
แบบทดสอบชุดที่ 4
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

เฉลย

1. 4 2. 5 3. 4 4. 2 5. 4 6. 3 7. 2 8. 1 9. 3 10. 4

11. 4 12. 1 13. 4 14. 4 15. 4 16. 2 17. 3 18. 4 19. 3 20. 3

21. 3 22. 4 23. 1 24. 5 25. 1 26. 1 27. 2 28. 1 29. 3 30. 5

31. 1 32. 5 33. 3 34. 3 35. 2 36. 5 37. 5 38. 5 39. 1 40. 4

41. 4 42. 4 43. 3 44. 3 45. 1 46. 5 47. 4 48. 3 49. 1 50. 4

51. 2 52. 1 53. 4 54. 1 55. 4 56. 2 57. 2 58. 1 59. 3 60. 1

เฉลยพรอมคําอธิบาย
1. ตอบขอ 4
วัตถุ
อธิบาย จาก ความถวงจําเพาะ =
น้ํา
วัตถุ
แทนคา; 19.3 =
103
วัตถุ = 19.3103 kg/m3
2. ตอบขอ 5
อธิบาย จาก F = 0
Tmg = FB

แทนคา; 85(0.510) = ลVจg


T FB
3
90 = 10 Vจ10

90
Vจ = 4
= 9.0103 m3
10
3. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก v = √2gh

แทนคา; = √21010 ; h = 91 = 10 m

v = 10√2 m/s
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 343

4. ตอบขอ 2

แบบทดสอบชุดที่ 4
อธิบาย จาก Pg = gh

แทนคา; 105 = 10310h

h = 10 m

5. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก Pg = gh

แทนคา; = 800100.5

Pg = 4,000 Pa

6. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก Pg = gh

แทนคา; = 103104

Pg = 4104 Pa

7. ตอบขอ 2

อธิบาย ผิวน้ํา

10 m

ฟองอากาศ

จาก P = PgP0

= ghP0

แทนคา; = (1031010)105

 = 2105 Pa = 200 kPa


8. ตอบขอ 1

อธิบาย
60 cm h
53

ปรอท

จาก Pa = ag

= g(60 sin 53)


4
แทนคา; = g60
5
= 48g

Pล = 48 cmHg = 480 mnHg


344 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
9. ตอบขอ 3
แบบทดสอบชุดที่ 4

อธิบาย จาก F = 0

FB = mg

ลVจg = วVวg
ลVจ = วVว
แทนคา; 103Vจ = 880100%

Vจ = 88%

10. ตอบขอ 4

อธิบาย
T

1 kg FB
mg

จาก F = 0

TFB = mg

T = mgFB

= mgลVจg

1 m
= (110) 103 10 ; Vจ = Vว = ว
 2,500   ว 
= 104

T = 6.0 N

11. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก Mทวน = Mตาม

F(AB) = F(AC)

แทนคา; F10 = 2080

F = 160 N

W F
จาก A
= a

W 160
แทนคา; 100
=
5

W = 3,200 N
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 345

12. ตอบขอ 1

แบบทดสอบชุดที่ 4
อธิบาย จาก Q1 = Q2

A1v1 = A2v2

V1 V2
หรือ t1
=
t2

ถาขนาดของทอเทากันตลอดทั้งสาย แลวอัตราการไหลลดลง แสดงวาทอสงน้ํามีรูรั่ว


13. ตอบขอ 4
10 C 50 C
อธิบาย
ดูด น้ํา น้ํา
100 C 50 C

คาย น้ํารอน น้ํา

จาก Qดูด = Qคาย


m1cT1 = m2cT2
แทนคา; 10(5010) = m2(10050)
400 = 50m2
m2 = 8 kg
14. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก Q = mL
แทนคา; = 0.153.33105
Q = 49,950 J
ในเวลาครึ่งชั่วโมง t ,
= 1 800 s
Q
จาก P =
t
49,950
แทนคา; =
1,800
P = 27.75 W

15. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก Q = mcT

แทนคา; = 2103(10025) ; (1 lt = 1 kg)

= 210375

= 15104 cal

= 151044.2 J

Q = 6.3105 J
346 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
16. ตอบขอ 2
แบบทดสอบชุดที่ 4

3
อธิบาย จาก Ek = PV
2
3 5
แทนคา; = 10 2
2
Ek = 3105 J

17. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก Q = (80%) W
80
แทนคา; = Pt
100
80
= 60(6010)
100
Q = 28,800 J

18. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก PV = nRT

แทนคา; 10520103 = n8.31(27273)

2103 = n8.31300

2103
n =
8.31300
n = 0.8 mol

19. ตอบขอ 3
P1V1 P2V2
อธิบาย จาก T1
=
T2
เมื่อ T คงที่ จะได P1V1 = P 2P 2

ดังนั้น เมื่อความดันของแกสเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา จะทําใหปริมาตรลดลงครึ่งหนึ่ง ทําให


จํานวนโมเลกุลตอปริมาตรของแกสเปลี่ยนไปดวย
20. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก Q = U4W

3
= nRTW
2
3
แทนคา; = (1)(8.31)(10)20
2
Q = 144.6 J
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 347

21. ตอบขอ 3

แบบทดสอบชุดที่ 4
อธิบาย คลื่นที่สะทอนจากจุดสะทอนตรึงแนนจะมีเฟสตรงขามจากเดิม
22. ตอบขอ 4
อธิบาย เมื่อคลื่นผิวน้ําเคลื่อนที่ระหวางบริเวณน้ําตื้นและน้ําลึก พบวาคลื่นในบริเวณน้ําตื้นจะมี
อัตราเร็วนอยกวาคลื่นในบริเวณน้ําลึก ดังนั้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากบริเวณน้ําตื้นไปสูบริเวณน้ําลึก
จึงหักเหออกจากเสนแนวปกติและยังสามารถสะทอนไปยังทิศ A ไดดวย ดังนั้นทิศ C และ D เปนทิศ
ที่มีมุมหักเหเทากับและนอยกวามุมตกกระทบ จึงไมมีโอกาสเกิดขึ้นได
23. ตอบขอ 1
อธิบาย จากรูป = 20 cm
จาก v = f

แทนคา; = 201.5

= 30 cm/s
S
หา t, จาก v =
t
S
t =
v
6015
แทนคา; =
30
45
=
30

t = 1.50 s

24. ตอบขอ 5
อธิบาย หา , จาก v = f

v
 =
f
12
แทนคา; =
3

 = 4 cm

(360)x
หา , จาก  =

3608
แทนคา; =
4

 = 720
348 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
25. ตอบขอ 1
แบบทดสอบชุดที่ 4

อธิบาย เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งสูอีกบริเวณหนึ่งจะมีความถี่คงตัว
26. ตอบขอ 1
v
อธิบาย จาก  =
f
2
แทนคา; =
4
 = 0.5 m

27. ตอบขอ 2
v
อธิบาย จาก  =
f
แทนคา; = 20
10
 = 2m
(360)x
จาก  =

3600.5
แทนคา; =
2
 = 90
28. ตอบขอ 1
อธิบาย จากโจทยเกิดมุมวิกฤต แสดงวา  = 90
sin ตื้น vตื้น
จาก sin ลึก
=
vลึก
sin ตื้น vตื้น
=
sin 90 2vตื้น
1
sin ตื้น =
2
ตื้น = 30

29. ตอบขอ 3
v
อธิบาย จาก  =
f
2
แทนคา; =
10
 = 0.2 m

โจทยถามแนวปฏิบัพทั้งหมดใช  = 90
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 349

1
จาก d sin  = n2 

แบบทดสอบชุดที่ 4
1
แทนคา; (0.4)sin 90 = n20.2
0.4 = 0.2n0.1
0.2n = 0.3

n ปดเศษทิ้งทั้งหมดเหลือ n
= 1.5 ( = 1)

นั่นคือ เกิดแนวปฏิบัพทั้งหมด 3 แนว คือ ซาย 1, ขวา 1, กลาง 1


30. ตอบขอ 5

อธิบาย
S1

10 cm
19 cm

S2

10 cm
P

จาก |S1PS2P| = n12


แทนคา; 1910 = n12(2)
9 = 2n1

8 = 2n

เนื่องจาก n เปนจํานวนเต็มเทากับ 4 แสดงวาจุด P เปนบัพที่ 5


31. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก v = 3310.6t

แทนคา; = 3310.6(25)

v = 346 m/s
v
จาก  =
f
346
แทนคา; =
1,730
 = 0.2 m
350 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
32. ตอบขอ 5
แบบทดสอบชุดที่ 4

t1

t2

อธิบาย เมื่อ t1 คือ เวลาที่ลูกโปงลอยจากพื้นถึงจุดที่ระเบิด


S
จาก v =
t
S
t1 = .....(1)
10
เมื่อ t2 คือ เวลาที่เสียงเดินหางจากจุดที่ระเบิดถึงพื้นดิน
S
t2 = .....(2)
350
เมื่อ S คือ ความสูงจากพื้นดินถึงจุดที่ระเบิด
จะไดวา t1t2 = 18 .....(3)

แทนคา (1), (2) ลงไป


S S
 = 18
10 350
35S S
 = 18
350 350
36S
= 18
350

S = 175 m

33. ตอบขอ 3
อธิบาย จากสมการ v = 3310.6t แสดงวากราฟเปนเสนตรง และจุดเริ่มตนของกราฟอยูที่ 331 m/s
ดังนั้น รูปที่ 3 สอดคลองที่สุด
34. ตอบขอ 3
อธิบาย

S1
S2
v

v
ตอนแรก 20 s ตอมา
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 351

S
ตอนแรก หา S1, จาก v =
t

แบบทดสอบชุดที่ 4
2S1
แทนคา; ,
1 500 =
0.2
S1 = 150 m

S
20 s ตอมา หา S2, จาก v =
t
2S2
แทนคา; ,
1 500 =
0.6
S2 = 450 m

S
จาก v =
t
S2S1
=
t
450150
แทนคา; =
20
v = 15 m s /
35. ตอบขอ 2
vt
อธิบาย จาก S =
2
1,5004
แทนคา; =
2
S = 3,000 m

36. ตอบขอ 5
P
อธิบาย จาก I =
4πR2
8π1010
แทนคา; =
4π(10)2

I = 21012 W/m2

37. ตอบขอ 5
อธิบาย จากโจทย ไดยินเปนจังหวะ 240 ครั้งตอนาที แสดงวา
240 ครั้ง นาที =
fB =  4 Hz
นาที 60 s
จาก f B = |f1  f2|

แทนคา; 4 = |204  f2|

f2 = 204  4

f2 = 200 และ 208 Hz


352 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
38. ตอบขอ 5
แบบทดสอบชุดที่ 4

อธิบาย เกิดบีตสทุกๆ ครึ่งวินาที แสดงวา f B = 2 ครั้งตอวินาที


จาก f B = |f1f2|

2 = |450f2|

f2 = 4502

f2 = 448 Hz หรือ 452 Hz

39. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก v = f

v
 =
f
340
แทนคา; =
850

 = 0.4 m

เสียงมีความยาวคลื่น 0.4 เมตร ดังนั้นเมื่อตองการหาตําแหนงที่ใกลกัน ที่มีเฟสตรงขาม


จะเทากับ 2 ดังนั้นจุด A และ B จึงอยูหางกันอยางนอยที่สุด 0.2 เมตร

0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0

A B

40. ตอบขอ 4

อธิบาย
1 ดัง ดัง ดัง ดัง ดัง ดัง ดัง ดัง ดัง ดัง 2
x

N N N N N N N N N N
S


หา , ระยะระหวาง N ถึง N =
2

เมื่อไดยินเสียงเบา 10 ครั้ง ในระยะ 5 เมตร


 5
แสดงวา 2
=
10

 = 1m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 353


หาระยะ S, เมื่อ S เปนระยะจากตําแหนงดังถึงดัง = 2

แบบทดสอบชุดที่ 4

ดังนั้น S =
2
1
S = = 0.5 m = 50 cm
2
41. ตอบขอ 4

อธิบาย

27.5 cm

จากรูป  = 2L = 227.5 = 55 cm

จาก v = f

แทนคา; = 55102640

v = 352 m/s

หา t, จาก v = 3310.6t

แทนคา; 352 = 3310.6t

t = 35.0 C

42. ตอบขอ 4
P2
อธิบาย จาก 21 = 10 log P  1
1
แทนคา; 2100 = 10 log  
10
2100 = 10 log (101)

2100 = 10
2 = 90 dB

43. ตอบขอ 3
I
อธิบาย จาก  = 10 log I 0

I
แทนคา; 40 = 10 log 10  12

I
4 = log 10 
12

I
104 =
1012
I = 108 W/m2
354 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
P
จาก I =
4πR2
แบบทดสอบชุดที่ 4

2
P = 4πR I

แทนคา; = 4π(102)2108

= 4π104108

P = 4π104 W

44. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก v0 = 3310.6t

แทนคา; = 331(0.625)

v0 = 346 m/s
วาดรูปทิศทางของ v
vL vs

v0

v0vL
จาก fL =  v v  f S
0 S

34620
แทนคา; =  34620  1,000
366
=  326  1,000
fL = 1,123 Hz

45. ตอบขอ 1
P
อธิบาย จาก I =
4πR2
P
R2 =
4πI
4π1010
แทนคา; =
4π1010
R2 = 1

R = 1m

46. ตอบขอ 5
x
อธิบาย จาก M =
h
x
แทนคา; 1.5 =
4,000
x = 6,000 m = 6 km
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 355

47. ตอบขอ 4

แบบทดสอบชุดที่ 4
nF
อธิบาย จาก E =
A
6800
แทนคา; =
34
E = 400 lx

48. ตอบขอ 3
อธิบาย จากโจทย ใช n = 2 เพราะแถบที่ 2 และ 4 อยูหางกัน 2 แถบ
dx
จาก = n
L
dx
L =
n
(20106)(5102)
แทนคา; =
2500109
L = 1.0 m
49. ตอบขอ 1
1
อธิบาย จาก  N sin  = n

