Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 35

คูม่ อื การปฏิบัติงาน

(Work Manual)

การทดสอบกาลังอัด

ของแท่งคอนกรีต

ส่วนวิศวกรรม
สานักงานชลประทานที่ 14
กรมชลประทาน สิงหาคม 2560
คู่มือการปฏิบัติงาน
(Work Manual)

การทดสอบกาลังอัด

ของแท่งคอนกรีต

รหัสคู่มือ สชป.14/วศ.2/2560

หน่วยงานที่จัดทา
ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม ส่วนวิศวกรรม
สานักงานชลประทานที่ 14

ที่ปรึกษา
นายอุกฤษฏ์ ถาวรไกรกุล รองผู้อานวยการสานักงานชลประทานที่ 14
นายศุภณัฐ ปริยชาติ ผู้อานวยการส่วนวิศวกรรม

พิมพ์ครั้งที่ 1
จานวน 1 เล่ม
เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2560
คำนำ
การจัดทาคู่มือการทดสอบกาลังอัดของแท่งคอนกรีต มีจุดประสงค์เพื่อสร้างเป็นมาตรฐานที่ใช้
อ้างอิงด้านการทดสอบกาลังอัดของแท่งคอนกรีต และเพื่อให้ผู้ที่ต้องการศึกษาเรียนรู้และปฏิบัติงาน ใช้เป็นที่
คู่มือและวิธีการในการทดสอบกาลังอัดของแท่งคอนกรีต อันจะส่งผลให้สามารถทางานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว
และเป็นไปตามตามมาตรฐานของกรมชลประทาน คู่มือการทดสอบเล่มนี้อาจมีข้อผิดพลาดอยู่บ้าง ผู้จัดทาต้อง
ขออภัยและขอน้อมรับคาติชม ข้อเสนอแนะ เพื่อแก้ไขและปรับปรุงให้ดีขึ้นต่อไป
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการทดสอบกาลังอัดของแท่งคอนกรีต เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในการ
นาไปใช้ปฏิบัติงานในเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลกับกรมชลประทาน

คณะผู้จัดทา ส่วนวิศวกรรม
สานักงานชลประทานที่ 14
กรมชลประทาน
สำรบัญ

หน้า
วัตถุประสงค์ 1
ขอบเขต 1
คาจากัดความ 1
หน้าที่ความรับผิดชอบ 2
Work Flow กระบวนการ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7
ระบบติดตามประเมินผล 10
เอกสารอ้างอิง 12
แบบฟอร์มที่ใช้ 12
ภาคผนวก
1) เอกสารที่ 1 บันทึกข้อความ 14
2) ตัวอย่างบันทึกข้อความ 15
3) เอกสารที่ 2 บัญชีตัวอย่างแท่งคอนกรีต 16
4) ตัวอย่างบัญชีตัวอย่างแท่งคอนกรีต 17
5) เอกสารที่ 3 รายการคานวณค่ากาลังอัดของตัวอย่างแท่งคอนกรีต 19
6) ตัวอย่างรายการคานวณค่ากาลังอัดของตัวอย่างแท่งคอนกรีต 20
7) เอกสารที่ 4 แบบส่งวิทยุโทรเลข 21
8) ตัวอย่างแบบส่งวิทยุโทรเลข 22
9) ตัวอย่างรายงานผลการทดสอบค่ากาลังอัดตัวอย่างแท่งคอนกรีต 23
10) รูปภาพที่ 1-6 ขั้นตอนการทางาน 29
คู่มือกำรปฏิบัตงิ ำน
กำรทดสอบกำลังอัดของแท่งคอนกรีต

1. วัตถุประสงค์
เพื่อหากาลังต้านทานแรงอัดของคอนกรีต โดยใช้แท่งคอนกรีตรูปทรงกระบอก หรือแท่งคอนกรีต
รูปทรงลูกบาศก์ตามมาตรฐาน สวพ.ทล.221 , ASTM C 293
2. ขอบเขต
2.๑ รูปทรงของแท่งคอนกรีตต้องเป็นรูปทรงกระบอกหรือรูปทรงลูกบาศก์ตามมาตรฐาน และผสม
คอนกรีตที่ใช้จะต้องตามแบบของงานก่อสร้างนั้นๆ
2.2 การเก็บแท่งคอนกรีตจะต้องเก็บจานวน 6 แท่ง ซึ่งต้องเก็บในเวลาเดียวกันมีความข้นเหลว
เท่ากัน ในการนี้จะต้องทาการทดสอบค่าการยุบตัว (Slump Test) ด้วยทุกครั้ง
2.3 การทดสอบหากาลังอัดแท่งคอนกรีตจะทดสอบด้วยเครื่องทดสอบกาลังอัด (Compression
Machine)
2.4 การทดสอบหากาลังอัดแท่งคอนกรีตจะทดสอบแท่งคอนกรีตที่มีอายุ 7 วันและ 28 วัน
3. คำจำกัดควำม
กาลังอัดของคอนกรีต หมายความว่า ความสามารถในการรับกาลังของคอนกรีต โดยค่าที่ได้เป็นค่า
การรับกาลังของก้อนแท่งคอนกรีตตัวอย่าง
แท่ ง คอนกรี ต รู ป ทรงกระบอก หมายความว่ า ชิ้ น ตั ว อย่ า งคอนกรี ต รู ป ทรงกระบอกขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 15 ซม. สูง 30 ซม.
แท่งคอนกรีตรูปทรงลูกบาศก์ หมายความว่า ชิ้นตัวอย่างคอนกรีตรูปทรงลูกบาศก์ขนาด 15 x 15
ซม. สูง 15 ซม.
การทดสอบค่ าการยุ บ ตั ว (Slump Test) หมายความว่ า การทดสอบความสามารถเทได้ ข อง
คอนกรีต(ความสามารถเทได้ หรือ ความคล่องตัวในการเท คือ ผลรวมของพลังงานที่ต้องใช้เพื่อเอาชนะแรงเสียด
ทานระหว่างอนุ ภ าคส่ วนผสมในคอนกรีต และแรงเสี ยดทานระหว่างคอนกรีตกับแบบหล่ อ และเหล็ กเสริม
คอนกรีต หากคอนกรีตมีความสามารถเทได้ดี คอนกรีตจะไหลได้เต็มแบบและหุ้มเหล็กเสริมได้ดี ทั้งยังสามารถ
ทาให้แน่นได้โดยปราศจากการแยกตัว)
การบ่มแท่งคอนกรีต ความหมายว่า การนาแท่งคอนกรีตลงในน้าให้จมมิดและรักษาอุณหภูมิให้อยู่
ในช่วง 21-25 องศาเซลเซียส จนกว่าจะถึงเวลาทดสอบที่กาหนด


