Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่แบบตางๆ

การเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารโมนิก
1. ถาตองการทําลูกตุม นาฬิกาขึน้ มาจากวัตถุมวล 500 กรัม และเชือกที่เบามาก โดยใหลูกตุมนี้
แกวงครบรอบในเวลา 1 วินาที พอดี ลูกตุม นีจ้ ะตองมีความยาวเทาไร
ตอบ 0.25 เมตร
แนวคิด แกวงครบรอบ แสดงวาคาบเทากับ 1 วินาที สูตรคาบ คาคงที่อยูลาง
โจทยกําหนด m = 500 กรัม, T = 1 วินาที, l =?
l
จากสูตร T = 2π
g
l
แทนคา 1 = 2π ดังนั้น l = 0.253 หรือประมาณ 0.25 เมตร Ans
10
**แกในหนังสือดวยนะครับ คําตอบในหนังสือ 2.5 เมตร ใหแกจาก 2.5 เปน 0.25 เมตรครับ**
2. ลูกตุม A, B, C, D และ E แขวนกับเชือกที่ขึงตึง ดังแสดงในรูป เมื่อผลักลูกตุม A ใหแกวง
ลูกตุมใดจะแกวงตามลูกตุม A อยางเห็นไดชัด

ตอบ ลูกตุม E
แนวคิด แกวงตามกัน แสดงวาคาบเทากัน
l
จากสูตร T = 2π ***จะสังเกตไดวา คาคาบขึน้ กับคาความยาวของเชือก***
g
เมือ่ ดูจากรูป จะสังเกตไดวา เชือกทีผ่ กู กับลูกตุม A ยาวเทากับเชือกลูกตุม E

ดังนั้น ลูกตุมที่แกวงตามลูกตุม A อยางเห็นไดชัดคือ ลูกตุม E Ans

3.วัตถุชิ้นหนึ่งมวล 100 g มีการเคลื่อนที่แบบ simple harmonics โดยมีความเร็วสอดคลองกับ


π π
สมการ v = cos( t ) m/s โดยที่ t คือเวลาเปนวินาที วัตถุเคลื่อนที่ดวย amplitude กีเ่ ซนติเมตร
60 3
ตอบ 5 เซนติเมตร
แนวคิด
π π
โจทยกําหนด v = cos( t ) m/s, m = 100 g
60 3
π π
จากสูตร เทียบสมการ v = cos( t )
60 3
π π
จะไดวา ω = และ ωA =
3 60
π π
แทนคา ω ลงในสมการ A=
3 60

จะได A = 0.05 เมตร ดังนั้น วัตถุเคลื่อนที่ดวยแอมพลิจูด 5 เซนติเมตร Ans

4.สปริงขดหนึ่งตั้งอยูในแนวดิ่งบนโตะ เอาวัตถุหนักชิ้นหนึ่ง คอยๆ วางบนสปริง พบวาสปริงหดลง


ไป 1 เซนติเมตร ถากดวัตถุลงอีกนิดหนึ่งแลวปลอย วัตถุจะสั่นขึ้นลง ใหหาวาวัตถุสน่ั ดวยความถี่
เทาใดโดยไมคาํ นึงถึงการสูญเสียพลังงานใดๆ
ตอบ 5 Hz
แนวคิด วาดรูปสปริงวางนิง่ และสปริงในขณะคอยๆ วางวัตถุลงบนสปริง
โจทยกําหนด x = 1 cm, f =? ***แรงสปริงมีทิศเขาหาจุดสมดุล***
จากรูป จะไดวา เมือ่ คอยๆวางวัตถุลงบนสปริง จะอยูใ นสภาวะ
หยุดนิ่ง
จาก แนวดิง่ สมดุล แรงขึน้ = แรงลง
kx = mg
mg
k=
x
เมือ่ ตองการรูค วามถี่ ก็ตอ งรูค าบ
m 1
จากสูตร **คาบ คาคงที่อยูลาง** T = 2π โดยที่ f =
k T
1 k 1 mg /
จะไดวา f= f=
2π m 2π mx /
1 mg
/ ดังนั้น
แทนคา f= f = 5 รอบ/วินาที หรือ 5 Hz Ans
2π mx
/