1
แทนคา;  N sin 37 = 2600109

1 3
 = 12107
N 5
3
Ν =
121075
= 5105 ชอง/m
Ν = 5103 ชอง/cm
50. ตอบขอ 4
dx
อธิบาย จาก = n
L
dx
 =
nL
0.51032103
แทนคา; =
21
= 5107 m

 = 500 nm

51. ตอบขอ 2
อธิบาย จากโจทย ใช n = 1 เพื่อหาวาแถบมืดแรกหางจากแถบสวางกลางเทาไร
dx 1
จาก = n  
2
L
356 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
1 L
x n2
แบบทดสอบชุดที่ 4

=
d
1 4001091
แทนคา; = 1
 2  
0.2103

= 103 m

x = 1 mm

A2

N2

A1 2 mm

N1
1 mm
A0

จากรูป N1 และ N2 อยูหางกัน 2 mm


52. ตอบขอ 1
อธิบาย แสงความยาวคลื่น 
dx
จาก L
= n

แถบสวางที่ 5 ถึง 10 หางกัน 5 นั่นคือ n = 5


d(1)
จะได L
= 5 .....(1)

แสงความยาวคลื่น 2
dx
จาก L
= n

dx
จะได L
= 2 .....(2)

dx
(2) L 2
นํา ;
(1) d
=
5
L
2
x = = 0.4 cm
5
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 357

53. ตอบขอ 4

แบบทดสอบชุดที่ 4
อธิบาย
n2
เสนปกติ

n1 2
1 30
1
2
60

จากรูป จะได 1 = 30, 2 = 3030 = 60 และ n2 = nอากาศ = 1


sin 1 n2
จาก sin 2
=
n1

sin 30 1
แทนคา; sin 60
= n
1

1
1
2 = n
1
3
2
n1 = 3 = 1.7

54. ตอบขอ 1
อธิบาย ขอ 2 ผิด เพราะเลนสเวาจะใหภาพเสมือนขนาดยอ
ขอ 3 ผิด เพราะกระจกเงาราบใหภาพเสมือนเสมอ
ขอ 4 ผิด เพราะภาพที่เกิดจากกระจกเวาเกิดไดทั้งภาพจริงและภาพเสมือน ขึ้นอยูกับ
ตําแหนงของวัตถุ
ขอ 5 ผิด เพราะภาพที่เกิดจากกระจกนูนจะเปนภาพเสมือนขนาดเล็ก หรือเทากับวัตถุ
เสมอ
55. ตอบขอ 4
อธิบาย เนื่องจากเลนสนูนมีความยาวโฟกัส 20 cm และเลนสเวามีความยาวโฟกัส 10 cm และวาง
หางกัน 10 cm ทําใหตําแหนงของจุดโฟกัสของเลนสทั้งสองอยูที่ตําแหนงเดียวกัน โดยเลนสนูนเปน
เลนสรวมแสง สวนเลนสเวาเปนเลนสกระจายแสง เมื่อตําแหนงของจุดโฟกัสของเลนสทั้งสองอยูที่
ตําแหนงเดียวกันจะใหแสงขนานเหมือนเดิม แตถาหากเลื่อนเลนสเวาเขาหาเลนสนูนก็จะทําใหแสง
ขนานเปนแสงบานออก
358 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
56. ตอบขอ 2
แบบทดสอบชุดที่ 4

f
อธิบาย จาก m =
Sf
( ; กระจกเวา f เปน )
20
แทนคา; 2 =
S20
2S40 = 20

S = 30 cm

เดิมวัตถุอยูที่ตําแหนงจุดศูนยกลางความโคงของกระจก
ดังนั้น จาก R = 2f = 220 = 40 cm
S
หา t, จาก v =
t
S
t =
v
4030
แทนคา =
2
t = 5s

57. ตอบขอ 2

f
อธิบาย จาก m =
Sf
15
แทนคา; 3 =
S15
3S45 = 15

3S = 30

S = 10 cm

1 1 1
จาก f
= 
S S
1 1 1
แทนคา; 15
= 
10 S
1 1 1
= 
S 15 10
1 2 3
= 
S 30 30
S = 30 cm

ภาพเสามือนที่เกิดจากเลนสนูนเกิดดานเดียวกันกับวัตถุ
ดังนั้น ภาพและวัตถุอยูหางกัน = 3010 = 20 cm ดังรูป
ภาพ

วัตถุ
f f
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 359

58. ตอบขอ 1

แบบทดสอบชุดที่ 4
อธิบาย กระจกที่ใชคือ กระจกเวา ดังนั้น f เปน 

C f ภาพ
5 mm
10 mm

f
จาก m =
Sf
10
แทนคา; =
510
m = 2

ภาพที่ไดเปนภาพเสมือนหัวตั้ง กําลังขยาย 2 เทา


59. ตอบขอ 3

ความลึกจริง nนอย
อธิบาย จาก =
nมาก
ความลึกปรากฏ
3 1
=
4
ความลึกปรากฏ 3
ความลึกปรากฏ = 4m

ดังนั้น จะมองเห็นผีเสื้อไกลออกไป 43 = 1 m


60. ตอบขอ 1
f
อธิบาย จาก m =
Sf

0.1 = f
45f
4.50.1f = f

4.5 = 0.9f

f = 5 cm ( เครื่องหมายลบ โฟกัสอยูหลังกระจก)
จาก R = 2f

แทนคา; = 25

R = 10 cm
360 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

แบบทดสอบชุดที่ 5
แบบทดสอบชุดที่ 5

จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. ขอใดกลาวไมถก ู ตอง
1. ของแข็งแตกตางจากแกสและของเหลว คือ มีความแข็ง มีรป ู รางทีแ่ นนอน ปริมาตรไมเปลีย่ นแปลง
แมถูกอัด
2. แกสสามารถอัดใหเล็กลงและสามารถทําใหขยายตัวได

3. ของเหลวมีรูปรางไมแนนอนเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุและสามารถแพรได
4. อนุภาคของของเหลวเรียงตัวกันมีความเปนระเบียบมากกวาของแข็งและนอยกวาแกส

5. ไมมีขอใดถูกตอง

2. ชางประปาอานคาความดันนํ้าในทอจากเครื่องที่ชั้นลางของตึกสูงได 250 กิโลพาสคัล อยากทราบวา

ตึกดังกลาวนี้สูงเทาไร
1. 2.5 m 2. 25 m

3. 250 m 4. 50 m

5. 500 m

3. ทองแดงมีคา ความถวงจําเพาะเทากับ 8.8 อยากทราบวาทองแดงปริมาณ 5 ลูกบาศกเมตร หนักเทาไร


1. 44 kN 2. 440 kN

3. 4,400 kN 4. 44,000 kN

5. 440,000 kN

4. วิศวกรออกแบบเรือดํานํ้าเพื่อสํารวจทรัพยากรทางทะเลที่ระดับความลึก 1 กิโลเมตรจากผิวนํ้า ถา


ความดันบรรยากาศเปน 100 กิโลพาสคัล และความหนาแนนของนํ้าทะเลบริเวณนั้นเทากับ 1,030
กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร อยากทราบวาวิศวกรตองออกแบบใหเรือดํานํ้าทนแรงดันอยางนอยเทาไร
1. 104 kPa 2. 1,040 kPa

3. 10,400 kPa 4. 104,000 kPa

5. 1,040,000 kPa

5. เขื่อนแหงหนึ่งมีความยาวสันเขื่อน 100 เมตร สามารถทนแรงดันของนํ้าไดมากที่สุด 2108 นิวตัน


เขื่อนแหงนี้สามารถเก็บนํ้าไดลึกที่สุดเทาไร
1. 5 m 2. 10 m

3. 15 m 4. 20 m

5. 25 m
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 361

6. หลอดแกวรูปตัวยูขาดานซายโตเปน 2 เทาของดานขวา ภายในบรรจุนํ้าไวพอประมาณ ตอมาเติม

แบบทดสอบชุดที่ 5
นํ้ามันความหนาแนน 800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ลงไปในขาขางขวา 10 เซนติเมตร จงหาวา
ระดับนํ้ามันดานขวาสูงกวาระดับนํ้าดานซายเทาไร
1. 2 cm 2. 4 cm

3. 6 cm 4. 8 cm

5. 10 cm

7. เครื่องอัดไฮดรอลิกมีพื้นที่หนาตัดของลูกสูบใหญเปน 8 เทาของลูกสูบเล็ก ถาตองการยกของหนัก


1,200 นิวตัน จะตองออกแรงกดที่ลูกสูบเล็กเทาไร

1. 100 N 2. 150 N
3. 200 N 4. 250 N

5. 300 N

8. พลาสติกชนิดหนึ่งมีความถวงจําเพาะ 0.65 นําไปลอยในนํ้าที่มีความหนาแนน 1 กรัมตอลูกบาศก


เซนติเมตร พลาสติกชนิดนี้มีสวนที่ลอยนํ้าคิดเปนกี่เปอรเซ็นตของปริมาตรทั้งกอน
1. 35% 2. 45%

3. 55% 4. 65%

5. 55%

9. หวงลวดวงกลมเสนรอบวง 10 เซนติเมตร นํามาใชทดลองหาความตึงผิวของของเหลว ปรากฏวา


ต อ งออกแรงดึ ง 0.01 นิ ว ตั น จึ ง จะทํ า ให ล วดหลุ ด ออกจากผิ ว ของเหลวพอดี ข องเหลวนี้ มี
ความตึงผิวเทาไร
1. 0.05 N/m 2. 0.08 N/m

3. 0.10 N/m 4. 0.15 N/m

5. 0.20 N/m
10. นําวัตถุกอนหนึ่งไปลอยนํ้า ปรากฏวาวัตถุจมลงไป 50 เปอรเซ็นตของปริมาตรทั้งกอน จงหา
ความหนาแนนของวัตถุ
1. 250 kg/m3 2. 500 kg/m3

3. 750 kg/m3 4. 800 kg/m3

5. 850 kg/m3

11. ถาวัตถุ 2 ชิ้นอยูในสมดุลทางความรอนซึ่งกันและกัน หมายความวาอยางไร


1. วัตถุทั้งสองไมสามารถเคลื่อนที่ได

2. วัตถุทั้งสองไมมีการเปลี่ยนแปลงความดัน

3. วัตถุทั้งสองไมมีความแตกตางของอุณหภูมิ
362 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
วัตถุทั้งสองไมสามารถเกิดการชนแบบยืดหยุนได
4.
แบบทดสอบชุดที่ 5

5. วัตถุทั้งสองไมสามารถเปลี่ยนแปลงปริมาตรได
12. อัดแกสชนิดหนึ่งจากปริมาตร 30 ลูกบาศกเมตร ความดัน 105 นิวตันตอตารางเมตร ใหปริมาตรลด
เหลือ 10 ลูกบาศกเมตร โดยความดันคงที่ จงหางานในการอัดแกสครั้งนี้
1. 0.2105 J 2. 2105 J
3. 20105 J 4. 200105 J
5
5. 22010 J
13. แกสชินดหนึง่ มีปริมาตร 5103 ลูกบาศกเมตร ที่ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 1 บรรยากาศ ขยายตัว
จนมีปริมาตรเปน 7.5103 ลูกบาศกเมตร และความดันเปน 1.8 บรรยากาศ จงหาอุณหภูมิสุดทาย
ของแกสนี้วาเปนกี่องศาเซลเซียส
1. 53.7 C 2. 57.3 C
3. 537.0 C 4. 573.0 C
5. 586.0 C
14. หมอตมนํา้ ทําจากเหล็กกลาหนัก 1,000 กิโลกรัม ตมนํา้ 500 กิโลกรัม ถาความรอนเพียง 80 เปอรเซ็นต
ถูกสงมายังหมอตมนํา้ และนํา้ จะตองใชความรอนเทาไรในการเพิม่ อุณหภูมขิ องทัง้ หมอตมและนํา้ จาก
20 องศาเซลเซียส ไปเปน 100 องศาเซลเซียส (กําหนดให cนํ้า = 1 kCal/kgK และ cเหล็ก = 0.11 kcal/
kgK)
1. 24,400 kcal 2. 30,500 kcal
3. 48,800 kcal 4. 61,000 kcal
5. 76,250 kcal
15. ถาตองการใหนํ้าแข็งมวล 3 กิโลกรัม อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส กลายเปนนํ้าที่อุณหภูมิ 100
องศาเซลเซียสทั้งหมด จะตองใชพลังงานความรอนเทาไร (กําหนดให cนํ้าแข็ง = 2.1 kJ/kgK,
cนํ้า = 4.2 kJ/kgK และ Lนํ้าแข็ง = 333 kJ/kg)
1. 229.05 J 2. 2,290.5 J
3. 229.05 kJ 4. 2,290.5 kJ
5. 2,920.5 kJ
16. เครื่องทํานํ้าอุนขนาด 3,000 วัตต 220 โวลต จะตองใชเวลานานเทาไรจึงจะทําใหนํ้า 1 ลิตร
อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส รอนขึ้นกลายเปน 37 องศาเซลเซียส ถาไมมีการสูญเสียพลังงาน
(กําหนดให 1 cal = 4.2 J)
1. 12.0 s 2. 14.5 s
3. 16.8 s 4. 20.2 s
5. 22.6 s
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 363

17. กระติกนํ้ารอนขนาด 1,000 วัตต 220 วัตต ตองใชเวลานานเทาไรในการตมนํ้า 2 ลิตร จากอุณหภูมิ

