Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 88

สารบัญ

สารบัญ.......................................................................................... i

1 BIM and I ............................................................................. 1

2 การพัฒนาองคกรของ BIM Manager ...................................... 3

3 CM - BIM ............................................................................. 5

4 การบริหาร BIM ในองคกร ...................................................... 7

5 BIM คือ................................................................................. 9

6 BIM เริ่มตนไปดวยกัน .......................................................... 11

7 แผนปฏิบัติการ BIM (BIM Execution Plan) .......................... 13

8 Clash Detection สวนหนึ่งในการใช BIM ............................. 15

9 การบริหารการทํางานเพื่อใช BIM ......................................... 17

10 ขั้นตอไปสูการใช BIM .......................................................... 19

11 ตอเนื่องสูการใช BIM ........................................................... 21

12 มาตรฐาน หรือ แนวทางในการทํางาน BIM ............................ 24

13 BIM Model ทํางานอยางมีมาตรฐาน ...................................... 27

14 องคประกอบใน BIM Content ............................................... 30

15 กระบวนการในการดําเนินงาน BIM ....................................... 33

16 Computational Design ....................................................... 35

17 ความตองการสําหรับการใช BIM ........................................... 38

18 สรางทีม-สราง BIM .............................................................. 41

19 กําหนดนโยบายเพื่อใช BIM .................................................. 42

i
20 ขอตกลงและความรับผิดชอบเมื่อเริ่มใช BIM ........................... 45

21 ขอมูลกับการเชื่อมโยงเพื่อทํางานรวมกัน ................................ 47

22 ความเคลื่อนไหวของ BIM ..................................................... 50

23 การบริหาร BIM ในระยะออกแบบ .......................................... 52

24 BIM ตองการความรวมมือในการทํางาน ................................. 54

25 BIM Content-1 ................................................................... 57

26 BIM Content-2 ................................................................... 60

27 BIM Content-3 ................................................................... 63

28 BIM Content-4 ................................................................... 66

29 BIM Content-5 ................................................................... 69

30 กาวไปขางหนา + เปลี่ยนแปลง .............................................. 72

31 เตรียมโครงการกอนเริ่ม BIM ................................................. 75

32 บางประการของการทํา Clash Detection............................... 77

33 BIM – M ............................................................................. 79

ii
1 BIM and I

ความก้าวหน้าในยุคอุตสาหกรรม 4.0 เป็ นการเปลีย่ นแปลงไปสูย่ คุ ใหม่ของการทํางาน ผูท้ ด่ี าํ รงอยูไ่ ด้ตอ้ ง
สามารถปรับตัวเข้ากับสภาวะได้อย่างดี ถึงแม้วา่ มนุษย์พยายามดัดแปลงธรรมชาติให้ตอบสนองความ
สะดวกสบายยิง่ ขึน้ การปรับตัวอย่างพอเหมาะและสอดคล้องกับภาวะธรรมชาติทด่ี าํ รงอยูเ่ ป็ นสิง่ ยังยื ่ น
เช่นเดียวกับ BIM เป็ นกระบวนการทํางานใหม่ทเ่ี ราได้สมั ผัสและดัดแปลงตัวเองเพือ่ ใช้ประโยชน์สงู สุดใน
ภาวะทีเ่ หมาะสมบนพืน้ ฐานของภูมศิ าสตร์ทเ่ี ป็ นอยู่ การเรียนรูเ้ พือ่ หาแก่นของมันเพือ่ นํามาต่อยอดการทํางาน
เป็ นสิง่ สําคัญ สําหรับ BIM แล้ว Information เป็ นหัวใจสําคัญในการทํางานทุกหน้าทีแ่ ละเกีย่ วข้องกัน
ตลอดเวลาผูท้ ท่ี าํ งานด้านนี้ควรตระหนักว่าการทํางานข้อมูลต้องมีความเข้าใจและจัดระเบียบเป็ นมาตรฐานเพือ่
นําส่งข้อมูลนัน้ ไปตลอดอายุของโครงการ
เริม่ เป็ น I (Information)
ในสภาวะแวดล้อมของการทํางานมีขอ้ มูลทีแ่ ตกต่างออกไปหลากหลายประเภท ทัง้ ข้อมูลในการออกแบบ
คุณสมบัตขิ องวัสดุ ความต้องการการใช้สอย ความสัมพันธ์ระหว่างพืน้ ที่ และอื่นๆอีกมากมาย ข้อมูล(Data)
เหล่านี้มลี กั ษณะทีแ่ ตกต่างออกไปเช่นทีเ่ ป็ น Graphic และ Non Graphic ต้องผ่านกระบวนการให้
เป็ น Information แล้วจึงสามารถนํามาเชื่อมต่อการใช้งานได้ดว้ ยคุณสมบัตขิ อง BIM ซึง่ เป็ น
Model base สามารถแสดงผลทีเ่ ป็ น Information และ Parameter ทีส่ ามารถแสดงผลเป็ น
Coordinate ,Space ,Function ,Area ,Type และอื่นๆ
สิง่ เหล่านี้เหมือนกับข้อมูลกองใหญ่ทเ่ี ราต้องทํางานกับมัน
จุดประสงค์ของการใช้งาน
ในกองข้อมูลเหล่านี้มที งั ้ ทีน่ ําไปใช้งานและไม่ได้ใช้งาน ,จําเป็ นและไม่ได้จาํ เป็ น เรามักกังวลเสมอเมือ่ เริม่ ต้น
ทํางานว่าต้องบันทึกอย่างไรจึงจะนําไปใช้ได้ แล้วต้องใส่ขอ้ มูลแค่ไหน? สิง่ ทีจ่ ะระบุได้กค็ อื ความต้องการใช้งาน
ของ BIM ในแต่ละโครงการและแต่ละขัน้ ตอน จุดประสงค์ของการใช้งานจึงเป็ นอันดับแรกก่อนเริม่ งานเพือ่
การจัดเตรียมข้อมูลสําหรับงานนัน้ ๆ สิง่ เหล่านี้เป็ นเรือ่ งทีแ่ ตกต่างจากการทํางานปรกติและนําไปทําในขัน้
สุดท้ายของการทํางานซึง่ หมายถึงความยุง่ ยากและไม่สามารถทําประโยชน์ในระหว่างทํางานได้ การจัดเตรียม
ตัง้ แต่เริม่ ต้นตามความประสงค์ของการใช้งานจะสามารถแสดงผลทีต่ อ้ งการเมื่อจบงาน เช่นการต้องการใช้ขอ้ มูล
ประมาณราคาเราต้องการจัดระเบียนข้อมูลตามมาตรฐานของอุปกรณ์ Component ทีม่ รี ายละเอียดที่
แตกต่างกัน บานประตูประกอบด้วย บาน ,วงกบ ,บานพับ ,มือจับ ,ลูกบิด การแสดงผลแต่ละขัน้ ตอนไม่
เหมือนกันเมือ่ ต้องการราคาก็ตอ้ งมีหวั ข้อเหล่านี้ ในกรณีตอ้ งการแสดงผล Clash Detection
องค์ประกอบของ บานพับ ,มือจับ ,ลูกบิด อาจไม่ตอ้ งแสดงผล ข้อแตกต่างเหล่านี้ตอ้ งนํามาตกลงและหา
ข้อสรุปตัง้ แต่เริม่ งาน
ความละเอียดของข้อมูล
เป็ นเรือ่ งทีต่ อ้ งทําความเข้าใจอย่างสูงสําหรับความละเอียดของของข้อมูลทีจ่ ะต้องบันทึกลงใน BIM Model
ดังทีก่ ล่าวมาแล้วสําหรับจุดประสงค์ของการใช้งานทําให้เกิดกรอบการทํางานทีใ่ ช้ขอ้ มูลในระดับทีแ่ ตกต่างกัน
ไม่ใช่เงือ่ นไขของการส่งงานทีป่ ั จจุบนั มีเงือ่ นไขแบบนี้อยูใ่ นการทํางาน การตกลงเนื้อหาของความละเอียดมีผล
ต่อการทํางานร่วมกันเพือ่ ตัดสินใจร่วมกันในการทํางาน ตัวอย่างเช่นการใช้ในงานโครงสร้างทีว่ ศิ วกรสามารถ

1
ตัดสินใจจากการแสดงผลการเชือ่ มต่อของโครงเหล็กในระดับแบบร่าง ต่อไปจนถึงชนิดของการเชื่อมต่อในระดับ
แบบก่อสร้างทีต่ อ้ งมีตวั ยึดประเภทต่างๆตามเงือ่ นไขของการคํานวณ ในขณะเดียวกันผูอ้ อกแบบด้านอื่น
สามารถรับรูแ้ ละทํางานในหน้าทีข่ องตัวเอง เนื้อหาของการกําหนดในแต่ละโครงการจะแตกต่างกันออกไปตาม
ประเภทของงาน
"ใช้ BIM ต้อง Share"
จุดประสงค์หนึ่งของ BIM คือการนํา Information ส่งต่อให้ผรู้ ว่ มงานนําไปวิเคราะห์ต่อบนฐานข้อมูล
เดียวกัน การเคารพการทํางานซึง่ กันและกันเป็ นหน้าทีข่ องทุกคน การคัดลอกการทําซํ้าโดยผูอ้ ่นื จะเป็ นเงือ่ นไข
ตกลงเมือ่ เริม่ ทํางาน ในปั จจุบนั ความรอบรูส้ ามารถสืบค้นหรือเรียนรูท้ นั ได้ การกําหนดข้อมูลลงไปโดยให้
ผูร้ ว่ มงานนําไปสืบหาเองหรือสมมุตขิ น้ึ เองไม่ใช่ประโยชน์ของการใช้ BIM การแบ่งปั นข้อมูลจึงมีลาํ ดับขัน้ ตอน
และจําแนกประเภทของข้อมูล ในการทํางานปรกติขอ้ มูลต่างๆก็มหี ลายประเภทของสกุล เช่น dwg. ,pdf.
,xml , ...อื่นๆ เนื่องจากการใช้ Software หลายประเภทนํามาทํางานร่วมกันซึง่ ในอนาคตการใช้ไฟล์
อิเล็กทรอนิกส์จะมากขึน้ บนสือ่ Internet และการประมวลผลบน Cloud การ Share จึงมีประโยชน์
ต่อการทํางานอย่างต่อเนื่อง
Information นําไปสู่ Knowledge
เมือ่ เราสามารถรับรูว้ า่ องค์ประกอบอาคารชิน้ นัน้ มันคืออะไร เรารูว้ า่ มันทํางานอย่างไร เรารูว้ า่ จะติดตัง้ มัน
อย่างไร เรารูว้ า่ รูปทรงสีและผิวเป็ นอย่างไร เรารูว้ า่ มันต้องการดูแลอย่างไรเมือ่ ไร เราจะนํามาใช้งานตามความ
ต้องการของเราอย่างมีประสิทธิภาพความรอบรูน้ ้ีเกิดจากฐานข้อมูลบนมาตรฐานทีเ่ รานํามาบันทึกและสามารถ
เลือกดูจากองค์ประกอบอาคารได้อย่างรวดเร็วจาก BIM Model ทําให้ผรู้ ว่ มงานสามารถเข้าถึงเป้ าหมาย
ได้อย่างดีดว้ ยการ Share ข้อมูลร่วมกัน นํามาสูก่ ารทํางานทีต่ อ้ งติดต่อประสานงานตลอดเวลา
ยังมีประเด็นทีต่ อ้ งศึกษาอีกมากสําหรับเรื่อง Information เพราะความเจริญของ BIM ไม่อยูน่ ิ่ง ใน
อนาคตอาจจะต้องเกีย่ วพันกับการทําธุรกรรมทางการเงินหรือการลงทุน การทํางานบนระบบอิเล็กทรอนิกส์และ
สามารถเบิกจ่ายหรือถ่ายโอนทุนผ่าน Internet เมือ่ ส่งงาน จากจัดซือ้ ตรงสูแ่ หล่งผลิตอุตสาหกรรมเมือ่ เริม่
โครงการ ในไม่ชา้ อาจได้เห็น ด้วยการทํางานด้วย BIM ทีม่ ี Information เป็ นหลักในการทํางาน
ทรงพล ยมนาค
600107

2
2 การพัฒนาองค์ กรของ BIM Manager

เรื่ องราวการทํางานของ BIM Manager มีหน้าที่กว้างขวางมากตั้งแต่การบริ หารงาน ,การประสานงาน ,การ


พัฒนาเทคโนโลยี ,การจัดการทีมงานเพื่อทํางานด้วยกัน ,การเชื่อมต่อข้อมูล และอื่นๆ คําจํากัดความที่กาํ หนดขึ้นมา
ในแต่ละแหล่งมีความแตกต่างตามสาระการทํางาน เมื่อองค์กรสามารถเดินด้วย BIM ได้แล้วการทํางานจะไม่ยาก
กว่าการเริ่ มต้นใหม่จากศูนย์ การวางระเบียบการทํางาน การสร้างมาตรฐาน การสร้างทีมงาน การวางแผนงาน และ
การนําทีมไปสู่ การเปลี่ยนแปลงไปสู่ ส่ิ งใหม่ หลายคนยังพยายามหาคําตอบในขณะนี้ หลายคนยังอยูร่ ะหว่างความ
เคลื่อนไหว ประสบการณ์น้ ีกาํ ลังเริ่ มต้นและการหาคําตอบที่เหมาะสมพร้อมกับการทํางานที่ไม่สามารถหยุดรอได้ นี่
คือสิ่ งท้าทายของ BIM Manager
ขอบเขตและหน้าที่
การทํางานด้าน BIM มีมิติที่กว้างขวางกว่าการทํางานกับ CAD ด้วยข้อมูลและการเชื่อมต่อที่สื่อสารด้วย
เครื่ องมือต่อเครื่ องมือผ่านข้อมูลและการใช้เทคโนโลยีที่มีการพัฒนาตลอดเวลาทําให้หน้าที่น้ ีไม่สามารถหยุดนิ่งได้
ขอบเขตและหน้าที่โดยสังเขปพอจําแนกได้ดงั นี้ 1
• มีความสามารถใช้เครื่ องมืออย่างมีประสิ ทธิ ภาพที่สามารถตรวจสอบและวิเคราะห์โปรแกรม
• สามารถบูรณการข้อมูลและส่ งต่อไปยังผูร้ ่ วมงานรวมถึงเจ้าของงานและบริ ษทั ที่ปรึ กษา
• มีทกั ษะในการสอนการใช้เครื่ องมือ BIM ให้กบั ผูป้ ฏิบตั ิงานหรื อผูร้ ่ วมงาน
• สามารถแก้ปัญหาและวิถีทางในการเข้าถึงปั ญหาอย่างสร้างสรรค์
• สามารถจัดการแนวทางในการใช้โปรแกรมตามความต้องการของทีมงาน
• มีความเข้าใจ Office Standard และ กระบวนการทํางาน ที่จะนําไปสู่ ผลสําเร็ จ
• มีทกั ษะในการปรับปรุ งเครื่ องมือการทํางานเพื่อให้สอดคล้องกับ Office Standard และสามารถควบ
คุณภาพของงานได้
ในความเป็ นจริ งแล้วกรอบงานยังมีความลึกกว่าที่ระบุอีกมากเห็นได้จากการกําหนดตําแหน่งในการับสมัครงานใน
ต่างประเทศมีขอบเขตที่ระบุมากกว่าที่กล่าวมา ปั ญหาที่เกิดขึ้นคือบุคลากรทางด้านนี้ยงั หายากอยู่
การเปลี่ยนแปลงการทํางาน
BIM เป็ นกระบวนการทํางานที่บูรณการงานออกแบบจากเดิมอย่างสิ้ นเชิงที่ตอบปัญหาในการสร้างความเข้าถึง
ข้อมูลและเข้าใจในเนื้องานได้อย่างสมบูรณ์ บนกระบวนการใหม่ทาํ ให้สามารถนําทีมไปสู่ ความสําเร็ จซึ่ งหมายถึง
การเปลี่ยนแปลงการทํางานด้วยการทํางานบนระเบียบวิธีใหม่ที่ทาํ ให้ทุกคนสามารถนําเอาความเห็นหรื อสรุ ปผลข้อ
ขัดแย้งของงานขึ้นมาสู่ โต๊ะประชุม การทํางานด้วยระบบนี้จึงต้องมีผจู ้ ดั การประสานการทํางานบนระเบียบวิธี
ร่ วมกันโดยมีขอ้ มูลที่อยูบ่ นมาตรฐานเดียวกัน BIM Manager จึงต้องรู ้จกั มาตรฐานการทํางานต่างๆเช่น
BIM Protocol ,BIM Execution Plan และอื่นๆ ที่สามารถทําให้ทุกคนทํางานร่ วมกันได้
การบริ หารการเปลี่ยนแปลง
เป็ นงานที่ยากสําหรับหน่วยงานที่เริ่ มต้นใหม่ที่มีผรู ้ ่ วมงานซึ่ งยังมีความกังวลในการเปลี่ยนแปลง ปั ญหาหลักคือยัง
ไม่มีความเข้าใจและไม่ยอมเปิ ดรับสิ่ งใหม่ทาํ ให้ไม่สามารถผลักดันการทํางานได้ดว้ ย กระบวนการทํางาน ,การรับรู ้

3
,ประสบการณ์กบั เครื่ องมือ ,ทัศนคติ ,การสื่ อสารที่ผดิ พลาด ,ความรับผิดชอบและหน้าที่ ในทางกลับกันความ
ต้องการใช้ BIM จากเจ้าของโครงการมีมากขึ้นผลักดันให้การเปลี่ยนแปลงนี้เป็ นความสําคัญในการทํางานมากขึ้น
BIM Manager จึงต้องมีวธิ ีในการบริ หารการทํางานกับข้อมูลทีละขั้นโดยสร้างกระบวนการเปลี่ยนแปลง
อย่างมีแผนและสร้างความเข้าใจการทํางานให้ผรู ้ ่ วมงานมองเห็นผลลัพธ์ต้ งั แต่ตน้ ทางไปสู่ ปลายทางซึ่ งเกิดจาก
ความสําคัญของทุกคน
การจัดการกับปั ญหา
ในการเริ่ มต้นใช้ BIM ของแต่ละองค์กรจะมีเหตุการณ์คล้ายกันหลายอย่างเช่นการต่อต้านและความไม่มนั่ ใจว่าจะ
นํามาซึ่ งการบรรลุถึงการส่ งงานได้ ด้วยสิ่ งใหม่เหล่านี้มาพร้อมกันด้วยเทคโนโลยีและกระบวนการทํางานที่แตกต่าง
จากเดิม BIM Manager จะต้องมีวธิ ีการทําให้ผรู ้ ่ วมงานสามารถเข้าใจสาระต่างๆได้อย่างดีตวั อย่างเช่น
• ผูร้ ่ วมงานต้องมองเห็นเป้ าหมายของการทํางานที่มีผลต่อ KPIs ที่พวกเขาสามารถรับรู ้ได้
• นําเสนอผลของ KPIs ให้ระดับบนรับรู ้ถึงการทํางาน
• เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการทํางานด้วยการสร้างทีมให้มีความเข้าใจการทํางานด้วยการเรี ยนรู ้
• ผูบ้ ริ หารระดับนโยบายควรรับรู ้เหตุผลของความก้าวหน้าหรื อความลมเหลวเพื่อปรับการทํางานให้สอดคล้อง
• นําเสนองบประมาณและค่าใช้จ่ายตลอดการทํางานให้ระดับบริ หารในการพิจารณาความคุม้ ในการลงทุน
ด้วยการสนับสนุนระดับนโยบายอย่างชัดเจนจะทําให้การพัฒนา BIM ในองค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายได้ดว้ ย
การประสานงานและสร้างแผนการทํางานให้สอดคล้องกับนโยบายและวัฒนธรรมองค์กร

References :
1.Implementing Successful Building Information Modeling : Erika
Epestein
2.BIM and Integrated Design Stategies for Architectural Practice :
Randy Deutsch, AIA, LEED-AP
3.The BIM Manager's Handbook Guidance for Professionals in
Architecture,Engineering,and Construction : Dominik Holzer
ทรงพล ยมนาค
600114

4
3 CM - BIM

มีคาํ ถามเกี่ยวการเริ่ มใช้และวิธีการเข้าถึงการทํางาน BIM รวมถึงความเข้าใจระหว่าง BIM กับ Software


ซึ่ งเป็ นภาพร่ างที่ครอบกันอยูข่ ณะที่ประชากรผูใ้ ช้ Software มีจาํ นวนมากขึ้น จะเรี ยกว่าทํางานด้วย BIM ได้
หรื อไม่? Software ตอบสนองความต้องการได้ท้ งั หมดหรื อไม่? ทําไมเมื่อสร้าง Model ได้แต่ต่อยอด
งานไม่ได้? ทําไมมันไม่ได้อย่างที่คาดหวัง ข้ออ้างต่างๆดูเหมือนกับข้อแก้ตวั ถ้ามุ่งเน้นให้เครื่ องมือแสดงผลตามที่
ต้องการเราก็ตอ้ งใส่ ส่ิ งที่เราต้องการเข้าไปเครื่ องมือจะอํานวยความสะดวกในการแสดงผล ใส่ ขอ้ มูลผิดพลาดผลที่
ออกมาก็ผิดพลาด จะมีอะไรกํากับให้เราทําได้ถูกต้อง จะมีอะไรที่ทาํ ให้เราทํางานกับผูอ้ ื่นได้ จะมีอะไรที่ทาํ ให้เรา
พัฒนาการทํางานบนความร่ วมมือ Software จะทํางานได้ต่อเมื่อเราใช้ การใช้งานต้องมีกระบวนการและ
ระเบียบวิธีเป็ นตัวกํากับที่เรี ยกว่า BIM Process แต่หน้าตาเป็ นอย่างไร? ทํากันอย่างไร? หาคําตอบได้
ไหม?
การเปลี่ยนแปลงมาถึงแล้ว
การเปลี่ยนแปลงระบบอุตสาหกรรมของโลกเป็ นสิ่ งผลักดันให้มีการเปลี่ยนแปลงการทํางานไปอีกหลายด้าน เราเห็น
การล่มสลายอุตสาหกรรมถ่ายภาพด้วย ฟิ ล์ม กล้องถ่ายรู ประบบปรับแสง เมื่อกล้องดิจิตอลเข้ามาแทนที่ เราเห็นการ
เปลี่ยนแปลงการใช้พลังงานในรถยนต์จากการใช้น้ าํ มันเป็ นระบบไฟฟ้า เราเห็นระบบความเคลื่อนไหวของเงินที่
ส่ งผ่านตลาดหุ น้ ตามกระแสการรับรู ้ข่าวสารที่รวดเร็ ว ในระบบก่อสร้างก็เช่นกันที่มีการแข่งขันอย่างเข้มข้นบน
ต้นทุนที่สามารถเข้าถึงได้ การบริ หารทรัพยากรที่เป็ นเครื่ องมือ แรงงาน และการจัดการ มีผลกับการเปลี่ยนแปลงครั้ง
ใหญ่ ถึงแม้วา่ ราคาในการก่อสร้างเป็ นตัวตัดสิ นเพื่อโอกาสในการทํางาน แต่ปัจจุบนั ไม่เพียงพอ เทคโนโลยีและ
กระบวนการทํางานเป็ นอีกเงื่อนไขในการทํางานถึงแม้วา่ จะรับรู ้วา่ มีผลต่อไปอย่างไรหรื อไม่กต็ าม โอกาสของการ
ได้งานทําด้วยการเสนอการทํางานด้วย BIM เป็ นสิ่ งที่ตอ้ งการของผูว้ า่ จ้าง โครงการขนาดใหญ่เกือบทุกโครงการ
เลือกใช้ BIM จากการออกแบบเริ่ มต้นด้วยผูอ้ อกแบบที่นาํ เข้าจากต่างชาติหรื อผูอ้ อกแบบในประเทศก็ยงั ใช้
BIM อย่างแพร่ หลาย ถึงแม้วา่ ไม่มีการเก็บสถิติเป็ นทางการที่เชื่อถือได้แต่เมื่อได้สัมผัสในตลาดการทํางานรับรู ้
ทันทีวา่ มีการใช้งาน BIM มากขึ้นทุกทีไม่วา่ จะงานภาครัฐหรื อเอกชน เราได้เห็นผูใ้ ช้ BIM ตั้งแต่งานออกแบบ
ทุกสาขา งานก่อสร้าง ตลอดจนถึงงานบริ หารการก่อสร้าง สรุ ปได้วา่ งานทุกด้านและทุกหน้าที่เดินไปสู่ BIM ซึ่ ง
มาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้
Construction Management - BIM
ในความจริ งต้องทําหน้าที่หลักที่มีอยูเ่ ดิมและนําเอาวิธีคิดวิธีการทํางานในรู ปแบบใหม่เข้ามาปรับใช้กบั การทํางาน
การเรี ยนรู ้การนําเทคโนโลยีการประสานการทํางานที่มากกว่าเดิม ผูท้ ี่ใช้ BIM สามารถรับรู ้ขอ้ มูลได้ชดั เจน
กว่าเดิม จะทําอย่างไรให้ผรู ้ ับเหมา ผูอ้ อกแบบ เจ้าของงาน มีขอ้ สรุ ปในการตัดสิ นในการทํางานได้ดีที่สุดซึ่ งเป็ น
ความสําคัญของ CM สมมุติวา่ ถ้าจะต้องทํางานด้านนี้แล้ว CM น่าจะใช้ BIM ทําอะไรบ้าง?
• ติดตามความก้าวหน้าของาน
ใช้ 4D BIM ในการทํางานด้วย Synchro ส่ งต่อมายัง Primavera ให้ Site ทํางานได้บน
Tablet หรื อการใช้ Drone ในการตรวจความก้าวหน้าของงานโดยเชื่อมโยงการทํางานกับ BIM Model
ข้อมูลที่ปรากฏจะทําให้ติดตามผลงานตามสภาพจริ งซึ่ งปัจจุบนั นํามาใช้บา้ งแล้ว