5.ลวดสปริงอันหนึง่ วางบนพื้นเกลี้ยง ปลายดานหนึ่งยึดแนนกับผนัง ปลายที่เหลือมีมวล 1 kg ติด


ไว ถาทําใหเกิดการสั่นแบบซิมเปลฮารโมนิก วัดตามการสัน่ ได 2π/5 วินาที แรงในหนวยนิวตันที่
กระทําตอมวลนีเ้ มือ่ อยูห า งจากตําแหนงสมดุล 0.2 เมตร เปนเทาใด
ตอบ 5 นิวตัน
แนวคิด วัดตามการสัน่ แสดงวาเปนเวลาใน 1 คาบ, พื้นเกลี้ยง แสดงวาไมมีแรงเสียดทาน
โจทยกําหนด T = 2π/5 วินาที, x = 0.2 m, m = 1 kg, F =?
วาดรูปแสดงการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุตดิ สปริง
m
จากสูตร คาบ คาคงทีอ่ ยูล า ง T = 2π
k
2π 1
แทนคา = 2π
5 k
ดังนั้น k = 25 นิวตัน/เมตร
หาแรง จากสูตร F = -kx
แทนคา F = - (25) (-0.2) **การกระจัดมีทศิ ตรงขามกับแรงสปริง**
ดังนั้น F = 5 นิวตัน Ans

6.ปลอยลูกตุมซึ่งมีสายยาว 90 cm จากมุมหนึ่งใหแกวง แตสายลูกตุมติดตะปูที่ระยะ 50 cm ใต


จุดที่แขวนในแนวดิ่ง ลูกตุม จะแกวงกลับมาทีเ่ ดิมในเวลาเทาใด
ตอบ 1.57 วินาที
แนวคิด แกวงกลับมาทีเ่ ดิม แสดงวาเคลือ่ นทีไ่ ดใน
เวลา 1 คาบ
โจทยกําหนด l = 90 cm, T =?
วาดรูปแสดงการแกวงของลูกตุม
l
จากสูตรคาบ คาคงทีอ่ ยูล า ง T = 2π
g
**ขอนี้ตองคิดเปน 2 ชวง คือ ชวงทีแ่ กวงปกติกบั ชวงทีแ่ กวงติดตะปู**
คิดคาบแกวงปกติ l =90 cm คิดตอนติดตะปู ความยาวเชือกลดเหลือ 90-50 = 40 cm
0.9 0.4
แทนคา T1 = 2π T2 = 2π
10 10
ดังนั้น T1 = 1.88 วินาที ดังนั้น T2 = 1.26 วินาที

T T 1.88 1.26
หาคาบรวม Tรวม = 1 + 2 = + ดังนั้น Tรวม =1.57 วินาที Ans
2 2 2 2

การเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลม


1.รถยนตคนั หนึง่ วิง่ บนทางโคงดวยอัตราเร็ว 90 km/hr รัศมีความโคงของถนน 500 เมตร ความ
กวางของถนนวัดตามแนวราบ เทียบกับจุดต่ําสุดของดานในได 8 เมตร จะตองยกขอบถนนดาน
นอกใหสงู กวาดานในเทาใด เมือ่ รถวิง่ บนทางโคงแลวไมไถลออกนอกเสนทาง
ตอบ 1 เมตร
แนวคิด วิง่ บนทางโคงแลวไมไถล แสดงวาวิง่ โดยไมใชแรงเสียดทาน
โจทยกําหนด v =90 km/hr, R =500 m, s =8 m,
h =?
วาดรูปถนนโคงยกขอบพืน้ ถนน
v2
จากสูตร tanθ =
Rg
2
 90 × 5 
h h  
แทนคา = =  18  ดังนั้น h = 1 เมตร Ans
s 8 (500)(10)
ตองยกพืน้ ถนนใหสงู กวาดานใน 1 เมตร
2.วัตถุมวล 0.5 kg ผูกติดกับเชือกยาว 1 เมตร แกวงเปนวงกลมในแนวดิ่ง จงหาแรงตึงในเสน
เชือกขณะทีเ่ ชือกทํามุม 60 องศากับแนวดิง่ ถาขณะนั้นวัตถุมีอัตราเร็ว 3 m/s
ตอบ 7 นิวตัน
แนวคิด แกวงแนวดิง่ แตก mg
โจทยกําหนด m = 0.5 kg, v = 3 m/s, l = 1 m, θ= 60o,
T =?
วาดรูปการเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลมในแนวดิง่
v2
จากกฎนิวตัน ∑ F = ma (a = )
R
2
v
T-mgcos60o = m
R
1 32
แทนคา T-(0.5)(10)( ) =(0.5)( ) ดังนั้น T = 7 นิวตัน Ans
2 1