แบบทดสอบชุดที่ 5
25 องศาเซลเซียสจนเดือด ถามีการสูญเสียพลังงานไป 30 เปอรเซ็นต
1. 10 min 2. 12 min
3. 13 min 4. 14 min
5. 15 min
18. ถามีโมเลกุลของแกสที่มีอัตราเร็ว v สองโมเลกุล 2v หนึ่งโมเลกุล และ 3v สี่โมเลกุล อัตราเร็วรากที่
สองของกําลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลแกสทั้งหมดมีคาเทาไร
1. 1.24v 2. 2.45v
3. 2.87v 4. 3.12v
5. 3.65v
19. แกสไฮโดรโบรมีนมีมวลโมเลกุลเทากับ 81 บรรจุอยูใ นถังทีม่ คี วามดันคงที่ สามารถผานรูรวั่ ไดในเวลา
18 วินาที อยากทราบวาถานําแกสฮีเลียมที่มีมวลโมเลกุลเทากับ 4 ไปใสในถังใบนี้ แกสฮีเลียม จะ
แพรผานรูรั่วหมดภายในเวลาเทาไร
1. 0.012 s 2. 0.12 s
3. 1.2 s 4. 2.4 s
5. 4.0 s
20. สมมติอิเล็กตรอนที่นําไฟฟาในตัวนําโลหะประพฤติตัวเหมือนแกส ในขณะที่โลหะนี้มีอุณหภูมิ 3,227
องศาเซลเซียส จงหาวาอัตราเร็วของอิเล็กตรอนมีคาเทาไร
1. 6.84 km/s 2. 68.4 km/s
3. 684 km/s 4. 6,840 km/s
5. 68,400 km/s
21. ถาความดันของแกสภายในถังใบหนึง่ ลดลง 10 เปอรเซ็นต พลังงานจลนของแกสจะเปลีย่ นไปอยางไร
1. เพิ่มขึ้น 10% 2. ลดลง 10%
3. เพิ่มขึ้น 90% 4. ลดลง 90%
5. คงที่
22. จงหาอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียสที่ทําใหแกสอุดมคติ มีพลังงานจลนเฉลี่ย 8.281021 จูล
1. 127 C 2. 273 C
3. 400 C 4. 673 C
5. 736 C
23. พลังงานภายในของแกสฮีเลียม 50 โมล จะเปลี่ยนไปเทาไร ถาอุณหภูมิของแกสฮีเลียมเปลี่ยนแปลง
ไป 15 องศาเซลเซียส
1. 9.35 J 2. 93.5 J
3. 9.35 kJ 4. 93.5 kJ
5. 935 kJ
364 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
24. แกส 1 โมล ที่บรรจุในกระบอกสูบถูกใหความรอน 70 จูล แกสจะทํางาน 10 จูล ดันลูกสูบใหเคลื่อนที่
แบบทดสอบชุดที่ 5

อุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นเทาไร
1. 4.81 K 2. 3.85 K
3. 3.12 K 4. 2.57 K
5. 3.68 K

25. ถากระทุมนํ้าเปนจังหวะสมํ่าเสมอ ลูกปงปองที่ลอยอยูในนํ้าจะเคลื่อนที่เทาไร


1. ลูกปงปองจะอยูกับที่ 2. ลูกปงปองเคลื่อนที่หางมากขึ้น
3. ลูกปงปองเคลื่อนที่เขามาหา 4. ลูกปงปองเคลื่อนที่ขึ้น-ลงอยูที่ตําแหนงเดิม
5. ลูกปงปองเคลื่อนที่ไปดานขาง
26. เด็กคนหนึ่งสะบัดเชือกยาว 80 เมตร โดยปลายขางหนึ่งตรึงไวกับผนังทําใหเกิดคลื่นนิ่ง ดังรูป
จงหาความถี่ของคลื่นที่เกิดขึ้น เมื่อคลื่นมีอัตราเร็ว 3.2 เมตรตอวินาที
80 m

1. 0.02 Hz 2. 0.2 Hz
3. 2.0 Hz 4. 20.0 Hz
5. 200.0 Hz

27. นักเรียนคนหนึง่ ยืนอยูข อบสระทีม่ คี วามลึก 2.3 เมตร เห็นกุญแจตึกอยูใ นสระหางออกไปจากขอบสระ


3.2 เมตร ดังรูป อยากทราบวามุมหักเหในอากาศมีคาเทาไร (กําหนดให nนํ้า = 1.33 และ nอากาศ =
1.00)

 nอากาศ = 1.00

nนํ้า = 1.33
2.3 m

กุญแจ
2.0 m 1.2 m

1. 23 2. 37
3. 45 4. 53

5. 60
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 365

28. ขอใดกลาวถูกตอง

แบบทดสอบชุดที่ 5
1. อัตราเร็วของคลื่นไมเปลี่ยนแปลงเมื่อเกิดการหักเห
2. การหักเหของคลื่นเกิดไดในตัวกลางชนิดเดียวกัน
3. เมื่อคลื่นนํ้าเคลื่อนที่จากนํ้าตื้นไปยังนํ้าลึก ทิศทางการหักเหจะเบนเขาหาเสนปกติ
4. มุมสะทอนกลับหดและมุมวิกฤตเกิดจากคลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความเร็วมากไปยังตัวกลาง
ที่มีความเร็วนอย
5. มุมสะทอนกลับหมดจะมีขนาดเทากับหรือโตกวามุมวิกฤตเสมอ
29. เมื่อมีคลื่นเคลื่อนที่จากแหลงกําเนิดอาพันธมาซอนทับกัน จุดใดบางที่ทําใหเกิดตําแหนงปฏิบัพ
1. สันคลื่นกับสันคลื่น
2. ทองคลื่นกับทองคลื่น
3. สันคลื่นกับทองคลื่น
4. สันคลื่นกับทองคลื่น และทองคลื่นกับสันคลื่น
5. สันคลื่นกับสันคลื่น และทองคลื่นกับทองคลื่น
30. เสียงเดินทางไดดีที่สุดในตัวกลางชนิดใด
1. ของแข็ง 2. ของเหลว
3. แกส 4. สุญญากาศ
5. เทากันทุกตัวกลาง
31. เสียงจะเลี้ยวเบนในแนวราบผานหนาตางที่มีความสูง 100 เซนติเมตร กวาง 80 เซนติเมตร ไดมาก
ที่สุด ควรมีความถี่เทาไร ในวันที่อากาศมีอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส
1. 405.5 Hz 2. 431.75 Hz
3. 441.5 Hz 4. 487.0 Hz
5. 551.5 Hz
32. เสียงในชั้นเรียนของนักเรียนแหงหนึ่งที่ดังอึกทึกครึกโครมวัดระดับความเขมเสียงได 80 เดซิเบล
ความเขมเสียง ณ จุดที่วัดมีคาเทาไร
1. 102 W/m2 2. 103 W/m2
3. 104 W/m2 4. 105 W/m2
5. 106 W/m2
33. วัดระดับความเขมเสียงในโรงงานโมหินได 100 เดซิเบล ถาคนงานใชเครื่องกรองเสียงทําใหลดความ
เขมเสียงลงได 99 เปอรเซ็นตของความเขมเสียงเดิม คนงานจะไดยินเสียงเทาไร
1. 50 dB 2. 60 dB
3. 70 dB 4. 80 dB
5. 90 dB
366 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
34. เสียงที่มีความยาวคลื่น 4 เมตร เกิดการสั่นพองครั้งแรกกับหลอดเรโซแนนซที่มีความยาวเทาไร
แบบทดสอบชุดที่ 5

1. 0.2 m 2. 0.4 m

3. 0.6 m 4. 0.8 m

5. 1.0 m

35. สายกีตารเบสยาว 1.3 เมตร เกิดการสั่น 3 ฮารมอนิก จงหาความถี่เมื่อความเร็วของคลื่นเสียงที่เกิด


ขึ้นมีคา 181 เมตรตอวินาที
1. 120.0 Hz 2. 150 Hz

3. 180 Hz 4. 208 Hz

5. 313 Hz

36. ไซเรนของรถพยาบาลมีความถี่ 440 เฮิรตซ ถาในขณะนั้นอากาศมีอุณหภูมิ 22 องศาเซลเซียส จงหา


วาคนที่ยืนนิ่งบนถนนที่รถพยาบาลนี้เคลื่อนที่ผานไปดวยความเร็ว 26 เมตรตอวินาที จะไดยินเสียง
ไซเรนที่มีความถี่เทาไร
1. 345.2 Hz 2. 453.2 Hz

3. 475.9 Hz 4. 532.8 Hz

5. 572.6 Hz

37. รถประจําทางแลนดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที คนขับบีบแตรความถี่ 1,500 เฮิรตซ ผูโดยสาร


ทีย่ นื รอรถอยูท ปี่ า ยหยุดรถจะไดยนิ เสียงแตรมีความถีเ่ ทาไร กําหนดใหความเร็วเสียงในอากาศเทากับ
346 เมตรตอวินาที

1. 800 Hz 2. 932 Hz

3. 1,061 Hz 4. 1,258 Hz

5. 1,592 Hz

38. เครื่องบินมีความเร็ว 510 เมตรตอวินาที ถาขณะนั้นอากาศมีอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส คนที่อยู


บนพื้นดินจะไดยินเสียงเครื่องบิน เมื่อเครื่องบินบินผานไปแลวมีมุมเงยจากพื้นดินเทาไร
1. 30.5 2. 37.2

3. 41.8 4. 53.5

5. 60.3

39. วัดระดับความเขมเสียงหางจากลําโพงอันหนึ่ง 10 เมตร ได 70 เดซิเบล จงหากําลังของลําโพงนี้


1. 4π103 W 2. 4π106 W

3. 4π108 W 4. 4π1010 W

5. 4π1012 W
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 367

40. ถาเพิ่มระดับความเขมเสียงจาก 50 เปน 100 เดซิเบล ความเขมเสียงจะเปลี่ยนไปอยางไร

แบบทดสอบชุดที่ 5
1. เพิ่มขึ้น 103 เทา 2. เพิ่มขึ้น 104 เทา
3. เพิ่มขึ้น 105 เทา 4. ลดลง 104 เทา
5. ลดลง 105 เทา
41. เคาะสอมเสียงความถี่ 400 เฮิรตซ และ 404 เฮิรตซ พรอมกัน จงหาวาจะไดยินเสียงเปนจังหวะ
กี่เฮิรตซ
1. 4 2. 8
3. 240 4. 400
5. 404
42. ใชคลื่นเสียงที่มีความถี่ 1,000 เฮิรตซ เขาไปในหลอดเรโซแนนซปรากฏวาตําแหนงที่เกิดเสียงดัง
ครั้งที่ 1 และ 3 อยูหางกัน 20 เซนติเมตร จงหาอัตราเร็วของเสียงในอากาศ
1. 50 m/s 2. 100 m/s
3. 150 m/s 4. 200 m/s
5. 250 m/s
43. ขอใดตอไนปแสดงใหเห็นวาแสงในชวงที่มองเห็นไดเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาไมใชคลื่นกล
1. แสงอาทิตยสามารถเคลื่อนที่ผานแกสได
2. แสงอาทิตยสามารถเคลื่อนที่ผานของแข็งได
3. แสงอาทิตยสามารถเคลื่อนที่ผานของเหลวได
4. แสงอาทิตยสามารถเคลื่อนที่ผานสุญญากาศได
5. ไมมีขอใดถูกตอง
44. กําหนดใหแสงโพลาไรสมีแกนโพลาไรสอยูในแนวดิ่ง และทําการทดลอง 2 การทดลอง ตอไปนี้
การทดลองที่ 1 ใหแสงโพลาไรสตกกระทบแผนโพลารอยดที่มีแกนโพลาไรสทามุม 90 องศากับ
แนวดิ่ง
การทดลองที่ 2 ใหแสงโพลาไรสตกกระทบแผนโพลารอยดแผนที่หนึ่งที่มีแกนโพลาไรสของ
แผนที่หนึ่ง จากนั้นผานไปยังแผนโพลารอยดแผนที่สองที่มีแกนโพลาไรสทํามุม 60 องศากับ
แกนโพลาไรสของแผนที่หนึ่ง
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับความเขมของแสงที่ผานออกมา
1. ไมมีแสงผานออกมาในทั้งสองการทดลอง
2. ความเขมของแสงในทั้งสองการทดลองมีคาเทากัน
3. ความเขมของแสงในการทดลองที่ 1 มีคามากกวา
4. ความเขมของแสงในการทดลองที่ 2 มีคามากกวา
5. ไมสามารถสรุปได เนื่องจากขอมูลไมเพียงพอ
368 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
45. นักเรียนกําลังใชกระจกเวาเพื่อฉายรูปภาพของเทียนลงบนจอขนาดเล็ก เขาพบวารูปภาพที่ไดใหญ
แบบทดสอบชุดที่ 5