5
• วางแผนการทํางาน ,การขนส่ งวัสดุ ,การติดตั้งอุปกรณ์
จําลองการทํางานวิธีการก่อสร้างในการติดตั้งชิ้นงานและการประเมินการขนส่ งเพื่อลําเลียงวัสดุ การคํานวณ
ระยะทางและเวลา แล้วนําข้อสังเกตมาวางแผนการทํางาน
• บริ หารงานใน Site
นํา BIM Model มาวิเคราะห์และจําลองการทํางานกับผูร้ ับผิดชอบในแต่ละหน้าที่ในส่ วนต่างๆของการทํางาน
สร้างความเข้าใจและลดข้อขัดแย้งในการทํางาน
• บริ หารงานจากนอก Site
สามารถสื่ อสารกับผูผ้ ลิตชิ้นส่ วนอาคารด้วยการใช้ RFDI Tag บันทึกข้อมุลที่ตรงกับแบบและกําหนดตําแหน่ง
การติดตั้ง ความคืบหน้าในการทํางาน
• ออกแบบการทํางาน
สามารถติดตามผลงานอย่างทันเหตุการณ์ดว้ ยการรับรู ้ขอ้ มูลโดยใช้สื่อที่มีความเชื่อมโยงกับงานออกแบบทําให้
กําหนดวิธีการทํางานล่วงหน้าโดยเฉพาะการบริ หารอาคารหลังงานก่อสร้างแล้วเสร็ จ
• การประสานงาน
กระบวนการทํางานด้วย BIM จะเกิดการผลักดันให้มีการประสานการทํางานมากขึ้นด้วยการนําปั ญหาขึ้นมาแก้ไข
ในที่ประชุมก่อนการทํางานจริ งทําให้เกิดการเข้าใจการทํางานและความโปร่ งใส
• กรอบการทํางานที่ชดั เจน
เมื่อมีการสื่ อสารและทําความเข้าใจของเนื้องานจะทําให้การควบคุมการทํางานมีประสิ ทธิภาพ การกําหนดเวลา การ
ดูแลความปลอดภัย การเคลื่อนย้ายเครื่ องจักร สามารถกําหนดและควบคุมได้มากขึ้น
• การรายงานผลและปรับปรุ งข้อมูลให้ทนั สมัย
ด้วยการจําลองภาพเสมือนจริ งในการประชุมแก้ปัญหาการทํางานทําให้ทุกคนที่มีหน้าที่รับผิดชอบและรับรู ้ความ
คืบหน้าอย่างเป็ นจริ งได้ หรื อสามารถรับรู ้มิติก่อนการก่อสร้างจริ งด้วยการจําลองการสํารวจภายในอาคารเช่นการใช้
BIM Model แทนการสร้าง Mockup Room ที่ตอ้ งใช้เวลาและค่าใช้จ่าย หรื อการใช้ 3D Scan
เก็บข้อมูลจากหน้างานมาเปรี ยบเทียบกับ BIM Model เพื่อหาข้อแตกต่างและความคืบหน้างาน
ในความเป็ นจริ งบางเรื่ องมีการใช้งานเกิดขึ้นแล้วเช่นการใช้ Drone หรื อ 3D Scan หรื อ VR
ประกอบการทํางานการนํามาประยุคใช้งานจะมีความก้าวหน้าขึ้นไปเรื่ อยๆนําไปสู่ Digital Construction
ทั้งนี้ทาํ ให้ผทู ้ ี่ทาํ งานต้องพัฒนาขึ้นมารองรับการทํางานในยุคใหม่ หวังว่าการเรี ยนรู ้และการสนับสนุนจะเกิดขึ้นใน
กระบวนของวิชาชีพหรื อการศึกษาในไม่ชา้ เป็ นที่ทราบดีวา่ บุคลากรที่มีความรู ้ทางด้านนี้ยงั ขาดแคลน การที่จะก้าว
ไปสู่ BIM ได้ตอ้ งมีแนวทางจากการกําหนดมาตรฐานจากองค์กรที่ทาํ ให้แนวทางการทํางานเป็ นสากลทุกๆฝ่ าย
สามารถทํางานร่ วมกันได้และต้องมีการจัดการก่อนที่จะไม่สามารถควบคุมได้ เรามีบุคลากรที่มีความสามารถทาง
Modeling มากขึ้นเรื่ อยๆแต่ยงั ขาดผูจ้ ะบริ หารงานได้ในขั้นที่สูง ขณะที่ความต้องการมีมากขึ้นงาน CM เป็ น
งานที่ตอ้ งการประสานงานและการจัดการบริ หารตั้งแต่ตน้ จนจบ CM ที่จะไปสู่ BIM ต้องผ่านการเรี ยนรู ้แนว
ทางการทํางานเพื่อดัดแปลงเทคโนโลยีให้ตอบรับกับงานสนามได้อย่างดี
ทรงพล ยมนาค
600128

6
4 การบริหาร BIM ในองค์ กร

ในหลายสํานักงานเริ่ มใช้ BIM ด้วยข้อกําหนดการทํางานมักประกอบด้วยเงื่อนไขส่ งงานด้วย BIM บรรยากาศ


ภายนอกก็เช่นกันมีการเคลื่อนไหวทุกสาขาของงานออกแบบก่อสร้าง แรงกดดันจากภายนอกเริ่ มมีมากขึ้นทําให้ทุก
คนเริ่ มเข้าสู่ วงจรการใช้งานร่ วมกันมากขึ้น ทําให้บางองค์กรที่ยงั ไม่พร้อมต้องมีผรู ้ ่ วมงานตัดภาระส่ วนนี้ไปทําแทน
แต่ไม่ใช่ทางออกที่ยง่ั ยืน การใช้ BIM ได้เองในองค์กรเป็ นข้อดีที่สามารถพัฒนาการทํางานรวมทั้งสามารถควบคุม
คุณภาพการทํางานได้ดว้ ยไม่รวมถึงการประหยัดค่าใช้จ่ายในการว่าจ้างบุคคลภายนอกมาตัดงานออกไปทํา การทํา
ให้องค์กรสามารถนํา BIM มาใช้เองควบคู่กบั งานออกแบบก่อสร้างทําให้ยกระดับการทํางานให้มีคุณภาพมากขึ้น
แต่ไม่ง่ายเสมอไปสําหรับการบริ หารให้งานสามารถเดินได้ ประเด็นต่างๆที่เกิดขึ้นระหว่างการทํางานมีอยูต่ ลอดเวลา
ถ้าการวางยุทธศาสตร์ ในการบริ หาร BIM ยังไม่ถูกต้อง
อะไรที่เรี ยกว่าใช้ BIM
เราผ่านพ้นยุคของความเข้าใจว่า BIM คือ Software มาแล้ว ที่บอกว่า BIM คือ Process เป็ นคําพูดที่
ดี แต่จะอธิบายว่ามันคืออะไร? หน้าตามันเป็ นอย่างไร? ต้องหาคําตอบให้ชดั เจนเสี ยก่อน บางคนอธิบายเรื่ อง
BIM ว่าทํา Model แล้วนํามาทํา Clash Detection จบเพียงแค่น้ ีหรื อ? บางคนบอกว่านํามาทําการ
ถอดปริ มาณวัสดุ บางคนบอกว่าใช้ทาํ Shop drawing ไม่รวมถึงการนํา Model มาหมุน หรื อ
Render ภาพสวย การเริ่ มต้นใช้ BIM ไม่ใช่การซื้ อ Software แล้วให้พนักงานอบรมพิเศษ 3 วันแล้ว
ทํางานได้เลย การใช้ BIM มีองค์ประกอบของการร่ วมมือการทํางานทุกๆฝ่ ายและหัวใจสําคัญคือการบริ หาร
Information ที่ทุกคนสามารถนําไปใช้งานต่อเนื่องได้กระบวนการทํางานจึงเกิดขึ้นด้วยการ Share ข้อมูล
ที่ถูกสร้างเป็ นระบบ Digital แล้วส่ งต่อบนระบบเครื อข่ายสิ่ งเหล่านี้ ตอ้ งมีขอ้ ตกลงวิธีปฏิบตั ิร่วมกันบนมาตรฐาน
ร่ วมกัน ก่อนอื่นทั้งหมดนี้อยูก่ บั ความต้องการใช้งานในด้านต่างๆที่ถูกกําหนดตั้งแต่เริ่ มต้นโครงการซึ่ งเกิดจากความ
ต้องการของผูว้ า่ จ้างและกรอบการทํางานต่างๆ วิธีการและแนวทางที่สามารถให้ทุกคนไปสู่ เป้าหมายที่กาํ หนดไว้
โดยใช้เครื่ องมือต่างๆด้วยการวางแผนสร้างความร่ วมมือก็คือกระบวนการทํางานของ BIM จะเห็นว่าเครื่ องมือ
หรื อ Software เป็ นเพียงส่ วนหนึ่งที่ทาํ ให้งานสําเร็ จได้แต่กระบวนการเป็ นสาระหลักที่ทุกฝ่ ายต้องร่ วมมือ
ทํางาน
รู ปแบบธุรกิจและทักษะ
ในแต่ละองค์กรมีความหลากหลายในการบริ หารงาน งานออกแบบ งานก่อสร้าง มีรูปแบบการทํางานที่แตกต่างและ
ขึ้นอยูก่ บั ขนาดขององค์กร BIM ไม่ได้ใช้งานอยูใ่ นกลุ่มงานออกแบบก่อสร้างเพียงกลุ่มเดียว การนํา BIM มาใช้
ในองค์กรจึงต้องสร้างกระบวนการทํางานตามวัฒนธรรมการทํางานของแต่ละที่ ก่อนเริ่ มต้นออกแบบวิธีการทํางาน
ต้องประเมินความสามารถของบุคลากรและความเป็ นไปได้ในด้านต่างๆเช่น
• กระบวนการเบื้องต้นของธุรกิจนั้น
• ความสามารถในการบริ หารงาน กับ ลักษณะงาน
• พันธะสัญญาของงาน
• ข้อมูลจะนําไปส่ งต่อบนพื้นฐานอะไร?

7
• ระบบมาตรฐานการทํางานกับ คู่มือการทํางาน
• เครื่ องมือและพื้นฐานของเทคโนโลยีที่มีอยู่
• การบริ หารเอกสารและข้อมูล
• พื้นฐานการเชื่อมโยงการประสานการทํางาน
• ระบบการบริ หารและการเงินของสํานักงาน
• ขนาดและชนิดของเครื อข่ายในการทํางาน
• ระดับความสามารถของพนักงาน
• ความคาดหวังในมูลค่าและความตั้งใจในการลงทุน
• การบริ หารระดับความสําคัญในข้อตกลงการทํางาน
ยุทธศาสตร์ และการออกแบบวิธีการทํางาน
หลังจากการประเมินในหัวข้อดังกล่าวจะทําให้เห็นตัวตนของธุรกิจและวัฒนธรรมการทํางาน สามารถนํามาวาง
รู ปแบบการทํางานได้ดว้ ยการวางเป้าหมายตามจุดประสงค์ท่ีสอดคล้องกับนโยบายขององค์กร การทําแผนรวมการ
ทํางาน การกําหนดกรอบและหน้าที่ ลงไปถึงการใช้เครื่ องมือต่างๆที่นาํ ไปสู่ การผลิตงานได้ท้ งั หมดเป็ นเรื่ องการ
บริ หารคนกับกระบวนการทํางานให้สอดคล้องกัน กระบวนเหล่านี้จะนําไปสู่ การเปลี่ยนแปลงการทํางานจากเดิมที่มี
ระยะเปลี่ยนผ่านจากแรงเสี ยดทานหรื อการต่อต้านจากระบบเดิมไปสู่ การทํางานด้วยเครื อข่าย ขณะเดียวกันต้องมีเข็ม
มุ่งการทํางานที่ชดั เจนเพื่อป้องกันการเพลิดเพลินกับเครื่ องมือหลากหลายที่เกิดขึ้นมาให้ทดลองตลอดเวลาซึ่ งทําให้
หลงทางได้ การเปลี่ยนผ่านไปสู่ เป้าหมายต้องการ
• การเรี ยนรู ้ : การศึกษาเข้าถึงเทคโนโลยี การฝึ กฝนทดลองซํ้า
• การประเมินผล : ด้วยการกําหนดเป้าหมาย ประสิ ทธิ ผลการทํางาน
• การสร้างประสบการณ์ : ทดสอบแนวคิดในการทํางาน ทดลองทํางานจริ ง
• การทํางานตามเป้าหมาย : ปฏิบตั ิงานตามที่กาํ หนดไว้ควบคู่กบั การเรี ยนรู ้
งานเหล่านี้ระดับบริ หารงานต้องเรี ยนรู ้และสร้างแนวทางการทํางานอย่างมีศาสตร์ และศิลปะผูบ้ ริ หารเช่น BIM
Manager ต้องนําไปปรับใช้ตามความเหมาะสม ส่ วนหนึ่งเป็ นประสบการณ์ที่ได้พบมาในองค์กรขนาดใหญ่ที่
มีรูปแบบการทํางานบนระบบที่แตกต่าง สิ่ งที่ยากที่สุดคือการทําให้คนทํางานบนกระบวนการ BIM ได้อย่าง
ราบรื่ น การติดตามความเคลื่อนไหวแล้วแก้ไข การสร้างวิธีการทํางานอย่างเหมาะสม การทํางานเป็ นทีม นําพาไปสู่
เป้าหมายด้วยการใช้ BIM
ทรงพล ยมนาค
600203

8
5 BIM คือ

เรื่ อง BIM ในบางสถานศึกษายังมีความไม่เข้าใจมากนัก จากการสอบถามทําให้เห็นว่าเราต้องให้ความรู ้ต้ งั แต่


เริ่ มต้นการเรี ยน ขณะที่ BIM ยังไม่สามารถเป็ นวิชาหลักได้ในบางที่อาจจะถูกมองไปทางการค้าเสี ยมากกว่าจึงทํา
ให้ไม่สามารถสอนอย่างเป็ นทางการได้ บางสถาบันก็มีการสอนอย่างเป็ นทางการแล้ว ขณะที่ผทู ้ ี่ได้ผา่ นงานทางด้าน
นี้เห็นความสําคัญอย่างสู งอยากผลักดันให้สร้างบุคลากรด้านนี้มากขึ้น เพราะปั จจุบนั เริ่ มมีความต้องการใน
ตลาดแรงงานสู งขึ้นตามลําดับ อย่างไรก็ตามการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเป็ นเบื้องต้นของการนําไปสู่ การใช้ BIM
BIM เป็ นอย่างไร?
ไม่ใช่แฟชัน่ หรื อกระแสความนิยมที่ผลักดันในการใช้ BIM มันเป็ นการเปลี่ยนระบบการทํางานด้วยเทคโนโลยี
หลายด้านและวิธีคิดในการทํางานผ่านกระบวนการเชื่อมต่อข้อมูล การเปลี่ยนแปลงนี้มีผลกับคนและวิธีการทํางาน
ทั้งกระบวนการ การนํา BIM มาใช้ในองค์กรจึงต้องมีการจัดการและจัดเตรี ยมและวางแผนก่อนการทํางานเป็ น
ขั้นตอนด้วยการประสานงานและร่ วมมือทุกหน้าที่ท่ีรับผิดชอบ การนํา BIM มาใช้งานจึงต้องมีระบบการจัดการ
และการจัดเตรี ยมยุทธศาสตร์เพื่อนําไปสู่ ผลลัพธ์มากกว่าการเรี ยนรู ้การใช้เครื่ องมือเพียงอย่างเดียว
ผูว้ า่ จ้างต้องการ BIM ?
ผูว้ า่ จ้างหรื อเจ้าของโครงการมักมุ่งหวังที่ผลลัพธ์ของงานมากกว่ากระบวนการทํางาน การใช้ BIM เสมือนการใช้
"วิตามินแสนวิเศษ" ช่วยให้ผลิตผลของงานดีข้ ึนตามคําโฆษณา ความกดดันจะมาอยูท่ ี่ผปู ้ ฏิบตั ิงานต้องใช้ท้ งั
เครื่ องมือและวิธีการทํางานให้ได้ผลตามเป้าหมาย ,มีการส่ งงานที่แน่นอน ,สามารถตรวจสอบได้ ,มีพฒั นาการใน
การทํางานหมายถึงงานที่สามารถจับต้องได้ นอกเหนือจากการนําเสนอภาพสวยหรื อการรี ววิ เพื่อสร้างความสนใจยัง
ต้องการความเข้าใจและเข้าถึงวิธีคิดสิ่ งใหม่ในงานออกแบบอีกด้วย
BIM จบแค่ Clash Detection ?
การใช้ BIM ไม่ได้ทาํ เพียง Clash Detection เพียงอย่างเดียวยังมีอีกหลายเรื่ องที่เป็ นประโยชน์ในการ
ออกแบบวิเคราะห์ เริ่ มต้นจากการกําหนดข้อมูลที่ถูกต้องการต่อยอดด้วยข้อมูลจะสร้างประโยชน์ในการทํางานอย่าง
มากมาย ในข้อมูล Table of BIM Use Frequency and Benefit with Rank Out
of Twenty-Five Uses (Kreider et al. 2010) ระบุการใช้ BIM ทํางาน 3D
Coordination 60% ,Design Review 54% ,Design Authoring 42%
นอกจากนี้ส่ิ งที่เรายังไม่ได้นาํ ประโยชน์มาใช้อีกหลายอย่างในระหว่างทํางานตั้งแต่เริ่ มต้นโครงการจนถึงงาน
ก่อสร้างเช่น การวิเคราะห์ทางด้านพลังงาน ,แสงสว่าง ,ความสามารถในการก่อสร้าง ,การจัดการทรัพย์สิน ,
ภูมิศาสตร์ ,การขนส่ ง และอื่นๆเพียงแต่วา่ สภาวะของการทํางานและการกําหนดจุดประสงค์การใช้งานนําไปสู่ ส่ิ งที่
ต้องการได้หรื อไม่
ทํา BIM แล้วต้องทํา CAD ?
การทํางานแบบคู่ขนานหรื อทํา 2 เรื่ องในสิ่ งเดียวกันเป็ นการเพิ่มต้นทุนในการทํางานและสร้างความสับสน
พอสมควร ในเมื่อ BIM สามารถเอาข้อมูลนําส่ งออกมาเป็ น 2D CAD ได้ การทํางานครั้งเดียวแล้วได้ผลงานที่

9
ครอบคลุมและไม่ผดิ พลาดย่อมลดค่าใช้จ่ายและภาระการทํางานหมายถึงต้นทุนที่ประหยัด การจัดการวิธีการทํางาน
จึงเป็ นสิ่ งสําคัญในการใช้ BIM
BIM ไม่ใช้กไ็ ด้ ?
การนํา BIM มาใช้ตอ้ งมีจุดประสงค์และเป้ าหมายในบางประเภทของงานที่ไม่ตอ้ งการความซับซ้อนหรื อมีขนาด
ไม่ใหญ่ไม่ตอ้ งใช้คนจํานวนมากมาทํางานร่ วมกันอาจไม่ใช้ BIM แต่คนที่สามารถใช้ BIM ได้แล้วจะไม่เลือก
วิธีการทํางานแบบเดิมเพราะเขาจะรู ้วา่ เขาได้ประโยชน์จากการทํางานมากกว่าถึงแม้วา่ เขาจะทํางานเพียงคนเดียวก็
ตาม เครื่ องมือเหล่านี้ข้ ึนกับ "คน" และ "กระบวนการทํางาน" ที่จะเลือกแนวทางการทํางานที่เหมาะสม
BIM ใช้ตวั ไหนดี ?
เมื่อเริ่ มต้นถึงเรื่ อง BIM มักมีคนถามเสมอว่าเลือกตัวไหนดี? ราคาถูกแพงอย่างไร? มีของฟรี ไหม? เชื่อว่าผู ้
ลงทุนทุกคนต้องการทํางานแลกกับรายได้ไม่วา่ ทางตรงหรื อทางอ้อมนอกจากรุ บุตวั เองเลยว่าทําเพื่อบริ จาค การใช้
งานจึงขึ้นกับความต้องการของผูใ้ ช้เลือกให้เหมาะสม ของดีราคาก็สูงถ้าคุมกับการทํางานก็ใช้เลย ทุก Software
มีวธิ ี การสร้างของตัวเองเพื่อรองรับการใช้งานที่ผผู ้ ลิตกําหนดไว้จึงไม่สามารถนํามาเทียบกันได้ ข้อสําคัญคือสามารถ
ทํางานร่ วมกันกับคนอื่นได้หรื อไม่? มีผลลัพธ์การทํางานตามความต้องการของเราหรื อไม่? ในโลกนี้จึงมี BIM
Software อยูม่ ากมาย และที่สาํ คัญที่สุดในอนาคตอันใกล้เราจะเห็นการใช้งานที่สามารถส่ งต่อข้อมูลระหว่าง
Software ใดๆก็ได้ซ่ ึ งจะเป็ นการเปลี่ยนแปลงการทํางานเชื่อมโยงข้อมูลขนานใหญ่จะเห็นได้วา่ ที่ผา่ นมามีการ
จับมือกันระหว่างยักษ์ใหญ่หลายๆค่ายที่ครอบคลุมทั้งอเมริ กาและยุโรป ฉะนั้นไม่วา่ จะใช้เครื่ องมือชนิดใดจะทํางาน
ได้เหมือนกัน
คําถามเรื่ อง BIM ยังมีอีกมากมายที่กล่าวมาเพียงตัวอย่างที่ได้พบบ่อยและยังเป็ นข้อสงสัยตราบใดที่เรื่ อง BIM
ยังไม่ชดั เจนการเจริ ญเติบโตก็ยงั มีตวั ถ่วงรั้ง จนกว่ามีการทํางานกันอย่างแพร่ หลายและเห็นผลของการทํางานแล้วซึ่ ง
ต้องการแนวทางการทํางานที่ถูกต้องเพื่อเส้นทางการเดินของ BIM ไปสู่ เป้าหมายและเป็ นประโยชน์กบั ผูร้ ่ วมงาน
ทุกๆคน การเรี ยนรู ้และสร้างวิธีการทํางานจากประสบการณ์จะเพิม่ ความสามารถและมีบทสรุ ปที่ชดั เจนมากขึ้น
อาจจะต้องถามตัวเองบ่อยๆว่า "รู ้เรื่ อง BIM ดีแล้วหรื อยัง?"
ทรงพล ยมนาค
600218

10
6 BIM เริ่มต้ นไปด้ วยกัน

เมื่อรู ้จกั BIM ในระยะเริ่ มต้นอาจจะเห็นภาพการใช้เครื่ องมือรู ปแบบต่างๆแสดงผลอย่างชาญฉลาดด้วยการสั่งการ


จากมนุษย์ แต่การควบคุมการใช้เครื่ องมือหรื อการนําเทคนิคต่างๆยังไม่สามารถพัฒนาการทํางานให้ตอบสนองการ
ทํางานในสภาวะจริ งของวัฒนธรรมองค์กรซึ่ งมีความแตกต่างตามลักษณะของธุรกิจ การออกแบบกระบวนการ
ทํางานให้ตอบสนองการทํางานโดยใช้ความสามารถของเครื่ องมือและเข้าใจจุดประสงค์อย่างชัดเจนจะทําให้งานนั้น
บรรลุผลได้ รายละเอียดและวิธีการเป็ นกระบวนการที่ตอ้ งใช้คาํ อธิ บายอีกมากมาย อีกสิ่ งหนึ่งคือทําอย่างไรให้เกิด
การใช้งานได้อย่างยัง่ ยืน? ส่ วนใหญ่มกั ประสบปัญหาเริ่ มต้นกับผูท้ ี่ยงั ไม่เคยสัมผัสกับการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่
แบบนี้ มีประเด็นบางประการที่สามารถนําไปดัดแปลงใช้เพื่อเริ่ มต้นการใช้ BIM ขึ้นอยูก่ บั สภาวะแวดล้อมของ
บุคลากรและกระบวนการนั้นเหมาะสมกับการทํางานตามความต้องการหรื อไม่
เริ่ มต้นการทํางาน
ปัจจุบนั การเริ่ มใช้ BIM เกิดจากความต้องการของผูว้ า่ จ้างหรื อเจ้าของโครงการที่ตอ้ งการนําไปใช้ตามจุดประสงค์
ต่างๆทําให้หลายหน่วยงานเริ่ มต้นปรับตัวเข้าหาเพื่อเป็ นโอกาสของการทํางานทั้งหมดนี้ตอ้ งการ "ผูร้ ู ้" มาช่วย
ผลักดันให้กระบวนการทํางานเกิดขึ้นได้ แต่องค์กรจะมีความยัง่ ยืนในการทํางานก็ต่อเมื่อสามารถทํางานเองได้ไม่
ต้องทํางานคู่ขนานหรื อจ้าง "ผูร้ ู ้" ทํางานแทน การทําให้องค์กรสามารถดําเนินงานด้วยตนเองได้น้ นั ต้องมีการ
กําหนดการทํางานเป็ นขั้นตอนและมีการสนับสนุนอย่างเป็ นรู ปธรรมเหมือนกับการยิงปื นให้ตรงเป้าก็ตอ้ งมีข้ นั ตอน
การจับปื น เล็ง แล้วยิง BIM มีกระบวนการทํางาน (Process) มีขอ้ มูล (Information) และมี
เทคโนโลยี (Technology) เป็ นส่ วนประกอบที่ตอ้ งผสมผสานตามสัดส่ วนอย่างถูกต้องเพื่อให้บุคลากร
(People) ดําเนินงานบนกระบวนการได้ ปั ญหาส่ วนใหญ่เกิดที่บุคลากรที่ไม่สามารถปรับเข้าหาการทํางานได้
แรงต่อต้าน ทัศนะคติ มีบางประเด็นที่นาํ ไปสู่ การเตรี ยมการเริ่ มต้นดังนี้
• การแลกเปลี่ยนความเห็นนําเสนอทัศนะคติและผลลัพธ์ในการทํางานเพื่อโน้มน้าวให้เห็นความสําคัญ
• เป้าหมายการทํางานและการสนับสนุนที่ชดั เจนจากระดับบริ หาร
• แผนการทํางานตลอดทั้งโครงการที่เป็ นจริ ง
• ทดลองสัมผัสการทํางานอย่างถูกต้องเพื่อเปรี ยบเทียบกับวิธีการแบบเดิม
• ประเมินความคุม้ ในการลงทุนในแต่ละขั้นตามจุดประสงค์ และมองผลในระยะยาวมากกว่าทําแล้วต้องได้ทุกอย่าง
ในระยะเวลาอันสั้น
• เครื่ องมือ , Software ,Hardware ,Network ต้องวางแผนการนํามาใช้งานให้สอดคล้องกับการ
ทํางาน
• วิธีการนําเสนอและส่ งงานเปลี่ยนแปลงจากเดิมเมื่อใช้ BIM ส่ งผลกับวิธีการทํางานการพิมพ์บนกระดาษจะ
ไม่ใช่คาํ ตอบของการส่ งงานอีกต่อไป
• กฎ ระเบียบ มาตรฐานการทํางาน มีผลกับการทํางานมากขึ้นกับการทํางานเป็ นหมู่คณะ หมายถึงผลของการ
สื่ อสารและวินยั ในการทํางานในการส่ งต่อข้อมูล
• การใช้ BIM Execution Plan , วิธีการเชื่อมโยงข้อมูล ,Set Up Project เป็ นเรื่ องที่ตอ้ งทําใน
ระยะแรกของการทํางาน
11
การเข้าถึง BIM
มักมีความเห็นที่เป็ นอุปสรรคในการเข้าถึง BIM อยูบ่ ่อยครั้งเช่นเครื่ องมือมีราคาแพง ไม่มีคนทํางาน คนทําได้แล้ว
ลาออก ยากเกินกว่าที่ทาํ อยูแ่ ล้ว รอให้ง่ายกว่านี้แล้วค่อยเริ่ ม และอื่นๆอีกมาก ทุกวันนี้ผทู ้ ี่เข้าถึงการทํางานไม่กงั วล
กับคําตอบแบบนี้เพราะมีความชัดเจนในการทํางานมากขึ้นกว่าเดิม มีประชากร BIM เพิ่มขึ้นทุกวัน เทคโนโลยีมี
ทางเลือกมากขึ้นเข้าถึงง่ายขึ้นดังที่เคยกล่าวมาแล้วว่าในอนาคตเครื่ องมือที่แตกต่างค่ายจะเริ่ มสื่ อสารถึงกันได้ เพราะ
ทุกค่ายเห็นประโยชน์ร่วมกัน รวมถึงเทคโนโลยี VR พัฒนาอย่างรวดเร็ วในอนาคตวิศวกรสามารถตรวจงานหรื อ
ประชุม Coordinate Meeting ด้วยการใส่ หมวกนิรภัยอัจฉริ ยะดูงานก่อสร้างก้าวข้ามการเปิ ดดูงานจาก
Tablet ซึ่ งเราคิดว่าทันสมัยแล้วสําหรับปัจจุบนั ดูตวั อย่างได้จาก Skanska UK ผูผ้ ลิต SMART
AUGMENTED REALITY
HELMET https://www.youtube.com/watch?v=U9t6Osl1Lbc อีกอันหนึ่ งคือ
เครื่ องมือสําหรับบริ ษทั รับเหมาต้องการใช้ BIM กับผูร้ ับเหมาย่อยและผูผ้ ลิตสิ นค้าในการทําข้อมูลประมาณราคา
ให้สื่อสารกันได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายบนระบบ Cloud สําหรับการประมูลซึ่ งเร็ วๆนี้จะออกมาใช้งานเป็ นทางการ
โดย 3D Repo ผูผ้ ลิต Bid4Free ส่ วนการดู BIM Model ด้วย Software ที่ไม่มีคาใช้จ่าย
สามารถนํามาใช้ได้ที่ Free BIM Viewing
Tools http://www.bimtaskgroup.org/free-bim-vewing-tools/
เทคโนโลยีกา้ วหน้าอย่างรวดเร็ วและกําลังกระโดดไปอีกขั้นในขณะที่เราเพิ่งกําลังเริ่ มต้น ปี ที่ผา่ นมาภาพเลือนราง
ของ BIM ยังไม่ชดั เจนสําหรับผูเ้ ริ่ มต้นแต่ปัจจุบนั เราเริ่ มล้าสมัยเสี ยแล้ว สิ่ งที่กล่าวมาข้างต้นอาจจะใช้ไม่ได้
สําหรับอนาคตเพราะกระบวนการทํางานจะต้องเปลี่ยนไปพร้อมกับเทคโนโลยี รู ปแบบการทํางาน มาตรฐาน
ข้อกําหนด และอื่นๆอาจเปลี่ยนแปลในเร็ ววัน เรารู ้แล้วว่าอาจจะไม่ทนั เทคโนโลยี แต่เรารู ้เท่าทันมันหรื อยัง?
ทรงพล ยมนาค
600225