3.ขณะขับรถบนถนนทางโคงที่มีรัศมีความโคง 200 m ผูขับมองเห็นตุกตาที่แขวนอยูในรถเอียง


ทํามุม 30 องศากับแนวดิง่ ความเร็วของรถขณะนัน้ ควรเปนเทาใด
ตอบ 34 เมตร/วินาที
แนวคิด ตุก ตาแรดเอียงทํามุม 30 องศากับแนวราบ คิดเหมือนแกวงกรวย
โจทยกําหนด R =200 m, θ= 30o, v =?
วาดรูปแกวงกรวย แกวงกรวย แตก T
v2
จากกฎนิวตัน ∑ F = ma (a = )
R
v2
T sin θ = m --- (1)
R
ดิ่ง สมดุล ขึ้น = ลง แทนคา tan 30o = ผิดพลาด!
v2
ไมไดกําหนดที่คั่นหนา
(200)(10)
T cos θ = mg --- (2) ดังนั้น v = 33.98 เมตร/วินาที
(2) v2
จะได tanθ = หรือ 34 เมตร/วินาที Ans
(1) Rg

4.จงหาความเร็วเชิงมุมคงทีท่ น่ี อ ยทีส่ ดุ ของถังหมุน ขนาดเสนผานศูนยกลาง เมตรของเครือ่ งเลน


คนไตถัง ดังรูป ที่ทําใหคนสามารถไตติดกับผนังดานในของถังหมุนไดโดยไมตก กําหนดให
สัมประสิทธิค์ วามเสียดทานสถิตระหวางคนเลนกับถังเทากับ μ
2g
ตอบ
µD
แนวคิด คนหรือรถไตถัง จะมีแรงเสียดทานหิ้วขึ้น โดยมีแรง N
เนือ่ งจากแรงเสียดทานกระทํากับคนในทิศเขาหาจุดศูนยกลาง
โจทยกําหนด R = D , μ, ω =? (วาดรูปคนไตถงั )
2
ดิ่ง สมดุล ขึ้น = ลง
fS = mg
μN = mg
N = mg --- (1) จาก (1) และ (2) จะได
µ
v2
ราบ จากกฎนิวตัน mg
=m (v = ωR)
µ R
v2 g (ωR) 2
∑ F = ma (a = ) = ( R=D)
R µ R 2
2
v
N=m --- (2) แทนคา ดังนั้น ω= 2g
เรเดียน/วินาที Ans
R µD

5.ถายานอวกาศลําหนึง่ สามารถปรับใหวง่ิ วนเปนวงกลมรอบดวงจันทรทร่ี ะยะรัศมี 1.8 X106


เมตร จงหาคาบของการโคจรครบรอบของยานอวกาศลํานี้ เมื่อความเรงเนือ่ งจากแรงโนมถวงที่
บริเวณนั้นของดวงจันทรมีคาเปน 1 เทาของโลก
6

ตอบ 109 นาที


แนวคิด ความเรงเนือ่ งจากแรงโนมถวงทําหนาทีเ่ ปนความเรงเขาสูศ นู ยกลาง
โจทยกําหนด aC= g/ = 1 g, R =1.8 X106 เมตร, T =?
6
v2
หาความเรงเขาสูศ นู ยกลาง aC =
R
= (ωR)
2
g
ดังนั้น T = 6.53 X103 วินาที
6 R
ω = 2π ) = (2π × 1.8 × 106 )
6 2
10
( หรือ 109 นาที Ans
T 6 T (1.8 × 10 )