เกินไปสําหรับจอ เขาจะตองทําอยางไรเพื่อที่จะไดรูปภาพขนาดพอดีจอภาพ
1. เคลื่อนยายเทียนและจอภาพเขาหากระจก
2. เคลื่อนยายเทียนและจอภาพออกจากกระจก
3. เคลื่อนยายเทียนออกจากกระจกและเคลื่อนยายจอเขาหากระจก
4. เคลื่อนยายเทียนเขาหากระจกและเคลื่อนยายจอออกหางกระจก
5. ไมสามารถทําได
46. นักเรียนคนหนึ่งยืนหางจากกระจกเงาราบ 1.5 เมตร จงหาวาเขาจะเห็นภาพตัวเองหางออกไปเทาไร
1. 0.75 m 2. 1.5 m
3. 2.25 m 4. 3.0 m
5. 3.25 m
47. ปากกาดามหนึง่ ยาว 20 เซนติเมตร วางบนแกนทัศนของเลนสนนู โดยปลายดินสอดานทีอ่ ยูใ กลเลนส
หางจากเลนสเปนระยะ 40 เซนติเมตร เกิดภาพจริงของปลายดินสอดานนีท้ รี่ ะยะหางจากเลนสเทากับ
60 เซนติเมตร จงหาวาภาพของดินมีความยาวเทาไร
1. 15 cm 2. 20 cm
3. 25 cm 4. 30 cm
5. 35 cm
48. นาเดียทําการทดลองเรื่องแสงโดยใชเลนสนูนที่มีความยาวโฟกัส 12 เซนติเมตร โดยที่วางวัตถุหาง
จากฉาก 64 เซนติเมตร จงหาวานาเดียจะตองใหวัตถุอยูหางจากเลนสอยางนอยเทาไร จึงจะไดภาพ
ที่มีขนาดใหญและชัดเจนที่สุด
1. 15 cm 2. 16 cm
3. 37 cm 4. 48 cm
5. 52 m
49. แสงความยาวคลื่น 5.42107 เมตร ฉายผานสลิตคูที่มีระยะหาง 1.6107 เมตร ทําใหเกิดการแทรก
สอดบนฉากที่อยูหางออกไป 1.2 เมตร จงหามุมที่ทําใหเกิดความสวางมากที่สุดลําดับที่ 2
1. 37 2. 43
3. 53 4. 60
5. 72
50. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ตกตั้งฉากบนสลิตเดี่ยวกวาง 30 ไมโครเมตร เกิดภาพ
การแทรกสอดบนฉากที่ระยะหางออกไป 1 เมตร จงหาแถบสวางที่กวางที่สุดมีความกวางเทาไร
1. 10 mm 2. 20 mm
3. 30 mm 4. 40 mm
5. 50 mm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 369

51. วางวัตถุอันหนึ่งไวหนากระจกโคงหาง 20 เซนติเมตร ปรากฏวาไดภาพจริงขนาด 4 เทาของวัตถุ

แบบทดสอบชุดที่ 5
จงหาวากระจกที่ใชเปนกระจกชนิดใด และมีความยาวโฟกัสเทาไร
1. กระจกเวา, ความยาวโฟกัส 10 cm 2. กระจกเวา, ความยาวโฟกัส 15 cm

3. กระจกนูน, ความยาวโฟกัส 10 cm 4. กระจกนูน, ความยาวโฟกัส 15 cm

5. กระจกนูน, ความยาวโฟกัส 20 cm

52. หองนั่งเลนมีความกวาง 3 เมตร ยาว 4 เมตร ตองการความสวางเฉลี่ยของหอง 500 ลักซ จะตองใช


หลอดไฟที่มีฟลักซสองสวางหลอดละ 1,000 ลูเมน จํานวนกี่หลอด
1. 6 2. 8

3. 10 4. 12

5. 14
53. ใชแสงสองผานเกรตติงชนิด 5,000 ชองตอเซนติเมตร ทําใหแถบสวางที่ 2 เบนทํามุม 30 องศา
กับแถบสวางกลาง จงหาวาแสงที่ใชมีความยาวคลื่นเทาไร
1. 400 nm 2. 500 nm

3. 600 nm 4. 700 nm

5. 800 nm

54. วางวัตถุไวหนากระจกนูนที่ีมีรัศมีความโคง 50 เซนติเมตร ไวที่ระยะ 100 เซนติเมตร จงหาวา


เกิดภาพชนิดใด และหางจากกระจกเทาไร
1. ภาพเสมือน, ที่ระยะ 10 cm 2. ภาพเสมือน, ที่ระยะ 20 cm

3. ภาพเสมือน, ที่ระยะ 30 cm 4. ภาพจริง, ที่ระยะ 10 cm

5. ภาพจริง, ที่ระยะ 20 cm

55. วางวัตถุไวหนากระจกโคงที่มีรัศมีความโคง 40 เซนติเมตร แลวไดภาพจริงขนาด 5 เทาของวัตถุ


จงหาวาจะตองใชกระจกชนิดใด และวางวัตถุไวที่ระยะเทาไร
1. กระจกเวา, ที่ระยะ 12 cm 2. กระจกเวา, ที่ระยะ 24 cm

3. กระจกเวา, ที่ระยะ 36 cm 4. กระจกนูน, ที่ระยะ 12 cm

5. กระจกนูน, ที่ระยะ 24 cm

56. แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร เดินทางจากอากาศเขาสูซิลิกาดวยอัตราเร็ว 2108 เมตร


ตอวินาที ถาอัตราเร็วของแสงในอากาศเทากับ 3108 เมตรตอวินาที จงหาดรรชนีหักเหของซิลิกา
1. 0.7 2. 0.9

3. 1.2 4. 1.5

5. 1.8
370 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
57. วางวัตถุไวหางจากเลนสเวา 20 เซนติเมตร ถาเลนสเวามีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร จงหาวา
แบบทดสอบชุดที่ 5

เกิดภาพชนิดใด และหางจากเลนสเทาไร
1. ภาพจริง, ที่ระยะ 5 cm 2. ภาพจริง, ที่ระยะ 6.67 cm
3. ภาพเสมือน, ที่ระยะ 5 cm 4. ภาพเสมือน, ที่ระยะ 6.67 cm
5. ภาพเสมือน, ที่ระยะ 10 cm
58. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตเดี่ยวที่มีความกวาง 0.02 เซนติเมตร
แถบมืดที่ 1 อยูหางจากแถบสวางกลางเทาไร ถาระยะหางระหวางสลิตกับฉากเทากับ 1 เมตร
1. 1 mm 2. 2 mm
3. 3 mm 4. 4 mm
5. 5 mm
59. เมื่อใชแสงความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร ตกกระทบตั้งฉากกับสลิตคูที่มีระยะหางระหวางชอง
200 ไมโครเมตร จะเกิดการแทรกสอดบนฉากที่หางออกไป 0.5 เมตร จงหาแถบสวางที่อยูติดกัน
หางกันเทาไร
1. 0.5 mm 2. 1.0 mm
3. 1.5 mm 4. 2.0 mm
5. 2.5 mm
60. ใชแหลงกําเนิดแสงสองผานเกรตติงขนาด 10,000 ชองตอเซนติเมตร พบวาแถบสวางแรกทํามุม
30 องศากับแนวกลาง จงหาความยาวของคลื่นแสงที่ใช
1. 200 nm 2. 300 nm
3. 400 nm 4. 500 nm
5. 600 nm
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 371

แบบทดสอบชุดที่ 5
เฉลย
1. 4 2. 2 3. 2 4. 3 5. 4 6. 3 7. 2 8. 1 9. 1 10. 2

11. 3 12. 3 13. 3 14. 4 15. 4 16. 3 17. 5 18. 2 19. 5 20. 3

21. 2 22. 1 23. 3 24. 1 25. 2 26. 2 27. 2 28. 5 29. 5 30. 1

31. 3 32. 3 33. 4 34. 5 35. 4 36. 3 37. 5 38. 3 39. 1 40. 3

41. 1 42. 4 43. 4 44. 4 45. 3 46. 4 47. 4 48. 2 49. 2 50. 4

51. 2 52. 1 53. 2 54. 2 55. 2 56. 4 57. 4 58. 2 59. 2 60. 4

เฉลยพรอมคําอธิบาย
1. ตอบขอ 4
อธิบาย อนุภาคของของเหลวเรียงตัวกันมีความเปนระเบียบนอยกวาของแข็งและมากกวาแกส
2. ตอบขอ 2
อธิบาย จาก P = gh

P
h = g

250103
แทนคา; =
1,00010

h = 25 m

3. ตอบขอ 2
อธิบาย จาก W = mg

= ทองแดงVg = สัมพัทธนํ้าVg

แทนคา; = 8.81,000510

,
W = 440 000 N

= 440 kN

4. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก P = Pagh

แทนคา; = 105(1,030101,000)

, , ,
P = 10 400 000 = 10 400 kPa
372 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
5. ตอบขอ 4
แบบทดสอบชุดที่ 5

1
อธิบาย จาก F = gh2L
2
1
2108 3 2
แทนคา; = 10 10h 100
2
8
2210
h2 =
106
= 4102

h = 20 m

6. ตอบขอ 3

อธิบาย

น้าํ มัน
10 cm
h

จาก Pg(ซาย) = Pg(ขวา)

(gh)นํ้า = (gh)นํ้ามัน

(h)นํ้า = (h)นํ้ามัน

แทนคา; 103hนํ้า = 0.810310

hนํ้า = 8 cm

เนื่องจากขาดานซายโตเปน 2 เทา ดังนั้น hนํ้า = 82 = 4 cm


นั่นคือ ระดับนํ้ามันดานขวาสูงกวาระดับนํ้าดานซาย = 104 = 6 cm

7. ตอบขอ 2
W F
อธิบาย จาก A
=
a
1,200 F
แทนคา; 8a
=
a
F = 150 N
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 373

8. ตอบขอ 1

แบบทดสอบชุดที่ 5
อธิบาย

FB
mg

จาก F = 0

FB = mg

ลVจg = วVวg
ลVจ = วVว

แทนคา; 1Vจ = 0.65100%

Vจ = 65%

นั่นคือ มีสวนที่ลอยนํ้าอยู 10065 = 35%

9. ตอบขอ 1
อธิบาย เนื่องจากเปนหวงลวด จะได L = 20.1 = 0.2 m

F
จาก  =
L
0.01
แทนคา; =
0.2

 = 0.05 N/m

10. ตอบขอ 2

อธิบาย

FB
mg

จาก F = 0

FB = mg

ลVจg = วVวg
ลVจ = วVว
3
แทนคา; 10 50 = ว100%

ว = 500 kg/m3
374 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
11. ตอบขอ 3
แบบทดสอบชุดที่ 5

อธิบาย สมดุลทางความรอน คือ วัตถุทั้งสองชิ้นจะตองมีอุณหภูมิเทากัน


12. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก W = PV

= P(V2V1)

แทนคา; = 105(3010)

W = 20105 J

13. ตอบขอ 3
P1V1 P2V2
อธิบาย จาก T1
=
T2
51031 7.51031.8
แทนคา; 27273
=
T2
7.510 1.8300
3
T2 =
5103
= 810 K

T2 = 810273 = 537.0 C

14. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก Q = mcT

= [(mc)เหล็ก(mc)นํ้า]T
แทนคา; = [(1,000)(0.11)(500)(1)]80
48,800
ตองใสพลังงาน Q =
0.80
= 61,000 kcal

15. ตอบขอ 4
อธิบาย จากโจทย นํ้าแข็ง (5 C) → นํ้าแข็ง (0 C) → นํ้า ( 0C) → นํ้า (100 C)
จาก Q = (mcT)นํ้าแข็ง(mL)นํ้าแข็ง(mcT)นํ้า

= (32.15)(3333)(34.2100)

Q = 2,290.5 kJ

16. ตอบขอ 3

อธิบาย จากโจทย m = V = 103(1103) = 1 kg และ c = 4.2103 J/kgC


จาก Wเครื่องทํานํ้าอุน = Q

Pt = mcT

แทนคา; 3,000t = 14,200(3725)

t = 16.8 s
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 375

17. ตอบขอ 5

แบบทดสอบชุดที่ 5
อธิบาย จากโจทย สูญเสียพลังงานไป 30% แสดงวาใชพลังงานไป 70%
จาก (70%)Wกระติก = Q
70
 100 Pt = mcT

70
1,000t = 24,200(10025)
100
t = 900 s = 15 min

18. ตอบขอ 2 2
∑ vi
อธิบาย จาก vrms =
N
2 2 2
2v + (2v) + 4(3v)
=
2 +1+ 4
2
42v
=
7
vrms = 2.45v

19. ตอบขอ 5
v1 M2
อธิบาย จาก v2 =
M1

4
=
81
v1 2
v2 =
9
พบวา ความเร็วในการแพรของ HBr เปน 2 เทาของ He
9
ดังนั้น ถา HBr รั่วหมดในเวลา 18 วินาที He จะรั่วหมดใชเวลา = 18 2 = 4.0 s
9
20. ตอบขอ 3
3k BT
อธิบาย จาก vrms =
m

−23
3 × 1.38 × 10 × (3,227 + 273)
= = 6.84105
−31
3.1 × 10
vrms = 684 km s /
21. ตอบขอ 2
3
อธิบาย จาก Ek = PV
2
3
จะได Ek1 = P1V1 ......(1)
2
3
Ek2 = P2V2 ......(2)
2
376 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
3
Ek 2 P2V2
(2)
แบบทดสอบชุดที่ 5

; = 2
(1) Ek1 3
P1V1
2
Ek 2 90
แทนคา; 100%
=
100
Ek2 = 90%

นั่นคือ Ek2 ลดลง 10%


22. ตอบขอ 1
3
อธิบาย จาก <Ek > = k T
2 B
3
แทนคา; 8.281021 =
2
(1.381023)T

T = 400 K

T = 400273 = 127 C

23. ตอบขอ 3

3
อธิบาย จาก U =
2
NRT

3
แทนคา; =
2
(50)(8.31)(15)

U = 9.35 kJ

24. ตอบขอ 1

อธิบาย จาก Q = UW

3
และ U =
2
nRT

3
จะได Q =
2
nRTW

3
แทนคา; 70 =
2
(1)(8.31)T10

T = 4.81 K

25. ตอบขอ 2
อธิบาย เมื่อกระทุมนํ้าเปนจังหวะสมํ่าเสมอจะเกิดคลื่นนํ้าขึ้น ทําใหลูกปงปองเคลื่อนไปตามหนา
เคลื่อนที่เคลื่อนที่หางออกไปจากตนกําเนิดคลื่น
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 377