12
7 แผนปฏิบัตกิ าร BIM (BIM Execution Plan)

การทํางานรวมหมู่ตอ้ งการแผนการทํางานที่ชดั เจนเพื่อกําหนดแนวทางการทํางานที่ผรู ้ ่ วมงานทุกคนสามารถทํางาน


ได้ การสร้างแผนการทํางานมีรูปแบบที่หลากหลายตามเงื่อนไขของแต่ละภูมิภาคที่มีความต้องการและการกําหนด
มาตรฐานในการทํางาน แผนปฏิบตั ิการ BIM (BIM Execution Plan) หรื อมีคาํ ย่อว่า BEP. จะถูก
กําหนดตั้งแต่เริ่ มต้นโครงการด้วยการระดมความเห็นจากผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในการทํางานวางแนวทางในการทํางาน
ตามเปาหมายและจุดประสงค์ของโครงการนั้นๆ หมายถึงแต่ละโครงการที่ความต้องการแตกต่างออกไปแผนงานก็
ต้องเปลี่ยนไปด้วย ทั้งหมดเป็ นสิ่ งยึดโยงให้ทีมงานสามารถเข้าถึงขั้นตอนการทํางานที่สามารถนําข้อมูลมาใช้งาน
ร่ วมกันได้ในแต่ละหน้าที่
เป้าหมายและ ข้อมูล ,ความต้องการ
เริ่ มต้นด้วยการกําหนดเป้าหมายในการทํางานว่าโครงการต้องการเนื้องานขนาดไหน ด้วยความสามารถในการ
ทํางานของ BIM มีหลากหลายด้วยเครื่ องมือที่แตกต่างทําให้สามารถนําข้อมูลไปใช้ดา้ นต่างๆอีกมากมายการ
กําหนดเป้าหมายในการทํางานจะทําให้ทีมสามารถมองเห็นภาพของผลลัพธ์อย่างชัดเจน ส่ วนความต้องการของ
โครงการย่อมมาจากเจ้าของโครงการหรื อผูว้ า่ จ้าง อีกส่ วนหนึ่ งคือข้อมูลของโครงการในการติดต่อประสานงานและ
ตําแหน่ง ,ลักษณะโครงการ รายละเอียดนี้จะต้องจําแนกให้ชดั เจนเสี ยก่อนการทํางานเพราะจินตนาการของการใช้
BIM ทําให้เกิดความเข้าใจที่ผิดพลาดจะเป็ นปั ญหาภายหลังเมื่อดําเนิ นงานไปแล้ว
ออกแบบกระบวนการทํางาน
เมื่อมีความต้องการที่แตกต่างการสร้างกระบวนการทํางานเฉพาะโครงการมีความจําเป็ นอย่างยิง่ มีหลายเงื่อนไขที่มี
ผลต่อการทํางานรวมหมู่เช่น แบบแผนวิธีการทํางานแบบเดิม ,การใช้เครื่ องมือในแต่ละหน้าที่ ,ลําดับขั้นตอนการ
ทํางาน และ ความรับผิดชอบ ,ระยะเวลาของโครงการ และอื่นๆ การออกแบบนี้ ตอ้ งมีแผนการทํางานที่นาํ ไปสู่
เป้าหมายให้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ดว้ ยการกําหนดภาพรวมทั้งหมดและแผนเฉพาะกิจกรรม ในโครงการขนาดเล็ก
อาจจะมีความเข้าใจการทํางานแล้วการสร้างแผนรวมไว้ก่อนจะทําให้ทุกคนเข้าใจการทํางานดีข้ ึน
เชื่อมโยงการทํางานและส่ งต่อข้อมูล
ประโยชน์ของ BIM คือการใช้ขอ้ มูลเดียวกันและส่ งต่อด้วยอิเลคทรอนิคส์ เพราะการทํางานรวมหมู่จะมีผใู ้ ช้เครื่ อง
มือที่แตกต่าง มีไฟล์นามสกุลที่แตกต่าง มีเงื่อนไขของ Version Software มีเงื่อนไขของประเภทการใช้
งานทําให้ไม่สามารถนําไปเชื่อมต่อการทํางานได้ การสร้างการเชื่อมโยงจะเกี่ยวพันกับวิธีการทํางานและต้องเปลี่ยน
พฤติกรรมระหว่างการทํางานซึ่ งต้องตกลงกันตั้งแต่เริ่ มต้น จะจําแนกหัวข้อที่ตอ้ งเตรี ยมได้ดงั นี้
• จําแนกข้อมูลและวิธีการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่แตกต่าง
• กําหนดความรับผิดชอบในแต่ละหน้าที่ของการทํางานในการสร้างข้อมูล
• ระยะเวลาในการส่ งต่อข้อมูลในแต่ละช่วงการทํางาน
• จําแนกหมวดหมู่ของข้อมูลที่จะทําการส่ งต่อและการกําหนดแหล่งเก็บ

13
พัฒนาและสนับสนุนกระบวนการทํางาน
การทํางานบนกระบวนการที่ได้ออกแบบไว้ตอ้ งเดินไปตามแนวทางที่ตกลงร่ วมกันตั้งแต่เริ่ มโครงการซึ่ งมีขอ้ ตกลง
กับผูว้ า่ จ้างตามสัญญา การดําเนินงานที่เป็ นกระบวนการในการใช้เทคโนโลยีตอ้ งมีกรอบที่ชดั เจนมีประเด็นที่
สนับสนุนให้การทํางานบรรลุเป้าหมายได้เช่น
• การส่ งงานตามเงื่อนไขข้อตกลง ทุกฝ่ ายต้องร่ วมผลักดันให้งานบรรลุผลได้
• กรอบการสื่ อสาร จะทําให้ทุกคนรับรู ้และพัฒนาไปใช้งานได้
• เครื่ องมือและอุปกรณ์ เป็ นส่ วนสนับสนุนที่สาํ คัญที่ทาํ ให้เกิดงาน
• การควบคุมคุณภาพและการดําเนินงานของ Model
รายละเอียดที่อยูใ่ นกระบวนการทํางาน
นอกจากการมี แผนปฏิบตั ิการ BIM ,ข้อมูลโครงการ ,ข้อมูลการติดต่อ ,เป้าหมายและจุดประสงค์ของโครงการ ,
การออกแบบกระบวนการทํางาน ,การส่ งต่อเชื่อมโยงข้อมูล ,ข้อมูลอาคารสําหรับการบริ หารอาคารกระบวนการ
ประสานงาน ,การควบคุมคุณภาพของ Model ,ความต้องการของเครื่ องมือและอุปกรณ์ ,วิธีการส่ งงาน
โครงสร้างของ Model วิธีการสร้างและการใช้ Model ยังเป็ นหัวข้อที่สาํ คัญ วิธีการทํางานกับ Model
สามารถกําหนดขึ้นมาหลายรู ปแบบนอกจากการทํางานเดี่ยวแล้วการใช้ Model ที่แยกส่ วนเป็ นหลาย
องค์ประกอบเพื่อกําหนดหน้าที่การทํางานพร้อมกันทําให้ประสิ ทธิภาพการทํางานดีข้ ึนแต่ตอ้ งมีการจัดการจราจร
ระหว่างการเชื่อมโยง Model ให้ดีดว้ ยรวมถึงประโยชน์ในการตรวจสอบและนําไปใช้งานด้านอื่นๆ อีกส่ วนหนึ่ง
คือรายละเอียดในการทํางาน LOD.ต้องมีกรอบการใช้ในแต่ละช่วงการทํางาน วิธีต่างๆล้วนเป็ นศาสตร์ และศิลปะ
ในการสร้าง Model รวมถึงการควบคุมขนาดของ Model อย่างเหมาะสม
เป็ นเพียงบางประเด็นสําคัญที่ยกมาแสดงให้เห็นและสร้างความเข้าใจเบื้องต้นสําหรับการนําไปใช้งาน มักมีบางคน
บอกว่าทําขึ้นมาแต่ไม่มีคนอ่านหรื อใช้งานอาจจะเป็ นเพราะการสร้าง BEP. ขึ้นมาโดยไม่ได้มีการรับรู ้จาก
ผูร้ ่ วมงานหรื อเขียนบน Template สําเร็ จรู ปโดยไม่ทราบจุดประสงค์ในการทํา ทุก BEP. จะเหมาะสม
สําหรับแหล่งที่เขาได้สร้างขึ้น แต่ไม่ได้หมายความว่าจะดีที่สุดสําหรับทุกที่ เราต้องเข้าใจภูมิทศั น์และเป้าหมายการ
ใช้งานและการใช้ขอ้ มูลในแต่ละประเทศด้วย รวมถึงสาธารณูปโภคที่เอื้ออํานวยในการทํางานที่แตกต่างกัน เรา
อาจจะทําหรื อไม่ทาํ บางสาระ เราอาจจะวางแนวทางในแต่ละช่วงที่แตกต่างออกไป แต่ท้ งั หมดสามารถทําให้ทุกคนที่
ร่ วมงานบรรลุเป้าหมายที่กาํ หนดไว้ได้
สามารถศึกษาบางตัวอย่างตามรายละเอียดนี้
The National BIM Standard-United States® (NBIMS-US™)
https://www.nationalbimstandard.org/
Penn State University , BIM Project Execution Planning Guide
The BIM Project Execution Planning Guide and Templates - Version
2.0
http://bim.psu.edu/project/resources/
ทรงพล ยมนาค
600304

14
8 Clash Detection ส่ วนหนึ่งในการใช้ BIM

เมื่อมีการใช้ BIM มักจะได้ยนิ คําพูดเรื่ องการทํา Clash จาก BIM Model เป็ นจุดประสงค์หนึ่งที่ใช้กนั
มากที่สุดสําหรับการทํางานโดยนํา Model จากหน้าที่ต่างๆมารวมกันแล้วให้เครื่ องมือตรวจสอบการชนของ
ชิ้นงานจาก Model ซึ่ งมีเงื่อนไขการชนประกอบอยู่ เครื่ องมือจะแสดงผลการชนออกมาพร้อมกับภาพวัตถุและ
ตําแหน่งในการชน เครื่ องมือนี้คือ Game Software ที่ทาํ งานตามเงื่อนไขที่กาํ หนด การใช้ Clash เป็ น
การทํางานกว่า 80% ของการทํางาน Review Model แต่การทํางานจะเดินได้ดว้ ยการกําหนดเงื่อนไขและ
การเลือกการชนของชิ้นงาน
Clash คืออะไร?
การทํางานง่ายๆของมันก็คือการแสดงผลของระนาบวัตถุ 2 ด้านที่ห่างกัน ,สัมผัสกัน ,หรื ออยูใ่ นตําแหน่งเดียวกัน
วัตถุเหล่านี้คือองค์ประกอบของอาคารที่ผอู ้ อกแบบในแต่ละหน้าที่หรื อผูส้ ร้างวัตถุน้ ีกาํ หนดขึ้นมาแล้วระบุชื่อของ
วัตถุตามมาตรฐานเพื่อให้เครื่ องมือทําการตรวจสอบแสดงผลในตําแหน่งหรื อ Coordinate ของมัน บางครั้ง
อาจจะไม่ได้ใช้การกําหนดค่าทางกายภาพให้แสดงผล การทํางานจะถูกกําหนดเงื่อนไขเพื่อนําไปสู่ การแสดงผลนั้นๆ
ก่อนเริ่ ม Clash
แนวทางหลักของการใช้ BIM ก็คือการใช้ขอ้ มูล ฉะนั้นการบรรจุขอ้ มูลที่ผดิ หรื อไม่สมบูรณ์ยอ่ มทําให้งาน
ผิดพลาดได้ ก่อนการเริ่ มต้นจึงต้องวางแนวทางในการสร้าง Model ที่ถูกต้องโดยระบุให้ทีมงานมีแนวทางการ
ทํางานที่สอดคล้องกันตามมาตรฐานการทํางานหัวข้อหลักที่พอจะประมวลได้ก่อนการทํา Clash ก็คือ
○ ศึกษาว่า File จากสกุลที่แตกต่างของผูส้ ร้าง Model แต่ละหน้าที่ทาํ งานด้วยกันได้หรื อไม่?
○ ศึกษาโครงสร้างของ File ในหน้าที่ต่างๆเช่น Link File , Model File
○ การกําหนดชื้อ File Name ที่เป็ นมาตรฐานสามารถรับรู ้การใช้งานหรื อไม่?
○ การกําหนดชื้อ Object Name ที่เป็ นมาตรฐานในการจัดลําดับหรื อไม่?
○ Model Origin หรื อค่าพิกดั ของ Model แต่ละหน้าที่มีตาํ แหน่งตรงกันและถูกต้องหรื อไม่?
○ ข้อตกลงในค่าที่ยอมรับได้ระว่างการชนของวัตถุในแต่ละประเภท
○ การสร้าง Object Color เพื่อสะดวกแก่การตรวจสอบ
○ การกําหนด Zone ในการตรวจสอบ
○ ในแต่ละ File จะไม่มี Object หรื อการเปิ ด-ปิ ดวัตถุ หรื อ Line ที่ไม่เกี่ยวกับชิ้นส่ วนอาคาร
○ และอื่นๆ
การสร้างเงื่อนไขในการ Clash
การใช้ BIM Model ในแต่ละหน้าที่ตอ้ งระบุการชนของแต่ละ Model และลักษณะการชนรวมถึงระยะที่
ยอมรับได้ การเลือกวัตถุในการชนมักจะเกิดจากลักษณะการทํางานในการก่อสร้างเช่นการพึ่งพิงของวัตถุฝ้าเพดาน
กับระดับท่อที่อยูข่ า้ งบน
ตัวอย่างการกําหนดการชนของวัตถุได้ดงั นี้
HVAC vs. Gravity Drain

15
HVAC ducts vs. Fire
HVAC ducts vs. Electric
Structure vs. HVAC
Arch vs. Structure
การรายงานผลและการตรวจสอบด้วยเครื่ องมือ
การทํา Clash ต้องการ Report เพื่อส่ งต่อให้ผรู ้ ่ วมงานในแต่ละหน้าที่ไปทําการแก้ไขเพื่อพัฒนา Model
ของตนให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้นหมายถึงการลดงานข้อขัดแย้งของแบบให้นอ้ ยลง ผลของการทํา Clash อาจจะ
มีจาํ นวนมากก็ตามต้องรู ้จกั การจําแนกให้ชดั เจนเพราะบางเงื่อนไของการชนสามารถแก้ไขได้เองจากงานก่อสร้าง
บางเงื่อนไขต้องมีการย้ายหรื อหลบซึ่ งกันและกันตามหลักของวิศวกรรมหรื อทัศนะทางงานออกแบบ ผูท้ ี่มีความรอบ
รู ้ทางงานก่อสร้างเช่น CM สามารถช่วยให้ความเห็นและแนะนําได้ดีในการประชุม Review Model
นอกจากนี้ระหว่างการออกแบบ ผูอ้ อกแบบสามารถตรวจสอบ Clash ระหว่างกันก่อนเพื่อให้ Model มีความ
สมบูรณ์ ยกตัวอย่างเครื่ องมือทํา Review Model หรื อทํา Clash Detection อย่างสังเขปได้ดงั นี้
A360 Team
BIM Collab
BIM 360 Glue
Naviswork Manage
Solibri Model checker
Tekla BIMsight
ที่กล่าวมาเป็ นเพียงบางส่ วนในการทํางานซึ่ งเนื้อหามีรายละเอียดมากกว่านี้และกรอบการทํางานจําแนกตามประเภท
ของเนื้องาน ผลของการตรวจสอบจะเป็ นตัวชี้วดั คุณภาพของ Model ได้เป็ นอย่างดีซ่ ึ งต้องส่ งกลับไปยังการ
ทํางานเพื่อแก้ไขให้สมบูรณ์ต่อไป
ทรงพล ยมนาค
600319

16
9 การบริหารการทํางานเพื่อใช้ BIM

สําหรับการเริ่ มต้นในสํานักงานเป็ นเรื่ องที่แตกต่างจากการทํางานคนเดียว ไม่ใช่เรื่ องง่ายสําหรับการทํางานเป็ นกลุ่ม


บนมาตรฐานการทํางานเดียวกัน การประสานงานต้องการข้อตกลงร่ วมกันแล้วสร้างวิธีการทํางานให้สามารถนําส่ ง
งานได้ตามเป้าหมาย เหตุน้ ีทาํ ให้เกิดกฎเกณฑ์ต่างๆมากมายยังไม่รวมทั้งการบริ หารข้อมูลอาคารเริ่ มต้นจากการ
ออกแบบไปจนถึงการบริ หารอาคาร ซึ่ งต้องการแนวทางการจัดการบนมาตรฐานที่เป็ นสากล ถึงแม้วา่ เราไม่เคยสนใจ
เรื่ องงานบริ หารแบบนี้ ในทางกลับกันเรื่ องเหล่านี้เป็ นเรื่ องหลักในการร่ วมงาน จะเห็นได้วา่ การสร้าง BIM
Model มีสาระที่จะต้องจัดการมากกว่าเดิม เราจึงต้องเตรี ยมตัวและดําเนินการทีละขั้นตอนเพื่อบรรลุเป้าหมายนั้น
สร้างความเข้าใจเรื่ อง BIM ตั้งแต่เริ่ มต้น
สร้างความเข้าใจตั้งแต่ระยะเริ่ มต้นรวมถึงบุคลากรทุกระดับให้เห็นเป้าหมายในการทํางานร่ วมกันและผลลัพธ์ที่มีต่อ
องค์กร บนพื้นฐานของความเข้าใจนี้จะทําให้การกําหนดนโยบายสอดคล้องกับการทํางานที่มีผลต่อบุคลากรระดับ
ปฏิบตั ิการและทิศทางการทํางานทั้งหมดขององค์กร
วางแผนการทํางาน BIM
การวางแผนในการทํางานต้องคํานึงถึงความคาดหวังทางด้านธุรกิจที่มีผลกับหน้าที่การทํางานของทีมที่จะนําไปสู่
การตั้งประเด็นในการทํางานต่อไป กระบวนการทํางานของ BIM จะต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบซึ่ งมีผลกับ
ความคาดหวังในการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจที่กระทบกับการทํางานวันต่อวัน เป็ นการเหมาะสมที่สุดที่จะทําแผนงาน
เพื่อนําไปสู่ การทํางานในหลายระดับด้วยการประชุมหารื อกําหนดเงื่อนไขประกอบการทํางานเพื่อหลีกเลี่ยงการ
ทําลายกําหนดการทํางานที่เป็ นอยู่
จําแนกกิจกรรมการทํางานและหมวดการทํางาน
จําแนกแยกแยะรายการกิจกรรมที่ทาํ อยูแ่ ละทําความเข้าใจความสามารถของบุคลากรที่จะบรรจุเข้าทํางานในแต่ละ
ตําแหน่งเพื่อจัดวางการทํางานให้ถูกต้องซึ่ งนําไปสู่ สาระการทํางานของบุคลากรที่สามารถจัดวางได้ ในความ
ซับซ้อนของธุรกิจแต่ละประเภทจะมีหน้าที่ที่แตกต่างออกไปเมื่อจําแนกออกมาแล้วการทํางานด้วย BIM จะเกิด
ตําแหน่งงานและกรอบการทํางานใหม่ข้ ึนมา
จัดลําดับเนื้องาน
พัฒนาระบบการทํางานด้วย BIM ด้วยกําหนดกิจกรรมที่สามารถควบคุมได้จากศูนย์กลาง เป้าหมายเพื่อสร้าง
ระบบการทํางานที่สมบูรณ์ระหว่าการฝึ กอบรมเจ้าหน้าที่ และพัฒนาความสามารถในการทํางานเป็ นความสําคัญ
หลักในระยะเริ่ มต้นด้วยการกําหนดแผนและติดตามในแต่ละขั้นตอนแบ่งเป็ นขั้นๆ
ประเมินการทํางานทีละขั้น
กําหนดระยะเวลาในแต่ละช่วงของการทํางานรวมทั้งการประเมินการทํางานของบุคลากรในอัตราค่าแรงกับผลงาน
และนํามาตรวจสอบกับผลที่ได้รับขณะที่ระบบการทํางานกําลังถูกจัดตั้งขึ้นอีกทั้งการกําหนดตัวชี้วดั ที่สามารถ
ตรวจสอบได้ซ่ ึ งมีผลกับบุคลากรและความเข้าใจในการทํางานที่สามารถกําหนดเป้าหมายได้
ติดตามแผนงานและช่วงเวลา

17
จากฐานการกําหนดที่ทาํ ไว้นาํ มาพิจารณาเนื้อหาในการทํางานเพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีประสิ ทธิภาพและตรวจสอบ
การทํางานตามแผนที่วางไว้และนํามาปรับให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่มีเงื่อนไข ซึ่ งเป็ นการลดความเสี่ ยงในการ
ทํางานและการนํากระบวนการทั้งหมดมาใช้
แนวทางในการวางแผนก่อนเริ่ มใช้ BIM เป็ นกลไกที่จดั เตรี ยมตั้งแต่ระยะเริ่ มต้นของการทํางานเพื่อให้ท้ งั องค์กร
สามารถรับรู ้และเข้าใจเป้าหมายของการนํา BIM มาใช้ซ่ ึ งไม่ใช่เป็ นการเปลี่ยนแปลงแค่แผนกงานเดียวหรื อกลุ่ม
เดียวที่ทาํ แบบ การเปลี่ยนแปลงนี้นาํ มาถึงการสร้างรู ปแบบใหม่ของธุรกิจที่ทาํ งานด้วยเทคโนโลยี ก่อนการกลืนกิน
ของเทคโนโลยีใหม่ที่มีบทบาทเข้ามาแทนที่การทํางานในระบบเดิมแบบเงียบๆ อาจจะไม่มีใครเชื่อว่าจะเป็ นอย่าง
นั้นจริ งแต่ถา้ เรารอให้เกิดเราจะปรับตัวไม่ทนั ก็ได้เพราะการเปลี่ยนแปลงนี้ เกิดขึ้นโดยไม่มีการบอกกล่าวจะรอดแต่
คนที่สามารถปรับได้ทนั ในระยะเวลาที่เหลืออันน้อยนิด
ทรงพล ยมนาค
600327

18
10 ขั้นต่ อไปสู่ การใช้ BIM

จากการเริ่ มต้นด้วยการวางแผนการทํางานเป็ นขั้นตอนยังมีความจําเป็ นสําหรับการนําไปสู่ การใช้ BIM ในสาระ