4. หน้ำที่ควำมรับผิดชอบ
4.1 ผู้อานวยการโครงการ เสนอเรื่องและส่งวัสดุที่จะทาการทดสอบ
4.2 ผู้อานวยการส่วนวิศวกรรม รับทราบและพิจารณาผลการทดสอบ
4.3 หัวหน้าฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม ควบคุม ตรวจสอบ กาหนดขอบเขต
วัตถุประสงค์ การวางแผน และสรุปผลการทดลองและเสนอผู้บังคับบัญชา
4.4 เจ้าหน้าที่ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม การดาเนินการทดสอบ การจัดทา
รายงานและเสนอรายงานผลการทดสอบ


สรุปกระบวนกำร กำรทดสอบกำลังอัดของแท่งคอนกรีต กรมชลประทำน
กระบวนการ การทดสอบกาลังอัดของแท่งคอนกรีต กรมชลประทาน ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญ ดังนี้
1.1 โครงการส่งเรื่องพร้อมแท่งคอนกรีต
1.2 ตรวจสอบและบ่มแท่งคอนกรีต
1.3 ทาการทดสอบหากาลังอัดแท่งคอนกรีต
1.4 ตรวจสอบและคานวณผลการทดสอบ
1.5 รายงานผลการทดสอบต่อผู้อานวยการส่วนวิศวกรรม
1.6 จัดทาเล่มรายงานและส่งให้โครงการฯ


Work Flow กระบวนกำรกำรทดสอบกำลังอัดของแท่งคอนกรีต กรมชลประทำนในภำพรวม

ลาดับที่ ผังกระบวนการ เวลา

1. โครงการส่งเรื่องพร้อมแท่ง 1 วัน
คอนกรีต

2. ตรวจสอบและบ่มแท่ง 1 วัน
คอนกรีต
No

ทาการทดสอบหากาลัง
3. อัดแท่งคอนกรีต 7,28 วัน

ตรวจสอบและคานวณผล
4. 1 วัน
การทดสอบ

Yes
รายงานผลการทดสอบต่อ
5. ผู้อานวยการส่วนวิศวกรรม 1 วัน

6. จัดทาเล่มรายงานและส่งให้ 7 วัน
โครงการฯ

รวมเวลำทั้งหมด 38 วัน


5. Work Flow กระบวนกำร
ชื่อกระบวนกำร : การทดสอบกาลังอัดของแท่งคอนกรีต
ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนกำร : ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบกาลังอัดของแท่งตัวอย่างคอนกรีตอย่างน้อย 3 แท่งต้องไม่ต่ากว่ากาลังอัดที่แบบกาหนด และผลการทดสอบ
กาลังอัดของแต่ละแท่งต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 85 ของกาลังอัดที่แบบกาหนด
ลำดับ ผังกระบวนกำร ระยะเวลำ รำยละเอียดงำน มำตรฐำน / คุณภำพงำน ผู้รับผิดชอบ
1. 1 .วัน จัดทาหนังสือแจ้งขอทดสอบและแนบเอกสาร จัดทาหนังสือแจ้งขอทดสอบและทาการ ผู้อานวยการ
โครงการส่งเรื่อง ที่เกี่ยวข้องพร้อมกับตัวอย่างแท่งคอนกรีต เก็บตัวอย่างแท่งคอนกรีตตามมาตรฐาน โครงการ
พร้อมแท่งคอนกรีต สวพ.ทล.221 , ASTM C 293

2. 7,28 วัน ตรวจสอบขนาด ความกว้าง ความยาว ความ ตามมาตรฐาน สวพ.ทล.221 , ASTM C เจ้าหน้าทีฝ่ ่าย
ตรวจสอบและบ่มแท่ง สูงและผิวของแท่งคอนกรีตและทาการบ่ม 293 ตรวจสอบและ
คอนกรีต แท่งคอนกรีต วิเคราะห์ด้าน
วิศวกรรม
No

3. ทาการทดสอบหากาลัง 1 วัน ทาการทดสอบแท่งคอนกรีตด้วยเครื่อง ตามมาตรฐาน สวพ.ทล.221 , ASTM C เจ้าหน้าทีฝ่ ่าย


อัดแท่งคอนกรีต ทดสอบกาลังอัด(Compression Machine) 293 ตรวจสอบและ
วิเคราะห์ด้าน
วิศวกรรม


ลำดับ ผังกระบวนกำร ระยะเวลำ รำยละเอียดงำน มำตรฐำน / คุณภำพงำน ผู้รับผิดชอบ

No
4. 1 วัน ตรวจสอบลักษณะของแท่งคอนกรีตที่ถูกกด ตามมาตรฐาน สวพ.ทล.221 , ASTM C เจ้าหน้าทีฝ่ ่าย
และคานวณผลการทดสอบ 293 ตรวจสอบและ
ตรวจสอบและคานวณผล วิเคราะห์ด้าน
การทดสอบ วิศวกรรม

Yes

5. 1 วัน สรุปผลการทดสอบกาลังอัดแท่งคอนกรีต ตามมาตรฐาน สวพ.ทล.221 , ASTM C หัวหน้าฝ่าย


รายงานผลการทดสอบ
เบื้องต้น พร้อมแจ้งผลการทดสอบให้โครงการ 293 ตรวจสอบและ
ต่อผูอ้ ำนวยกำรส่วน
เพื่อใช้ประกอบการเบิกจ่ายงบประมาณต่อไป วิเคราะห์ด้าน
วิศวกรรม วิศวกรรม

6. 7 วัน จัดทารายงานสรุปผลการทดสอบและส่ง จัดทารายงานสรุปผลการทดสอบที่ หัวหน้าฝ่าย


จัดทาเล่ม รายงานให้โครงการ ครบถ้วนตามโครงสร้างรายงาน ตรวจสอบและ
รายงานและส่ง วิเคราะห์ด้าน
ให้โครงการฯ วิศวกรรม


6. ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผู้รับผิดชอบ เงื่อนไข
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
1.จัดทาหนังสือแจ้งขอทดสอบและ - โครงการก่อสร้างหรือโครงการชลประทาน เอกสารที่ 1 บันทึกความ ผู้อานวยการ - ปริมาณงานเทคอนกรีตขั้นต่า
แนบเอกสารที่เกี่ยวข้องพร้อมกับ ต่างๆทาหนังสือเพื่อขอทาการทดสอบพร้อม เอกสารที่ 2 บัญชีตัวอย่างแท่ง โครงการ ที่กาหนดให้ทดสอบคือ 30 ลบ.
ตัวอย่างแท่งคอนกรีต ทั้งแนบเอกสารที่เกี่ยวข้อง คอนกรีต ม.และทุกครั้งที่มีการเทหรือ
- ส่งหนังสือและตัวอย่างแท่งคอนกรีตมาที่ ทุกๆ 50 ลบ.ม.จะต้องเก็บ
ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม ตัวอย่างแท่งคอนกรีต โดยเก็บ
ตัวอย่างแท่งคอนกรีตจานวน 6
แท่ง (คาสั่งกรมชลประทานที่
24/2555 เรื่อง การทดลอง
และตรวจสอบวัสดุเพื่อควบคุม
งานก่อสร้าง)
- ในการนาแท่งตัวอย่างมาส่ง
จะต้องทาการบ่มแท่งคอนกรีต
มาตลอดกันเดินทาง

2. ตรวจสอบขนาด ความกว้าง - วัดและบันทึกขนาดความกว้างและความ เอกสารที่ 3 รายการคานวณค่า เจ้าหน้าทีฝ่ ่าย ในการบ่มแท่งคอนกรีตจะแบ่ง


ความยาว ความสูงและผิวของแท่ง ยาวของแท่งคอนกรีตรูปทรงลูกบาศก์เพื่อหา กาลังอัดของตัวอย่างแท่ง ตรวจสอบและ การบ่มเป็น 2 ชุด(ชุดละ 3
คอนกรีตและทาการบ่มแท่ง พื้นที่หน้าตัด ถ้าเป็นแท่งคอนกรีตรูป คอนกรีต วิเคราะห์ด้าน แท่ง) โดยชุดที่1 จะบ่มแท่ง
คอนกรีต ทรงกระบอกให้วัดและบันทึกค่าขนาด วิศวกรรม คอนกรีต 7 วันและชุดที่2 จะ
เส้นผ่าศูนย์กลางเพื่อหาพื้นที่หน้าตัด บ่ม 28 วัน
- ตรวจสอบวัน เดือน ปี ที่หล่อแท่งคอนกรีต
และชื่อโครงการติดที่แท่งคอนกรีต
- ทาการบ่มแท่งคอนกรีต โดยแช่แท่ง
คอนกรีตในจมมิดและรักษาอุณหภูมิให้อยู่

ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผู้รับผิดชอบ เงื่อนไข
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
ในช่วง 21-25 องศาเซลเซียส จนกว่าจะถึง
เวลาทดสอบที่กาหนด

3. ทาการทดสอบแท่งคอนกรีตด้วย - นาแท่งตัวอย่างวางบนกึ่งกลางของแท่ง เอกสารที่ 3 รายการคานวณค่า เจ้าหน้าทีฝ่ ่าย ก่อนทาการทดสอบแท่งตัวอย่าง


เครื่องทดสอบกาลังอัด ทดสอบโดยจัดให้แกนของแท่งตัวอย่างอยู่ใน กาลังอัดของตัวอย่างแท่ง ตรวจสอบและ รูปทรงกระบอก ปลายทั้งสอง
(Compression Machine) แนวศูนย์กลางของแท่งกด คอนกรีต วิเคราะห์ด้าน ด้านจะต้องเรียบเป็นระนาบตั้ง
- เดินเครื่องทดสอบกาลังอัด ให้นาหนักกด วิศวกรรม ฉากกับแนวแกน กรณีที่ปลา
เป็นไปอย่างสม่าเสมอ โดยให้น้าหนักกดด้วย ของแท่งตัวอย่างไม่เรียบ
อัตราคงที่ อยู่ในช่วง 1.43 ถึง 3.47 จะต้องทาการตัดหรือเคลือบ
กิโลกรัม ต่อตารางเซนติเมตรต่อวินาที ผิวหน้า แท่งตัวอย่างทั้งสอด้าน
สาหรับแท่งตัวอย่างรูปทรงกระบอก และ ด้วยวัสดุเคลือบผิวทีสามารถรับ
1.12 ถึง 2.72 กิโลกรัม ต่อตาราง แรงอัดได้สูงกว่าแรงอัดของแท่ง
เซนติเมตรต่อวินาที สาหรับแท่งตัวอย่าง ตัวอย่างคอนกรีต เช่นกามะถัน
รูปทรงลูกบาศก์ ในการควบคุมเครื่อง กับผงฝุ่นหินที่ผ่านตะแกรงเบอร์
ทดสอบในช่วงครึ่งแรกของน้าหนักกดสูงสุดที่ 100 ด้วยอัตราส่วน 3 ต่อ 1
แท่งตัวอย่างจะรับได้ ยอมให้ใช้อัตราการกด โดยให้หลอมเหลวของผสมนี้ที่
สูงกว่ากาหนดได้ หลังจากนั้นให้ปรับน้าหนัก อุณหภูมิอยู่ระหว่าง 180 ถึง
กดด้วยอัตราคงที่ตามที่กาหนดไว้ 210 องศาเซลเซียส แล้วจึงเท
ของเหลวลงบนแบบเหล็ก คว่า
อัดแท่งตัวอย่างลงบนของผสมนี้
อย่างสม่าเสมอ การเคลือบ
ปลายทั้งสองของแท่งตัวอย่าง
จะต้องเคลือบให้ตั้งฉากกับ
แนวแกนของแท่งตัวอย่าง ส่วน

ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผู้รับผิดชอบ เงื่อนไข
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
แท่งตัวอย่างรูปทรงลูกบาศก์ไม่
ต้องเคลือบผิว

4. ตรวจสอบลักษณะของแท่ง ตรวจสอบลักษณะของแท่งคอนกรีตที่ถูกการ เอกสารที่ 3 รายการคานวณค่า หัวหน้าฝ่าย - ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบกาลัง


คอนกรีตที่ถูกกดและคานวณผลการ กดแท่งตัวอย่างจนวิบัติ บันทึกค่าแรงกดที่ได้ กาลังอัดของตัวอย่างแท่ง ตรวจสอบและ อัดของแท่งตัวอย่างคอนกรีต
ทดสอบ หาพื้นที่หน้าตัดของแท่งคอนกรีต นาค่าที่ คอนกรีต วิเคราะห์ด้าน อย่างน้อย 3 แท่งต้องไม่ต่ากว่า
ได้มาคานวณผลการทดสอบ (ถ้าผลจากการ วิศวกรรม กาลังอัดที่แบบกาหนด และผล
คานวณผ่านตามข้อกาหนดก็สรุปผลการ การทดสอบกาลังอัดของแต่ละ
ผลทดสอบแจ้งต่อผู้อานวยการส่วนวิศวกรรม แท่งต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 85
ส่วนผลจากการคานวณไม่ผ่านตามข้อกาหนด ของกาลังอัดที่แบบกาหนด
ก็ให้แจ้งกับโครงการให้ทราบ) - กรณีที่ทาการทดสอบกาลังอัด
ที่อายุ 7 วันแล้วผลการทดสอบ
ไม่ผ่าน จะให้ต้องแจ้งโครงการ
ให้ทราบผลทันที
5. สรุปผลการทดสอบกาลังอัดแท่ง สรุปการทดสอบและแจ้งผลการทดสอบต่อ เอกสารที่ 4 แบบส่งวิทยุโทร หัวหน้าฝ่าย
คอนกรีตเบื้องต้น พร้อมแจ้งผลการ ผู้อานวยการส่วนวิศวกรรมเพื่อตรวจสอบ เลข ตรวจสอบและ
ทดสอบให้โครงการเพื่อใช้ ความถูกต้อง วิเคราะห์ด้าน
ประกอบการเบิกจ่ายงบประมาณ วิศวกรรม
ต่อไป

6. จัดทารายงานสรุปผลการ จัดทาเล่มรายงานสรุปผลการทดสอบและส่ง ตัวอย่างรายงานผลการทดสอบ หัวหน้าฝ่าย รายงานผลค่ากาลังอัดแท่ง


ทดสอบและส่งรายงานให้โครงการ เล่มให้กับโครงการ ค่ากาลังอัดตัวอย่างแท่ง ตรวจสอบและ คอนกรีตเป็น กิโลกรัมต่อตาราง
คอนกรีต วิเคราะห์ด้าน เซนติเมตร
วิศวกรรม

7. ระบบติดตำมประเมินผล
ผู้ติดตาม/
กระบวนการ มาตรฐาน/คุณภาพงาน วิธีการติดตามประเมินผล ข้อเสนอแนะ
ประเมินผล
1.จัดทาหนังสือแจ้งขอทดสอบและ จัดทารายงานตามโครงสร้างรายงานและแท่ง ตรวจสอบ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน ผู้อานวยการ
แนบเอกสารที่เกี่ยวข้องพร้อมกับ ตัวอย่างคอนกรีตตามมาตรฐาน สวพ.ทล.221 , โครงการ
ตัวอย่างแท่งคอนกรีต ASTM C 293

2. ตรวจสอบขนาด ความกว้าง ความ ตามมาตรฐาน สวพ.ทล.221 , ASTM C 293 กากับ ควบคุม ดูแลวิธีการทดสอบให้ หัวหน้าฝ่าย
ยาว ความสูงและผิวของแท่งคอนกรีต เป็นไปตามมาตรฐานและภายในเวลาที่ ตรวจสอบและ
และทาการบ่มแท่งคอนกรีต กาหนด วิเคราะห์ด้าน
วิศวกรรม

3. ทาการทดสอบแท่งคอนกรีตด้วย ตามมาตรฐาน สวพ.ทล.221 , ASTM C 293 กากับ ควบคุม ดูแลวิธีการทดสอบให้ หัวหน้าฝ่าย


เครื่องทดสอบกาลังอัด(Compression เป็นไปตามมาตรฐานและภายในเวลาที่ ตรวจสอบและ
Machine) กาหนด วิเคราะห์ด้าน
วิศวกรรม

4. ตรวจสอบลักษณะของแท่ง ตามมาตรฐาน สวพ.ทล.221 , ASTM C 293 ตรวจสอบความถูกต้องของผลการ หัวหน้าฝ่าย


คอนกรีตที่ถูกกดและคานวณผลการ ทดสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานและ ตรวจสอบและ
ทดสอบ สรุปผลการทดสอบ วิเคราะห์ด้าน
วิศวกรรม

๑๐
ผู้ติดตาม/
กระบวนการ มาตรฐาน/คุณภาพงาน วิธีการติดตามประเมินผล ข้อเสนอแนะ
ประเมินผล
5. สรุปผลการทดสอบกาลังอัดแท่ง ตามมาตรฐาน สวพ.ทล.221 , ASTM C 293 ตรวจสอบความถูกต้องของผลการ ผู้อานวยการส่วน
คอนกรีตเบื้องต้น พร้อมแจ้งผลการ ทดสอบให้เป็นไปตามมาตรฐาน วิศวกรรม
ทดสอบให้โครงการเพื่อใช้
ประกอบการเบิกจ่ายงบประมาณ
ต่อไป

6. จัดทารายงานสรุปผลการทดสอบ จัดทารายงานสรุปผลการทดสอบที่ครบถ้วนตาม ตรวจสอบรายงานผลการทดสอบให้มี หัวหน้าฝ่าย


และส่งรายงานให้โครงการ โครงสร้างรายงาน ความถูกต้องสมบูรณ์ครบถ้วนและส่ง ตรวจสอบและ
รายงานให้แก่โครงการ วิเคราะห์ด้าน
วิศวกรรม

๑๑
7. เอกสำรอ้ำงอิง
7.1 มาตรฐานการทดสอบวัสดุด้านวิศวกรรมสาหรับหน่วยงานทดสอบประจาภาคของกรมชลประทาน ส่วน
วิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สานักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน พ.ศ. 2552
7.2 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วิธีการทดสอบความต้านแรงอัดของแท่งคอนกรีต มอก. 409-2525
7.3 American Society of Testing and Materials; ASTM C 293
7.4 British Standard Institute; BS 1881 : Part 3
7.5 คาสั่งกรมชลประทานที่ 24/2555 เรื่อง การทดลองและตรวจสอบวัสดุเพื่อควบคุมงานก่อสร้าง

8. แบบฟอร์มที่ใช้
8.1 เอกสารที่ 1 บันทึกข้อความ
8.2 เอกสารที่ 2 บัญชีตัวอย่างแท่งคอนกรีต
8.3 เอกสารที่ 3 รายการคานวณค่ากาลังอัดของตัวอย่างแท่งคอนกรีต
8.4 เอกสารที่ 4 แบบส่งวิทยุโทรเลข
8.5 ตัวอย่างรายงานผลการทดสอบค่ากาลังอัดตัวอย่างแท่งคอนกรีต
8.6 รูปภาพที่ 1–5 ขั้นตอนการทางาน
รายละเอียดตามเอกสารภาคผนวกที่แนบ

๑๒
ภาคผนวก

๑๓
เอกสำรที่ 1 บันทึกข้อควำม

บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ……………………..................................................................................……………………………………………………………
ที่………..............................................................……วันที่…………………………...................................................…………………….…
เรื่อง………………………………………………………………………………………………………………………................................................……………………………
เรี. ยน ผวศ.ชป. ผ่าน ตว.ชป

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาดาเนินการต่อไป

(.................................)
ผคส.