26. ตอบขอ 2

แบบทดสอบชุดที่ 5
80
อธิบาย จากรูป  =
5
= 16 m

จาก v = f

v
f =

3.2
แทนคา; =
16

f = 0.2 Hz

27. ตอบขอ 2

1.2
อธิบาย หา 1, จากรูป tan 1 =
2.3
= 0.52

1 = tan1(0.52) = 27.55
n2 sin 1
จาก n1 =
sin 2

1.00 sin 27.55


แทนคา; 1.33
=
sin 2

sin 2 = 0.6

2 = sin1(0.6) = 37

28. ตอบขอ 5

อธิบาย
เสนปกติ เสนปกติ

ตัวกลางที่ 1 ตัวกลางที่ 1

ตัวกลางที่ 2 ตัวกลางที่ 2
รูปแสดงการเกิดมุมวิกฤต รูปแสดงการเกิดมุมสะทอนกลับหมด
รูปแสดงการเกิดปฏิบัพ
นั่นคือ มุมสะทอนกลับหมดจะมีขนาดเทากับหรือโตกวามุมวิกฤตเสมอ
378 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
29. ตอบขอ 5
แบบทดสอบชุดที่ 5

อธิบาย

t = 0 1 2
1 2

12
t = 1s
12

2 1
t = 2s
2 1

30. ตอบขอ 1
อธิบาย เสียงจะเดินทางไดดีที่สุดในตัวกลางที่เปนของแข็ง
31. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก v = 3310.6t
แทนคา; = 331(0.637)
= 353.2 m/s
จาก v = f
v
จะได f =

353.2
แทนคา; =
0.8
f = 441.5 Hz

32. ตอบขอ 3
I
อธิบาย จาก  = 10 log I 0

I
แทนคา; 80 = 10 log 10  12

I
8 = log 10 
12

I
108 =
10
12

I = 104 W/m2
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 379

33. ตอบขอ 4

แบบทดสอบชุดที่ 5
อธิบาย จากโจทย ลดความเขมเสียงลงได 99% แสดงวาไดยิน 1%
I2
จาก 21 = 10 log I 
1
1%
แทนคา; 2100 = 10 log 100%
2100 = 10 log (102)
2100 = 20
2 = 20100
2 = 80 dB
34. ตอบขอ 5
(2n1)
อธิบาย จาก Ln =
4
(2(1)1)(4)
L1 =
4
L1 = 1.0 m

35. ตอบขอ 4
อธิบาย จากโจทย L = 1.5

1.3 = 1.5
1.3
จะได  =
1.5
= 0.87 m
v
จาก f =

181
แทนคา; =
0.87
f = 208 Hz

36. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก v = 3310.6t

แทนคา; = 3310.6(22)

v = 344.2 m/s

f0vS
จาก f =
vsv0

(440)(344.2)
แทนคา; =
(344.2)(26)

f = 475.9 Hz
380 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
37. ตอบขอ 5
แบบทดสอบชุดที่ 5

v0  vL
อธิบาย จาก fL = v fS 
0  vS

346  0
แทนคา; =  346  20  1,500
346
=  1,500
326
fL = 1,592 Hz

38. ตอบขอ 3

อธิบาย 
h
x


จากรูป มุมเงย = 
จาก v0 = 3310.6t

แทนคา; = 3310.6(15)

v0 = 340 m/s
v0
จาก sin  =
vS
340
แทนคา; =
510
= 0.66
 = 41.8

39. ตอบขอ 1
I
อธิบาย จาก  = 10 log I 0
I
แทนคา; 70 = 10 log
10  12

I
7 = log 10 
12

I
107 =
1012
I = 105 W/m2
P
จาก I =
4πR2
P = 4πR2I

แทนคา; = 4π102105

P = 4π103 W
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 381

40. ตอบขอ 3

แบบทดสอบชุดที่ 5
I2
อธิบาย จาก 21 = 10 log I 1
I
10050 = 10 log 2  
I1
I
50 = 10 log 2  
I1
I2
5 = log  
I1
I2
105 =
I1
I2 = (105) I1

นั่นคือ ความเขมเสียงเพิ่มขึ้นจากเดิม 105 เทาของความเขมเสียงเดิม


41. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก fB = |f1  f2|

= |400  404|

fB = 4 Hz

42. ตอบขอ 4

อธิบาย

1 3
0.2 m

จากรูป  = 0.2 m

จาก v = f

แทนคา; = 0.21,000

v = 200 m/s

43. ตอบขอ 4
อธิบาย คลืน่ แมเหล็กไฟฟาเปนคลืน่ ทีไ่ มตอ งอาศัยตัวกลางในการเคลือ่ นที่ ดังนัน้ การทีแ่ สงอาทิตย
สามารถเคลื่อนที่ผานสุญญากาศได แสดงวาแสงอาทิตยเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา
44. ตอบขอ 4
อธิบาย แสงโพลาไรสมีแกนโพลาไรสอยูในแนวดิ่ง ถาแสงขนานกับแนวดิ่งจึงจะผานแผน
โพลารอยดได ดังนั้นการทดลองที่ 1 แสงไมผานออกมา แตการทดลองที่สองยังมีแสงผานออกมา
เนื่องจากบางสวนสามารถผานได
382 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
45. ตอบขอ 3
แบบทดสอบชุดที่ 5

อธิบาย เนื่องจากเปนกระจกเวา ดังนั้นเพื่อใหภาพขนาดเล็กลงจะตองเคลื่อนยายเทียนออกจาก


กระจกและเคลื่อนยายจอเขาหากระจก
46. ตอบขอ 4
อธิบาย กระจกเงาราบ จะไดวา ระยะภาพเทากับระยะวัตถุ
ดังนั้น นักเรียนคนนี้จะเห็นภาพอยูหางจากตัวเขาเอง = 1.51.5 = 3.0 m
47. ตอบขอ 4
S
อธิบาย จาก m =
S
60
แทนคา; =
40
3
m =
2
3
ภาพจะมีความยาว =
2
20 = 30 cm

48. ตอบขอ 2
1 1 1
อธิบาย จาก f
= 
S S

ใหวัตถุหางเลนส x เซนติเมตร
1 1 1
แทนคาจะได 12
= 
x (64x)
1 64
=
12 64xx2
x264x768 = 0

(x16)(x48) = 0

x ,
= 16 48 cm

S
จาก m =
S

จากสมการตองการภาพขนาดใหญ แสดงวา m  1 แสดงวาระยะวัตถุตองนอยกวาระยะ


ภาพ จึงจะทําใหภาพมีขนาดใหญ ดังนั้นตองวางวัตถุที่ตําแหนง 16 เซนติเมตรหางจากเลนส
49. ตอบขอ 2
อธิบาย จาก d sin  = n

n
sin  =
d
(2)(5.42107)
แทนคา; =
1.6106
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 383

= 0.68

แบบทดสอบชุดที่ 5
2 = sin1(0.68) = 43

50. ตอบขอ 4
อธิบาย หาความกวางของแถบสวางกลาง (A0) ดังนั้น ใชสูตรของแถบมืด เพื่อหาระยะขอบของ N1
dx
จาก = n
L
(3010 )x
6
แทนคา; = 1600109
1
600109
x =
30106
= 20103 m

x = 20 mm

นั่นคือ ความกวางของแถบสวางกลาง คือ 202 = 40 mm

51. ตอบขอ 2
อธิบาย จากโจทย เกิดภาพจริงขนาดใหญกวาวัตถุ 3 เทา (m = 3) แสดงวาเปนกระจกเวา
f
จาก m =
Sf
f
3 =
20f
3(20f) = f
603f = f
4f = 60
f = 15 cm

52. ตอบขอ 1
nF
อธิบาย จาก E =
A
EA
n =
F
500(34)
แทนคา; =
1,000
n = 6 หลอด
53. ตอบขอ 2
อธิบาย จากโจทย N = 5103 ชอง/cm = 5105 ชอง/m
จาก d sin 30 = n
sin 30 = 2
N
384 ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
= sin 30
แบบทดสอบชุดที่ 5


2N
0.5
แทนคา; =
25105

= 5107 m

 = 500 nm

54. ตอบขอ 2
อธิบาย จากโจทย กระจกมีรัศมีความโคง 50 cm ดังนั้นความยาวโฟกัสเทากับ 25 cm
1 1 1
จาก f
= 
S S
1 1 1

25
=  ; (f
100 S
เปนลบ เพราะเปนกระจกนูน)
1 1 1
=  
S 25 100
1 5
= 
S 100
S = 20 cm ; (S ติดลบ แสดงวาเปนภาพเสมือน)
55. ตอบขอ 2
อธิบาย จากโจทย กระจกมีรัศมีความโคง 40 cm แสดงวาความยาวโฟกัส 20 cm
f
จาก m =
Sf
20
แทนคา; 5 = ; ( แทน m เปนบวก เพราะเปนภาพจริง)
S20
5(S20) = 20
20
S20 =
5
S20 = 4
S = 24 cm

นั่นคือ ไดภาพจริงขนาดใหญกวาวัตถุ แสดงวาเปนกระจกเวา


56. ตอบขอ 4
c
อธิบาย จาก n =
v
3108
แทนคา; =
2108
n = 1.5
ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 385

57. ตอบขอ 4

แบบทดสอบชุดที่ 5
1 1 1
อธิบาย จาก f
= 
S S
1 1 1

10
=  ; (
20 S
แทน f เปนลบ เพราะเปนเลนสเวา)
1 1 1
= 
S (10) 20
1 3
= 
S 20
S = 6.67 cm ; (S ติดลบ แสดงวาเปนภาพเสมือน)
58. ตอบขอ 2
dx
อธิบาย จาก = n
L
(0.02102)(x)
แทนคา; = (1)(400109)
1
400109
x =
2104

x = 2103 m = 2 mm

59. ตอบขอ 2
อธิบาย จากโจทย ใหหาระยะหางระหวางแถบสวางที่อยูติดกัน จะเลือกคํานวณระยะหางจาก A0

ถึง A1 จึงใช n = 1
dx
จาก = n
L
(20010 )x6
แทนคา; = (1)(400109)
0.5
x = 103 m = 1.0 mm

60. ตอบขอ 4
อธิบาย จากโจทย N = 104 ชอง/cm = 106 ชอง/m
จาก d sin  = n
sin  = n
N
แทนคา; sin 30 = 1
106
 = 0.5106

= 5107 m

 = 500 nm
386 ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

แบบทดสอบชุดที่ 6
แบบทดสอบชุดที่ 6

จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. ไมมีปริมาตร 0.5 ลูกบาศกเมตร มีความหนาแนนสัมพัทธ 0.45 จะมีนํ้าหนักเทาไร

1. 2,200 N 2. 2,250 N

3. 2,500 N 4. 4,500 N

5. 5,000 N

2. เขื่อนกั้นนํ้ามีความยาวสันเขื่อน 100 เมตร สามารถบรรจุนํ้าไดสูงสุด 20 เมตร โดยดานรับนํ้า


เอียงทํามุม 53 องศากับแนวระดับ จงหาวาเขื่อนนี้ทนแรงดันของนํ้าไดเทาไร
1. 1.5106 N 2. 2.0107 N

3. 2.5108 N 4. 3.0108 N

5. 4.0108 N

3. เขื่อนแหงหนึ่งมีความยาว 200 เมตร วิศวกรออกแบบใหสามารถทนแรงดันได 4108 นิวตัน เขื่อน


สามารถรับนํ้าไดลึกที่สุดเทาไร
1. 18 m 2. 20 m

3. 22 m 4. 24 m

5. 30 m

4. ตูเ ลีย้ งปลากวาง 50 เซนติเมตร ยาว 100 เซนติเมตร สูง 40 เซนติเมตร ถาเดิมใสนาํ้ ไวสงู 15 เซนติเมตร
แลวเพิ่มระดับนํ้าขึ้นอีก 1.5 เทา อยากทราบวาแรงดันของตูปลาจะเพิ่มขึ้นกี่เทา
1. 0.75 เทา 2. 1.5 เทา

3. 2.0 เทา 4. 2.25 เทา

5. 3.0 เทา

5. ฤดูฝนทําใหระดับนํ้าเหนือเขื่อนเพิ่มขึ้นจากฤดูรอนจาก 15 เมตร เปน 20 เมตร แรงดันที่นํ้ากระทํา


ตอเขื่อนจะเพิ่มขึ้นจากเดิมกี่เปอรเซ็นต ถาความกวางของเขื่อนคงตัว
1. 25% 2. 34%

3. 56% 4. 64%

5. 78%
ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 387

6. ถังรูปทรงลูกบาศกบรรจุนํ้าความหนาแนน 103 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร และนํ้ามันความหนาแนน

แบบทดสอบชุดที่ 6
800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ดังรูป จงหาแรงดันเฉลี่ยที่ของเหลวทั้งสองกระทําตอผนังแตละดาน
1. 18 kN

2. 25 kN
น้ํามัน 1m
3. 38 kN
น้ํา 1m
4. 52 kN
2m
2m 5. 68 kN

7. เครื่องอัดไฮดรอลิกแบบมีคานโยกลูกสูบใหญมีขนาด 5 เทาของลูกสูบเล็ก ดังรูป ถาตองการยก


นํ้าหนัก 4,000 นิวตัน จะตองออกแรงกดที่ปลายคานเทาไร
F
10 cm 40 cm
4,000 N

1. 80 N 2. 100 N
3. 120 N 4. 140 N
5. 160 N
8. วัตถุมวล 3 กิโลกรัม มีความหนาแนน 600 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ลอยอยูในนํ้าความหนาแนน
103 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร จะตองนํามวลขนาดเทาไรมาวางทับ จึงจะทําใหวัตถุจมนํ้าทั้งกอน
1. 2 kg 2. 4 kg
3. 6 kg 4. 8 kg
5. 10 kg

9. นํ้ามันและนํ้าบรรจุอยูในถังฝาปดโดยไมผสมกัน ดังรูป จงหาความดันที่กนถัง (กําหนดให นํ้า = 103


kg/m3 และ นํ้ามัน = 8102 kg/m3)