ต่างๆที่ตอ้ งการวางรากฐานเพื่อความยัง่ ยืน ทัว่ ไปอาจจะไม่เห็นความสําคัญในเรื่ องที่กล่าวมามากนักโดยมุ่งสู่ การใช้
เครื่ องมือหรื อเทคนิคในด้านต่างๆเพื่อผลิตงาน สําหรับการทํางานแบบเดี่ยวไม่ตอ้ งการทํางานร่ วมหมู่หวั ข้อต่างๆนี้
อาจจะไม่เห็นความสําคัญ แต่เมื่อเริ่ มทํางานมากขึ้นสื่ อสารกับผูร้ ่ วมงานมากขึ้นจะส่ งผลต่อความล้มเหลวในการ
ทํางานได้เพราะไม่ได้วางพื้นฐานการพัฒนาและการสื่ อสารอย่างมีระบบ ประเด็นต่างๆที่ตอ้ งเตรี ยมการสําหรับ
องค์กรหรื อหน่วยงานที่ตอ้ งทํางานร่ วมกันมีความแตกต่างออกไปตามวัฒนธรรมการทํางาของแต่ละที่ท้ งั นี้ ตอ้ งมี
หลักยึดตามมาตรฐานการทํางานที่เป็ นสากลหมายถึงทุกคนทํางานร่ วมกันได้
ศึกษาศักยภาพที่มีอยู่
ในแต่ละองค์กรย่อมมีสถานการทํางานและระเบียบวิธีที่มีอยูก่ ารประเมินเบื้องต้นทําให้สามารถจัดเตรี ยมวิธีการ
ทํางานให้สอดคล้องกับความเป็ นจริ งที่เป็ นอยู่
• กระบวนการทํางาน สามารถรองรับการทํางานด้วย BIM หรื อต้องจัดรู ปแบบที่เหมาะสม
• วิธีการสื่ อสารเชื่อมโยง เพื่อติดต่อประสานงานผ่านระบบข้อมูลสามารถทํางานได้จริ งหรื อไม่?
• Hardware และ Software ที่มีอยูร่ องรับการทํางานในระดับที่ตอ้ งการหรื อไม่?
• ทักษะของบุคลากร มีความสามารถระดับใด
• มาตรฐานการเขียนแบบ มีการกําหนดระเบียบวิธีหรื อหลักการทํางานตามมาตรฐานที่อา้ งอิงได้
• วิธีการนําระบบมาใช้การทํางาน มีการสร้างกระบวนการอย่างไร?
พัฒนาแผนการใช้งาน
การปรับการทํางานตามศักยภาพที่มีอยูใ่ ห้เข้ากับการทํางานต้องการองค์ประกอบต่างๆเหล่านี้
• การวางเป้าหมายระยะสั้นและระยะยาว เป็ นแผนการทํางานที่ตอ้ งการแนวทางในอนาคตที่จะนําพาทีมไปถึง
เป้าหมาย
• กําหนดตัวชี้วดั สําหรับบุคลากร เป็ นความสําคัญในการพัฒนาให้ทีมสามารถรับรู ้ความสามารถในการทํางานและ
ผลงานที่ทาํ ขึ้นเมื่อเปรี ยบเทียบกับระบบเดิม
• แผนการพัฒนาเครื่ องมือการทํางาน เพราะเทคโนโลยีพฒั นาอย่างรวดเร็ วการสื่ อสารมีการปรับทุกเวลา การทํา
แผนการพัฒนาสามารถทําให้กาํ หนดงบประมาณในอนาคตและสอดคล้องกับการลงทุน
• แผนการพัฒนาความรู ้และฝึ กอบรม เป็ นพื้นฐานของบุคลากรที่รับรู ้เทคโนโลยีตอ้ งการเรี ยนรู ้เพิ่มเติมสิ่ งใหม่
เกิดขึ้นทุกๆวันสามารถนํามาใช้ให้งานมีคุณภาพมากขึ้น นอกจากการเรี ยนรู ้จากสื่ อทัว่ ไปแล้วการฝึ กอบรมยังช่วยให้
เข้าถึงประสบการณ์ได้อย่างดี
• การใช้ที่ปรึ กษาหรื อผูเ้ ชี่ยวชาญ เรื องของ BIM มีขอบเขตกว้างขวางต้องการผูร้ ู ้เฉพาะทางช่วยแนะนํา คนคน
เดียวไม่สามารถเรี ยนรู ้หรื อเชี่ยวชาญได้หมดทุกกระบวนการได้
• กําหนดโครงการทดลอง การใช้โครงการจริ งทํางานพร้อมเรี ยนรู ้เป็ นประสบการณ์ที่ทา้ ทายสําหรับทีมงาน โดย
เริ่ มจากโครงการที่ง่ายไปหายากจะสร้างความมัน่ ใจให้ทีมมากขึ้น

19
สร้างกระบวนการทํางานและมาตรฐาน
เนื่องจาการทํางานด้วย BIM แตกต่างจากการทํางานแบบเดิมอย่างสิ้ นเชิงจําเป็ นต้องสร้างวิธีการทํางานอย่างเป็ น
ขั้นตอนให้กบั ผูร้ ่ วมงานสามารถดําเนินงานร่ วมกันได้บนการสื่ อสารด้วยข้อมูลในระบบอิเลคทรอนิกส์
• กระบวนการสร้าง Model จะต้องมีระเบียบวิธีการทํางานที่ทุกคนสามมารถทํางาร่ วมกันด้วยการสื่ อสารใน
ข้อมูลเดียวกัน จากหน่วยหนึ่งไปสู่ อีกหน่วยหนึ่งนําไปใช้งานต่อยอดการทํางาน
• มาตรฐานการทํา File Sharing การสื่ อสารด้วยการแบ่งปันข้อมูลเป็ นพื้นฐานการทํางานที่ตอ้ งมีขอ้ ตกลง
เป็ นมาตรฐานร่ วมกัน
• ระเบียบวิธีในการสื่ อสาร การสื่ อสารด้วยข้อมูลในระบบอิเลคทรอนิกส์มี Software , File เกิดขึ้นมาเห
ลายประเภทที่ตอ้ งทํางานร่ วมกัน การ Update การกําหนดการเชื่อมต่อเป็ นขั้นตอนต้องมีการกําหนดไว้
• วิธีการประสานงาน การกําหนดหน้าที่และบทบาทการทํางานให้ผรู ้ ่ วมงานสามารถรับรู ้สถานะและขั้นตอนการ
ทํางานทําให้การดําเนิ นงานสามารถทําได้อย่างราบรื่ นเพราะมีการปรับปรุ งแก้ไขตลอดเวลาตั้งแต่เริ่ มงาน วิธีการ
ประสานงานที่ดีสามารถทําให้ลดข้อขัดแย้งในการทํางานได้
• สร้างมาตรฐานในการทํางาน Graphic การใช้ BIM เป็ นการทํางานร่ วมกันระหว่าง Graphic
Model และ Data การนําเสนอผลานออกมาทาง Graphic ต้องการเงื่อนไขที่แตกต่างจากการทํางาน
2D Graphic
• สร้างกระบวนการทํา Model Review การเสนองานพึ่งพาการแสดงผลทาง 3D เพื่อสร้างความเข้าใจใน
เนื้องานมากขึ้น วิธีการนําเสนอจึงต้องกําหนดเนื้ อหาสาระเป็ นขั้นตอนที่เหมาะตามจุดประสงค์
• สร้างคู่มือกระบวนการทํางานเพื่อบรรลุเป้าหมาย สิ่ งที่กล่าวมาแล้วจะต้องถูกระบุอยูใ่ นแผนของกระบวนการ
ทํางานเพื่อให้ทีมงานสามารถสื บค้นได้ระหว่างการทํางานรวมทั้งแผนภูมการทํางานและความรับผิดชอบในหน้าที่
เนื้องานเหล่านี้ตอ้ งถูกจัดเตรี ยมตั้งแต่เริ่ มแรกการทํางานและปรับให้สอดคล้องกับความต้องการและวัฒนธรรมของ
องค์กรนั้นๆ บางประเด็นอาจจะต้องปรับตามสภาวะของงานแต่ละประเภทซึ่ งไม่สามารถกําหนดให้ตายตัวได้ เป็ น
ขั้นตอนที่ผจู ้ ะบริ หาร BIM จะต้องนําไปปรับใช้ตามเหมาะสม
ทรงพล ยมนาค
600401

20
11 ต่ อเนื่องสู่ การใช้ BIM

เมื่อการวางรากฐานการทํางานได้ถูกกําหนดขึ้น มีสิ่งที่ตอ้ งเตรี ยมการอย่างต่อเนื่องก่อนเริ่ มงานจริ งอีกหลายอย่างเพื่อ


นําพาไปสู่ ความยัง่ ยืนและสามารถต่อยอดได้ เรามักจะเห็นปรากฏการณ์หลังจากการเรี ยนรู ้ในองค์กรในระยะเริ่ มต้น
บุคลากรก็แยกย้ายไปที่อื่นหรื อไม่มีคนผลักดันต่อด้วยเหตุผลนานาประการในที่สุดการลงทุนเครื่ องมือ การอบรม
ค่าแรงการทํางาน ศูนย์หายไปหมดในพริ บตาเป็ นเรื่ องที่เจ้าของสํานักงานเข็ดขยาดกับการใช้ BIM หรื อไม่กห็ า
เงื่อนไขอื่นที่ทาํ ได้เช่นจ้างทํางานเป็ นชิ้นซึ่ งเป็ นการศูนย์เสี ยทั้งโอกาสในการเข้าถึงการใช้งานจริ งและเพิ่มค่าใช้จ่าย
ของโครงการ ปั ญหาเหล่านี้ยงั วนเวียนอยูจ่ นกว่าการจัดตั้งการใช้ BIM ในสํานักงานได้เกิดผล สิ่ งที่เหมาะสมที่สุด
คือทุกคนที่มีหน้าที่ทาํ งานในกระบวนการสามารถทําได้ดว้ ยตัวเองตรวจสอบคุณภาพและสื่ อสารได้ดว้ ยความ
รับผิดชอบตามหน้าที่ การทํางานด้วย BIM จึงจะเกิดผลชัดเจน
การแบ่งปันความรู ้และการฝึ กอบรม
• พัฒนาการทีมด้วยการฝึ กอบรมจากภายนอกและภายในสํานักงานด้วยบรรยากาศของการเรี ยนรู ้และการแบ่งปั น
เป็ นไปไม่ได้ที่จะทําให้ทุกคนเรี ยนรู ้เท่าทันกันแต่การใฝ่ หาความรู ้ดว้ ยความกระตือรื อร้นหมัน่ ฝึ กฝนจะทําให้
ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ ว
• การฝึ กอบรมระดับผูบ้ ริ หารงาน จะต้องเข้าใจวิธีการบริ หารในระบบการทํางานแบบใหม่การตีความบนฐานการ
ทํางานใหม่ที่แตกต่างจากเดิม ผูบ้ ริ หารมักจะมองผลลัพธ์มากกว่าการบริ หารด้วยกระบวนการ การให้ความรู ้กบั
ระดับบริ หารจะเป็ นสิ่ งผลักดันให้เกิดความยัง่ ยืนในการทํางาน
• การฝึ กอบรมระดับผูป้ ฏิบตั ิงาน ต้องมีการฝึ กอบรมขยายผลของการเรี ยนรู ้จากหนึ่งไปสองจากเล็กไปสู่ ใหญ่ สร้าง
ความสนใจเพื่อดัดแปลงมาใช้ประกอบการทํางานให้มีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น
• การใช้ผเู ้ ชี่ยวชาญหรื อที่ปรึ กษา การนําความรู ้จากผูเ้ ชี่ยวชาญทําให้บรรลุเป้าหมายได้รวดเร็ วขึ้นด้วยการสร้างทาง
ลัดโดยการนําประสบการณ์มาใช้
• การสื่ อสารด้วยกระบวนการใหม่ การทํางานด้วยข้อมูลต้องการการสื่ อสารที่ถูกต้องบนระบบที่ได้วางไว้ซ่ ึ ง
แตกต่างจากการทํางานในระบบเดิม การสร้างกระบวนการสื่ อสารเป็ นรู ปแบบเฉพาะสําหรับการทํางาน
การพัฒนาสาธารณูปโภคของสํานักงาน
เมื่อพัฒนาการทํางานและบุคลากรทั้งระบบแล้วเครื่ องมือเป็ นสิ่ งอํานวยความสะดวกที่จะนําไปสู่ เป้าหมายรวมถึงการ
พัฒนาการจัดการให้สามารถดําเนินงานได้ การทํางานในยุคใหม่ตอ้ งการสิ่ งที่ทนั สมัยและนํามาใช้งานได้ทนั ทีผา่ น
สื่ อต่างๆ ตัวอย่างเช่น Content สําหรับประกอบการทํางานได้ถูกผลิตออกมาอย่างมากมายผ่านระบบ
อินเตอร์เน็ต การเชื่อมต่อจึงต้องการควบคู่ขณะทํางาตลอดเวลา หมายถึงต้องมีการ Upload และ
Download ในการทํางาน เครื่ องมือต่างๆจึงต้องพร้อมสําหรับการทํางาน
• Upgrade Production Hardware
• Upgrade Management Hardware
• Software Upgrade
ติดตามการทํางานโครงการ

21
การพัฒนาจะเกิดจากการทดลองใช้งานกับโครงการจริ งด้วยการทดสอบด้านต่างๆว่าสามารถนําไปใช้งานได้
หรื อไม่? การนําข้อสรุ ปและปัญหาในการทํางานมาปรับปรุ งกระบวนการทํางานพร้อมกับประเมินประสิ ทธิภาพ
ของทักษะในการทํางานของทีมจากผลงานของการสร้าง Model จะทําให้คุณภาพของการทํางานดีข้ ึนบนวิธีการ
ทํางานที่ได้วางไว้
• ทดสอบการทํางาน New Standard
• ทดสอบการทํางาน New Work Flows
• ทดสอบการทํางาน Staff Skill Set
• ควบคุมคุณภาพและตรวจสอบ Model
พัฒนาการทํางานอย่างต่อเนื่อง
ถึงแม้วา่ การวางหลักเกณฑ์ได้ถูกกําหนดและนํามาใช้งานได้แล้วยังต้องการพัฒนาต่อยอดต่อไป เมื่อบุคลากรเริ่ มมี
ทักษะมากขึ้นการกําหนดตัวชี้วดั การทํางานจะเป็ นเครื่ องมือช่วยในการพัฒนาการทีมอย่างมีประสิ ทธิภาพรวมถึงการ
บันทึกและการทํางานด้านอื่นๆ
• ตรวจสอบการทํางานด้วยตัวชี้วดั
• รายงานเอกสารการทํางาน
• พัฒนาการสื่ อสาร
• พัฒนา Work Flows & Standard
• พัฒนาการทํางานโครงการต่อเนื่อง
นําไปสู่ การทํางานเป็ นทีม
การกําหนดหน้าที่ความรับผิดชอบการทํางานให้กบั บุคลากรอย่างถูกต้องเป็ นการยกระดับการบริ หารงานในองค์กร
และยกระดับการทํางานโครงการซึ่ งเป็ นสิ่ งสําคัญ รวมถึงทีมงานที่มีความสามารถความรับผิดชอบที่สามารถ
ยกระดับการทํางานที่มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น การสร้างทีมต้องการความร่ วมมือและมองเห็นเป้าหมายในการทํางาน
ร่ วมกันตามขั้นตอนที่ได้วางไว้อย่างเป็ นระบบ
ที่กล่าวมาเป็ นกระบวนการเริ่ มต้นเพื่อนําไปสู่ การทํางานอย่างมีระบบ อาจจะไม่ได้กล่าวถึงวิธีการใช้เครื่ องมือทํางาน
ในรู ปแบบต่างๆ หรื อเทคนิคในการสร้าง BIM Model ซึ่ งหลายคนมุ่งไปแนวทางนั้นเพื่อไปสู่ BIM แต่ถา้
ขาดสิ่ งที่กล่าวมาเป็ นแนวทางที่จะสนับสนุนให้เกิดการทํางานรวมหมู่ซึงหมายถึงทุกคนทํางานร่ วมกันได้ ปัญหาที่
เกิดขึ้นบ่อยๆคือ "เราทําได้แล้วแต่คนอื่นยังไม่ทาํ ด้วย" ทําให้ติดขัดและเป็ นกําแพงที่ไม่สามารถทําลายได้ หัวข้อที่
กล่าวมาเป็ นประเด็นให้สามารถนําไปดัดแปลงใช้ตามสภาวะการขององค์กรนั้นๆ
ทรงพล ยมนาค
600408

22
23
12 มาตรฐาน หรื อ แนวทางในการทํางาน BIM

มีการกล่าวถึงแนวทางในการใช้งานด้านต่างๆเพื่อประกอบการทํางานไปสู่ ความสําเร็ จในการใช้ BIM อาจจะ


อ้างอิงถึงการใช้งานในต่างประเทศที่นาํ มาใช้กนั อย่างแพร่ หลาย การเริ่ มต้นสร้างวิธีการทํางานจะแตกต่างออกไป
ตามความต้องการของแต่ละพื้นที่และการใช้งานซึ่ งมีความแตกต่างกัน การนํามาเปรี ยบเทียบหรื อจับคู่จึงเป็ นเรื่ อง
ยากที่จะจําแนกแล้วนําไปใช้งาน แต่การทํางานด้วย BIM ต้องการแนวทางในการประสานงานเพื่อทํางานร่ วมกัน
และแนวทางในการสร้าง Model ที่สามารถส่ งต่อข้อมูลซึ่ งกันและกันในการทํางานแบบรวมหมู่ การแบ่งปันและ
ปฏิบตั ิงานบนมาตรฐานเดียวกันเพื่อทํางานร่ วมกันเป็ นสิ่ งจําเป็ น
มาตรฐานกับระเบียบวิธี
มาตรฐานการทํางานด้านต่างๆมีมากมายในยุคตั้งแต่การใช้ CAD จนถึงการสร้างงานบน Layer และสี
สัญลักษณ์และขยาดของเส้นสายในการเขียนแบบ ถึงแม้วา่ ก่อนนี้เราไม่เคยคํานึงเรื่ องนี้มากนักแต่ปัจจุบนั เมื่อการ
สื่ อสารในระบบดิจิตอลมีมากขึ้นการประมวลข้อมูลผ่านเครื่ องมือต้องใช้มาตรฐานเดียวกัน ในการทํางานของ
BIM ก็เช่นกันต้องใช้กระบวนการทํางานควบคู่กบั มาตรฐานเพื่อสื่ อสารถึงกันได้ ในกระบวนการทํางานต้องการ
ระเบียบวิธีที่สามารถรับรู ้ซ่ ึ งกันและกันในทีมงานเพราะเมื่อใช้ BIM เราต้องสื่ อสารกับผูร้ ับผิดชอบในหน้าที่อื่นๆ
เช่น ผูว้ า่ จ้าง ผูอ้ อกแบบด้านต่างๆ ผูร้ ับเหมาก่อสร้าง ผูบ้ ริ หารงานก่อสร้าง ถ้าทุกหน่วยมีแนวทางที่แตกต่างกันข้อ
ขัดแย้งต่างๆจะไม่สามารถนําไปสู่ การแก้ไขได้
ทํางานร่ วมกันด้วยมาตรฐาน
เราอาจจะเห็นมาตรฐาน BIM จากหลายๆแหล่งถูกสร้างขึ้นมาใช้งานในจุดประสงค์ที่แตกต่างกัน เราอธิ บายได้
ไหมว่าทําไมเขาเขียนขึ้นมาแบบนี้? เราใช้งานตามแบบที่เขากําหนดแล้วสามารถบรรลุเป้าหมายที่ตอ้ งการหรื อไม่?
ทําไมมีเงื่อนไขมากมายจนเข้าใจยากเหลือเกิน? เราเคยมีคาํ ถามแบบนี้บา้ งหรื อไม่? การเลือกใช้งานจึงต้องเข้าใจ
จุดมุ่งหมายในการสร้างแนวทางที่กาํ หนดไว้เสี ยก่อน ตัวอย่างเช่นการกําหนดใช้ LOD. วันนี้เราใช้มาตรฐานไหน
กําหนดในการใช้งาน? ของไทย หรื อ ของ AIA. หรื อของ BIM Forum ตัวย่างที่กล่าวมามีความแตกต่าง
กันและบางส่ วนเหมือนกันเลย แต่เงื่อนไขการจ้างทํางานถูกระบุไว้แล้วเช่นต้องส่ งงานที่ LOD.-300 สรุ ปว่า
ต้องเอามาตรฐานใดเป็ นการส่ งงาน? ความเข้าใจพื้นฐานเหล่านี้ ตอ้ งถูกกําหนดตั้งแต่เริ่ มต้นในการทํางานและตกลง
ให้ผรู ้ ่ วมงานทุกๆฝ่ ายทํางานร่ วมกันได้
ต้องใช้มาตรฐานอะไรบ้าง?
เราสามารถนําเอามาตรฐานต่างๆมาใช้ประกอบการทํางานจากแหล่งต่างๆ แต่ท้ งั นี้ จะต้องกําหนดเป้าหมายในการใช้
งานและจําแนกความต้องการของโครงการให้ชดั เจนซึ่ งนําไปถึงเงื่อนไขในการสร้าง Model และสาระที่จะต้อง
บรรจุลงไปนําไปสู่ กรอบการทํางานของโครงการอีกทั้งนําไปสู่ จุดสุ ดท้ายคือการบริ หารอาคาร การบริ หารทรัพย์สิน
หลังการส่ งมอบอาคาร การทํางานจึงไม่ได้หยุดที่การส่ งแบบเท่านั้น หัวข้อของแนวทางประกอบการทํางานอาจจะ
ยกตัวอย่างโดยสังเขปดังนี้
○ BIM Design Standards
○ Coordination Standards

24
○ Quantity Take-off Standards
○ Construction Planning Standards
○ Documentation Standards
○ Facility Management Standards
แนวทางที่ควรจะรับรู ้
ทุกวันนี้เราจําเป็ นต้องเรี ยนรู ้มาตรฐานการทํางานจากแหล่งต่างๆแล้วนํามาประกอบการทํางานแต่การรับรู ้ที่แตกต่าง
กันทําให้ไม่สามารถนําไปสู่ การประสานงานที่ดีได้ มาตรฐานจากต่างประเทศมีการปรับปรุ งตลอดเวลาเช่น ใน
ประเทศอเมริ กามี Nation BIM Standard V-3 ในประเทศอังกฤษใช้ BIM Level 2 ในปี นี้
BIM Forum ประกาศปรับปรุ งมาตรฐาน LOD. ทุกปี และอื่นๆ รายละเอียดที่พฒั นาขึ้นมาจากการใช้งาน
ของคนทํางานจากหลายแหล่งที่รวบรวมความเห็นเข้ามา BIM Standard จึงไม่หยุดนิ่งและมีแนวโน้มใหม่ที่
จะยกระดับไปอีกขั้นในเร็ วๆนี้ ดว้ ยการประสานงานบนฐานเดียวกันที่สามารถสื่ อสารร่ วมกันได้มากกว่าการใช้
IFC ซึ่ งอาศัยการประมวลผลบน Cloud หมายถึงการทํางานบนมาตรฐานเดิมอาจจะต้องปรับอีกครั้ง ขณะที่เรา
เพิ่งเริ่ มต้นใช้ BIM การพัฒนาของมันจะเปลี่ยนไปอีกขั้นแล้ว
การสร้าง BIM Standard หรื อ BIM Guideline ในหลายๆประเทศใช้เวลาหลายปี ในการจัดทําส่ วน
หนึ่งเกิดจากภาคเอกชนที่เห็นความสําคัญ บางประเทศเกิดจากรัฐบาลต้องการนําไปใช้กบั โครงการที่ใช้งบประมาณ
และการวางแผนงบประมาณรวมถึงการสร้างความโปร่ งใสในการทํางาน จุดประสงค์ของการสร้างจึงแตกต่างกัน
ทั้งหมดนี้อยูร่ ะหว่างการพัฒนาสู่ การใช้งาน การปรับปรุ งจึงมีข้ ึนตลอดเวลาการนํามาใช้งานจึงต้องศึกษาเงื่อนไข
และจุดประสงค์ของการสร้างและคุณภาพของคนและเครื่ องมือในการใช้งาน เราต้องการเรี ยนรู ้เรื่ องเหล่านี้ซ่ ึ งเป็ น
เรื่ องสําคัญที่จะบรรลุเป้าหมายในการทํางาน นอกจากวิธีการสร้าง Model เพียงอย่างเดียว
ทรงพล ยมนาค
600414

25
26
13 BIM Model ทํางานอย่ างมีมาตรฐาน

การสร้าง BIM Model สามารถทําได้จากเครื่ องมือที่เอื้ออํานวยในการทํางานได้หลายๆอย่างให้เกิดรู ปทรงตาม


ความต้องการของงานออกแบบแต่ละประเภท เทคนิคต่างๆนํามาประกอบการสร้างให้เกิดผลของงานตามต้องการ
ถ้าทํางานจากคนๆเดียวไม่ตอ้ งประสานงานกับผูอ้ ่ืน Model ที่ถูกสร้างขึ้นจะเป็ นไปตามความประสงค์ของเราเอง
ถึงแม้วา่ การแสดงภาพจะทําให้มีความเข้าใจดีข้ ึนก็ตาม แต่ BIM ต้องการใช้ขอ้ มูลที่บรรจุอยูใ่ น Element
ต่างๆของ Model นําไปทํางานต่อ การสร้างชิ้นงานจึงมีความจําเป็ นให้มีการกําหนดรู ปแบบในการทํางานที่
สามารถส่ งถ่ายข้อมูลกันได้จากหน้าที่หนึ่งไปสู่ อีหน้าที่หนึ่ง BIM ต้องการทํางานแบบรวมหมู่หรื อเป็ นทีม การมี
แนวทางในการทํางานร่ วมกันหรื อมีมาตรฐานอันเดียวกันจะทําให้ทีมสามารถบรรลุผลได้เป็ นอย่างดี
กําหนดในการใช้เครื่ องมือ
การใช้เครื่ องมือแต่ละโครงการจําเป็ นต้องมีการระบุให้ผรู ้ ่ วมงานทํางานบนเครื่ องมือที่เหมาะสมกับการทํางาน เพื่อ
กาทํางานร่ วมกันการใช้ Software ที่มี Version เดียวกันจะทําให้ปัญหาการส่ งต่อข้อมูลในการทํางาน
ร่ วมกันลดน้อยลง การแปลงไฟล์ไปยังสกุลอื่นๆจะมีปัญหาเรื่ องข้อมูลที่ส่งถ่ายไม่สมบูรณ์ถึงแม้วา่ จะมีการใช้ไฟล์
กลางเช่น IFC. ก็ตาม ข้อจํากัดของแต่ละ Software ก็ยงั แตกต่างกันออกไป การใช้ขอ้ มูลในการต่อยอดการ
ทํางานเช่น Coordination หรื อการทําประมาณการ การนําไปสร้าง Model อื่นๆก็ควรจะต้องพิจารณาให้
ดีต้ งั แต่เริ่ มต้นการทํางาน
ความละเอียดของเนื้องาน
ยังเป็ นสาระหลักของการสร้าง BIM Model ที่ตอ้ งรับรู ้ขนาดของความละเอียดของ Model ในแต่ละ
ขั้นตอน แต่อย่าลืมว่าความละเอียดของเนื้องานหรื อ LOD. ไม่ใช่ข้ นั ตอนของการส่ งงาน จะเป็ นการแสดงผลของ
Model 2D หรื อ 3D ของระดับการทํางานในระยะต่างๆที่เราบรรจุขอ้ มูลลงไปในพารามิเตอร์ และ
Information เพื่อนําไปใช้ประโยชน์ ระยะการทํางานนั้นเช่นงานออกแบบยังมีระยะแบบร่ างจนถึงแบบ
ก่อสร้างการกําหนดความละเอียดของข้อมูลในแต่ละหน้าที่ยงั มีระดับความละเอียดที่แตกต่างกัน การใช้มาตรฐาน
ของ LOD.ซึ่ งมีขอ้ กําหนดให้เลือกใช้อยูห่ ลายสํานักจะต้องนํามาใช้อย่างเหมาะสม การกําหนดระดับของความ
ละเอียดในแต่ละหน้าที่จึงมีความสําคัญในการทํางานสร้าง Model
โครงสร้างของไฟล์
ถึงแม้วา่ การสร้าง Model จะใช้เป็ นไฟล์เดียวก็ตามแต่การทํางานในแต่ละหน้าที่จาํ เป็ นต้องทํางานในหน้าที่ของ
ตนเช่นผูอ้ อกแบบแต่ละสาขาจะต้องรับผิดชอบในงานที่ตนกําลังออกแบบอยู่ การแบ่งโครงสร้างของไฟล์เป็ นส่ วนๆ
จะต้องมีการจัดวางให้เหมาะสม การทํางานที่เชื่อมโยงกันตลอดเวลาไฟล์ต่างๆจะต้องถูกจับมาวางซ้อนทับกันเพื่อ
ตรวจสอบความถูกต้องเพือ่ รับรู ้ปัญหาร่ วมกัน หรื อในงานที่มีขนาดใหญ่การสร้าง Model จะต้องแบ่งงานเป็ น
Model ย่อยหลายๆส่ วนแล้วจึงนํามาวางรวมกันในผังใหญ่ การจัดการโครงสร้างของไฟล์ที่ดีจะทําให้เรารับรู ้
ความก้าวหน้าในการพัฒนาของ Model ในแต่ละขั้นตอนเป็ นอย่างดี
วิธีการตั้งชื่อไฟล์และองค์ประกอบของชิ้นงาน
ระเบียบวิธีในการตั้งชื่อเป็ นองค์ประกอบสําคัญในการสร้าง BIM Model ที่ดี เนื่องจากการทํางานแบบรวมหมู่