๑๔
ตัวอย่ำงเอกสำรที่ 1 บันทึกข้อควำม

บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ โครงกำรก่อสร้ำง สำนักงำนชลประทำนที่ 14 ฝ่ำยก่อสร้งที่ 3 โทร.0 7757 6946 ต่อ 41...
ที่ E สชป 14.12/492/2560 วันที่ 24 พฤษภำคม 2560...........................................
เรื่อง ขอส่งวัสดุเพื่อทดสอบคุณภำพ......................................................................................................................
เรียน ผวศ.ชป.14 ผ่าน ตว.ชป.14
ด้วยโครงการก่อสร้าง สานักงานชลประทานที่ 14 มีงานก่อสร้างโครงการชลประทานขนาดเล็ก
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โครงการการทานบดินห้วยพรุกา หมู่ 8 ตาบลนาชะอัง อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร
เพื่อให้ถูกต้องและเป็นไปตามหลักวิศวกรรม คณะกรรมการฯ จึงขอส่งตัวอย่างแท่งคอนกรีตเพื่อทดสอบคุณภาพ
กาลังอัดดังนี้
1. แท่งคอนกรีตทรงกระบอกมาตรฐาน ขนาด Ø 15 x 30 ซม. จานวน 7 ชุด ๆ ละ 6 แท่ง โดยเป็นงาน
คอนกรีตในส่วนของ คีย์ , พื้นอาคาร , อาคารอัดน้า , และถังเก็บน้า
(ตามสัญญาเลขที่ สซ.02/2560 ลงวันที่ 1 ธันวาคมคม 2559)
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาดาเนินการต่อไป

(..........................................)
ผคส.14

๑๕
เอกสำรที่ 2 บัญชีตัวอย่ำงแท่งคอนกรีต

บัญชีตัวอย่ำงแท่งคอนกรีต
โครงกำร ....................................................................................................................
ตำมสัญญำเลชที.่ ..................................ลงวันที.่ ..........................................................

ลงชื่อ ................................................... ลงชื่อ ...................................................


(..................................................) (..................................................)
ตาแหน่ง..................................................... ตาแหน่ง.....................................................
ผู้เก็บตัวอย่าง ผู้ควบคุมงาน
ลาดับ หมายเลข ความยุบตัว วันที่ อายุที่ต้องการให้ทดสอบ กาลังอัดที่กาหนด รายละเอียด หมายเหตุ

ตัวอย่าง (นิ้ว) เก็บตัวอย่าง ( 7 วัน ) ( 28 วัน ) กก./ตร.ซม. ที่เก็บตัวอย่าง


1

๑๖
ตัวอย่ำงเอกสำรที่ 2 บัญชีตัวอย่ำงแท่งคอนกรีต

บัญชีตัวอย่ำงแท่งคอนกรีต
โครงกำร ทานบดินห้วยพรุกา หมู่ที่ 8 ตาบลนาชะอัง อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร
ตำมสัญญำเลชที่ สซ.02/2560 ลงวันที่ 1 ธันวาคม 2559

ลงชื่อ ............................................... ลงชื่อ ...................................................


(..........................................) (.............................................)
ตาแหน่ง................................................ ตาแหน่ง...............................................
ผู้เก็บตัวอย่าง ผู้ควบคุมงาน

ลาดับ หมายเลข ความยุบตัว วันที่ อายุที่ต้องการให้ทดสอบ กาลังอัดที่กาหนด รายละเอียด หมายเหตุ


ตัวอย่าง (นิ้ว) เก็บตัวอย่าง ( 7 วัน ) ( 28 วัน ) กก./ตร.ซม. ที่เก็บตัวอย่าง

1 A1 3 12 พ.ค. 60 / 140 คีย์


A2 3 12 พ.ค. 60 / 140 คีย์
A3 3 12 พ.ค. 60 / 140 คีย์
A4 3 12 พ.ค. 60 / 180 คีย์
A5 3 12 พ.ค. 60 / 180 คีย์
A6 3 12 พ.ค. 60 / 180 คีย์

2 A7 3 13 พ.ค. 60 / 140 คีย์


A8 3 13 พ.ค. 60 / 140 คีย์
A9 3 13 พ.ค. 60 / 140 คีย์
A10 3 13 พ.ค. 60 / 180 คีย์
A11 3 13 พ.ค. 60 / 180 คีย์
A12 3 13 พ.ค. 60 / 180 คีย์

3 A13 3 14 พ.ค. 60 / 140 พื้นอาคาร


A14 3 14 พ.ค. 60 / 140 พื้นอาคาร
A15 3 14 พ.ค. 60 / 140 พื้นอาคาร
A16 3 14 พ.ค. 60 / 180 พื้นอาคาร
A17 3 14 พ.ค. 60 / 180 พื้นอาคาร
A18 3 14 พ.ค. 60 / 180 พื้นอาคาร

๑๗
ลาดับ หมายเลข ความยุบตัว วันที่ อายุที่ต้องการให้ทดสอบ กาลังอัดที่กาหนด รายละเอียด หมายเหตุ
ตัวอย่าง (นิ้ว) เก็บตัวอย่าง ( 7 วัน ) ( 28 วัน ) กก./ตร.ซม. ที่เก็บตัวอย่าง

4 A19 3 15 พ.ค. 60 / 140 อาคารอัดน้า


A20 3 15 พ.ค. 60 / 140 อาคารอัดน้า
A21 3 15 พ.ค. 60 / 140 อาคารอัดน้า
A22 3 15 พ.ค. 60 / 180 อาคารอัดน้า
A23 3 15 พ.ค. 60 / 180 อาคารอัดน้า
A24 3 15 พ.ค. 60 / 180 อาคารอัดน้า

5 A25 3 16 พ.ค. 60 / 140 ถังเก็บน้า


A26 3 16 พ.ค. 60 / 140 ถังเก็บน้า
A27 3 16 พ.ค. 60 / 140 ถังเก็บน้า
A28 3 16 พ.ค. 60 / 180 ถังเก็บน้า
A29 3 16 พ.ค. 60 / 180 ถังเก็บน้า
A30 3 16 พ.ค. 60 / 180 ถังเก็บน้า