1. 10, 600 Pa
2. 13,500 Pa
3. 21,600 Pa
น้ํามัน 70 cm
4. 32,000 Pa

50 cm 5. 34,000 Pa
น้ํา
388 ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
10. ถังใบหนึ่งมีรูอยูตรงกลางถัง รูดังกลาวถูกอุดดวยจุกคอรกซึ่งทนแรงดันไดเพียง 5,000 นิวตันตอ
แบบทดสอบชุดที่ 6

ตารางเมตร ถาถังสูง 1 เมตร นําไปใสของเหลวจนเต็มถังพอดี ถังใบนี้จะสามารถใสของเหลวชนิดใด


ไดบางโดยไมเกิดการหลุดรั่ว

น้ํา ความหนาแนน 1,000 kg/m3


เบนซีน ความถวงจําเพาะ 0.8
กรดซัลฟวริก ความถวงจําเพาะ 1.8
กรดไนตริก ความถวงจําเพาะ 1.5
1.เบนซีนอยางเดียว 2. นํ้าและเบนซีน
3. นํ้าและกรดไนตริก 4. นํ้า เบนซีน และกรดไนตริก
5. ใสของเหลวไดทุกชนิด
11. นํ้าแข็งกอนหนึ่งมีความถวงจําเพาะ 0.89 นําไปลอยนํ้า อยากทราบวามีสวนที่จมคิดเปนกี่เปอรเซ็นต
ของทั้งหมด
1. 11% 2. 25%
3. 78% 4. 78%

5. 89%
12. วัตถุกอนหนึ่งเมื่อชั่งในอากาศอานคาได 40 นิวตัน แตเมื่อนําไปชั่งในนํ้ามันที่มีความหนาแนน
800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร อานคาได 30 นิวตัน วัตถุนี้มีความถวงจําเพาะเทาไร
1. 2.4 2. 3.2
3. 3.6 4. 4.5
5. 6.2

13. เมื่อใชหลอดรูเล็กเสนผานศูนยกลาง 1.6 มิลลิเมตร จุมลงไปในของเหลวที่มีความหนาแนน


800 กิ โ ลกรั ม ต อ ลู ก บาศก เ มตร พบว า ของเหลวซึ ม เข า ไปในหลอด 2 เซนติ เ มตร ของเหลวนี้ มี
ความตึงผิวเทาไร
2 cm

1. 0.028 N/m 2. 0.046 N/m

3. 0.057 N/m 4. 0.064 N/m

5. 0.072 N/m
ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 389

14. ในการทดลองเพื่อคํานวณหาคาความหนืดของของเหลวที่มีความหนาแนน 600 กิโลกรัมตอ

แบบทดสอบชุดที่ 6
ลูกบาศกเมตร โดยใชลูกปดที่มีรัศมี 6 มิลลิเมตร ความหนาแนน 1,200 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร
จงหาความเร็วปลายของลูกปด โดยของเหลวมีความหนืด 2 พาสคัล-วินาที
1. 12 mm/s 2. 20 mm/s
3. 24 mm/s 4. 32 mm/s
5. 36 mm/s

15. เครื่องวัดอุณหภูมิ 2 เครื่อง โดยเครื่องที่หนึ่งวัดอุณหภูมิหนวยเปนองศาเซลเซียส และเครื่องที่สอง


วัดอุณหภูมิเปนองศาฟาเรนไฮต อยากทราบวาเครื่องวัดอุณหภูมิทั้งสองเครื่องจะอานคาอุณหภูมิได
เทากันที่อุณหภูมิใด
1. 32 2. 32
3. 0 4. 40
5. 40

16. เสนเหล็กยาว 20 เมตร จะมีความเปลี่ยนแปลงไปเทาไรเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก 25 องศาเซลเซียส


อีก 75 องศาเซลเซียส (กําหนดให เหล็ก = 12.0106 C1)
1. 0.018 m 2. 0.18
3. 0.012 m 4. 0.12 m
5. 0.024 m

17. แทงโลหะมวล 250 กรัม อุณหภูมิ 200 องศาเซลซียส ถูกทําใหเย็นโดยการจุม ลงในของเหลว 500 กรัม
อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส อยากทราบวาอุณหภูมิผสมสุดทายเปนเทาไร (กําหนดให cโลหะ = 0.55
kJ/kg,K และ cของเหลว = 4.18 kJ/kgK)

1. 25.0 C 2. 30.5 C

3. 35.8 C 4. 40.4 C

5. 42.8 C

18. จะตองใชพลังงานความรอนเทาไรในการตมนํ้าแข็งมวล 2 กิโลกรัม ใหเดือดกลายเปนไอทั้งหมด


(กําหนดให Lนํ้าแข็ง = 333 kJ/kg, Lไอ = 2,256 kJ/kg)
1. 3,025 kJ 2. 4,050 kJ
3. 5,200 kJ 4. 6,018 kJ

5. 6,580 kJ

19. กระปองทองแดงมวล 50 กรัม เติมนํ้าแข็งมวล 70 กรัม เติมไอนํ้ามวล 20 กรัมลงไป จงหาอุณหภูมิ


สุดทายของการผสม (กําหนดให cทองแดง = 0.1 cal/gC, cนํ้า = 1 cal/gC, Lนํ้าแข็ง = 80 cal/g,
Lไอนํ้า = 540 cal/g)
390 ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
1. 62.5 C 2. 68.3 C
แบบทดสอบชุดที่ 6

3. 70.1 C 4. 75.8 C

5. 80.3 C

20. วัดความดันเกจลมยางรถยนตในตอนเชาขณะอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ได 5105 พาสคัล เมื่อ


ถึงชวงบายอุณหภูมิเพิ่มเปน 37 องศาเซลเซียส วัดความดันเกจลมยางขณะนั้นไดเทาไร ถาปริมาตร
ของยางไมเปลี่ยนแปลง และความดันบรรยากาศมีคา 105 พาสคัล
1. 4.8105 Pa 2. 4.9105 Pa

3. 5.0105 Pa 4. 5.1105 Pa

5. 5.2105 Pa

21. แก ส ในอุ ด มคติ ช นิ ด หนึ่ ง มี ป ริ ม าตร 0.1 ลู ก บาศก เ มตร ความดั น 1 บรรยากาศ อุ ณ หภู มิ
27 องศาเซลเซียส ถาอุณหภูมิเพิ่มเปน 37 องศาเซลเซียส โดยปริมาตรไมเปลี่ยนแปลง ความดัน
จะเปนเทาไร
1. 0.98 atm 2. 0.99 atm

3. 1.01 atm 4. 1.02 atm

5. 1.03 atm

22. แกสชนิดหนึ่งมีความดัน 2 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส มีปริมาณ 10 ลิตร จะมีแกสกี่โมล


(กําหนดให 1 atm = 1105 N/m2 และ R = 8.31 J/molK)

1. 0.4 mol 2. 0.5 mol

3. 0.6 mol 4. 0.7 mol

5. 0.8 mol

23. แกสชนิดหนึ่งมีปริมาตร 1103 ลูกบาศกเมตร ที่ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 1 บรรยากาศ ขยาย


ตัวจนมีปริมาตรเปน 1.5103 ลูกบาศกเมตร และความดันเปน 1.2 บรรยากาศ จงหาอุณหภูมสิ ดุ ทาย
ของแกสนี้วาเปนกี่องศาเซลเซียส
1. 48.6 C 2. 486 C

3. 26.3 C 4. 263 C

5. 540 C

24. หองมีอากาศอยูในหองจํานวน 10,000 โมล หากความดันคงที่ แลวอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก 25 องศา


เซลเซียส เปน 37 องศาเซลเซียส อยากทราบวาอากาศจะไหลออกไปกี่โมล
1. 224 mol 2. 387 mol

3. 455 mol 4. 645 mol

5. ไมมีอากาศไหลออก
ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 391

25. แกสไฮโดรเจน (มวลโมเลกุลเทากับ 2) บรรจุอยูในถังแกสที่มีปริมาตร 20 ลิตร ที่มีความดัน 25105

แบบทดสอบชุดที่ 6
นิวตันตอตารางเมตร ซึง่ มีอณ
ุ หภูมิ 25 องศาเซลเซียส อยากทราบวาแกสไฮโดรเจนในถังมีความหนา
แนนเทาไร
1. 2.02 kg/m3 2. 20.20 kg/m3
3. 0.24 kg/m3 4. 2.40 kg/m3
5. 24.07 kg/m3
26. แกสมีปริมาตร 0.5 ลูกบาศกเมตร ความดัน 4105 พาสคัล แกสนี้จะมีพลังงานจลนเทาไร
1. 2105 J 2. 3105 J
3. 4105 J 4. 5105 J
5
5. 610 J
27. แกสชนิดหนึ่งจํานวน 40 โมล อุณหภูมิเปลี่ยนจาก 30 องศาเซลเซียส เปน 50 องศาเซลเซียส
แกสนี้จะมีพลังงานภายในระบบเปลี่ยนไปเทาไร (กําหนดให R = 8.31 J/molK)
1. 3,780 J 2. 5,632 J
3. 7,255 J 4. 8,360 J
5. 9,972 J
28. แกสจํานวน 21025 โมเลกุล จะตองใชความรอนเทาไร แกสจึงจะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 5 เคลวิน
โดยปริมาตรไมเปลี่ยนแปลง (กําหนดให kB = 1.381023 J/K)
1. 2.07103 J 2. 3.52103 J
3. 4.31103 J 4. 5.26103 J
5. 6.71103 J
29. จากการทดลองหนึ่งสามารถวัดคาอัตราเร็วของโมเลกุลไดทั้งหมด 15 โมเลกุล โดยมีอัตราเร็ว 2v
หาโมเลกุล 3v หาโมเลกุล และ 4v หาโมเลกุล อยากทราบคาอัตราเร็วรากที่สองของกําลังเฉลี่ยของ
โมเลกุลของแกสทั้งหมดมีคาเทาไร
1. 1.95 v 2. 2.16 v
3. 3.11 v 4. 4.93 v
5. 5.38 v
30. ของเหลวชนิดหนึง่ กําลังถูกกวนดวยใบพัดขนาดใหญ กําลังทีใ่ สใหแกใบพัดเปน 3.0 กิโลวัตต ความรอน
ถูกถายเทออกจากถังดวยอัตรา 0.525 กิโลวัตต จงหาวาถังและของเหลวซึง่ รวมเปนระบบเปลีย่ นแปลง
พลังงานภายในของระบบตอชั่วโมงเทาไร
1. 2.475 kJ/hr 2. 2,475 kJ/hr
3. 8.910 kJ/hr 4. 8,910 kJ/hr
5. 8,910,000 kJ/hr
392 ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
31. แกสฮีเลียม 4 กิโลโมล ความดัน 1.50105 นิวตันตอตารางเมตร บรรจุอยูในกระบอกสูบอันหนึ่ง
แบบทดสอบชุดที่ 6

เมื่อใหความรอนแกแกสฮีเลียม 105 จูล พบวาปริมาตรในกระบอกสูบลดลง 0.5 ลูกบาศกเมตร โดย


ความดันของแกสคงที่ อยากทราบวาอุณหภูมิของแกสเปลี่ยนแปลงเทาไร
1. 0.35 C 2. 3.51 C

3. 0.50 C 4. 5.02 C

5. 8.3 C

32. แกส 5 โมลที่บรรจุในกระบอกสูบ ไดรับความรอน 80 จูล แกสทํางาน 15 จูล ดันลูกสูบใหเคลื่อนที่


อยากทราบวาอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นเทาไร
1. 1.04 C 2. 10.40 C

3. 1.04 K 4. 10.40 K

5. 274.19 K

33. คลืน่ ตอเนือ่ งขบวนหนึง่ เคลือ่ นทีจ่ ากแหลงกําเนิดดวยความเร็ว 12 เมตรตอวินาที มีระยะหางระหวาง


สันคลื่น 3 สันที่อยูติดกันหางกัน 60 เซนติเมตร จงหาวาแหลงกําเนิดคลื่นนี้มีความถี่เทาไร
1. 6 Hz 2. 18 Hz

3. 20 Hz 4. 40 Hz

5. 60 Hz

34. คลื่นในเสนเชือกเคลื่อนที่จากแหลงกําเนิดที่มีความถี่ 2 เฮิรตซ ดวยความเร็ว 8 เมตรตอวินาที จงหา


วาจุดสองจุดบนคลื่นที่อยูหางกัน 2 เมตร มีเฟสตางกันเทาไร
π
1. rad 2. π rad
2
3. 2π rad 4. 3π rad

5. 4π rad
35. เชือกยาว 1 เมตรถูกขึงตึง แลวสะบัดใหสั่นดวยความถี่ 40 เฮิรตซ ทําใหคลื่นมีความเร็ว 20 เมตร
ตอวินาที จะมีตําแหนงปฏิบัพเกิดขึ้นกี่ตําแหนง
1. 2 ตําแหนง 2. 3 ตําแหนง

3. 4 ตําแหนง 4. 5 ตําแหนง

5. 6 ตําแหนง

36. คลืน่ นํา้ เคลือ่ นทีจ่ ากแหลงกําเนิดความถี่ 3 เฮิรตซ ดวยความเร็ว 12 เซนติเมตรตอวินาที ผานชองแคบ
เดี่ยวกวาง 8 เซนติเมตร จะเกิดแนวปฏิบัพทั้งหมดกี่แนว
1. 2 แนว 2. 3 แนว

3. 4 แนว 4. 5 แนว

5. 6 แนว
ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 393

37. จากรูป ตําแหนงใดมีแนวเฟสตรงขามกับจุด F

แบบทดสอบชุดที่ 6
B F J

A E I
C G K

D H

1. Bและ J 2. A, E และ I
3. D และ H 4. C, G และ K

5. A และ K
38. คลื่นขบวนหนึ่งเกิดจากแหลงกําเนิดที่มีความถี่ 50 เฮิรตซ ทําใหมีความเร็ว 100 เมตรตอวินาที จุดที่
มีเฟสตางกัน 90 องศา จะหางกันเทาไร
1. 0.2 m 2. 0.5 m