27
มีผรู ้ ่ วมงานในหลายหน้าที่ วิธีการตั้งชื่อที่สามารถเข้าใจร่ วมกันจะลดข้อขัดแย้งในการทํางานและรับรู ้เงื่อนไขของ
ไฟล์น้ นั ๆจากชื่อ รวมทั้งชื่อของชิ้นงานที่เป็ นส่ วนต่างๆของอาคาร เมื่อนําไปประมวลผลทางด้านอื่นจะสามารถ
กรองข้อมูลไปใช้งานได้อย่างสะดวก เช่นการนําไปจัดการขั้นตอนการก่อสร้างจะต้องแบ่งชิ้นงานในแต่ละงวดงาน
เพื่อนําไประบุข้ นั ตอนการก่อสร้าง หรื อการเลือกชิ้นงานไประบุปริ มาณและกําหนดราคา นอกจากนั้นยังเกี่ยวโยงกับ
Code ต่างๆของชิ้นส่ วนอาคาร ในกรณี ที่ตอ้ งใช้งาน BIM Model สําหรับงานด้านอื่นๆมากกว่าทัศนียภาพ
การกําหนดชื่อไฟล์หรื อชื่อขององค์ประกอบมีระเบียบวิธีระบุไว้เป็ นมาตรฐานที่สามารถสื บค้นได้ถือเป็ น
ความสําคัญในการทํางาน
ข้อมูลแต่ละโครงการที่ใช้ร่วมกัน
ในโครงการที่แตกต่างกันมีเงื่อนไขที่หลากหลาย การระบุรายละเอียดของโครงการที่ตอ้ งบันทึกใน BIM
Model เพื่อนําไปประมวลผลทางการทํางานจะทําให้การเชื่อมโยงการทํางานมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น เช่นการ
กําหนดตําแหน่งหรื อพิกดั ของโครงการเกี่ยวพันไปถึงข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรื อทิศทางของแดดและลมสามารถจะนํา
ข้อมูลไปวิเคราะห์ความสัมพันธ์ดา้ นต่างๆได้ ข้อมูลของโครงการจะบุเป็ นตัวอย่างดังนี้
○ Project Name
○ Project Number
○ Project Location
○ Coordinate System
○ Unit and Measurement System
○ Drawing Standard
สําหรับการทํางานกับ BIM Model นั้นยังต้องการการเชื่อมโยงการทํางานและกระบวนการต่างๆประกอบกัน
ถึงแม้วา่ การทํางานด้วยการสร้างชิ้นงานด้วยระเบียบวิธีที่ใช้ร่วมกัน เรามักจะพบปั ญหาเสมอระหว่าการทํางานแต่ละ
โครงการที่แตกต่างกัน เราอาจมีผรู ้ ่ วมงานมากขึ้นที่ยงั ไม่สามารถเข้าถึงการทํางานในระบบนี้ การสนับสนุนการ
ทํางานร่ วมกันด้วยการแบ่งปั นและถ่ายทอดความรู ้ซ่ ึ งกันและกันจะทําให้การทํางานราบรื่ นยิง่ ขึ้น เพราะ BIM ต้อง
พึ่งพาการทํางานร่ วมกันและการประสานงานเป็ นหลัก
ทรงพล ยมนาค
600422

28
29
14 องค์ ประกอบใน BIM Content

นอกจากรู ปทรงและ Materials ที่บรรจุลงใน 3D Model แล้ว BIM มีองค์ประกอบของข้อมูล Information ที่เป็ น
Graphic และไม่ใช่ Graphic อยูใ่ นองค์ประกอบของชิ้นส่ วนที่ประกอบขึ้นเป็ นอาคารหรื อสิ่ งก่อสร้าง หรื อชิ้นงานที่
เป็ น 3 มิติ ข้อมูลเหล่านี้มี Parameters และ Attributes เป็ นส่ วนประกอบการทํางานอยู่ ในพื้นฐานของ Computer
aided design (CAD) สามารถบรรจุค่าของ Dimension ,Text , ลงใน Project ได้อยูแ่ ล้วแต่ในส่ วนของ BIM ยังมีการ
ใช้ Parameters เป็ นค่าตัวแปรที่สามารถควบคุมชิ้นงานได้มากกว่า ทําให้ทาํ งานทางการคํานวณและการวิเคราะห์ได้
มากขึ้น การทําความเข้าใจสิ่ งนี้จะทําให้สามารถต่อยอดการทํางานอย่างมีประสิ ทธิภาพ
Parameters และ Attributes
ชิ้นส่ วนของ BIM ที่ถูกสร้างขึ้นจะมีส่วนประกอบของข้อมูลที่ระบุรูปร่ าง ขนาด สี และค่าทางกายภาพบรรจุอยูเ่ รา
สามารถปรับค่าต่างๆด้วยการบันทึกเป็ นตัวเลข ตัวอักษร ค่าทางคณิ ตศาสตร์ รวมทั้งประเภทของวัสดุตามที่เรา
ต้องการ ขนาดรู ปทรงและเงื่อนไขที่บนั ทึกเปลี่ยนแปลงสามารถปรับรู ปทรงตามที่ระบุน้ นั Parameters เป็ นค่าตัว
แปรที่สามารถกําหนดพฤติกรรมขององค์ประกอบนั้น ที่เราพบอยูเ่ สมอคือการสร้างขนาดของประตู หรื อ หน้าต่าง
เป็ นตัวเลขตามชนิดที่ได้สร้างขึ้นแล้วระบุรายละเอียดของประตูหรื อหน้าต่างว่าประกอบด้วยอะไรเป็ น Attributes
ด้วย Text เราสามารถสร้างชนิดของชิ้นงานได้หลายๆขนาดในชิ้นเดียวด้วยการควบคุมของ Parameters นอกจากนี้
เรายังสามารถสร้าง Parameters ขึ้นใหม่ตามความต้องการโดยระบุเงื่อนไขของการใช้งานในแต่ละประเภทอีกด้วย
ทําให้การสร้างวัตถุที่มีขอ้ มูลบันทึกอยูน่ าํ ไปใช้งานได้หลากหลาย
ชนิดของ Parameters และ Attributes
การใช้ Parameters ขึ้นอยูก่ บั จุดประสงค์ของการใช้แต่ละประเภทของงานที่มีขอบเขตที่แตกต่าง หลายตัวนําไปใช้
งานทางด้านวิศวกรรมเช่น พื้นที่ ปริ มาตร และขนาดด้วยค่าตัวแปรนี้มีประเภทที่มีเงื่อนไขที่แตกต่างกันเช่น
○ Length : เป็ นตัวแปรที่กาํ หนดระยะหรื อความยาว
○ Area : เป็ นตัวแปรที่กาํ หนดพื้นที่ของวัตถุ เช่นสามารถนําไปใช้กบั การประมาณราคา
○ Angle : เป็ นตัวแปรที่กาํ หนดมุม องศา ของตําแน่งวัตถุ
○ Text : เป็ นตัวแปรที่กาํ หนดรายละเอียดของวัตถุดว้ ยการบันทึกเป็ นตัวอักษร
○ Boolean (yes/no) : เป็ นตัวแปรที่มีเงื่อนไขการใช้เช่น เปิ ด-ปิ ดการมองเห็นรู ปทรงต่างๆ
○ Number : เป็ นตัวแปรที่กาํ หนดเป็ นตัวเลขที่สามารถนํามาทําการคํานวณ
○ Integer : เป็ นตัวแปรที่กาํ หนดจํานวนทั้งหมดเช่นการนับจํานวน แตกต่างจากการใช้ Number
○ Hyperlinks : เป็ นตัวแปรที่กาํ หนดการ Link URL
การนํามาใช้งาน
งานออกแบบสามารถนําข้อมูล Parameters ประกอบการทํางานตลอดเวลาด้วยการ Report เป็ นตารางข้อมูลที่
แสดงผลเป็ นจํานวนหรื อเงื่อนไขต่างๆที่ได้ระบุไว้ในชิ้นงานนั้นนอกจากนี้ค่าทางกายภาพของวัตถุที่ได้กาํ หนดไว้
สามารถนําไปวิเคราะห์ทางด้านวิศวกรรม , พลังงาน และอื่นๆอีกมาก นอกจากนี้ความเชื่อมโยงของข้อมูลที่เป็ น
Parameter มีผลกับการเปลี่ยนแปลงขนาดรู ปทรงของวัตถุตามที่เราปรับแก้ทาํ ให้เรา Update ข้อมูลในสภาที่เป็ นจริ ง

30
ตลอดเวลาประกอบกับการใช้ในงานแบบก่อสร้างที่ทาํ ให้เรารับรู ้สภาพของงานได้ทนั ที นอกจากนี้ Parameter ยัง
เป็ นข้อมูลที่จะนําไปสู่ การเขียนโปรแกรม เช่นการใช้ C# ,Ruby ,Python ,Dynamo และอื่นๆอย่างต่อเนื่องเพื่อการ
วิเคราะห์ดา้ นต่างๆโดยใช้ค่าตัวแปรเหล่านี้
เนื้อหาที่กล่าวมาอาจจะเป็ นเรื่ องไม่สนุกนักสําหรับการสร้าง Model แต่เป็ นความสําคัญสําหรับการทํางานด้วย BIM
ที่ตอ้ งบันทึกข้อมูลอย่างถูกต้องเพื่อทํางานต่อ ถ้าเข้าใจว่า Data เป็ นทรัพย์สินสําหรับการทํางานแล้วสิ่ งนี้คือมูลค่า
มหาศาลสําหรับโครงการและคือความต้องการของเจ้าของอาคารซึ่ งไม่ได้ตอ้ งการ Model เพียงอย่างเดียว มีคาํ พูด
หนึ่งที่น่าสนใจของ John Adams, BIM Strategy ในบทความตอนหนึ่งของเขาระบุวา่
“Most clients don’t have much use for the 3D model; they need the project team to use models to create the data
they need to operate their asset.”
สําหรับความเข้าใจเรื่ องการใช้ Data ตลอดทั้งอายุของโครงการจําเป็ นต้องศึกษาและทําความเข้าใจถึงวิธีการทํางาน
และนํามาใช้งานให้เกิดผล
ทรงพล ยมนาค
600430

31
32
15 กระบวนการในการดําเนินงาน BIM

เมื่อเริ่ มต้นใช้ BIM มีความแตกต่างจากการทํางานดั้งเดิมด้วยการสร้าง Model และการจัดการข้อมูลทําให้ตอ้ ง


มีระเบียบวิธีในการทํางานที่มีมาตรฐานและเงื่อนไขเพื่อให้ทุกหน้าที่ทาํ งานร่ วมกันได้เพราะระหว่างทํางานจะมีการ
ส่ งถ่ายข้อมูลและแลกเปลี่ยน Model ที่พฒั นาการทํางานในแต่ละขั้นตอนตลอดเวลาเหมือนกับ Model มีชีวิต
และเคลื่อนไหวตามการพัฒนาการของการทํางานนั้นๆ จึงได้จดั ประเด็นโดยสังเขปเป็ นหัวข้อแบบย่อให้เห็นลําดับ
ขั้นตอนเพื่อนําไปสู่ การทํางาน ส่ วนรายละเอียดจะต้องขยายความอย่างกว้างขวางจึงไม่สามารถนํามาบรรจุไว้ อาจจะ
มีบางประเด็นที่ไม่สมบูรณ์นกั ก็ตาม เพราะความต้องการของแต่ละโครงการหรื อประเภทของการใช้งานแตกต่างกัน
ออกไป การนําประเด็นต่างๆมาใช้งานต้องการผูป้ ระสานงานและผูร้ ่ วมงานที่ตกลงร่ วมกันเพื่อความสําเร็ จในการ
ทํางานที่กาํ หนดเป้าหมายตั้งแต่เริ่ มต้นโครงการ
เตรี ยมการโครงการ BIM
○ เป้าหมายการทํางานด้วย BIM
○ องค์ประกอบการใช้ BIM
○ แผนการบริ หาร BIM
○ หน้าที่ความรับผิดชอบของผูใ้ ช้ BIM
กระบวนการในการร่ วมมือทํางาน
○ มาตรฐานในการร่ วมมือทํางาน
○ การทํางานบนมาตรฐาน
○ ตําแหน่งในการเริ่ มต้นโครงการ Project Base Point/Origin
○ องค์ประกอบของ BIM Coordination
○ วิธีการทํา Model Sharing
○ Folder Structure and Naming Conventions
○ การใช้พ้ืนฐานของเทคโนโลยี Hardware และ Software
○ การจัดเก็บ File และความปลอดภัย
○ ข้อตกลงในการปรับแก้ไข Model
การเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อทํางานร่ วมกัน
○ การจัดการส่ งถ่ายระหว่าง CAD/BIM
○ การใช้ Model ในการส่ งผ่านข้อมูล
○ การส่ งผ่านข้อมูลจาก Software ที่แตกต่างกัน
ระเบียบวิธีในการสร้าง Model
○ ความต้องการของการสร้าง Model
○ วางแผนกระบวนการในการสร้าง Model
○ การควบคุมคุณภาพของ Model

33
○ การจัดเตรี ยม Model ในแต่ละหน้าที่
○ การบริ หาร Model
○ วิธีการทํางานกับ 3D Model, Formats, และ Model Structures
○ การพัฒนาการของ Model และ Level of Development (LOD)
○ การทํา Model Sharing
○ การทํา Model Coordination
○ วิธีการส่ งงานด้วย Model
○ การส่ งถ่าย Model ในแต่ละหน้าที่
การทํางานในแต่ละขั้นตอน
○ ขั้นตอนการเริ่ มโครงการ
○ ขั้นตอนการออกแบบ
○ ขั้นตอนการก่อสร้าง
○ ขั้นตอนการส่ งงานเพื่อนําไปบริ หารอาคาร
วิธีและรายละเอียดในการส่ งงาน
○ การส่ ง BIM Model
○ การส่ งงานเป็ นไฟล์ประเภทต่างๆ CAD/Pdf./IFC.
○ การส่ งข้อมูลอาคาร
การทํางานกับเทคโนโลยีในยุคปั จจุบนั ซึ่ งมีการปรับเปลี่ยนตลอดเวลาต้องการกระบวนการควบคุมและแนวทางใน
การทํางานอย่างมีระเบียบแบบแผน บนความต้องการของตลาดในยุคใหม่ทาํ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมาย
เช่นมีการกล่าวถึงTechnology Disruption ,การเปลี่ยนแปลงจากเทคโนโลยีและการสื่ อสาร เป็ นที่การ
รบกวนไม่ข้ ึนกับระบอบเดิม ขึ้นกับความต้องการของคนใช้งานซึ่ งทําลายวิธีการทํางานในรู ปแบบเดิม อีกไม่นาน
ใครๆก็สามารถสร้าง Model ได้ดว้ ยเครื่ องมือง่ายๆ ไม่จาํ เป็ นต้องเรี ยนวิชาชีพเฉพาะสาขา อีกไม่นานทุกคน
เข้าถึงการทํางานด้วยภาพเสมือนจริ งในสัดส่ วน 1:1 อีกไม่นานหุ่นยนต์ตอ้ งทํางานร่ วมกับเราหรื อแทนเรา BIM
ได้ยกระดับไปถึงขั้น 2.0 แล้ว ก่อนถึงวันนั้นเราควรเตรี ยมตัวอย่างไร? ยังมีเวลาเหลืออีกหรื อไม่?
ทรงพล ยมนาค
600506

34
16 Computational Design

ในงานออกแบบยุคปั จจุบนั ซึ่ งต้องทํางานกับเครื่ องมือที่หลากหลายทําให้เราต้องเรี ยนรู ้หลายสิ่ งเพื่อนํามา


ประกอบการทํางาน เราอาจเคยได้ยนิ เรื่ องของ "parametric design", "algorithmic design",
"generative design" ก็ตามเรื่ องเหล่านี้ถูกนํามาใช้งานที่แตกต่างกันออกไป การทํางานนําไปสู่ การ
วิเคราะห์ทางด้านสามมิติมากขึ้นพร้อมกับการสร้างรู ปทรงที่มีความอิสระต้องการเครื่ องมือที่สามารถประมวลผล
และหาข้อสรุ ปที่เหมาะสมกับความต้องการเพื่อทางเลือกในการตัดสิ นใจที่ดีกว่า
Computational Design เป็ นวิทยาการทางคอมพิวเตอร์ เกี่ยวกับการออกแบบโดยใช้ท้ งั วิทยาศาสตร์
และศิลปะในการคํานวณเพื่อแก้ปัญหาในงานออกแบบ ซึ่ งมีความสัมพันธ์กบั งานสร้างสรรค์ การนําเสนอการ
วิเคราะห์ การประเมิน การปฏิสัมพันธ์หรื อการแสดงออกทางสุ นทรี ยภาพ ในการใช้งานจริ งและจินตนาการเพื่อการ
รับรู ้และสัมผัสได้
เครื่ องมือสําหรับการทํางาน
มีเครื่ องมือช่วยการออกแบบมากมายในตลาด เครื่ องมือส่ วนใหญ่เหล่านี้ทาํ งานร่ วมกับ Software
Platform ต่างๆ เช่น Microstation Rhino หรื อ Revit จะยกตัวอย่างให้เห็นบางเครื่ องมือที่มีการ
ใช้งานบ่อย
○ Generative Components คือรุ่ นแรกๆของเครื่ องมือออกแบบคํานวณ รุ่ นแรกที่เปิ ดตัวในปี
2003 และได้รับการจําหน่ายในปี 2007 Generative Components ทํางานร่ วมกับซอฟต์แวร์
Microstation บน Standalone Version
○ Grasshopper เป็ นเครื่ องมือออกแบบที่นิยมใช้มากที่สุดและใช้งานมายาวนาน เป็ นเครื่ องมือ
algorithmic modeling สําหรับการสร้างแบบจําลอง 3 มิติดว้ ย Rhino โดย Robert
McNeel and Associates Grasshopper เกิดขึ้นมากว่า 8 ปี และมี Node สําหรับการใช้
งานอย่างกว้างขวาง
○ Dynamo เป็ นเครื่ องมือ Visual Programing ที่ Autodesk นํามาเชื่อมโยงการทํางานกับ
Revit มีให้บริ การแบบ Free Version รวมทั้ง Standalone Version แบบชําระเงิน
Dynamo มีการใช้งานอย่างแพร่ หลายและมี Node ทํางานได้อย่างดี
○ Marionette เป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่จาก Vectorworks ถูกสร้างขึ้นโดยตรงใน Vectorworks
2016 Marionette สามารถทํางานข้าม Platform เพื่อทํางานทั้ง Mac และ Windows
○ Flux เป็ นระบบที่สร้างขึ้นมาจากห้องปฏิบตั ิการวิจยั ของ Google Flux มีลกั ษณะเฉพาะที่สามารถใช้
งานข้าม Platform โดยใช้ Web base interface สามารถนําข้อมูลมาใช้ร่วมกันระหว่าง
Application ได้ ตัวอย่างเช่น Conceptual Model ที่สร้างขึ้นใน Rhino สามารถนําเข้าไปใน
Revit ไม่วา่ จะเป็ น ผนัง ,ประตู สามารถส่ งข้อมูล Area ไปยัง Excel โดยใช้ Flux บน Web
Interface

35
ใช้กบั งานออกแบบด้านใดบ้าง?
การใช้ Computational Design ครอบคลุมการทํางานอย่างกว้างขวางด้วยการเขียนโปรแกรมและการ
คํานวณทางคณิ ตศาสตร์ นักออกแบบยุคใหม่นาํ วิธีการนี้มาใช้ประกอบการทํางานออกแบบและนําผลสรุ ปของการ
วิเคราะห์มาใช้งานหลายๆโครงการ ความสามารถนี้มีตวั อย่างการใช้งานดังนี้
○ สร้างรู ปแบบได้หลายทางเลือก : การใช้ Coding ทําให้สามารถสร้างการคํานวณที่แสดงรู ปแบบของงานได้
หลายอย่างเราอาจจะสร้างผนังหรื อรู ปทรงอิสระเดียวแต่มี Type ที่แตกต่างซึ่ งเราสามารถเลือก Type ที่
เหมาะสมที่สุดมาใช้งานด้วยการใช้ Visual Programing ทําให้เราสามารถสร้างงานได้อย่างดี
○ ใช้ขอ้ มูลเชิงลึกเชื่อมโยงการใช้งาน : การใช้ BIM ย่อมต้องมีขอ้ มูลของชิ้นงานที่ถูกบันทึกใน Model เช่น
ตัวอย่าง Parameters ต่างๆเราสามารถนําข้อมูลเหล่านั้นออกมาใช้งานสองทิศทางกับ Revit Model
ไปยัง Excel เมื่อข้อมูลนี้อยูใ่ น Excel เราสามารถแก้ไขได้แล้วนําเข้ากลับมาใช้งานของโครงการ ทั้งหมดนี้
สามารถทําได้จาก Dynamo Script
○ การทํางานซํ้า : ในการทํางานเราอาจจะพบกับการสร้างชิ้นงานเดิมหรื อการใช้วงจรการทํางานด้วยชุดคําสั่ง การ
ใช้การเขียนโปรแกรมสามารถช่วยให้การทํางานได้ดีข้ ึนเช่นการเขียน API หรื อการใช้ Dynamo ทํางานเพื่อ
ทํางานนั้นแทน
○ จําลองการออกแบบ : เราสามารถใช้เครื่ องมือมาประกอบการออกแบบเพื่อทดสอบว่าถูกต้องหรื อเหมาะสม
หรื อไม่ เช่นการสร้างรู ปทรงอิสระที่ตอ้ งปรับเปลี่ยนมิติให้สามารถทําการก่อสร้างได้หรื อสอดคล้องกับความ
ต้องการทางจินตนาการออกแบบด้วยการปรับ ยืดหด หรื อสร้างรู ปทรงที่แปรผันตามพื้นผิว เครื่ องมือจะช่วย
แสดงผลให้ตดั สิ นใจได้รวดเร็ วขึ้น
○ ระเบียบความคิดประกอบงานออกแบบ : ถึงแม้วา่ งานออกแบบอาจต้องการแนวคิดนอกกรอบด้วยการใช้ตรรกะ
และจิตนาการการใช้หลักติดที่เป็ นระบบมาใช้กบั งานด้วยการสร้างสมการทางการเขียนโปรแกรมทําให้ผอู ้ อกแบบ
สร้างประโยชน์ได้อย่างมากมาย การสร้างความคิดที่เป็ นระบบจะทําให้สามารถทํางานสอดคล้องกับวิทยาการที่
ก้าวหน้า
ด้วยเครื่ องมือที่สามารถเข้าถึงได้ง่ายกว่าการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาเครื่ องทําให้สามารถสร้างรู ปแบบการทํางาน
แบบใหม่อีกมากมายซึ่ งเป็ นสัญญานของคลื่นลูกใหม่ของเทคโนโลยีท่ีกระทบกับการทํางานโดยตรง การเข้าใจและ
เรี ยนรู ้ต้ งั แต่เริ่ มต้นคือความได้เปรี ยบและเปิ ดทางสู่ ตลาดใหม่ๆ
ทรงพล ยมนาค
600512

36
37
17 ความต้ องการสํ าหรับการใช้ BIM

การนํา BIM มาใช้งานเริ่ มต้นจากความต้องการของโครงการที่จะกําหนดเงื่อนไขการใช้งานที่ข้ ึนกับแต่ละ


โครงการมีความประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป นํามาถึงการสร้าง BIM Model ที่มีกรอบงานที่ชดั เจนสําหรับ
การรองรับผลที่ได้ บางคนอาจเข้าใจว่าจะใช้ BIM Model มาใช้งานได้สารพันก็ตามแต่มนั จะแสดงผลตามที่
เราบรรจุขอ้ มูลตามที่เราบรรจุไว้ต้ งั แต่เริ่ มต้นการทํางานอีกทั้งการทํางานที่เชื่อมโยงกันหลายๆหน้าที่ ข้อมูลพื้นฐาน
จะถูกนําไปใช้ต่อได้ดว้ ยการกําหนดร่ วมกัน การทํางานจึงต้องคํานึงถึงความต้องการนําไปใช้ขอ้ มูลต่อเนื่องกับ
ผูร้ ่ วมงานทุกฝ่ าย จะหยิบบางประเด็นในการกําหนดเงื่อนไขการทํางานเพื่อนําไปถึงการสร้าง BIM Model
ในช่วงงานออกแบบ
• สภาพของสถานที่ : ในงานออกแบบการทํางานไม่ได้อยูบ่ นพื้นที่ราบเรี ยบอย่างในเมืองเสมอไป สถานที่ที่แตกต่าง
เช่นความลาดชันหรื อบ่อนํ้าอาจจะเป็ นส่ วนประกอบของงานออกแบบ การใช้ค่าจากการรังวัดหรื อข้อมูลพิกดั ทิศ
เหนือใต้ ค่าระดับความสู ง จะต้องนํามาประกอบการทํางานสร้างพื้นผิวของสภาพของภูมิประเทศ นํามาสู่ การ
วิเคราะห์การออกแบบการตัดการถม การระบายนํ้า ทิศทางลมและแสงแดด และอื่นๆ
• ความต้องการใช้พ้นื ที่ : เป็ นเงื่อนไขความต้องการจากโครงการเพื่อสร้างพื้นที่ในส่ วนต่างๆของอาคารเป็ น
องค์ประกอบที่เกิดรู ปทรงตามการออกแบบที่มีเงื่อนไขเชื่อมโยงการติดต่อระหว่างกัน พื้นที่การใช้งานในอาคารจะ
เกี่ยวพันกับอุปกรณ์ที่บรรจุอยูใ่ นตําแหน่งต่างๆต้องสามารถนําข้อมูลเหล่านี้ออกมาใช้สาํ หรับการบริ หารอาคารหรื อ
การปรับเปลี่ยนในแต่ละช่วงของการทํางาน พื้นที่การใช้งานนอกจากจะเกี่ยวกับการเชื่อมโยงของหน่วยต่างๆตาม
ความต้องการเช่น ห้องทํางานกับทางเดินหรื อลิฟต์และบันไดแล้ว ยังต้องรับรู ้ถึงอุปกรณ์ที่ระบุไว้ในบริ เวณนั้นด้วย
เช่นตําแหน่งไฟฟ้า ท่อดับเพลิงอีกด้วย
• การแสดงผลทางวัสดุและผิว : ในองค์ประกอบอาคารวัตถุต่างๆจะถูกระบุตาํ แน่งและเงื่อนไขของมันในแง่ต่างๆ
ตามที่ผผู ้ ลิตอุปกรณ์น้ นั ได้ถูกสร้างขึ้นไม่วา่ พื้น เพดาน ท่อ เครื่ องทําความเย็น วัสดุที่ประกอบเป็ นชิ้นงานจะมี
คุณสมบัติและพื้นผิวตามวัตถุน้ นั ๆ การกําหนดเงื่อนไขจะมีผลกับการสร้าง Model ในความละเอียดของการ
ทํางานและนําไปสู่ การทํางานด้านอื่นๆที่ได้ระบุไว้ต้ งั แต่เริ่ มการทํางานและนําไปสู่ ขนาดของ Model อีกด้วยการ
กําหนด LOD ในแต่ละช่วงการทํางานของแต่ละหน้าที่จะทําให้ขอ้ มูลที่ระบุไว้สามารถใช้งานได้อย่างพอเหมาะ
• ผลในการมองเห็นเพื่อการวิเคราะห์ในการใช้สอย : BIM Model เป็ นเครื่ องมือสําหรับการแสดงผลเป็ น
รู ปภาพให้เกิดความเข้าใจได้ง่ายสําหรับการทํางานเป็ นทีม การแสดงผลสามารถนําไปใช้ได้อย่างมากมายด้วย
เครื่ องมือประกอบการทํางานด้านต่างๆที่แสดงภาพเสมือนจริ ง แต่การนําไปใช้ตอ้ งมีความเชื่อมโยงกับ Model
สําหรับการทํางานอีกด้วยการเก็บข้อมูลในการปรับเปลี่ยนหรื อแก้ไขจะถูกนําไปพัฒนา Model ต่อไปสู่ การ
วิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆ
• การตรวจสอบข้อกําหนดต่างๆ : การนํา Model ใช้งานยังต้องสามารถนําไปตรวจสอบด้วยเครื่ องมือตรวจสอบ
ข้อกําหนดสําหรับการทํางาน เช่นกฎหรื อระเบียบสําหรับอาคาร ด้วยการใช้เครื่ องมือสร้างเงื่อนไขในการตรวจสอบ