6 A31 3 17 พ.ค. 60 / 140 ถังเก็บน้า


A32 3 17 พ.ค. 60 / 140 ถังเก็บน้า
A33 3 17 พ.ค. 60 / 140 ถังเก็บน้า
A34 3 17 พ.ค. 60 / 180 ถังเก็บน้า
A35 3 17 พ.ค. 60 / 180 ถังเก็บน้า
A36 3 17 พ.ค. 60 / 180 ถังเก็บน้า

7 A37 3 18 พ.ค. 60 / 140 ถังเก็บน้า


A38 3 18 พ.ค. 60 / 140 ถังเก็บน้า
A39 3 18 พ.ค. 60 / 140 ถังเก็บน้า
A40 3 18 พ.ค. 60 / 180 ถังเก็บน้า
A41 3 18 พ.ค. 60 / 180 ถังเก็บน้า
A42 3 18 พ.ค. 60 / 180 ถังเก็บน้า
หมายเหตุ
1. กาลังอัดที่กาหนด คอนกรีตรูปทรงกระบอก ( Cylinder) มาตฐาน 15 x 30 ซม.

๑๘
เอกสำรที่ 3 รำยกำรคำนวณค่ำกำลังอัดของตัวอย่ำงแท่งคอนกรีต

ต. ว.4-
ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม 4-01
สานักชลประทานที่ 14
กรมชลประทาน

รำยกำรคำนวณค่ำกำลังอัดของตัวอย่ำงแท่งคอนกรีต

วันที่ .............. ..............................


…………………………………………………………….........…. ผู้ทดสอบ …………………………….....
ลักษณะตัวอย่าง…………………………………..........……. ผู้ตรวจสอบ ............………..………..
ตามสัญญาเลขที่.......................................................

ลำดับ หมำยเลข ควำมยุบตัว วันที่เก็บตัวอย่ำง อำยุ แรงอัดสูงสุด หมำยเหตุ

ชุดที่ ตัวอย่ำง (ซม.) ( วัน ) ( กก. ) ( กก./ซม.2 )

1 1

5
6
2 1
2
3

๑๙
ตัวอย่ำงเอกสำรที่ 3 รำยกำรคำนวณค่ำกำลังอัดของตัวอย่ำงแท่งคอนกรีต

ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม ต. ว. 4-01
สานักชลประทานที่ 14
กรมชลประทาน

รำยกำรคำนวณค่ำกำลังอัดของตัวอย่ำงแท่งคอนกรีต

วันที่……………………...………………..
โครงกำร งานบ้านพักข้าราชการ 7-8 จานวน 3 หลัง ผู้ทดสอบ …………………………….....
ลักษณะตัวอย่ำง แท่งคอนกรีตรูปลูกบาศก์ขนาด 15x15x15 ซม. ผู้ตรวจสอบ ..........…………………..
ตำมสัญญำเลขที.่ .....................................................
ลำดับ หมำยเลข ควำมยุบตัว วันที่เก็บ อำยุ แรงอัดสูงสุด หมำยเหตุ
ชุดที่ ตัวอย่ำง (ซม.) ตัวอย่ำง ( วัน ) ( กก. ) ( กก./ซม.2 )
ฐำนรำกคอนกรีต บ้ำนพักข้ำรำชกำรทัง้ 3 หลัง
1 1 - 27 ต.ค. 52 7 34659 154.0
2 - 27 ต.ค. 52 7 34455 153.1
3 - 27 ต.ค. 52 7 35678 158.6
4 - 27 ต.ค. 52 28 46891 208.4
5 - 27 ต.ค. 52 28 46279 205.7
6 - 27 ต.ค. 52 28 45872 203.9
เสำตอม่อคอนกรีต บ้ำนพักข้ำรำชกำรทั้ง 3 หลัง
2 1 - 27 ต.ค. 52 7 33435 148.6
2 - 27 ต.ค. 52 7 32620 145.0
3 - 27 ต.ค. 52 7 33639 149.5
4 - 27 ต.ค. 52 28 43629 193.9
5 - 27 ต.ค. 52 28 44852 199.3
6 - 27 ต.ค. 52 28 44852 199.3
หมำยเหตุ
กาลังอัดของแท่งคอนกรีตที่ 7 วันต้องไม่ต่ากว่า 140 ksc.
กาลังอัดของแท่งคอนกรีตที่ 28 วันต้องไม่ต่ากว่า 175 ksc

๒๐
เอกสำรที่ 4 แบบส่งวิทยุโทรเลข

กรมชลประทาน ชป.๐๐๖
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พนักงานส่ง........................................
พนักงานรับ........................................
แบบส่งวิทยุโทรเลข ผู้รับแบบส่ง.........................................
สถานีส่ง.........................................
เลขที่.................วันที่................................เวลา.............น. จานวน...............คา ส่งวันที่ ...................เวลา...............น.
จ่าหน้า
ข้อความ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

(ลงชื่อ).....................................................................ผู้อนุมัติ (ลงชื่อ)..........................................................ผูส้ ่ง
ตาแหน่ง................................................................... ตาแหน่ง........................................................
กพ.ชป.บ.๓๔๐ ๐๖ ๓๕

๒๑
ตัวอย่ำงเอกสำรที่ 4 แบบส่งวิทยุโทรเลข
กรมชลประทาน ชป.๐๐๖
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พนักงานส่ง........................................
พนักงานรับ........................................
แบบส่งวิทยุโทรเลข ผู้รับแบบส่ง.........................................
สถานีส่ง.........................................
เลขที่.................วันที่................................เวลา.............น. จานวน...............คา ส่งวันที่ ...................เวลา...............น.
จ่าหน้า เรียน ผอ.คส.๑/๑๔
ข้อความ ตามที่โครงการก่อสร้าง ๑/๑๔ ได้ส่งตัวอย่างแท่งคอนกรีตของงานก่อสร้างโครงการฝายทดน้า บ้านหนองยาว ตาบล
นาหูกวาง อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จานวน ๓ รายการ ตามรายละเอียด ดังนี้
1. งานเทคอนกรีตกาแพง Box Culvert ท้ายฝายทดน้า
2. งานเทคอนกรีตคานเอ็นด้านหน้าฝายทดน้า
3. งานเทคอนกรีตพื้นบน Box Culvert
ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ฯ สานักชลประทานที่ ๑๔ ได้ทาการทดสอบตัวอย่างแท่งคอนกรีต งานดังกล่าวที่อายุ 28 วันแล้ว
ผ่าน Spec.