3. 1.2 m 4. 1.5 m

5. 2.0

39. เสียงเกิดจากแหลงกําเนิดเสียงทีม่ คี วามถี่ 692 เฮิรตซ เคลือ่ นทีใ่ นอากาศทีม่ อี ณ


ุ หภูมิ 25 องศาเซลเซียส
จงหาความยาวของคลื่นเสียงนี้
1. 0.5 m 2. 1.0 m

3. 1.5 m 4. 2.0 m

5. 2.5 m

40. ขึงเสนลวดระหวางจุดตรึง 2 จุด ที่อยูหางกัน 80 เซนติเมตร เมื่อดีดเสนลวดนี้เพื่อใหเกิดเสียงที่มี


ความถี่ 650 เฮิรตซ จงหาความเร็วเสียงในเสนลวดนี้
1. 240 m/s 2. 520 m/s

3. 760 m/s 4. 980 m/s

5. 1,040 m/s

41. กีตารตัวหนึ่งขึงเสนลวดบนจุดสองจุดหางกัน 30 เซนติเมตร เมื่อดีดใหเกิดเสียงที่ความถี่ 515 เฮิรตซ


อยากทราบวาความเร็วของคลื่นเสียงในเสนลวดนี้เปนเทาไร
1. 154.5 m/s 2. 309 m/s

3. 412 m/s 4. 515 m/s

5. 618 m/s
394 ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
42. คลื่นที่มีความถี่ 700 เฮิรตซ มีความเร็วเสียง 350 เมตรตอวินาที จงหาวาจะตองใชหลอดกําทอน
แบบทดสอบชุดที่ 6

สั้นที่สุดเทาไร จึงจะทําใหเกิดการกําทอนได 3 ครั้ง


1. 32.5 cm 2. 42.5 cm

3. 52.5 cm 4. 62.5 cm

5. 72.5 cm

43. ลวดยาว 75 เซนติเมตร สั่นภายใตแรงดึง 9 นิวตัน โดยมีมวลตอความยาว 0.1 กรัม อยากทราบ


ความถี่มูลฐานเปนเทาไร
1. 3.46 Hz 2. 9.48 Hz

3. 27.38 Hz 4. 200.00 Hz

5. 519.62 Hz
44. ชายคนหนึง่ ยืนหางจากกําแพง 20 เมตร แหลงกําเนิดเสียงอยูห า งจากกําแพง 5 เมตรในแนวเดียวกัน
ชายคนนี้จะสามารถไดยินเสียงจากแหลงกําเนิดโดยตรงและเสียงสะทอนจากกําแพง อยากทราบวา
เสียงที่ดังคอยที่สุดที่ชายคนนี้ไดยินมีความถี่เทาไร หากความเร็วเสียงมีคา 352 เมตรตอวินาที
1. 35.2 Hz 2. 40.2 Hz

3. 43.2 Hz 4. 53.2 Hz

5. 87.2 Hz

45. ลําโพงอันหนึ่งมีกําลัง 4π104 วัตต ผูฟงยื่นหางจากลําโพงที่ระยะ 10 เมตร จะไดยินเสียงมีระดับ


ความเขมเสียงเทาไร
1. 40 dB 2. 60 dB

3. 80 dB 4. 100 dB

5. 120 dB

46. นักดนตรีเลนกีตาร 10 ตัว วัดระดับความเขมเสียงได 80 เดซิเบล จงหาระดับความเขมเสียงของกีตาร


แตละตัว
1. 50 dB 2. 60 dB

3. 70 dB 4. 80 dB

5. 90 dB

47. เสียงจากถนนมีระดับความเขมเสียง 100 เดซิเบล ผานหนาตางขนาด 5020 เซนติเมตร จงหากําลัง


ของเสียงที่ผานหนาตางบานนี้
1. 0.001 W 2. 0.01 W

3. 0.1 W 4. 1.0 W

5. 10.0 W
ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 395

48. ในหองเรียนวิชาดนตรีแหงหนึ่งมีนักเรียนเลนกีตารพรอมกัน 10 ตัว ทําใหเกิดระดับความเขมเสียง

แบบทดสอบชุดที่ 6
100 เดซิเบล จงหาระดับความเขมเสียงเฉลี่ยของกีตารแตละตัว

1. 10 dB 2. 40 dB

3. 50 dB 4. 90 dB

5. 100 dB

49. วิศวกรกําลังสั่งงานคนงานอยูดวยความเขมเสียงขนาด 106 วัตตตอตารางเมตร จงหาวาวิศวกรคนนี้


พูดดวยระดับเสียงเทาไร
1. 40 dB 2. 50 dB

3. 60 dB 4. 70 dB

5. 80 dB
50. เครื่องบินสํารวจสภาพอากาศลําหนึ่งบินดวยความเร็ว 32 เทาของความเร็วเสียงในอากาศ ถาหาก
ความเร็วของเสียงในอากาศสมํ่าเสมอ อยากทราบวาผูคนที่อยูภายใตเสนทางการบินของเครื่องบิน
ลํานี้จะมองเห็นเครื่องบินผานไปในแนวดิ่งเปนมุมเทาใดเมื่อเริ่มไดยินเสียงเครื่องบิน
1. 37 2. 46

3. 53 4. 60

5. 75

51. เครื่องบินมีความเร็ว 510 เมตรตอวินาที เทียบไดเทากับ 1.5 มัค จงหาวาขณะนั้นอากาศมีความเร็ว


เทาไร
1. 15 C 2. 18 C

3. 20 C 4. 22 C

5. 25 C

52. ชายคนหนึ่งขับรถยนตดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที รถฉุกเฉินขับตามหลังมาดวย ความเร็ว


40 เมตรต อ วิ น าที เป ด เสี ย งไซเรนความถี่ 1,000 เฮิ ร ตซ ถ า ขณะนั้ น อากาศมี อุ ณ หภู มิ

25 องศาเซลเซียส ชายคนนั้นจะไดยินเสียงไซเรนมีความถี่เทาไร

1. 968 Hz 2. 972 Hz

3. 1,065 Hz 4. 1,273 Hz

5. 1,368 Hz

53. ในชีวิตประจําวันพบวาคลื่นเสียงเดินทางเปนเสนตรง แตคลื่นเสียงสามารถเดินทางเปนเสนโคงออม


สิ่งกีดขวาง เชน มุมตึก ได อยากทราบวาทําไมจึงเปนเชนนั้น
1. แสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา แตเสียงเปนคลื่นกล

2. แสงเปนคลื่นที่ไมตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ แตเสียงตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
396 ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
3. แสงเปนคลื่นตามขวาง เสียงเปนคลื่นตามยาว
แบบทดสอบชุดที่ 6

4. ความเร็วของแสงในอากาศเร็วกวาเสียง
5. ความยาวคลื่นของเสียงมีความใกลเคียงกับขนาดของวัตถุ แตความเร็วคลื่นของแสงสั้นกวามาก
54. ใช แ สงความยาวคลื่ น 400 นาโนเมตร ตกกระทบตั้ ง ฉากกั บ สลิ ต คู  ที่ มี ร ะยะระหว า งสลิ ต
2 มิลลิเมตร เกิดการแทรกสอดบนฉากที่ระยะหางออกไป 2 เมตร แถบสวางที่ 2 หางจากแนวกลาง
เทาไร
1. 0.5 mm 2. 0.6 mm
3. 0.7 mm 4. 0.8 mm
5. 1.0 mm
55. แสงที่มีความยาวคลื่น 50 ไมโครเมตร สองผานสลิตคูที่มีระยะหางกัน 0.1 มิลลิเมตร แถบสวางแรก
เบนจากแนวกลางเทาไร
1. 30 2. 37
3. 45 4. 53
5. 60
56. ใชคลื่นแสงตกกระทบเกรตติงที่มีจํานวน 4,000 ชองตอเซนติเมตร ทําใหเกิดการแทรกสอด
แถบสวางลําดับที่ 3 เบนจากแนวกลาง 37 องศา จงหาความยาวคลื่นแสงที่ใช
1. 400 nm 2. 500 nm
3. 600 nm 4. 700 nm
5. 800 nm
57. จงหาจํานวนภาพที่เกิดขึ้นเมื่อวางกระจกเงาราบหันหนาเขาหากันทํามุม 90 องศา
1. 2 ภาพ 2. 3 ภาพ
3. 4 ภาพ 4. 5 ภาพ
5. 6 ภาพ
58. วางวัตถุสูง 10 เซนติเมตร ไวหนากระจกโคงที่ระยะ 60 เซนติเมตร ทําใหเกิดภาพเสมือนขนาด
0.4 เทาของวัตถุ จงหาความยาวโฟกัสของกระจก
1. 20 cm 2. 30 cm
3. 40 cm 4. 50 cm
5. 60 cm
ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 397

59. ทันตแพทยใชกระจกขนาดเล็กที่มีความยาวโฟกัส 10 มิลลิเมตร อยากทราบวาถาทันตแพทยใชสอง

แบบทดสอบชุดที่ 6
ฟนที่ระยะชัดเจนที่สุด 5 มิลลิเมตร กําลังขยายของกระจกมีคาเทาไร
1. 1 atm 2. 1 atm
3. 3 atm 4. 4 atm
5. 5 atm

60. ชายคนหนึ่งมองเห็นปลาอยูในนํ้าลึก 1.2 เมตร จงหาวาปลาอยูที่ความลึกจริงเทาไร (กําหนดให


4
nนํ้า = )
3
1. 0.8 m 2. 1.0 m

3. 1.2 m 4. 1.4 m

5. 1.6 m
398
แบบทดสอบชุดที่ 6
ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5

เฉลย

1. 2 2. 3 3. 2 4. 4 5. 3 6. 5 7. 5 8. 1 9. 1 10. 2

11. 5 12. 2 13. 4 14. 3 15. 4 16. 1 17. 3 18. 4 19. 4 20. 5

21. 5 22. 5 23. 4 24. 2 25. 1 26. 2 27. 5 28. 1 29. 3 30. 4

31. 2 32. 3 33. 4 34. 2 35. 3 36. 4 37. 3 38. 2 39. 1 40. 5

41. 2 42. 4 43. 4 44. 1 45. 2 46. 3 47. 1 48. 4 49. 3 50. 2

51. 1 52. 3 53. 5 54. 4 55. 1 56. 2 57. 2 58. 3 59. 2 60. 5

เฉลยพรอมคําอธิบาย
1. ตอบขอ 2
ไม
อธิบาย จาก สัมพัทธ =
น้ํา
ไม
แทนคา; 0.45 =
103
ไม = 450 kg/m3
W = mg

= Vg

แทนคา; = 4500.510

W = 2,250 N

2. ตอบขอ 3
gLh2
อธิบาย จาก F =
2 sin 53
3 2
10 10(20) 100
แทนคา; =
4
2
5
8
F = 2.510 N
ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 399

3. ตอบขอ 2

แบบทดสอบชุดที่ 6
1
อธิบาย จาก F = 2 gLh2

10310h2200
แทนคา; 4108 =
2
h2 = 400

h = 20 m

4. ตอบขอ 4
1
อธิบาย จาก F = 2 gLh2
2
F2 h2
จะได F1
=   ; เมื่อ L คงที่
h1
2
1.5h1
=  h1 
F2
= 2.25
F1
5. ตอบขอ 3
1
อธิบาย จาก F = 2 gLh2
2
F1 h1
จะได F2
=   h2
2
15
แทนคา; =   20
F1
= 0.56100% = 56%
F2
6. ตอบขอ 5

อธิบาย

F1
น้าํ มัน P1

Pน้าํ มัน

F2
น้ํา
Pรวม

จากโจทย P1 = 0 ; (เพราะเปนระดับผิวของเหลว) Pน้ํามัน = gh = 800101 = 8,000 Pa


จะได Pรวม = Pน้ํามัน Pน้ํา

แทนคา; = 8,000(103101)

Pรวม = 1.8104 Pa
400 ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
จาก F = Pเฉลี่ยA
แบบทดสอบชุดที่ 6

จะได F1 P1  Pน้ํามัน A
=  2

8,0000
แทนคา; =  
(22)
2

F1 = 1.6104 N

และ F1 Pน้ํามัน  Pรวม A


=  2

8,00018,000
แทนคา; =  (22) 
2

F2 = 5.2104 N

ดังนั้น Fรวม = F1F2

แทนคา; = (1.6104)(5.2104)

Fรวม = 68103 N = 68 kN

7. ตอบขอ 5
W A L
อธิบาย จาก F
=
a   
4,000 5a 50
แทนคา; F
=
a 10  
F = 160 N

8. ตอบขอ 1

อธิบาย m2g

m1g

FB

จาก F = 0

FB = m1gm2g
m
m2g = ลVจgm1g ; Vจ =  
3 3
แทนคา; = 10  600 10 (310)
m2g = 20

m2 = 2 kg
ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 401

9. ตอบขอ 1

แบบทดสอบชุดที่ 6
อธิบาย เนื่องจากเปนถังฝาปด จึงไมตองคิดความดันบรรยากาศ
จาก P = (Pg)น้ํามัน(Pg)น้ํา

= (gh)น้ํามัน(gh)น้ํา

แทนคา; = (8102100.7)(103100.5)

,
P = 10 600 Pa

10. ตอบขอ 2
อธิบาย จากโจทย ถังสูง 1 เมตร แตมีรูอยูตรงกลางถัง ดังนั้น h = 0.5 m
หาความดันของน้ําที่จุกคอรก
จาก Pg = (gh)น้ํา