6.ถาสมมติวา ในขณะเวลาฝนตก สัมประสิทธิค์ วามเสียดทานระหวางยางลอกับผิวถนนจะลดลง


เหลือครึ่งหนึ่งของคาปกติแลว ความเร็วสูงสุดของรถในขณะเลีย้ วโคงบนถนนในแนวราบโดยไมมี
การลืน่ ไถลจะลดลงกีเ่ ปอรเซ็นตของคาปกติ
ตอบ ค.71%
แนวคิด เลีย้ วโคงบนถนนราบ อาศัยแรงเสียดทานเปนแรงเขาสูศ นู ยกลาง
µ1
โจทยกําหนด µ2 = , v2 =? รัศมีเทา เพราะถนนโคงอันเดียวกัน
2
2
v2 (2) µ 2  v2 
จากสูตร µ= จะได = 
Rg (1) µ1  v1 
2
v2 1  v2  v
กอนฝนตก µ1 = 1 --- (1) แทนคา =   จะได v2 = 1
Rg 2  v1  2
v 22 v
ฝนตก µ2 = --- (2) ดังนั้น %v 2 = 1 × 100% = 70.7% =71% Ans
Rg 2

7.รถยนตมวล 1,200 กิโลกรัม กําลังวิ่งขามสะพาน ที่จุดสูงสุดของสะพานซึ่งมีรัศมีความโคงใน


ระนาบดิง่ 12 เมตร จงหาอัตราเร็ว v พอดีทาํ ใหรถยนตเริม่ หลุดจากความโคงของสะพาน
ตอบ 11 เมตร/วินาที
แนวคิด รถยนตวง่ิ บนสะพานโคง
โจทยกําหนด R =12 เมตร, m = 1,200 กิโลกรัม, v =?
v2
จากกฎนิวตัน ∑ F = ma (a = )
R
v2
N-mg = m **เริม่ หลุด แสดงวาแรง N = 0**
R
v2
mg = m
R
v2
แทนคา 10 =
12

ดังนัน้ v = 11 เมตร/วินาที Ans


การเคลื่อนที่แบบหมุน
1.มอเตอรไฟฟาหมุนดวยอัตราเร็ว 500 รอบ/วินาที และ หยุดนิง่ ในเวลา 25 วินาที อยากทราบวา
หมุนไปกี่รอบจึงหยุด
ตอบ 6,250 รอบ
แนวคิด หากโจทยกาํ หนดหนวยเปนรอบเหมือนกัน ใหแทนคาในหนวยรอบไดเลย
โจทยกําหนด ω1 = 500 รอบ/วินาที = 1,000π เรเดียน/วินาที, ω2 = 0, t = 25 s, θ =?
วิธีที่ 1 แบบ เปลี่ยนหนวยเปนเรเดียน/วินาที
1 1
จาก θ= (ω1 + ω2 ) t = (1,000π + 0 ) (25)
2 2
12,500π/
ดังนั้น θ = 12,500π เรเดียน หรือเทากับ = 6,250 รอบ Ans
2π/

วิธีที่ 2 แบบ ไมเปลี่ยนหนวยเปนเรเดียน/วินาที


1 1
จาก θ= (ω1 + ω2 ) t = ( 500 + 0 ) (25)
2 2
ดังนั้น θ = 6,250 รอบ Ans

***จะสังเกตไดวา ผลลัพธทั้ง 2 วิธจี ะไดคาํ ตอบเทากัน***


2.เครือ่ งบินลําหนึง่ เรงเครือ่ งเพือ่ จะบินออก ตอนแรกใบพัดหมุนดวยอัตราเร็วเชิงมุม 12 rad/s
และเมื่อเริ่มบินขึ้นมีอัตราเร็วเชิงมุม 108 rad/s โดยใชเวลาทัง้ หมดในการเรง 24 วินาที จงหา
ความเรงเชิงมุมของใบพัด
ตอบ 4 เรเดียน/วินาที2
แนวคิด
โจทยกําหนด ω1 = 12 เรเดียน/วินาที, ω2 = 108 เรเดียน/วินาที, t = 24 s, α =?
จากสูตร ω=2 ω1 + α t
108= 12 + α (24) ดังนั้น α = 4 เรเดียน/วินาที2 Ans