38
• การวิเคราะห์ทางวิศวกรรม : เราสามารถนํา BIM Model ไปใช้ในงานวิศวกรรมอีกหลายๆด้านด้วยการ
สร้าง Model ของ โครงสร้าง ระบบเครื่ องกล ประปา ไฟฟ้า ไม่เพียงแต่การแสดงผลเป็ นรู ป 3 มิติ แต่ยงั ไปทํา
การคํานวณสร้างการทดลองเสมือนจริ งเพื่อหาจุดที่เหมาะสมของการออกแบบ นํามาถึงการออกแบบการใช้อุปกรณ์
ต่างๆ ถือเป็ นหัวข้อใหญ่ในการทํางานสร้าง Model พร้อมกับการออกแบบเสมือนจริ ง
• การวิเคราะห์ทางด้านแสงสว่างและพลังงาน สภาวะแวดล้อม : การสร้าง BIM Model ต้องมีการกําหนด
ตําแหน่งไว้ตามพิกดั ของค่าทางภูมิศาสตร์ยอ่ มมีผลกับสภาพแวดล้อมทั้งหมด ค่าต่างๆที่ใช้กบั ภูมิศาสตร์สามารถ
นํามาวิเคราะห์แสดงการเคลื่อนไหวเสมือนจริ งประกอบงานออกแบบ เช่นค่าความร้อน ทิศทางและลักษณะของลม
ที่มีผลต่อรู ปทรงของอาคาร รวมถึงค่าพลังงานที่เกี่ยวข้องกับวัตถุที่ระบุค่าทางกายภาพที่วเิ คราะห์ได้
• การทําประมาณการและงบประมาณ : การรับรู ้มูลค่าอาคารที่ถูกออกแบบตั้งแต่เริ่ มต้นโครงการจะมีประโยชน์กบั
ผูล้ งทุนและผูอ้ อกแบบเพื่อปรับการทํางานให้สอดคล้องกับงบประมาณ การทํางานนี้จะควบคู่กบั การออกแบบใน
ระยะงานทุกๆช่วงเพื่อนําไปสู่ การตัดสิ นใจ ความละเอียดของ Model เนื้อหาที่บรรจุไว้จะต้องถูกกําหนดเป็ น
เงื่อนไขให้ผรู ้ ่ วมงานบรรจุขอ้ มูลที่ตอ้ งการสําหรับทํางานต่อได้
• การบริ หารทรัพย์สินและอุปกรณ์ : เป็ นระยะเวลาหลังจากการก่อสร้างเสร็ จที่จะนําข้อมูลไปทําการบริ หารต่อ แต่
ในทางกลับกันผูอ้ อกแบบจะต้องรับรู ้ความต้องการเพื่อการบริ หารตั้งแต่เริ่ มต้นโครงการว่าจะบริ หารอะไรบ้าง? จะ
ใช้งานแบบไหน? การเข้าถึงข้อมูลจะใช้ได้อย่างไร? การส่ งงานด้วย BIM Model เพียงอย่างเดียวพอ
หรื อไม่? การส่ งบัญชีทรัพย์สินที่มีขอ้ มูลอุปกรณ์ ผูผ้ ลิต รุ่ น และอื่นๆที่บรรจุอยูใ่ น BIM Model จะมี
ประโยชน์อย่างมหาศาลสําหรับการใช้อาคาร เงื่อนไขเหล่านี้ตอ้ งถูกระบุต้ งั แต่เริ่ มโครงการ
หัวข้อดังกล่าวอาจจะเป็ นเรื่ องที่คุน้ เคยสําหรับผูท้ ี่ทาํ งานด้านนี้มาก่อนแต่การกําหนดวิธีการทํางานที่มาจากความ
ต้องการของโครงการจะเป็ นเหตุผลในการสร้าง BIM Model ที่แสดงผลกับการทํางานได้ เรามักพบบ่อยๆว่า
ระหว่างการทํางานมีความต้องการเพิ่มจากที่ไม่ได้ตกลงตั้งแต่แรกเสมอ ขณะที่เราไม่ได้บรรจุขอ้ มูลไว้ทาํ ให้ตอ้ งย้อน
ไปทํางานจากต้นใหม่ ความเข้าใจที่คาดเคลื่อนนี้ทาํ ให้การใช้ขอ้ มูลไม่สามารถสร้างประโยชน์ให้แก่โครงการได้
ทรงพล ยมนาค
600520

39
40
18 สร้ างทีม-สร้ าง BIM

ปั จจุบนั เป็ นยุคเริ่ มต้นของการใช้ BIM มีหลายหน่วยงานมีโครงการจะนํามาใช้จึงเสนอขั้นตอนย่อๆเพื่อนําไป


ดัดแปลงใช้งาน ในยุคของ Digital Construction มีหลายอย่างที่ตอ้ งปรับระบบการทํางานที่มีข้ นั ตอนและเป็ น
มาตรฐานมากขึ้น หมายถึงการใช้ขอ้ มูล Information ที่มีอยูร่ อบตัวเราเพื่อนํามาใช้งานอย่างมีประโยชน์ รายละเอียด
ของแต่ละหัวข้อมีอีกมากมาย ก่อนเริ่ มต้นใช้ BIM จึงต้องประเมินศักยภาพของบุคลากรและวัฒนธรรมการทํางาน
ขององค์กรก่อนนํามากําหนดยุทศาสตร์ ในการทํางาน
○ ทําความเข้าใจกับผูบ้ ริ หารถึงเป้าหมายให้ชดั เจนเพื่อกําหนดนโยบายในการทํางาน
○ สร้างข้อตกลงเงื่อนไข หรื อกําหนดเป้าหมายชัดเจน
○ ทําแผนงานและติดตามความก้าวหน้าแล้วสรุ ปผลทีละขั้น
○ สร้างความพร้อมของ คน เครื่ องมือ และ อุปกรณ์
○ กําหนดคนทํางาน และ ตําแหน่ง ความรับผิดชอบ เส้นทางเดินของผลงาน
○ เริ่ มงานฝึ กอบรมเจ้าหน้าที่ผรู ้ ่ วมงานทีละขั้นจากกลุ่มเล็กไปสู่ กลุ่มใหญ่
○ ทดลองทํางานและประเมินผล คอยติดตามหาเหตุผล
○ นําข้อผิดพลาดมาพัฒนาการทํางานพร้อมกับการทํางานจริ ง
○ สรุ ปผลและวางเป้ าหมายที่ต่อเนื่องทีละขั้น
○ ทํางานจริ งแล้วเชื่อมโยงงานกับหน่วยต่างๆ
○ สรุ ปผลนํามาปรับปรุ งวิธีการทํางาน
○ ทํางานจริ งและขยายผลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
○ สรุ ปและประมวลผล หาข้อยุติ แล้วสร้างหลักการทํางานของตัวเอง
หัวข้อไม่มากแต่ทาํ ไม่ง่ายเพราะระหว่างการสร้างทีมจะมีปัญหาและอุปสรรค์ที่ตอ้ งปรับปรุ งตลอดเวลา ถ้าไม่มีหลัก
ที่ชดั เจนจะทําให้เกิดความล้มเหลวได้ ประสบการณ์ที่ผา่ นมาทําให้เห็นได้ชดั เจนว่านโยบายจากผูบ้ ริ หารที่ชดั เจนจะ
ทําให้ทีมบรรลุผลได้ ถึงแม้วา่ ที่ผปู ้ ฏิบตั ิงานจะมีความสามารถมากเท่าไรก็ตาม ในทีมงานก็เหมือนกันจะต้องแบ่งปั น
และสร้างความร่ วมมือมากกว่าสร้างกําแพงไม่ให้ผอู ้ ื่นทํางานร่ วมกันได้ เพราะ BIM ต้องทํางานเป็ นทีมด้วยการ
สื่ อสารข้อมูลที่นาํ มาใช้ร่วมกัน
ทรงพล ยมนาค
600528

41
19 กําหนดนโยบายเพื่อใช้ BIM

มีการกล่าวถึง BIM ออกไปในด้านต่างๆอย่างมากมายวันนี้ BIM มีความหมายมากกว่า Building ด้วย


แนวคิดของการใช้ขอ้ มูล Information ประกอบกับภาพจําลอง 3 มิติ ที่สามารถนําไปวิเคราะห์ได้ทาํ ให้งาน
สาขาอื่นๆก็นาํ ไปพัฒนาได้ งานทางด้านภูมิศาสตร์ ผังเมือง หรื อ สาธารณประโภค ก็สามารถนําแนวคิดไปทํางานได้
เช่น Smart City หรื องาน รถไฟฟ้า สายทางหรื อสถานีต่างๆ หรื อการจัดการพื้นที่เพาะปลูกการจัดการเรื่ องนํ้า
กรอบการใช้งานที่แตกแขนงออกไปอย่างกว้างขวางทําให้การนําไปใช้จะต้องมีการกําหนดเป้าหมายและนโยบายใน
การทํางานเพื่อผูป้ ฏิบตั ิงานดําเนินกิจการได้ตรงความต้องการ
ผูก้ าํ หนดนโยบาย
การนํา BIM มาใช้งานในองค์กรจะต้องมีการวางกรอบการทํางานที่ชดั เจนจากระดับบริ หารด้วยความเข้าใจที่
ชัดเจนเสี ยก่อน แน่นอนที่ผบู ้ ริ หารต้องการทราบระยะเวลาในการทํางานผลลัพธ์มากกว่าสิ่ งใด ในส่ วนผูป้ ฏิบตั ิงาน
ต้องทําแผนการทํางานให้สอดคล้องกับนโยบายที่กาํ หนดไว้ ด้วยความเข้าใจเรื่ อง BIM ที่ชดั เจนและต้องรู ้วา่ เป็ น
เรื่ องของการเปลี่ยนแปลงทั้งกระบวนการทํางาน ผูบ้ ริ หารจะต้องเรี ยนรู ้วธิ ี วางแผนเพื่อเข้าสู่ เป้าหมายเพื่อปรับเปลี่ยน
ทัศนคติการทํางานในระบบเดิมมาสู่ วธิ ีการทํางานใหม่ มากกว่านําการทํางานบนตําราเล่มเดิมมาตีความ ในขณะที่
ส่ วนผูป้ ฏิบตั ิงานพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนต้องการรับการสนับสนุนในการทํางาน การวางนโยบายที่ชดั เจนและมี
จังหวะก้าวจะเป็ นแรงผลักดันให้ไปสู่ ความสําเร็ จ
ความต้องการขององค์กร
รู ปแบบการทํางานในแต่ละธุรกิจมีความแตกต่างมีรูปแบบที่เป็ นของตัวเองและมีเป้าหมายที่ไม่เหมือนกัน
จําเป็ นต้องศึกษาความต้องการที่แท้จริ งเพื่อนําไปปรับกระบวนการทํางานที่จะเปลี่ยนแปลง การนําวิธีการทํางานที่
ไม่สอดคล้องจะทําให้ทิศทางในการพัฒนาเบี่ยงเบนออกไป งานออกแบบต้องการนําเสนอแนวคิดการออกแบบตาม
ความต้องการของผูว้ า่ จ้าง การนําเสนอด้วยสื่ อต่างๆจะต้องทําให้ผวู ้ า่ จ้างตัดสิ นใจด้วยความเข้าใจเนื้องานมากขึ้น
วิธีการทํางานจะต้องถูกสร้างขึ้นตามนโยบายและร้อยเรี ยงความต้องการขององค์กรมาเป็ นวิธีการทํางานที่ใช้
เครื่ องมือทางเทคโนโลยีมากขึ้น
เป้าหมายของการใช้ BIM
ในการนําความสามารถของ BIM มาใช้จะต้องถูกกําหนดตั้งแต่เริ่ มต้นโครงการทั้งนี้จะมีผลกับการทํางานทั้ง
ระบบ ส่ วนใหญ่มกั จะพบว่าเราใช้ BIM ในการทํา Visualization และการทํา Clash Detection
การสร้าง BIM Model สําหรับการทํา Visualization จะไม่สามารถนํามาใช้กบั การทํา Clash
Detection ได้อย่างสมบูรณ์เพราะมี Dump Object ที่ไม่ได้ระบุขอ้ มูลหรื อเป็ นเพียงส่ วนประกอบใน
ทัศนียภาพ ความชัดเจนในการทํางานจึงต้องจัดวางตั้งแต่เริ่ มงานเพื่อสร้างวิธีการทํางานตามเป้าหมายนั้นๆ
กรอบเวลาและลําดับการพัฒนา
กําหนดการจะต้องจัดวางเพื่อสร้าแผนการทํางานตามลําดับขั้นการพัฒนาและเป็ นตัวชี้วดั ประสิ ทธิภาพในการทํางาน
การติดตามผลงานกับกรอบเวลาจะถูกนํามาปรับปรุ งวิธีการทํางานอย่างต่อเนื่อง การสร้างกรอบเวลาการทํางาน
จะต้องอยูบ่ นความเป็ นจริ งตามความสามารถในการผลิตผลงาน

42
ผลลัพธ์ของการพัฒนา
ในระยะเวลาแห่ งการปรับเปลี่ยนต้องการผลการทํางานที่เปรี ยบเทียบกับวิธีการดั้งเดิมที่ทาํ มา การติดตามผลการ
ประเมินการทํางาน การหาคนที่เชี่ยวชาญเพื่อจัดวางในตําแหน่งที่เหมาะสม จะทําให้การพัฒนาไปสู่ ผลสําเร็ จและ
ยัง่ ยืนมากกว่าการมองที่ผลลัพธ์เพียงอย่างเดียว
แนวคิด
การเปลี่ยนแปลงเพื่อไปสู่ BIM มีตวั เหนี่ยวรั้งมากมายตั้งแต่กระบวนการทํางาน การเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การ
เชื่อมต่อข้อมูล แต่ประเด็นใหญ่คือการเปลี่ยนทัศนคติในการทํางานเพื่อการเปลี่ยนแปลง ผูบ้ ริ หารจะต้องเป็ นผู ้
กําหนดนโยบายอย่างชัดเจน วางตําแน่งของคนทํางานที่มีความสามารถเปลี่ยนแปลง และผูท้ ี่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลง
ได้ ช่วยผลักดันกรอบการทํางานทีละขั้นตอนด้วยการติดตามผลและนํามาปรับทีละขั้นเริ่ มจากกลุ่มย่อยไปสู่ กลุ่ม
ใหญ่ ถึงแม้วา่ เราเป็ นเจ้าของ Software ที่ซ้ื อมาเรายังต้องเป็ นเจ้าของกระบวนการทํางานโดยใช้ BIM ที่
องค์กรของเราได้ถูกสร้างขึ้นอีกด้วย
ทรงพล ยมนาค
600604

สถาปนิกใหญ่ผมู ้ ีรสนิยมทางความงานอย่างสู ง มีความสนใจสอบถามถึงเรื่ อง BIM และถามถึงข้อเปรี ยบเทียบ เลย


ขอเล่าให้ฟังง่ายๆว่า สมัยก่อนที่ผมเห็นท่านเขียนแบบ เสี ยงลากไม้ทีและการกระทบกันของการพลิกเสกล พร้อมกับ
สมาธิ ที่เพ่งลงบนกระดาษใข ท่านลากเส้นทุกเส้นมีความหมาย ตามจินตนาการด้วยการให้น้ าํ หนักจากมือของท่านที่
บรรจงและดื่มดํ่าด้วยสุ นทรี ย ์ ท่านบรรจุขอ้ มูลหลายอย่างบนเส้นร่ างนั้นแล้วแสดงเป็ นภาพต่างๆตามการออกแบบที่
เป็ นเอกลักษณ์ของท่าน การถ่ายทอดจินตนาการจากสมองสั่งตรงมาที่มือจนถึงการลากเส้น เพื่อให้ผอู ้ ื่นได้อ่าน
ความคิดของท่านจาก แปลน รู ปด้าน รู ปตัด แต่ปัจจุบนั จินตนาการนั้นสร้างผ่านสมองมาที่มือควบคุมคอมพิวเตอร์
เพื่อสร้างภาพเสมือนจริ งที่บรรจุขอ้ มูลตามที่สมองได้กาํ หนดไว้ ภาพที่เกิดขึ้นจึงทําให้คนทัว่ ไปสามารถเข้าใจผลงาน
ออกแบบโดยง่ายพร้อมทั้งข้อมูลที่สามารถเรี ยกดูได้ทนั ทีส่งต่อเนื่องในระบบดิจิตอล สิ่ งนี้คือขั้นต้นของความเข้าใจ
เรื่ อง BIM การกําหนดเงื่อนไขการทํางานตั้งแต่เริ่ มต้นคือกรอบที่เจาะจงถึงความต้องการ เพราะการสร้าง BIM
Model สามารถทําให้เกิดผลอย่างกว้างขวางไม่สิ้นสุ ด ความจริ งแล้วการทํางานยังเหมือนเดิมแต่วิวฒั นาการด้วย
เครื่ องมือทางเทคโนโลยี การลากเส้นด้วยมือจากจินตนาการของสมองยังมีความหมายในการสร้างสรรค์
ด้วยหลายท่านที่ทาํ งานด้านต่างๆติดตามบทความ และสนใจเรื่ องของ BIM มากขึ้นหวังว่าคําอธิ บายนี้คงจะทําให้ทุก
ท่านเข้าถึง BIM ไม่มากก็นอ้ ย

43
44
20 ข้ อตกลงและความรับผิดชอบเมื่อเริ่มใช้ BIM

มักจะพบบ่อยในระหว่างการทํางานมีประเด็นของงานเพิ่มโดยไม่ได้ถูกกําหนดให้ทาํ ตั้งแต่เริ่ มแรก เมื่อการทํางานได้


เดินทางมาระยะหนึ่งผลงานที่ออกมาทําให้มองเห็นได้วา่ มีคุณภาพและสาระที่เกินความต้องการจึงมีสมมุติฐานใหม่
ให้ทาํ ในสิ่ งที่มากกว่าเดิมโจทย์ใหม่ได้ถูกกําหนดขึ้นมาทันทีทาํ ให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานซึ่ งอยากแสดงความสามารถสนอง
ความต้องการนั้น แต่โจทย์ใหม่ยงิ่ มีข้ ึนเรื่ อยๆความกังวลจะกลับมาสู่ ผปู ้ ฏิบตั ิงานมากขึ้นเพราะไม่ได้เตรี ยมการ
รองรับผลก็คืองานที่จะต้องส่ งตามเป้าถูกตัดทอนลงและไม่ได้ตามแผนที่วางไว้ส่งผลถึงความล้มเหลวในการทํางาน
เพราะการแสดงผลจากการใช้ BIM เกิดจากการบรรจุขอ้ มูลลงในภาพจําลอง 3 มิติแล้วนําข้อมูลมาใช้ต่อซึ่ งข้อมูลมี
อยูม่ ากมาย ถ้าบรรจุเท่าไรก็สามารถนํามาใช้ได้เท่านั้น เราจึงต้องรับทราบจุดประสงค์การใช้งานตั้งแต่เริ่ มต้นเพื่อ
เตรี ยมการสําหรับนําส่ งงานได้
ตกลงก่อนเริ่ มงาน
ข้อตกลงตามเงื่อนไขจากความต้องการใช้ BIM สาระในข้อตกลงควรระบุเนื้อหาของการนําไปใช้งาน ข้อมูลความ
ต้องการของการใช้ BIM จะถูกกําหนดจากผูว้ า่ จ้างโดยมีเนื้อหาจากเป้าหมายการทํา BIM เพื่อนําไปสู่ ส่ิ งใดบ้างเช่น
ใช้ประกอบการออกแบบเท่านั้น การสร้าง BIM Model ก็จะถูกสร้างขึ้นมารองรับการทดสอบเพื่ออกแบบไม่ได้
นําไปสู่ การนําไปบริ หารอาคารซึ่ งต้องมีขอ้ มูลที่ระบุถึงขั้นละเอียด ระบุคุณสมบัติของอุปกรณ์ที่ถูกสร้างขึ้น เนื้อหา
เหล่านี้จะนําไปบรรจุในแผนการทํางาน (BIM Execution Plan) เสมือนกับการตกลงร่ วมกันก่อนเริ่ มงาน
พันธะสัญญาในการทํางานร่ วมกัน
ข้อตกลงที่ได้ถูกสร้างขึ้นทําให้ทุกๆฝ่ ายเข้าใจเป้าหมายการทํางานร่ วมกันในแต่ละขั้นตอนของการทํางานตั้งแต่เริ่ ม
โครงการ การออกแบบ และการก่อสร้าง ตลอดจนถึงการบริ หารอาคาร ข้อมูลอาคารที่ถูกประมวลผลตามขั้นตอน
ต่างๆจะถูกจัดเรี ยงอย่างถูกต้องบนฐานความรู ้ที่เป็ นหนึ่งเดียวสําหรับผูร้ ่ วมงานทุกๆฝ่ าย ข้อมูลต่างๆจะนําไปใช้
สําหรับผูร้ ับผิดชอบในหน้าที่ต่างๆอย่างถูกต้องด้วยการรับรู ้และผูกพันในการทํางานที่เป็ นเจ้าของข้อมูลร่ วมกัน
ความรับผิดชอบของผูร้ ่ วมงาน
การเป็ นเจ้าของข้อมูลหรื อ BIM Model ในแต่ละหน้าที่ยอ่ มประกอบด้วยความรับผิดชอบในหน้าที่น้ นั ๆ ในแต่ละ
ช่วงของการทํางานย่อมมีการปรับปรุ งแก้ไขเพิ่มเติมตลอดเวลา อีกทั้งผลกระทบที่มีต่อหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องการ
ทํางานจึงต้องเข้าใจถึงเป้าหมายและผลสุ ดท้ายคือการส่ งงานตามเป้าหมายที่ได้วางไว้ เพราะการใช้ BIM ต้องการ
ทํางานเป็ นทีมที่เป็ นหนึ่งเดียว การออกนอกกรอบการทํางาน การล่าช้าต่อแผนที่ถูกกําหนดไว้ หรื อความไม่
รับผิดชอบในหน้าที่ เป็ นตัวเหนี่ ยวรั้งการทํางานทั้งหมดส่ งถึงผลเสี ยทั้งโครงการ ความรับผิดชอบจะถูกกําหนดใน
เงื่อนไขข้อตกลงอีกด้วย
เมื่อเริ่ มต้นด้วยการใช้ BIM ไม่ได้เพียงเปิ ดเครื่ องแล้วสร้าง Model เพียงอย่างเดียวถ้าต้องการทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่น ถ้า
ต้องการใช้ขอ้ มูลตลอดโครงการ ถ้าต้องการใช้ประโยชน์สูงสุ ด การทํางานเพียงคนเดียวอาจจะไม่สามารถไปถึงจุดที่
ต้องการได้ แต่จะทําอย่างไรให้คนอื่นสามารถทํางานร่ วมกับเราได้การเชิญผูร้ ่ วมงานหลายๆฝ่ ายมานัง่ ตกลงบนโต๊ะ
ประชุมไม่ใช่เรื่ องง่ายนักถ้าทุกคนไม่สามารถเข้าใจเป้าหมายหรื อเห็นประโยชน์ร่วมกัน การสร้างข้อตกลงและทํา
แผนร่ วมกันเป็ นสิ่ งที่จาํ เป็ นสําหรับการเริ่ มต้น

45
ทรงพล ยมนาค
600610

สําหรับผูต้ ิดตามเรื่ อง BIM ที่ เป็ นส่ วนหนึ่ งของโลกในยุค 4.0 การสร้างความเข้าใจแบบง่ายๆเป็ นสิ่ งจําเป็ น เพราะมันจะเข้ามามีส่วนหนึ่ งของชี วิต
โดยตรง ทุกวันที่เราใช้ Fb เราใช้ Line เท่ากับได้เข้ามาใช้ Information อย่างเต็มที่อยูแ่ ล้ว เรารับรู ้ภาพ เสี ยง ข่าวสารที่ทนั ท่วงทีที่มีเหตุอย่าง
Real Time แนวคิดแบบนี้ถูกนํามาบรรจุในชิ้นส่ วนของอาคารที่ถูกจําลองขึ้นมาในคอมพิวเตอร์ ที่คุณสามารถสัมผัสได้ แต่การที่จะนําไปสู่ สิ่งเหล่านี้
ต้องมีขอ้ กําหนดและตกลงกันเพื่อทํางานในการใช้ขอ้ มูลให้ถูกต้องก่อนเสมอ เราอาจจะพบกับภาพที่ ไม่เหมาะใน Fb วันดี คืนดีก็มีคนไม่รู้จกั เข้ามา
รบกวน เหล่านี้แหละที่ไม่ไม่ขอ้ ตกลง ไม่มีวนิ ยั สําหรับการใช้ขอ้ มูล ผมอธิบายแค่น้ ีก่อน อธิบายยาวไม่ได้เพราะเพื่อนเขาบอกว่าสมาธิส้ ัน..