แทนคา; = 103100.5

Pg = 5,000 N/m2

ถังใบนี้สามารถบรรจุน้ําไดพอดี และสามารถบรรจุของเหลวที่มีความหนาแนนนอยกวา
น้ําไดดวย เนื่องจากของเหลวที่มีความหนาแนนนอยกวาน้ําจะมีความดันนอยกวาความดันของน้ํา
ดวยเมื่อบรรจุในความสูงที่เทากัน ดังนั้นถังใบนี้จึงสามารถบรรจุไดทั้งน้ําและเบนซีน โดยพิจารณา
จาก Pg = gh
11. ตอบขอ 5
อธิบาย น้ําแข็งมีความถวงจําเพาะ 0.89 แสดงวามีความหนาแนน 0.89103 kg/m3
จาก F = 0

จะได FB = mg

ลVจg = วVวg
ลVจ = ลVว
แทนคา; 103Vจ = 0.89103100%; (Vวัตถุ = 100%)

Vจ = 89%

12. ตอบขอ 2

อธิบาย T = 30 N

FB
mg
402 ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
จากโจทย ชั่งในอากาศอานคาได 40 N แสดงวาวัตถุมีมวล 4 kg
แบบทดสอบชุดที่ 6

คิดตอนชั่งในน้ํามัน
จาก F = 0

FBT = mg

แทนคา; FB30 = 40

FB = 10

แทนคา; ลVจg = 10
800Vจ = 1

Vจ = 1.25103 m3
จะไดวา Vวัตถุ = Vจม = 1.25103 m3 ; ( เนื่องจากจมทั้งกอน)
m
จาก  =
V
4
แทนคา; =
1.25103
 = 3.2103 kg/m3
วัตถุ
จาก ความถวงจําเพาะ =
น้ํา
3.2103
แทนคา; =
103
ความถวงจําเพาะ = 3.2

13. ตอบขอ 4
rgh
อธิบาย จาก  =
2
8000.8103102102
แทนคา; =
2
 = 6.4102 N/m = 0.064 N/m

14. ตอบขอ 3
2r2g
อธิบาย จาก vT =
9
(วล)

2(6103)210(1,200600)
แทนคา; =
92
3610610600
=
9
vT = 24103 m/s = 24 mm/s
ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 403

15. ตอบขอ 4

แบบทดสอบชุดที่ 6
9
อธิบาย จาก TF = 5 TC32

ให TF = TC จะไดวา
9
TF = 5 TF32
9
TF 5 TF = 32
4
5 TF = 32
5
TF = (32) 4 = 40

16. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก L = L0T

แทนคา; = 2012.010675

L = 1.8102 = 0.018 m

17. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก Q1 = Q2

(mcT)ของเหลว = (mcT)โลหะ

แทนคา; 0.54.18103(T25) = 0.250.55103(200T)

2.09T52.25 = 27.50.14T

2.23T = 79.75
79.75
T = = 35.8C
2.23
18. ตอบขอ 4

อธิบาย 0 C 0 C 100 C 100 C

น้ําแข็ง Q1
น้ํา Q2
น้ํา Q3
ไอน้ํา

จาก Qรวม = Q1Q2Q3

= mLแข็งmcTmLไอ

แทนคา; = (2333)(24.2(1000))(22,256)

= 6668404,512

Qรวม = 6,018 kJ
404 ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
19. ตอบขอ 4
แบบทดสอบชุดที่ 6

อธิบาย 0 C T C

กระปอง
รับ 0 C 0 C T C

น้ําแข็ง

0 C 100 C T C

ให ไอน้ํา

จาก Qให = Qรับ

จาก (mL)ไอน้ํา(mcT)น้ํา = (mcT)กระปอง(mL) น้ําแข็ง(mcT)น้ํา

(20540)(201(100T)) = (500.1(T0))(7080)(701(T0))

10,8002,00020T = 5T5,60070T

95T = 7,200

T = 75.8 C

20. ตอบขอ 5
P1V1 P2V2
อธิบาย จาก T1
=
T2

(Pg(1)P0)V (Pg(2)P0)V
T1
=
T1
;
(V1 = V2 = V)

5
(5105105) Pg(2)10
=
(27327) (27337)

6105 Pg(2)105
=
300 310
5
Pg(2)10
2103 =
310
6.2105 = Pg(2)105

Pg(2) = 5.2105 Pa

21. ตอบขอ 5
P1V1 P2V2
อธิบาย จาก T1
=
T2

10.1 P20.1
แทนคา; =
(27337)
(27327)

P2 = 1.03 atm
ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 405

22. ตอบขอ 5

แบบทดสอบชุดที่ 6
อธิบาย จากโจทยแกสมีปริมาตร 10 ลิตร = 10103 m3
จาก PV = nRT

แทนคา; 210510103 = n8.31(27273)

n = 0.8 mol

23. ตอบขอ 4

P1V1 P2V2
อธิบาย จาก =
T1 T2

11031 1.51031.2
แทนคา; 27273
=
T2
1.51031.2300
T2 = = 540 K
1103
T2 = 540273 = 263 C

24. ตอบขอ 2
P1V1 P2V2
อธิบาย จาก =
n1T1 n 2T 2

เมื่อ P และ V คงที่ จะได


1 1
=
n1T1 n 2T 2

T1
n2 = n1
T 
2

แทนคา; = 10,000
 25273
37273 

n2 = 9,613 mol

ดังนั้น อากาศไหลออกเทากับ n1n2 = 10,0009,613 = 387 mol


25. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก PV = nRT

m
จํานวนโมล (n) = มวลแกสตอมวลโมเลกุล M 
จะได PV = Mm RT
P =  mV  RT
M
406 ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
RT
=  ;  = mV 
แบบทดสอบชุดที่ 6

PM
 =
RT

แทนคา; = 251052103
8.31(25273)

 = 2.02 kg/m3
26. ตอบขอ 2
3
อธิบาย จาก Ek = PV
2
3 5
แทนคา; = 410 0.5
2
Ek = 3105 J

27. ตอบขอ 5
3
อธิบาย จาก U = nRT
2
3
แทนคา; = 408.31((27350)(27330)) .
2
3
= 408.3120
2
U = 9,972 J

28. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก Q = UW
3
= NkBT0 ; (W = 0 เนื่องจากปริมาตรคงที)่
2
3 25
แทนคา; = 23
210 1.3810 5 .
2
Q = 2.07103 J
29. ตอบขอ 3
22
อธิบาย จาก vrms = <v
(v 1) >

N
2
= ∑ v1
i=1

N1(v1)2N2(v2)2N3(v3)2
=  N1N2N3

5(2v)25(3v)25(4v)2
=  555
ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 407

แบบทดสอบชุดที่ 6
145v2
=  15

vrms = 3.11v

30. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก E = QW

แทนคา; = [0.525(3.0)]1,000

= 2,475 J/s

E = 8,910,000 J/hr = 8,910 kJ/hr

31. ตอบขอ 2
อธิบาย จาก U = QW

3
nRT = QPV
2
2
T = (QPV)
3nR
2
แทนคา; = [105(1.50105(0.5)]
341038.31
T = 3.51 C

32. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก Q = UW

3
= nRTW
2
3
แทนคา; 80 =
2
58.31T15

T = 1.04 K

33. ตอบขอ 4

อธิบาย
60 cm

จากรูป 2 = 60 cm จะได  = 0.3 m


v
จาก f =

12
แทนคา; =
0.3
f = 40 Hz
408 ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
34. ตอบขอ 2
แบบทดสอบชุดที่ 6

v
อธิบาย จาก  =
f
8
แทนคา; =
2
 = 4m
2πx
จาก  =

2π2
แทนคา; =
4
 = π rad

35. ตอบขอ 3
v
อธิบาย จาก  =
f
20
แทนคา; =
40
 = 0.5 m

จากรูป
N A N A N A N A N

1m

นั่นคือ เกิดตําแหนงปฏิบัพ (A) ทั้งหมด 4 ตําแหนง


36. ตอบขอ 4
v
อธิบาย จาก  =
f
12
แทนคา; =
3
 = 4 cm

จากรูป d sin  = n

(8) sin 90 = n4

n = 2

นั่นคือ แนวปฏิบัพทั้งหมดมี 5 แนว คือ ซาย 2 ขวา 2 กลาง 1


ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 409

37. ตอบขอ 3

แบบทดสอบชุดที่ 6
อธิบาย ตําแหนงของคลื่นที่มีเฟสตรงกันขาม คือ ตําแหนงที่มีมุมเฟสตางกัน 180 กับ 2π เรเดียน
ดังนั้น ตําแหนงที่ีมีเฟสตรงขามกับจุด F คือ จุด D และ H
38. ตอบขอ 2
อธิบาย จาก v = f

v
 =
f
100
แทนคา; =
50

 = 2m

จาก  = 360(x)

360(x)
แทนคา; 90 =
2

x = 0.5 m

39. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก v = 3310.6t

แทนคา; = 331(0.625)

v = 346 m/s
v
จาก  =
f
346
แทนคา; =
692
 = 0.5 m

40. ตอบขอ 5

อธิบาย จาก L = 
2
แทนคา 0.8 = 
2
 = 1.6 m
จาก v = f
แทนคา; = 6501.6

,
v = 1 040 m/s
410 ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
41. ตอบขอ 2
แบบทดสอบชุดที่ 6

อธิบาย จาก L = 
2
แทนคา; 0.3 = 
2
 = 0.6 m

จาก v = f

แทนคา; = 5150.6

v = 309 m/s

42. ตอบขอ 4
อธิบาย จาก L =  (n1)
4 2

= (2n1)
4

= (2n1)v
4f
;  = vf 
แทนคา; = ((23)1)350
4700

L = 0.625 m = 62.5 m

43. ตอบขอ 4
Ts
อธิบาย จาก v =
µ

9
แทนคา; = −3
0.1 × 10
v = 300 m/s
nv
จาก f =
2L
= v (n = 1
; เปนความถี่มูลฐาน)
2L

แทนคา; = 300
2(0.75)

f = 200.00 Hz

44. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก |S1PS2P| = n = nv


แทนคา; |(520)(205)| = n(352)


f

เสียงดังคอยสุด นั่นคือ n = 1 จะได


10 = 352
f
f = 35.2 Hz
ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 411

45. ตอบขอ 2

แบบทดสอบชุดที่ 6
P
อธิบาย จาก I =
4πR2
4π104
แทนคา; =
4π102
I = 106 W/m2
I
จาก  = 10 log I 0

106
แทนคา; = 10 log  
1012
 = 60 dB

46. ตอบขอ 3
P2
จาก 21 = 10 log P  1
1
แทนคา; 280 = 10 log  
10
280 = 10

2 = 70 dB

47. ตอบขอ 1
I
อธิบาย จาก  = 10 log
I  0

I
แทนคา; 100 = 10 log
 10  12

I
10 = log
 10 
12

I
1010 =
10
12

I = 102 W/m2

จาก I = P
A
แทนคา; 102 = P
0.1
102 = P
0.1
P = 0.001 W
412 ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
48. ตอบขอ 4
แบบทดสอบชุดที่ 6

P2
อธิบาย จาก 21 = 10 log
P 1

1
แทนคา; 2100 = 10 log  10 
2100 = log (101)

2100 = 10

2 = 90 dB

49. ตอบขอ 3
I
อธิบาย จาก  = 10 log
I 
0

 1010 
6
= 10 log 12

= 10 log 106

 = 60 dB

50. ตอบขอ 2
อธิบาย จาก sin  = v
vs
v
sin  = = 0.67
3v
2
เนื่องจาก  = 90 จะได
sin (90) = 0.67

นั่นคือ cos  = 0.67

จาก sin  = 1cos2 

แทนคา; = 1(0.67)2 = 0.72


 = sin1(0.72) = 46

51. ตอบขอ 1
vs
อธิบาย จาก M =
v0
vs
v0 =
M
510
แทนคา; =
1.5
v0 = 340 m/s

จาก v0 = 3310.6t
ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5 413

แทนคา; 340 = 3310.6t

แบบทดสอบชุดที่ 6
9 = 0.6t

t = 15 C

52. ตอบขอ 3
อธิบาย จาก v0 = 3310.6t

แทนคา; = 3310.6(25)

v0 = 346 m/s

วาดรูปทิศทางของ v
vs
vL
v0

v0  vL
จาก fL = v fS

0  vS

346  20
แทนคา; =  346  40  1,000
fL = 1,065 Hz

53. ตอบขอ 5
อธิบาย ความยาวคลื่นของเสียงมีขนาดใกลเคียงกับขนาดของวัตถุจึงทําใหสามารถเกิดเลี้ยวเบนได
54. ตอบขอ 4
dx
อธิบาย จาก = n
L
nL
x =
d
(2)(400109)(2)
แทนคา; =
2103
= 8104 m

x = 0.8 mm

55. ตอบขอ 1
อธิบาย จาก d sin  = n

n
sin  =
d
(1)(50106)
แทนคา; =
0.1103
sin  = 0.5

 = 30
414 ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.5
56. ตอบขอ 2
แบบทดสอบชุดที่ 6

อธิบาย จากโจทย N = 4103 ชอง/cm = 4105 ชอง/cm


จาก d sin  = n
1
 N  sin 37 = n

1 3
แทนคา;  = 3
4105 5
 = 5107 m = 500 nm

57. ตอบขอ 2
360
อธิบาย จาก จํานวนภาพ = 1

360
= 1
90

= 3 ภาพ
58. ตอบขอ 3
อธิบาย จากโจทย ไดภาพเสมือนขนาดเล็กกวาวัตถุ
f
จาก m =
Sf
f
แทนคา; 0.4 =
60f

0.4(60f) = f

240.4f = f

f = 40 cm ; (เครื่องหมายลบ แสดงวาเปนกระจกนูน)


59. ตอบขอ 2
f
อธิบาย จาก m =
Sf
10
แทนคา; =
510
m = 2

60. ตอบขอ 5
nวัตถุ ความลึกจริง
อธิบาย จาก nตา
=
ความลึกปรากฏ
4
แทนคา; 3 =
ความลึกจริง
1 1.2

ความลึกจริง = 1.6 m

You might also like