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

(ลงชื่อ).....................................................................ผู้อนุมัติ (ลงชื่อ)..........................................................ผู้ส่ง
ผวศ.ชป.๑๔
ตาแหน่ง................................................................... ตาแหน่ง......................ฝตว.ชป.๑๔
..................................
กพ.ชป.บ.๓๔๐ ๐๖ ๓๕

ตัวอย่ำงรำยงำนผลกำรทดสอบค่ำกำลังอัดตัวอย่ำงแท่งคอนกรีต
๒๒
รายงานผลการทดสอบค่ากาลังอัดตัวอย่างแท่งคอนกรีต
สานักงานก่อสร้าง ๒๗ สานักพัฒนาแหล่งน้าขนาดกลาง จังหวัดเพชรบุรี
งานก่อสร้างที่ทาการโครงการก่อสร้าง ๑ สานักชลประทานที่ ๑๔
ตาบลทับใต้ อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ตามสัญญาจ้างเลขที่ คส.๑/๑๔/จ.๗/๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๔

ตามเลขรับที่ ฝตว.ชป.๑๔/ ๒๑/๒๕๕๕


ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม
ส่วนวิศวกรรมบริหาร
สานักชลประทานที่๑๔

บันทึกข้อควำม
๒๓
ส่วนรำชกำร ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม ส่วนวิศวกรรมบริหาร โทร. ๐ ๓๒๘๒ ๕๖๕๑
ที่ ฝตว.ชป.๑๔/ /๒๕๕๕ วันที่ มีนาคม ๒๕๕๕
เรื่อง ขอส่งรายงานผลการทดสอบกาลังรับแรงอัดของตัวอย่างแท่งคอนกรีต
เรียน ผวศ.ชป.๑๔
ตามที่สานักงานก่อสร้าง ๒๗ สานักพัฒนาแหล่งน้าขนาดกลาง ได้ส่งตัวอย่างแท่งคอนกรีตมาเพื่อทา
การทดสอบกาลังรับ แรงอัดของตัวอย่างแท่งคอนกรีต สาหรับงานก่อสร้างที่ทาการโครงการก่อสร้าง ๑ ส านัก
ชลประทานที่ ๑๔ ตาบลทับใต้ อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตามสัญญาจ้างเลขที่ คส.๑/๑๔/จ.๗/
๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๔ ตามรายการดังนี้
๑. ตัวอย่างแท่งคอนกรีตทรงกระบอก จานวน ๘ ตัวอย่าง
ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม ส่วนวิศวกรรมบริหาร สานักชลประทานที่ ๑๔ ได้ทาการ
ทดสอบกาลังรับแรงอัดของตัวอย่างแท่งคอนกรีตดังกล่าวแล้ว ตามรายละเอียดที่แนบจานวน ๔ ฉบับ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและดาเนินการต่อไป

( .................................... )
ฝตว.ชป.๑๔

เรียน ผสก.๒๗
เพื่อโปรดทราบผลการทดสอบค่ากาลังรับแรงกดของตัวอย่างแท่งคอนกรีต

(................................... )
ผวศ.ชป.๑๔

ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม ต. ว. 4-01

๒๔
สานักชลประทานที่ 14
กรมชลประทาน

รำยกำรคำนวณค่ำกำลังอัดของตัวอย่ำงแท่งคอนกรีต

วันที่……………………...………………..
งำนก่อสร้ำงที่ทำกำรโครงกำรก่อสร้ำง 1 ผู้ทดสอบ …………………………….....
ลักษณะตัวอย่ำง แท่งคอนกรีตรูปทรงกระบอกขนาด 15x30 ซม. ผู้ตรวจสอบ ..........…………………..
ตำมสัญญำเลขที่ คส.๑/๑๔/จ.๗/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๔.
ลำดับ หมำยเลข ควำมยุบตัว วันที่เก็บ อำยุ แรงอัดสูงสุด หมำยเหตุ
ชุดที่ ตัวอย่ำง (ซม.) ตัวอย่ำง ( วัน ) ( กก. ) ( กก./ซม.2 )
เทคอนกรีตฐำนรำก
1 A1 3.0 24 ธ.ค. 54 7 40,419.0 228.6
A2 3.0 24 ธ.ค. 54 7 42,439.0 240.1
A3 3.0 24 ธ.ค. 54 7 43,449.0 245.8
A4 3.0 24 ธ.ค. 54 28 51,529.0 291.5
A5 3.0 24 ธ.ค. 54 28 50,519.0 285.8
A6 3.0 24 ธ.ค. 54 28 49,509.0 280.1
เทคอนกรีตเสำตอม่อ
2 B1 3.1 27 ธ.ค 55 7 32,339.0 182.9
B2 3.1 27 ธ.ค 55 7 34,359.0 194.4
B3 3.1 27 ธ.ค 55 7 33,349.0 188.6
B4 3.1 27 ธ.ค 55 28 49,509.0 280.1
B5 3.1 27 ธ.ค 55 28 49,509.0 280.1
B6 3.1 27 ธ.ค 55 28 48,499.0 274.3
หมำยเหตุ
กาลังอัดของแท่งคอนกรีตที่ 7 วันต้องไม่ต่ากว่า 140 ksc.
กาลังอัดของแท่งคอนกรีตที่ 28 วันต้องไม่ต่ากว่า 175 ksc

ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม ต. ว. 4-01

๒๕
สานักชลประทานที่ 14
กรมชลประทาน

รำยกำรคำนวณค่ำกำลังอัดของตัวอย่ำงแท่งคอนกรีต

วันที่……………………...………………..
งำนก่อสร้ำงที่ทำกำรโครงกำรก่อสร้ำง 1 ผู้ทดสอบ …………………………….....
ลักษณะตัวอย่ำง แท่งคอนกรีตรูปทรงกระบอกขนาด 15x30 ซม. ผู้ตรวจสอบ ..........…………………..
ตำมสัญญำเลขที่ คส.๑/๑๔/จ.๗/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๔.
ลำดับ หมำยเลข ควำมยุบตัว วันที่เก็บ อำยุ แรงอัดสูงสุด หมำยเหตุ
ชุดที่ ตัวอย่ำง (ซม.) ตัวอย่ำง ( วัน ) ( กก. ) ( กก./ซม.2 )
เทคอนกรีตคำนคอดิน,พื้นชั้นล่ำง
1 C1 3.0 31 ธ.ค. 54 7 45,469.0 257.2
C2 3.0 31 ธ.ค. 54 7 42,439.0 240.1
C3 3.0 31 ธ.ค. 54 7 40,419.0 228.6
C4 3.0 31 ธ.ค. 54 28 51,529.0 291.5
C5 3.0 31 ธ.ค. 54 28 50,519.0 285.8
C6 3.0 31 ธ.ค. 54 28 49,509.0 280.1
เทพื้นคอนกรีตคำน,พื้นชั้นล่ำง
2 D1 3.0 4 ม.ค. 55 7 41,429.0 234.3
D2 3.0 4 ม.ค. 55 7 43,449.0 245.8
D3 3.0 4 ม.ค. 55 7 41,429.0 234.3
D4 3.0 4 ม.ค. 55 28 50,519.0 285.8
D5 3.0 4 ม.ค. 55 28 49,509.0 280.1
D6 3.0 4 ม.ค. 55 28 48,499.0 274.3
หมำยเหตุ
กาลังอัดของแท่งคอนกรีตที่ 7 วันต้องไม่ต่ากว่า 140 ksc.
กาลังอัดของแท่งคอนกรีตที่ 28 วันต้องไม่ต่ากว่า 175 ksc

ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม ต. ว. 4-01

๒๖
สานักชลประทานที่ 14
กรมชลประทาน

รำยกำรคำนวณค่ำกำลังอัดของตัวอย่ำงแท่งคอนกรีต

วันที่……………………...………………..
งำนก่อสร้ำงที่ทำกำรโครงกำรก่อสร้ำง 1 ผู้ทดสอบ …………………………….....
ลักษณะตัวอย่ำง แท่งคอนกรีตรูปทรงกระบอกขนาด 15x30 ซม. ผู้ตรวจสอบ ..........…………………..
ตำมสัญญำเลขที่ คส.๑/๑๔/จ.๗/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๔.
ลำดับ หมำยเลข ควำมยุบตัว วันที่เก็บ อำยุ แรงอัดสูงสุด หมำยเหตุ
ชุดที่ ตัวอย่ำง (ซม.) ตัวอย่ำง ( วัน ) ( กก. ) ( กก./ซม.2 )
เทคอนกรีตเสำชั้นล่ำง
1 E1 3.1 16 ม.ค. 55 7 32,339.0 182.9
E2 3.1 16 ม.ค. 55 7 34,359.0 194.4
E3 3.1 16 ม.ค. 55 7 33,349.0 188.6
E4 3.1 16 ม.ค. 55 28 45,469.0 257.2
E5 3.1 16 ม.ค. 55 28 42,439.0 240.1
E6 3.1 16 ม.ค. 55 28 41,429.0 234.3
เทคอนกรีตคำนพื้นชั้นหลังคำ และ ครีบ
2 F1 2.8 21 ม.ค. 55 7 40,419.0 228.6
F2 2.8 21 ม.ค. 55 7 42,439.0 240.1
F3 2.8 21 ม.ค. 55 7 45,469.0 257.2
F4 2.8 21 ม.ค. 55 28 56,579.0 320.0
F5 2.8 21 ม.ค. 55 28 55,569.0 314.3
F6 2.8 21 ม.ค. 55 28 53,549.0 302.9
หมำยเหตุ
กาลังอัดของแท่งคอนกรีตที่ 7 วันต้องไม่ต่ากว่า 140 ksc.
กาลังอัดของแท่งคอนกรีตที่ 28 วันต้องไม่ต่ากว่า 175 ksc

ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม ต. ว. 4-01

๒๗
สานักชลประทานที่ 14
กรมชลประทาน

รำยกำรคำนวณค่ำกำลังอัดของตัวอย่ำงแท่งคอนกรีต

วันที่……………………...………………..
งำนก่อสร้ำงที่ทำกำรโครงกำรก่อสร้ำง 1 ผู้ทดสอบ …………………………….....
ลักษณะตัวอย่ำง แท่งคอนกรีตรูปทรงกระบอกขนาด 15x30 ซม. ผู้ตรวจสอบ ..........…………………..
ตำมสัญญำเลขที่ คส.๑/๑๔/จ.๗/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๔.
ลำดับ หมำยเลข ควำมยุบตัว วันที่เก็บ อำยุ แรงอัดสูงสุด หมำยเหตุ
ชุดที่ ตัวอย่ำง (ซม.) ตัวอย่ำง ( วัน ) ( กก. ) ( กก./ซม.2 )
เทคอนกรีตคำนคำนอะเส
1 G1 2.9 29 ม.ค. 55 7 40,419.0 228.6
G2 2.9 29 ม.ค. 55 7 40,419.0 228.6
G3 2.9 29 ม.ค. 55 7 38,399.0 217.2
G4 2.9 29 ม.ค. 55 28 50,519.0 285.7
G5 2.9 29 ม.ค. 55 28 49,509.0 280.1
G6 2.9 29 ม.ค. 55 28 47,489.0 268.6
เทคอนกรีตหน้ำบัน
2 H1 2.9 7 ก.พ. 55 7 36,379.0 205.8
H2 2.9 7 ก.พ. 55 7 38,399.0 217.2
H3 2.9 7 ก.พ. 55 7 39,409.0 222.9
H4 2.9 7 ก.พ. 55 28 49,509.0 280.1
H5 2.9 7 ก.พ. 55 28 47,489.0 268.6
H6 2.9 7 ก.พ. 55 28 45,469.0 257.2
หมำยเหตุ
กาลังอัดของแท่งคอนกรีตที่ 7 วันต้องไม่ต่ากว่า 140 ksc.
กาลังอัดของแท่งคอนกรีตที่ 28 วันต้องไม่ต่ากว่า 175 ksc

รูปภำพที่ 1–6 ขั้นตอนกำรทำงำน

๒๘
รูปภาพที่ 1 วัดขนาดความกว้างแท่งคอนกรีตตัวอย่าง

รูปภาพที่ 2 วัดขนาดความสูงแท่งคอนกรีตตัวอย่าง

๒๙
รูปภาพที่ 3 การบ่มแท่งคอนกรีตตัวอย่าง

รูปภาพที่ 4 การบ่มแท่งคอนกรีตตัวอย่าง

๓๐
รูปภาพที่ 5 เครื่องทดสอบกาลังอัด (Compression Machine)

รูปภาพที่ 6 การทดสอบหากาลังอัดของแท่งกรีตตัวอย่าง

๓๑

You might also like