3.วงลออันหนึง่ หมุนได 300 รอบใน 1 นาที จงหาอัตราเร็วของจุดใดๆ ทีอ่ ยูบ นวงลอ อัตราเร็ว
เชิงเสน และความเรงเขาสูศ นู ยกลาง 0.5 เมตร
**จากรูปขอ 4 ใหแกจาก 4 เปน 3 นะครับ**
ตอบ 10 π เรเดียน/วินาที, 5 π เมตร/วินาที, 5π2 เมตร/วินาที2
แนวคิด
300
โจทยกําหนด จาก 300 รอบใน 1 นาทีคอื f = =5 รอบ/วินาที, ω1 =?, v =?, aC =?
60

ω 2π=f 2π (5) ดังนั้น


จาก = ω = 10π เรเดียน/วินาที Ans

จาก =v ω=R (10π )(0.5) ดังนั้น v = 5π เรเดียน/วินาที Ans


หา aC วิธีที่ 1
v 2 (5π ) 2
จาก a=
C = ดังนั้น aC = 50π 2 เรเดียน/วินาที Ans
R (0.5)
หา aC วิธีที่ 2
จาก = aC ω= 2
R (5π ) 2 (0.5) ดังนั้น aC = 50π 2 เรเดียน/วินาที Ans
**จะสังเกตไดวา สูตรการหาความเรงเขาสูศ นู ยกลาง มี 2 สูตร คิดทั้ง 2 วิธี ไดคาํ ตอบเทากัน**
4.ลอหมุนมีความเร็วเชิงมุมเริ่มตน 50 rad/s ทิศทวนเข็มนาฬิกา และหลังจากนัน้ 20 s ตอมา
ความเร็วเชิงมุมเปน 50 rad/s ทิศตามเข็มนาฬิกา ถากําหนดให ความเรงเชิงมุมคงที่ จงหา
(a) ขนาดและทิศทางของความเรงเชิงมุม
(b) ระยะการกระจัดเชิงมุมตลอด 20 s
(c) อัตราเร็วเชิงมุมที่ 30 s
ตอบ (a) 5 rad/s2 ทิศตามเข็ม (b) 0 rad (c) 100 rad/s ทิศตามเข็ม
แนวคิด ขอนีค้ ดิ ทิศทางการหมุน จึงตองกําหนดเครือ่ งหมายความเร็วเชิงมุม โดยใหความเร็ว
เริ่มตนมีคาเปนบวก **จากรูปขอ 5 ใหแกจาก 5 เปน 4 นะครับ**
โจทยกําหนด ω1 = 50 เรเดียน/วินาที(ทวน), ω2 = -50 เรเดียน/วินาที(ตาม), t = 20 s,
α =?, θ =?, ω2ที่ 30 วินที =?
(a) จากสูตร ω=2 ω1 + α t ดังนั้น α = -5 เรเดียน/วินาที2
แทนคา −50 = 50 + α (20) α = 5 เรเดียน/วินาที2 (ตามเข็ม) Ans

(b) จากสูตร ω=
2
2 ω12 + 2αθ ดังนั้น θ = 0 เรเดียน Ans

แทนคา ( −50) =2 (50) 2 + 2( −5)θ **เนือ่ งจากความเร็วเชิงมุมหักลางกันไป**

(c) จากสูตร ω=2 ω1 + α t ดังนัน้ ω2 = -100 เรเดียน/วินาที


แทนคา ω2 = 50 + ( −5)(30) ω2 = 100 เรเดียน/วินาที (ตามเข็ม) Ans
**จากคําตอบขอ (c) เปนการบอกความเร็ว แตถา ถามอัตราเร็ว ตอบแค 100 rad/s ก็พอครับ**

You might also like