46
21 ข้ อมูลกับการเชื่ อมโยงเพื่อทํางานร่ วมกัน

เมื่อทํางานกับ BIM การใช้ขอ้ มูลเป็ นเรื่ องหลักในการประสานงานกับผูร้ ่ วมงานหน้าที่ต่างๆ ยังมีขอ้ ถกเถียงอีกหลาย


ประเด็นในการใช้ขอ้ มูลและการส่ งต่อจากหน้าที่หนึ่งไปอีกหน้าที่หนึ่งในรู ปแบบของไฟล์ประเภทต่างๆ เราไม่
สามารถกําหนดให้ทุกคนใช้เครื่ องมือเดียวกันได้ การทํางานในแต่ละด้านต้องการเครื่ องมือในการวิเคราะห์หรื อการ
คํานวณที่เฉพาะทางที่เหมาะสม ไม่มีเครื่ องมือใดที่มีความสามารถได้ทุกด้าน ผูผ้ ลิตเครื่ องมือจะสร้างให้มี
ความสามารถเฉพาะทางเท่านั้น ในโครงการหนึ่ งจึงต้องใช้เครื่ องมือหลายอย่างทํางานร่ วมกันด้วยการส่ งต่อข้อมูล
เริ่ มต้นที่ขอ้ มูล
การใช้ BIM ได้ระบุถึงการบรรจุขอ้ มูลลงในภาพจําลอง 3 มิติเพื่อนําไปทํางานด้านต่างๆ ตั้งแต่เริ่ มต้นโครงการเรามี
ข้อมูลที่ใช้ประกอบการทํางานมากมาย ข้อมูลที่เป็ นเอกสาร , ข้อมูลภาพ , ข้อมูลที่เป็ น Graphic และอื่นๆ Element
ใน Model ย่อมมีองค์ประกอบของวัตถุหลายๆอย่างที่มีคุณสมบัติที่แตกต่างกันอยูใ่ นนั้น การระบุขอ้ มูลลงไปในส่ วน
ต่างๆแล้วนําไปประกอบขึ้นเป็ นอาคารเป็ นงานแรกที่ทุกหน้าที่ตอ้ งรับรู ้ ทุกครั้งที่เริ่ มโครงการจึงต้องระบุการใช้งาน
ในระดับต่างๆของข้อมูล เราต้องการใช้ BIM ในขั้นใดบ้างเงื่อนไขในการสร้าง Model จึงแตกต่างกันออกไป เราจึง
เห็นว่ามีการกําหนด LOD.ในแต่ละขั้นตอนการทํางานเพื่อให้ทุกฝ่ ายเข้าใจสถานะในการสร้าง Model ที่มีขอ้ มูลที่
สามารถทํางานร่ วมกันได้
การส่ งถ่ายข้อมูลระหว่างกัน
ตั้งแต่เริ่ มต้นโครงการผูร้ ่ วมงานในแต่ละด้านย่อมต้องรับผิดชอบในงานของตนจึงเกิด Model ในด้านต่างๆเช่น
Architectural Model , Structural Model , MEP Model ซึ่ งเป็ นงานที่ตอ้ งทําร่ วมกันข้อมูลต่างๆของแต่ละฝ่ ายจะถูก
นําไปวิเคราะห์และมีการปรับปรุ งตลอดเวลาการออกแบบ ในหลักการแล้วการส่ งถ่ายข้อมูลควรจะต้องทําได้อย่าง
สมบูรณ์ แต่ความเป็ นจริ งไม่ใช่อย่างนั้น Software ต่างค่ายไม่สามารถส่ งต่อข้อมูลถึงกันได้ 100% หรื อถ่ายทอด
ข้อมูลไปกลับซึ่ งกันและกันได้สมบูรณ์ ในทางปฏิบตั ิผรู ้ ่ วมงานแต่ละฝ่ ายต้องมีการตกลงร่ วมกันถึงวิธีการส่ งต่อ
ข้อมูลในแต่ละขั้นตอนการทํางาน เช่นการใช้ IFC (Industry Foundation Classes) เป็ นตัวกลางในการส่ งถ่ายด้วยการ
กําหนดข้อมูลหลักที่สามารถส่ งถึงกันได้ หมายความว่า IFC ก็ยงั ไม่สามารถส่ งถ่ายข้อมูล Data Typeได้สมบูรณ์เช่น
กั้น วิธีการทํางานจึงต้องจัดวางเพื่อให้สามารถนําข้อมูลที่มีความสําคัญที่นาํ ไปทํางานได้รวมถึงการวางแผนการใช้
ข้อมูลในการปรับแก้ไขงานแต่ละครั้งที่ประกอบด้วย Electronic Document ที่ทุกคนสามารถเปิ ดดูได้ดว้ ยการควบคุม
Version Software ,File Type และอื่นๆ
การบันทึกและการเป็ นเจ้าของข้อมูล
การทํางานด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้ไฟล์อิเล็กทรอนิคมีความอ่อนแอในการถูกรบกวนด้วย ไวรัส และความเสี ยหาย
ทางกายภาพ รวมทั้งการใช้งานที่ผดิ ประเภท หลังจากการส่ งมอบอาคารเพือ่ ไปบริ หารต่อจําเป็ นต้องมีการจัด
เตรี ยมการเก็บข้อมูล การ Update Version , แหล่งที่เก็บและอายุการใช้งาน เช่นการเก็บบน Hard Drive หรื อ CD. ถ้า
เราต้องการข้อมูลตลอดอายุของอาคารการบันทึกข้อมูลจะมีการเปลี่ยนแปลงทุกครั้งที่เราเปิ ดใช้งาน ข้อมูลที่ Update
สําหรับการใช้งานต้องจัดวางให้สามารถสื บค้นได้ อีกประเด็นหนึ่งคือข้อมูลบางอย่างไม่ได้ถูกบันทึกลงใน Model
ได้ท้ งั หมด เช่นคู่มือการใช้งาน , สัญญา , เงื่อนไขข้อกําหนด ข้อมูลเหล่านี้จะต้องจัดเก็บเป็ นหมวดหมู่ประกอบกับ

47
การใช้ BIM Model ในทุกข้อมูลที่มีการบันทึกต้อมีผรู ้ ับผิดชอบหรื อเจ้าของข้อมูลนั้น ตั้งแต่การออกแบบ การ
ก่อสร้าง จนถึงการส่ งมอบงาน BIM Model และข้อมูลเหล่านี้ถูกสร้างเป็ นโครงการถือได้วา่ เป็ นทรัพย์สินทางปั ญญา
เมื่อทุกอย่างเป็ น Electronic Document ที่ทาํ งานบนคอมพิวเตอร์สามารถส่ งผ่านระบบอินเตอร์เน็ตหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่
จะกล่าวถึงถึงความเป็ นส่ วนตัว ความเป็ นเจ้าของข้อมูล ความปลอดภัยของข้อมูล การมีจริ ยธรรมของการใช้ขอ้ มูล
วิธีการนําไปทําซํ้าหรื อลอกเลียนดัดแปลง จะต้องเป็ นข้อตกลงในการทํางานตั้งแต่เริ่ มงาน ทุกครั้งที่มีการ
ประสานงานการ Share เป็ นสิ่ งสําคัญที่ทาํ ให้ผอู ้ ื่นทํางานต่อได้ ข้อมูลและวิธีการทํางานที่ถูกบันทึกลงใน Model ถือ
ได้วา่ เป็ นทรัพย์สินทางปัญญาของผูท้ ี่สร้างขึ้นมา การนําไปใช้อย่างอื่นควรได้รับการอนุญาติจากเจ้าของก่อนเสมอ
การแบ่งปันให้ผรู ้ ่ วมงานก็ยงั ต้องทําอยูต่ ลอดระยะเวลาของโครงการจริ ยธรรมในการทํางานและข้อตกลงจึงเป็ น
ความสําคัญ
ทรงพล ยมนาค
600617

48
49
22 ความเคลื่อนไหวของ BIM

ใกล้สิ้นเดือนที่ 6 ของปี 2560 มีอะไรที่เกิดขึ้นกับ BIM บ้าง? กลับมาทบทวนในภาพที่ได้เห็นและได้สัมผัส ซึ่ งอาจจะ


ไม่ได้กว้างขวางหรื อครอบคลุมทั้งหมดก็ได้ แต่ติดตามปรากฏการณ์ต่างๆเพื่อหาคําอธิ บายสําหรับการเตรี ยมตัวใน
การทํางานต่อไป ขณะที่เราได้เห็นการเติบโตทีละขั้นของงานด้านออกแบบก่อสร้างกับโครงการใหญ่ๆเราจะรู ้ได้
ไหมว่าเขาใช้ BIM อย่างไร? มีววิ ฒั นาการการทํางานอย่างไร? เป็ นเรื่ องที่น่าสนใจติดตามข่าวสาร ต่างกับเมื่อหลายปี
ก่อนอย่างมากที่ความเคลื่อนไหวของเรื่ อง BIM ไม่มากนัก น่าเสี ยดายที่ไม่เห็นหน่วยงานใดทําข้อมูลของการใช้
BIM อย่างเป็ นทางการนอกจากต้องอาศัยการวิจยั จากภาคการศึกษาเพียงบางส่ วน ในรอบปี นี้เราได้เห็นภาพที่ชดั เจน
มากขึ้นมีความเคลื่อนไหวมากขึ้นในสาขาต่างๆที่พดู เรื่ องนี้จึงเป็ นเรื่ องที่น่าติดตาม
อสังหาริ มทรัพย์ขยับตัวอย่างต่อเนื่อง
ในภาคการพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์โครงการขนาดใหญ่มีการใช้ BIM ประกอบการทํางานมากขึ้นแทบจะทุกโครงการ
กล่าวถึง BIM มีบางส่ วนใช้ประกอบการโฆษณาหรื อเอาองค์ประกอบพิเศษมาใช้กบั การขายให้ลูกค้าสามารถเข้าถึง
การออกแบบของโครงการได้มากขึ้น หรื อการใช้ในองค์กรที่ให้ผรู ้ ่ วมงานสามารถรับรู ้การปรับปรุ งแก้ไข ขณะที่ใช้
ระหว่างการออกแบบและการก่อสร้างอีกด้วย การใช้งานเริ่ มมีมากขึ้นเป็ นลําดับทําให้ผรู ้ ่ มงานทุกฝ่ ายต้องหันมา
พัฒนาตนเองให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงนี้
หน่วยงานภาครัฐใช้กบั โครงการที่หลากหลาย
บางหน่วยงานเริ่ มมีการระบุให้ผอู ้ อกแบบหรื อผูร้ ับเหมาใช้ BIM ประกอบการทํางานในเงื่อนไขกว้างๆ หรื องาน
บางส่ วนที่มีความซับซ้อนและต้องประสานงานกับผูป้ ฏิบตั ิงานหลายฝ่ าย ภาคเอกชนก็เสนอการใช้ BIM
ประกอบการทํางาน ที่เห็นได้ชดั เช่นโครงการรถไฟฟ้าหรื อโครงการสาธารณูปโภคอื่นๆนอกเหนือจากงานอาคาร
เริ่ มใช้ BIM ประกอบการทํางานจากฝ่ ายออกแบบในปัจจุบนั ในไม่ชา้ ก็ไปสู่ การก่อสร้าง
การออกแบบ-การก่อสร้างทํางานเชื่อมโยงมากขึ้น
ในงานออกแบบโครงการขนาดใหญ่ที่เปิ ดตัวให้เห็นหลายๆโครงการเป็ นการออกแบบจากบริ ษทั ต่างประเทศต้องมา
ทํางานร่ วมมือกับบริ ษทั ออกแบบของไทยทําให้ผอู ้ อกแบบต้องสามารถทํางานร่ วมกันได้ดว้ ย BIM เจ้าของโครงการ
อาจจะเป็ นการร่ วมทุนกับต่างประเทศจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่ตอ้ งการใช้ผอู ้ อกแบบที่มีความสามารถมากทํางานด้วย
ผูอ้ อกแบบไทยจึงต้องพัฒนาตัวเองเพื่อรองรับการทํางานเหล่านี้ ในที่สุดการก่อสร้างก็เช่นกันผูร้ ับเหมาขนาดใหญ่
หลายๆรายเริ่ มใช้ BIM ในองค์กรของตนเองในระดับที่สามารถใช้งานได้ไม่วา่ จะเป็ นงานวิเคราะห์เพื่อการก่อสร้าง
การทําแผนงาน หรื อการสอบทานปริ มาณงานและราคา สิ่ งเหล่านี้ ทาํ ให้ได้ประโยชน์อย่างสู ง
สิ นค้าวัสดุก่อสร้างเริ่ มขยับตัว
ผูผ้ ลิตสิ นค้าบางส่ วนอาจจะยังไม่ชดั เจนกับเรื่ อง BIM นักสําหรับความสําคัญในการทํางานอาจจะยังไม่เห็นว่าจะ
นําไปใช้ได้อย่างไร? จําเป็ นต้องทําหรื อไม่? แล้วทําอย่างไร? แต่ผผู ้ ลิตสิ นค้ารายใหญ่เริ่ มขับตัวมากขึ้นด้วยการสร้าง
BIM Content เพื่อให้ผอู ้ อกแบบ Free Download นําวัสดุอุปกรณ์ที่ผลิตขึ้นมานําไปใช้ประกอบการออกแบบมีท้ งั
ไฟล์งาน และข้อกําหนดเงื่อนไขของอุปกรณ์เพื่อนําไปประกอบในแบบก่อสร้าง ถึงแม้วา่ ผูป้ ระกอบการรายอื่นยังไม่

50
สามารถทําได้เชื่อว่าอีกไม่ชา้ ถ้างาน BIM เริ่ มขยายตัวมากขึ้นคงต้องมีเครื่ องมือต่างๆประกอบการใช้ BIM มาให้ผู ้
ออกแบบใช้อย่างแน่นอน
สมาคมวิชาชีพร่ วมมือสร้างแนวทางการทํางาน
เมื่อการทํางานด้านนี้มีมากขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศทําให้องค์กรวิชาชีพคงเล็งเห็นความต้องการของสมาชิก
ในสาขาต่างๆ จึงมีการร่ วมมือการทํางานระหว่างสภาสถาปนิกและสภาวิศวกรเพื่อหาแนวทางให้สมาชิกสามารถ
ทํางานร่ วมกันโดยใช้ BIM ได้รวมถึงการให้ความรู ้ดา้ นต่างๆเช่นการจัดสัมมนาการทํา Workshop , การเจรจาให้
ผูข้ าย Software ทําราคาพิเศษสําหรับสมาชิก ,การกําหนด Cost Code ซึ่ งสามารถนํามาใช้กบั BIM ,และการสร้าง
แนวทางเพื่อทํางานร่ วมกันด้วย BIM บางเรื่ องอยูร่ ะหว่างการดําเนินงานบางเรื่ องได้ทาํ ออกมาแล้ว การพัฒนาการใน
ความร่ วมมือนี้ก่อให้เกิดการทํางานร่ วมกันระหว่าสาขาต่างๆซึ่ งเป็ นประโยชน์กบั ทุกๆฝ่ ายในอนาคตจึงต้องติดตาม
ความก้าวหน้าต่อไป
แรงผลักดันด้านต่างๆทําให้การทํางานต้องรองรับวิธีการทํางานรู ปแบบใหม่ไม่ใช่เป็ นเพียงกระแสของความ
เคลื่อนไหวที่ผา่ นไปแต่ความเคลื่อนไหวนี้นาํ มาสู่ การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน วัฒนธรรมการ
ทํางานที่มีพนั ธะต่อกันมีมากขึ้น การใช้ขอ้ มูลผ่านระบบอิเล็กทรอนิคส์ท่ีมีขอ้ มูลเป็ นหนึ่งเดียว การมีมาตรฐานการ
ทํางานที่สามารถทํางานแบบสากล เมื่อเราก้าวมาสู่ การใช้ BIM ที่ไม่มีอาณาเขตขวางกั้นการเปลี่ยนแปลงจะรวดเร็ ว
อาจจะกรณี ต่างๆก็จะเกิดเช่น เมื่อความต้องการบุคลากรด้านนี้มากขึ้น ,การซื้ อตัวคนที่สามารถทํางานได้ หรื อการ
นําเข้าแรงงานเฉพาะทางหากถ้าเราไม่มีคนที่มีความถนัดเฉพาะด้าน ,การใช้บริ ษทั ที่มีศกั ยภาพทางเทคโนโลยี
มากกว่าจากภายนอก ,การใช้วสั ดุจากภายนอกที่กาํ หนดจากบริ ษทั ต่างชาติ เราคงต้องเตรี ยมรับมือกับภาวะที่จะ
เกิดขึ้นไม่วา่ ทางภาครัฐ ภาคการศึกษาที่ตอ้ งเตรี ยมบุคลากรที่สอดคล้องกับการทํางาน และที่สุดคือตัวเราเองต้อง
เข้าใจเรี ยนรู ้เพื่อสร้างวัฒนธรรมการทํางานใหม่ ไม่เพียงแต่บอกให้เปลี่ยนแปลง แต่เราจะต้องบอกวิธีการเพื่อจะ
นําไปสู่ การเปลี่ยนแปลงอย่างถูกต้องอีกด้วย
ทรงพล ยมนาค
600624

51
23 การบริหาร BIM ในระยะออกแบบ

ผูท้ ี่ผา่ นประสบการณ์ BIM มาแล้วหลายคนจะแนะนําให้ใช้ BIM ตั้งแต่เริ่ มต้นโครงการเพือ่ ประโยชน์กบั ทุกฝ่ ายที่
ได้จดั เตรี ยมข้อมูลและติดตามการทํางานตลอดโครงการ การใช้ BIM ในแต่ละช่วงของโครงการอาจจะมีขอ้ มูลที่ไม่
ครบถ้วนหรื อขาดการเตรี ยมการซึ่ งเนื่องมาจากระยะเวลาการทํางานเป็ นตัวกําหนด บางครั้งอาจจะมีขอ้ เสนอการ
ออกแบบให้เสร็ จแล้วจึงสร้าง BIM Model เพื่อประกอบการส่ งงาน ประโยชน์ของการทําให้แบบมีคุณภาพจึงขาด
หายไปด้วยขาดการทํา Coordination ระหว่างหลายๆหน้าที่ ในอีกด้านหนึ่งเป็ นการสร้างต้นทุนในการทํางานเพราะ
เท่ากับการทําแบบถึง 2 ครั้ง จะด้วยเหตุผลอย่างไรก็ตามถ้าผูอ้ อกแบบไม่สามารถใช้ BIM ให้อยูใ่ นระบบการทํางาน
ปรกติ คุณภาพของงาน ,ต้นทุนที่สูงขึ้น ,ปัญหาในระยะงานก่อสร้างที่ตอ้ งติดตามแก้ไข จะเป็ นค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถ
เบิกเพิ่มได้ ขณะที่ค่าออกแบบเป็ นอัตราที่ตายตัวมาเป็ นเวลานานการสร้างมูลค่าในการทํางาน ลดเวลา ลดค่าใช้จ่าย
เป็ นประเด็นที่ตอ้ งคํานึงถึงเพื่อสามารถยืนอยูใ่ นเวทีงานออกแบบได้ เราจึงต้องใช้ BIM เป็ นตัวที่สร้างมูลค่าเพิ่ม
มากกว่าเป็ นสาเหตุที่ทาํ ให้เกิดต้นทุน
สร้างแผนการบริ หารงาน
การใช้ BIM เป็ นการทํางานร่ วมกันหลายๆฝ่ ายทุกคนจะต้องเข้าใจระบบวิธีที่จะนําไปสู่ ความสําเร็ จในการทํางานตาม
ความต้องการของโครงการ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีซ่ ึ งมีองค์ประกอบของกระบวนการทํางานเป็ นตัวกําหนดบน
ข้อตกลงและเห็นพ้องร่ วมกันทุกฝ่ าย ไม่วา่ จะเป็ นระบบการทํางานแบบ Design Bid Built หรื อ Design Built หรื อ
วิธีการอื่นๆ ข้อตกลงต่างๆต้องนําไปสู่ การทํางานถึงขั้นสุ ดท้ายของโครงการ การสร้างแผนการทํางานจึงต้อง
คํานึงถึงข้อมูลและเอกสารประกอบการทํางานในทุกระยะการทํางานนั้น ตามระยะเวลาและขั้นตอนการทํางาน
กรอบการทํางาน
• สร้างการทํางานออกแบบด้วย BIM ที่สนับสนุนการนําเสนองานในขั้นตอนต่างๆ
• แผนการทํางานที่เป็ นไปตามความต้องการของโครงการ ตามขั้นตอนของพัฒนาการของการทํางาน
• คุณสมบัติขิงผูร้ ่ วมงานที่มีความสามารถในการใช้และการบริ หาร BIM
• การนําเสนอการใช้เครื่ องมือและเทคโนโลยีประกอบการทํางาน
• กําหนดการทํา Design Coordination , Clash Detection , Model Review
• กําหนดการส่ งงาน และข้อมูลประกอบพัฒนาการของการทํางานด้วย BIM Process
สิ่ งที่ตอ้ งคํานึงถึงในการส่ งต่อข้อมูล
• วิธีการส่ งต่อข้อมูล , การ Share File , การใช้พ้ืนที่เก็บงาน
• การจัดการให้แต่ละหน้าที่เข้าถึงการใช้ขอ้ มูลได้
• การใช้ Software และ Version ของผูร้ ่ วมงานที่มีหน้าที่ที่แตกต่างกัน
• การส่ งข้อมูลที่มี File Format ที่แตกต่าง
• กระบวนการส่ งต่อข้อมูลที่ทาํ ให้ทุกฝ่ ายเข้าใจตรงกัน
• ข้อตกลงในความรับผิดชอบของเจ้าของ Model และสิ ทธิต่างๆ

52
สิ่ งที่ตอ้ งคํานึงถึงในการสร้าง Model
• แผนการกําหนดความละเอียดของเนื้องานในแต่ละขั้นตอนการทํา Model หรื อข้อตกลงในการใช้ LOD.
• วิธีการที่จะเสนอองค์ประกอบต่างๆของงานออกแบบด้วยการแสดงเป็ น Graphic หรื อการใช้พ้นื ที่ต่างๆ
• การนําเสนอพื้นที่สาํ หรับการใช้งานการซ่อมบํารุ งสําหรับการดูแลอาคาร
• การนําไปใช้งานทางการวิเคราะห์ในด้านต่างๆเช่น โครงสร้างหรื อพลังงาน
• การกําหนดค่าพิกดั และตําแหน่งของโครงการเพื่อทํางานร่ วมกัน
• โครงสร้างของ Model ที่กาํ หนดเพื่อการทํางานและการจัดการ
เป็ นหัวเพียงข้อบางส่ วนที่พอจะรวบรวมมาได้ให้เห็นเนื้อหาก่อนการเริ่ มต้นการทํางานด้วยการวางแผนและทําความ
เข้าใจกับทีมงาน ในโครงการที่มีรูปแบบที่แตกต่างออกไปอาจจะมีองค์ประกอบอื่นเข้ามาเป็ นเงื่อนไขให้เพิม่ เติม
วิธีการประสานงานขึ้นกับลักษณะและรู ปแบบที่ถูกกําหนดจากความต้องการของโครงการนั้นๆ
ทรงพล ยมนาค
600701

53
24 BIM ต้ องการความร่ วมมือในการทํางาน

ผูท้ ี่เริ่ มต้นใช้ BIM มักเริ่ มจาการสร้าง Model แล้วพัฒนาขึ้นมาทํางานที่มีขอบเขตกว้างขึ้น หมายถึงการทํางาน


เชื่อมโยงกับบุคคลอื่นในหน้าที่ต่างๆ ถึงแม้วา่ การทํางานนั้นจะไม่ใหญ่โตก็ตามเราไม่สามารถทํางานคนเดียวในทุกๆ
หน้าที่ได้ถึงแม้วา่ จะสร้าง Model ได้กต็ ามแต่งานออกแบบเฉพาะทางต้องผ่านการเรี ยนรู ้และทักษะในการทํางาน
อย่างมาก Model จะถูกสร้างตามการออกแบบในแต่ละหน้าที่แล้วจึงนํามารวมกันเพื่อตรวจสอบเพื่อปรับปรุ งแก้ไข
การออกแบบให้สามารถนําไปทําการก่อสร้างได้ เมื่อผูใ้ ช้ BIM เริ่ มทํางานกับผูอ้ อกแบบหลายๆหน้าที่ การสื่ อสาร
แลกเปลี่ยนเพื่อพัฒนาการออกแบบจึงมีมากขึ้น สิ่ งเหล่านี้จึงต้องการประสานงานและร่ วมมือเพื่อให้ผลงานออกมา
บรรลุตามเป้าหมาย
หลักในการทํางานร่ วมกัน
เป็ นไปไม่ได้เลยที่ทุกฝ่ ายทํางานร่ วมกันโดยไม่มีขอ้ ตกลง หลักเกณฑ์จะต้องมีการกําหนดให้ทุกฝ่ ายเห็นพ้องต้องกัน
ก่อนเริ่ มทํางาน ใครจะรู ้วา่ เราต้องการอะไร? หรื อเราต้องส่ งงานอะไร? ในแต่ละช่วงการทํางานถึงแม้วา่ ทราบ
จุดประสงค์หลักแล้วก็ตามเช่นความต้องการให้การออกแบบและแบบสําหรับก่อสร้างมีคุณภาพมากกว่าเดิมโดย
เลือกที่จะทํา Clash Detection ด้วยการนําเอาองค์ประกอบของ Model ในแต่ละหน้าที่มาทําการทดสอบด้วยการชน
กันด้วยเครื่ องมือต่างๆแล้วจึงนําผมมาปรับปรุ งแบบ ในเงื่อนไขที่องค์ประกอบของอาคารแตกต่างกันมากขั้นตอน
หรื อเนื้อหาของ Model จึงต้องถูกกําหนดความละเอียดของเนื้องานในแต่ละขั้นตอนการทํางาน (LOD) กระนั้นก็ตาม
ความสับสนในรายละเอียดและเงื่อนไขยังไม่สามารถลงตัวได้ อีกประเด็นหนึ่ งคือความเข้าใจในการทํางานร่ วมกัน
ยังมีระดับที่แตกต่างกัน การทํา Clash ระหว่าง Model อาจจะมีการ Clash ระหว่างผูร้ ่ วมงาน ซึ่ งไม่ใช่จุดประสงค์ของ
การใช้ BIM การทํางานร่ วมกันนี้ มีขอ้ มูล Information มี Data ที่เป็ นทั้ง Graphic และ Non Graphic ผสมกันการ
จัดการสื่ อสารและวิธีการทํางานต้องคํานึงถึง
○ ความเข้าใจจุดประสงค์การทํางานและความเข้าใจวิธีการทํางาน
○ ความรับผิดชอบในแต่ละหน้าที่
○ ระบบระเบียบของการสื่ อสาร
○ การนําข้อมูลมาประมวลผลและรายงาน
○ วิธีการตรวจสอบ
○ กระบวนการจัดการและการแลกเปลี่ยนข้อมูล
○ การบริ หาร Model และการทํางานในขั้นตอนระยะต่างๆ
○ กระบวนการทํา Model Sharing , Model Coordinate
วิธีการทํางานแต่ละโครงการอาจจะมีลกั ษณะที่แตกต่างกันออกไปในบางประเด็นอาจจะเพิ่มเติมขึ้นมาอยูท่ ี่ความ
เหมาะสม ความยืดหยุน่ ให้ทุกคนสามารถทํางานและแบ่งปั นกันได้จะเกิดผลมากกว่าโดยยึดเป้าหมายและระยะเวลา
การทํางาน เช่นการทํา Clash อย่างมีกรอบให้เกิดผลต่อการออกแบบหรื อการก่อสร้าง มากกว่าการถกเถียงอยูท่ ี่ Clash
จนงานก่อสร้างรอไม่ได้ตอ้ งเดินหน้าไปก่อนเพราะมีขอ้ ตกลงในระยะเวลาของการส่ งงาน การทํา Clash จะไม่เกิด
ประโยชน์ใดๆทั้งสิ้ น เพราะผล Clash ที่มากมายจนไม่สามารถมีเวลาตรวจสอบได้ สิ่ งที่มีความสําคัญเหนือกว่าการ

54
ทํา Clash คือการ Coordination ให้ทุกฝ่ ายนําข้อมูลไปปรับปรุ งการทํางานตามระยะเวลาที่ถูกกําหนด หมายถึง
ประโยชน์กบั ทุกคนที่มีส่วนได้ส่วนเสี ยในโครงการ
ทุกอย่างนําไปสู่ การประชุม
วิธีการทํางานคือการนําข้อมูลหรื อประเด็นต่างๆเข้าสู่ การประชุมเพื่อร่ วมกันแก้ปัญหา แต่ความยากอยูท่ ี่จะทําให้ทุก
ฝ่ ายมีส่วนในการประชุมอย่างไร? การสร้างฐานความรู ้ที่ถูกต้องเป็ นหนึ่งเดียว และการสร้างพันธะสัญญาแห่งการ
ทํางานร่ วมกันจะต้องจัดตั้งแต่เริ่ มต้นโครงการ การยกประเด็นของปั ญหาหรื อแบ่งปันด้วยการร่ วมกันแก้ไขจะถูก
จัดตั้งในการประชุมจากนั้นข้อสรุ ปจะต้องนําไปแก้ไข ปั จจุบนั วิธีการประชุมสามารถทําได้หลายรู ปแบบอยูท่ ี่ความ
พร้อมของบุคลากรและเครื่ องมือ การกําหนดวาระการประชุมและประเด็นใหญ่ที่ตอ้ ขอข้อสรุ ปต้องถูกตัดสิ นด้วย
ความเข้าใจร่ วมกัน
อีกหลายๆเรื่ องที่ยงั ต้องเรี ยนรู ้การทํางานในกระบวนการที่ใช้ BIM และอีกหลายเรื่ องที่ยงั ไม่รู้ ต้องผ่านการทํางานที่
แตกต่างและสร้างประสบการณ์แล้วนํามาปรับใช้ แนวทางที่ชดั เจนจะพัฒนาจากข้อผิดพลาดที่ผา่ นมาแล้วนํามา
ปรับปรุ ง หลักเกณฑ์การทํางานที่มีมาตรฐานบนความเข้าใจจะช่วยให้มองเห็นคําตอบ
ทรงพล ยมนาค
600708

55
56
25 BIM Content-1

บทความนี้มีความยาวจําเป็ นต้องแบ่งเป็ นตอนๆและบางส่ วนได้เคยกล่าวมาบ้างแล้วในครั้งก่อน อาจจะไม่จาํ เป็ น


สําหรับบางท่านส่ วนผูท้ ี่เห็นความสําคัญก็นาํ ไปพิจารณาตามความเหมาะสม
ปัจจุบนั มีการใช้ BIM ประกอบการทํางานมากขึ้นจําเป็ นต้องมีองค์ประกอบในการทํางานให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของงานในแต่ละประเภทโดยเฉพาะงานระบบของอาคารซึ่ งมีองค์ประกอบในหลายหน้าที่เช่น งานไฟฟ้า ,
งานเครื่ องกล ,งานระบบปรับอากาศ ,งานประปา ,งานระบบดับเพลิง ส่ วนประกอบเหล่านี้จาํ เป็ นต้องมีชิ้นส่ วนที่
เป็ นกลไกที่จะผลักดันให้เกิดการทํางานได้ซ่ ึ งอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของวิศวกรที่รับผิดชอบในแต่ละ
ประเภท ชิ้นงานต่างๆนี้มีมากมายพร้อมกับเงื่อนไขเฉพาะที่ตอ้ งถูกระบุไว้กบั การทํางาน การทํางานจึงต้องคํานึงถึง
มาตรฐานและข้อกําหนดต่างๆด้วย เมื่อใช้ BIM สิ่ งต่างๆที่กล่าวมาจะต้องถูกบันทึกอยูใ่ นชิ้นงานด้วยวิธีการที่
สามารถนําไปวิเคราะห์และคํานวณได้ ถือเป็ นเรื่ องสําคัญที่จะทําให้การใช้งานบรรลุผลตามเป้าหมาย
การเปลี่ยนไปสู่ BIM
กระแสการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและระบบอุตสาหกรรมยุคใหม่เกิดขึ้นมาหลายปี ก่อนจนถึงปั จจุบนั ซึ่ งมีความ
พร้อมทางระบบสื่ อสารและเทคโนโลยีหุ่นยนต์และภาพเสมือนจริ งจากความก้าวหน้าทางอิเลคทรอนิคส์ทาํ ให้
คอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลได้ดีข้ ึน แนวคิดเรื่ อง BIM ก็เช่นกันไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในช่วงนี้เท่านั้นแต่ BIM มี
ความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ วกว่าในยุคที่เปลี่ยนจากการเขียนแบบด้วยมือไปสู่ การใช้คอมพิวเตอร์ หรื อ Computer aid
Design (CAD) ซึ่ งใช้เวลาปรับเปลี่ยนมากกว่า 15 ปี ไม่ต่างจากเดิมที่มีความแครงใจในการใช้ CAD ในระยะแรกแต่
ที่สุดทุกคนก็ใช้มนั ไม่วา่ งานเล็กหรื องานใหญ่ ในปัจจุบนั ทุกอย่างมุ่งไปสู่ BIM ทั้งหมดไม่วา่ ระบบการผลิต
อุตสาหกรรม การก่อสร้างยุคใหม่ Digital Construction ที่ใช้เครื่ องมือสื่ อสารและหุ่นยนต์เข้ามาร่ วมงาน พร้อมกับ
การจําลองภาพเสมือนจริ ง Virtual Design & Construction ที่สามารถระบุคุณสมบัติของวัตถุที่ออกแบบได้ รายงาน
ผลได้ การตรวจงานจะเข้าถึงข้อมูลได้มากขึ้น ตัวอย่างเช่นบริ ษทั
Trimble ที่มีความถนัดทาง Software และบริ ษทั Brookfield Global (Brookfield GIS) จับมือกันสร้างแว่นมองสาม
มิติสาํ หรับงานก่อสร้าง ในความจริ งแล้วการเปลี่ยนแปลงได้ดาํ เนินไปตลอดเวลา เราได้เห็นอย่างชัดเจนเมื่อไม่นาน
มานี้ ข้อสําคัญอีกอย่างก็คือคนจะปรับตัวทันกับความก้าวหน้านี้ หรื อไม่? ความหวาดระแวงหรื อข้ออ้างต่างๆจะถูก
จัดการได้หรื อไม่? หรื อไม่กร็ อซื้ อตัว๋ เทียวสุ ดท้ายที่มีคนจองเต็มแล้ว มีคาํ ถามในการสัมมนาความรู ้เรื่ อง BIM ใน
ต่างประเทศและมีคาํ ถามจากผูต้ ิดตามทัว่ โลกเข้ามา คําถามหนึ่งที่น่าสนใจคือ "ประเทศที่กาํ ลังพัฒนาจะมี
ความสามารถใช้ BIM ได้อย่างไร?" ผูอ้ ภิปรายตอบว่าสิ่ งแรกคือ"การเรี ยนรู ้" ถึงแม้วา่ ภาครัฐหรื อหน่วยงานใดๆยังไม่
พร้อมก็ตาม เพราะการเรี ยนรู ้ในยุคนี้ไม่มีกาํ แพงกั้นเราสามารถใช้สื่อต่างๆเป็ นเครื่ องมือ การนําไปสู่ การ
เปลี่ยนแปลงคือความรู ้ความเข้าใจอย่างชัดเจน
ทําความเข้าใจ BIM Content
นอกจากรู ปทรงและ Materials ที่บรรจุลงใน 3D Model แล้ว BIM มีองค์ประกอบของข้อมูล Information ที่เป็ น
Graphic และไม่ใช่ Graphic อยูใ่ นองค์ประกอบของชิ้นส่ วนที่ประกอบขึ้นเป็ นอาคารหรื อสิ่ งก่อสร้าง หรื อชิ้นงานที่
เป็ น 3 มิติ ข้อมูลเหล่านี้มี Parameters และ Attributes เป็ นส่ วนประกอบการทํางานอยู่ ในพื้นฐานของ Computer

57
aided design (CAD) สามารถบรรจุค่าของ Dimension ,Text , ลงใน Project ได้อยูแ่ ล้วแต่ในส่ วนของ BIM ยังมีการ
ใช้ Parameters เป็ นค่าตัวแปรที่สามารถควบคุมชิ้นงานได้มากกว่า ทําให้ทาํ งานทางการคํานวณและการวิเคราะห์ได้
มากขึ้น การทําความเข้าใจสิ่ งนี้จะทําให้สามารถต่อยอดการทํางานอย่างมีประสิ ทธิภาพ
( Parameters และ Attributes คือองค์ประกอบสําคัญที่จะกล่าวถึงสําหรับครั้งต่อไปซึ่ งจะนํามาถึงการสร้างให้ BIM
Content เกิดประโยชน์อย่างมากมาย ขณะเดียวกันขอนําเอาเรื่ องที่จะต้องพบในระยะเวลาอันใกล้ให้เห็นภาพ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี "10 Futuristic Construction technologies | Future constructions | Explore
engineering" จะบอกให้เราได้ทราบว่า มนุษย์ - กระบวนการทํางาน - เทคโนโลยี - เครื่ องจักร+หุ่นยนต์ คือสิ่ งที่
จะต้องทํางานร่ วมกัน )
https://youtu.be/vrZ7ToBvwn4
ทรงพล ยมนาค
600715

58
59
26 BIM Content-2

บทความนี้มีความยาวจําเป็ นต้องแบ่งเป็ นตอนๆและบางส่ วนได้เคยกล่าวมาบ้างแล้วในครั้งก่อน อาจจะไม่จาํ เป็ น


สําหรับบางท่านส่ วนผูท้ ี่เห็นความสําคัญก็นาํ ไปพิจารณาตามความเหมาะสม คราวก่อนได้กล่าวถึงภาพรวมทัง่ ไป
ของ BIM Content ก่อนเข้าถึงรายละเอียดที่มีความสําคัญ
Parameters และ Attributes
ชิ้นส่ วนของ BIM ที่ถูกสร้างขึ้นจะมีส่วนประกอบของข้อมูลที่ระบุรูปร่ าง ขนาด สี และค่าทางกายภาพบรรจุอยูเ่ รา
สามารถปรับค่าต่างๆด้วยการบันทึกเป็ นตัวเลข ตัวอักษร ค่าทางคณิ ตศาสตร์ รวมทั้งประเภทของวัสดุตามที่เรา
ต้องการ ขนาดรู ปทรงและเงื่อนไขที่บนั ทึกเปลี่ยนแปลงสามารถปรับรู ปทรงตามที่ระบุน้ นั Parameters เป็ นค่าตัว
แปรที่สามารถกําหนดพฤติกรรมขององค์ประกอบนั้น ที่เราพบอยูเ่ สมอคือการสร้างขนาดของประตู หรื อ หน้าต่าง
เป็ นตัวเลขตามชนิดที่ได้สร้างขึ้นแล้วระบุรายละเอียดของประตูหรื อหน้าต่างว่าประกอบด้วยอะไรเป็ น Attributes
ด้วย Text เราสามารถสร้างชนิดของชิ้นงานได้หลายๆขนาดในชิ้นเดียวด้วยการควบคุมของ Parameters นอกจากนี้
เรายังสามารถสร้าง Parameters ขึ้นใหม่ตามความต้องการโดยระบุเงื่อนไขของการใช้งานในแต่ละประเภทอีกด้วย
ทําให้การสร้างวัตถุที่มีขอ้ มูลบันทึกอยูน่ าํ ไปใช้งานได้หลากหลาย
ชนิดของ Parameters และ Attributes
การใช้ Parameters ขึ้นอยูก่ บั จุดประสงค์ของการใช้แต่ละประเภทของงานที่มีขอบเขตที่แตกต่าง หลายตัวนําไปใช้
งานทางด้านวิศวกรรมเช่น พื้นที่ ปริ มาตร และขนาดด้วยค่าตัวแปรนี้มีประเภทที่มีเงื่อนไขที่แตกต่างกันเช่น
• Length : เป็ นตัวแปรที่กาํ หนดระยะหรื อความยาว
• Area : เป็ นตัวแปรที่กาํ หนดพื้นที่ของวัตถุ เช่นสามารถนําไปใช้กบั การประมาณราคา
• Angle : เป็ นตัวแปรที่กาํ หนดมุม องศา ของตําแน่งวัตถุ
• Text : เป็ นตัวแปรที่กาํ หนดรายละเอียดของวัตถุดว้ ยการบันทึกเป็ นตัวอักษร
• Boolean (yes/no) : เป็ นตัวแปรที่มีเงื่อนไขการใช้เช่น เปิ ด-ปิ ดการมองเห็นรู ปทรงต่างๆ
• Number : เป็ นตัวแปรที่กาํ หนดเป็ นตัวเลขที่สามารถนํามาทําการคํานวณ
• Integer : เป็ นตัวแปรที่กาํ หนดจํานวนทั้งหมดเช่นการนับจํานวน แตกต่างจากการใช้ Number
• Hyperlinks : เป็ นตัวแปรที่กาํ หนดการ Link URL
มาตรฐานและการจัดรู ปแบบ
ชิ้นส่ วนของงานมีลกั ษณะที่แตกต่างออกไปในแต่ละประเภทของงานจําเป็ นจะต้องมีการกําหนดหมวดหมู่เพื่อจัด
ระเบียบให้เป็ นที่เข้าใจสากลร่ วมกัน
MasterFormat นํามาใช้กบั งานออกแบบทัว่ ไปซึ่ งมักจะถูกบรรจุอยูใ่ น BIM Software มาตรฐานนี้กาํ หนดขึ้นจากผล
ของการทํางาน ชิ้นงานจึงถูกกําหนดเป็ นองค์ประกอบใหญ่ท้ งั ส่ วน
UniFormat นํามาใช้กบั องค์ประกอบเป็ นชิ้นซึ่ งกําหนดตามลักษณะการก่อสร้าง เช่น Substructure, Shell, Interior,
Service, Equipment ใช้ประกอบการประมาณการ หรื อการติดราคาต่อพื้นที่
OmniClass กําหนดรายละเอียดของเนื้องานละอุปกรณ์ที่ลงลึกจาก MasterFormat และ UniFormat รวมทั้งขั้นตอน

60
การทํางานตั้งแต่ตน้ จนจบที่สามารถสื บค้นข้อมูลจากรหัสที่ระบุในชิ้นงาน
ข้อกําหนดเหล่านี้เราอาจจะยังไม่เคยสัมผัสมากนักแต่ได้ถูกบรรจุใน BIM Content อย่างน้อยก็จะเข้าใจในการจัด
หมวดหมู่และการสร้างกําหนดชื่อให้ถูกต้องตามหน้าที่ของมาตรฐานซึ่ งมีผลต่อการทํางานร่ วมกันใน BIM Software
นี่เป็ นส่ วนหนึ่งให้ Information ใน BIM สามารถทํางานในหลายด้านได้
(มีขอ้ เสนอจากหลายฝ่ ายให้ผผู ้ ลิตสิ นค้าสร้าง BIM Content ที่มีองค์ประกอบของข้อกําหนดและวิธีการติดตั้งตามที่
ผูผ้ ลิตได้สร้างไว้ซ่ ึ งเป็ นข้อมูลเริ่ มต้นสู่ การออกแบบและการก่อสร้าง ขณะเดียวกันสมาคมวิชาชีพก็ได้ผลักดันการ
กําหนดมาตรฐานราคา (Cost Code) เพื่อใช้กาํ หนดรหัสราคาในระดับของรัฐเพื่อเป็ นประโยชน์และความโปร่ งใส
ของงานราชการ ปัจจุบนั ก็มีผผู ้ ลิตหลายรายเริ่ มทํากันบ้างแล้วแต่ยงั ไม่มีใครที่นาํ มารวมและจัดหมวดหมู่ที่เป็ นที่เป็ น
ทางสําหรับการนําไปใช้ เป็ นประเด็นที่น่าสนใจ คงต้องติดตามความก้าวหน้ากันต่อไป)
ทรงพล ยมนาค
600722

61
62
27 BIM Content-3

บทความนี้มีความยาวจําเป็ นต้องแบ่งเป็ นตอนๆและบางส่ วนได้เคยกล่าวมาบ้างแล้วในครั้งก่อน อาจจะไม่จาํ เป็ น


สําหรับบางท่านส่ วนผูท้ ี่เห็นความสําคัญก็นาํ ไปพิจารณาตามความเหมาะสม คราวก่อนได้กล่าวไปถึง BIM Content
ที่มีรายละเอียดที่มีความสําคัญต่อไปเป็ นเรื่ องของชิ้นงานและระดับความละเอียดของเนื้องานเพื่อใช้ในขั้นตอนการ
ทํางาน
ชิ้นงาน,วัสดุ,ข้อมูลประกอบชิ้นงาน
จากที่ได้ระบุมาตั้งแต่ตน้ ว่า BIM Content มีองค์ประกอบหลายส่ วนจึงเกิดเป็ นชิ้นงานที่เรี ยกว่า Assembly ผูใ้ ช้ BIM
ย่อมเคยชินกับการใช้งานด้วยการปรับแต่งขนาด, สี , ลักษณะของผิวพื้น องค์ประกอบเหล่านี้ยงั มีการยึดโยงกันตาม
รู ปแบบและขนาดที่สามารถปรับแต่งได้เกิดขึ้นเป็ น Type ที่แตกต่างออกไปตามการใช้งาน สิ่ งสําคัญทีบรรจุภายใน
ยังมีขอ้ มูล Material ซึ่ งไม่ใช่เป็ นเพียงรู ปภาพที่เป็ นสี เพียงอย่างเดียว ยังมีคุณสมบัติของวัสดุเช่น ค่าทางวิศวกรรม ค่า
ทางพลังงาน เพื่อนําไปใช้ต่อได้ อีกส่ วนหนึ่งที่ถูกกําหนดไว้คือ ข้อมูล Product Information ระบุขอ้ มูลของอุปกรณ์
จากผูผ้ ลิตและคุณสมบัติต่างเพื่อประกอบการใช้งานตัวอย่างเช่น
• ระบุวา่ เป็ นผลิตภัณฑ์ชนิดใด?
• สามารถนําไปใช้ทาํ อะไรได้บา้ ง?
• สามารถนําไปติดตั้งใช้งานได้อย่างไร?
• รู ปทรงหน้าตา สี พื้นผิว เป็ นอย่างไร?
• วิธีการดูแลแซ่อมแซมได้อย่างไร?
จะเห็นได้วา่ BIM Content ที่นาํ มาใช้งานควรเกิดจากผูผ้ ลิตสิ นค้าโดยตรงจึงจะมีขอ้ มูลที่มีความละเอียดที่สามารถ
นําไปใช้งานได้ แต่จุดเริ่ มต้นของงานออกแบบก็สามารถสร้างองค์ประกอบเหล่านี้ข้ ึนเฉพาะแล้วให้ผผู ้ ลิตนําไปต่อ
ยอดบรรจุรายละเอียดวิธีการติดตั้งโดยใช้ขอ้ มูลและรู ปทรงตาม BIM Content ของผูอ้ อกแบบ
ความละเอียดของเนื้องาน
การทํางานในแต่ละขั้นตอนตั้งแต่การออกแบบมีการกําหนดในการแสดงผลของ BIM Model ที่แตกต่างกันซึ่ งมีผล
โดยตรงกับ BIM Content ที่ได้ถูกสร้างขึ้นทั้งนี้ เกี่ยวพันกับการบันทึกข้อมูลและการแสดงผลทาง Graphic การ
ออกแบบขั้นต้นซึ่ งต้องการเพียงโครงร่ างการแสดงผลจึงไม่ตอ้ งมีความละเอียดของชิ้นงานเพียงแต่รับทราบมิติ
ตําแหน่ง ชนิดของอุปกรณ์ ในระยะต่อมาเมื่อการออกแบบลงตัวขึ้นการแสดงผลต้องระบุความละเอียดและสามารถ
รับรู ้รายละเอียดมากขึ้น สิ่ งเหล่านี้มีการเชื่อมต่อกับการทํางานหน้าที่อื่นเพื่อทํางานร่ วมกันเช่นนําไปหาปริ มาณงาน
นําไปวิเคราะห์ในการออกแบบ ขั้นตอนต่างๆนี้ได้ถูกจัดลําดับไว้เป็ นความละเอียดของเนื้องาน Level of
Development (LOD.) การสร้าง BIM Content จึงต้องเกี่ยวพันกับขั้นตอนการทํางานตลอดเวลา ตัวอย่างหนึ่งของการ
กําหนดขั้นตอน LOD ที่สามารถสื บค้นได้จาก BIM Forum ได้ออก 2016 LOD specification (รู ป ) สามารถ
Download ได้ที่ http://bimforum.org/lod/ การนํามาใช้งานต้องศึกษาและเงื่อนไขในการสร้างข้อกําหนดนี้ก่อนการ
ใช้งานว่าเหมาสมกับการทํางานได้อย่างไร? การใช้ LOD ไม่ใช่ขอ้ กําหนดในการส่ งงานแต่เป็ นข้อกําหนดในการ

63
ทํางานร่ วมกันเพื่อสื่ อสารข้อมูลที่ผรู ้ ่ วมงานสามารถนําไปต่อยอดการทํางาน ความเข้าใจนี้จะต้องเป็ นที่ตกลงกับผูม้ ี
ส่ วนได้ส่วนเสี ยของโครงการทุกๆคน
(LOD ยังเป็ นเรื่ องที่ตอ้ งเรี ยนรู ้อีกมาก ในระหว่างการทํางานยังมีความสับสนอยูพ่ อสมควรขณะเดียวกันก็มีความคิด
ของการกําหนดวิธีการใหม่ข้ ึนมาเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายและกําหนดลงในรายละเอียดของวัสดุได้ชดั เจนกว่า แต่เพิ่งเป็ น
เพียงความคิดเริ่ มต้น ตัวอย่างที่เห็นได้จากแนวคิดความละเอียดของขั้นตอนการทํางานที่กาํ หนดขึ้นจาก
PAS 1192-2:2013 โดย The British Standard Institution 2013 มีหวั ข้อ Level of Model Definition for Building and
Infrastructure Project กําหนดตามขั้นตอนการทํางานเป็ น 7 ขั้นตอนและบอกรายละเอียดของพัฒนาการทํางานพร้อม
กับการบันทึกข้อมูลจึงเป็ นอีกข้อสังเกตที่น่าศึกษา )
ทรงพล ยมนาค
600728

64
65
28 BIM Content-4

บทความนี้มีความยาวจําเป็ นต้องแบ่งเป็ นตอนๆและบางส่ วนได้เคยกล่าวมาบ้างแล้วในครั้งก่อน อาจจะไม่จาํ เป็ น


สําหรับบางท่านส่ วนผูท้ ี่เห็นความสําคัญก็นาํ ไปพิจารณาตามความเหมาะสมครั้งก่อนได้กล่าวถึงเนื้องานและความ
ละเอียดในแต่ละขั้นตอนการทํางานเพื่อนํามาต่อยอดการทํางานได้ การสร้างชิ้นงานต้องคํานึงถึงองค์ประกอบต่างๆ
ที่มีผลกับการนําไปใช้งาน
ต่อยอดการทํางาน
งานออกแบบสามารถนําข้อมูล Parameters ประกอบการทํางานตลอดเวลาด้วยการ Report เป็ นตารางข้อมูลที่
แสดงผลเป็ นจํานวนหรื อเงื่อนไขต่างๆที่ได้ระบุไว้ในชิ้นงานนั้นนอกจากนี้ค่าทางกายภาพของวัตถุที่ได้กาํ หนดไว้
สามารถนําไปวิเคราะห์ทางด้านวิศวกรรม , พลังงาน และอื่นๆอีกมาก นอกจากนี้ความเชื่อมโยงของข้อมูลที่เป็ น
Parameter มีผลกับการเปลี่ยนแปลงขนาดรู ปทรงของวัตถุตามที่เราปรับแก้ทาํ ให้เรา Update ข้อมูลในสภาที่เป็ นจริ ง
ตลอดเวลาประกอบกับการใช้ในงานแบบก่อสร้างที่ทาํ ให้เรารับรู ้สภาพของงานได้ทนั ที นอกจากนี้ Parameter ยัง
เป็ นข้อมูลที่จะนําไปสู่ การเขียนโปรแกรม เช่นการใช้ C# ,Ruby ,Python ,Dynamo และอื่นๆอย่างต่อเนื่องเพื่อการ
วิเคราะห์ดา้ นต่างๆโดยใช้ค่าตัวแปรเหล่านี้
การใช้องค์ประกอบของ BIM Content
การนําชิ้นงานไปใช้ในการทํางานต้องคํานึงถึงชนิดหรื อประเภทของอุปกรณ์ที่รุบุเงื่อนไขตรงตามความต้องการใน
การออกแบบในแต่ละชิ้นงานมีความแตกต่างมากมายและได้ถูกสร้างขึ้นตามจุดประสงค์ของการใช้งาน
องค์ประกอบที่ตอ้ งคํานึงถึงการใช้งาน Content มีขอ้ สังเกตดังนี้
• รู ปทรงทางกายภาพ : มีรูปทรงที่แสดงมิติและรับรู ้ดว้ ยการมองเห็นที่เข้าใจได้เช่น หลอดไฟ หรื อดวงโคมมี
ตําแหน่งให้แสงสว่างและจุดเชื่อมต่อกระแสไฟ
• สิ่ งที่ตอ้ งพิจารณา : อุปกรณ์ที่จะนํามาใช้งานแสดงผลตามความต้องการในการออกแบบและการแสดงผลที่จะ
นําไปวิเคราะห์ทางด้านวิศวกรรม หรื อทางสถาปั ตยกรรม สามารถตรงตามความต้องการหรื อไม่ เพราะบาง Content
ที่เหมือนกันขนาดเท่ากันสามารถแสดงผลต่างกัน เช่นเครื่ องใช้ไฟฟ้าที่รูปทรงเหมือนกันแต่การใช้ไฟ 110 Volt หรื อ
220 Volt ค่าต่างๆจะต้องสังเกตก่อนนํามาใช้งาน
• การแสดงผลทาง Graphics : ในการทํางานเราต้องการแบบที่แสดงผลทาง 2D และ 3D ใน Content จึงต้องสามารถ
แสดงผลให้เป็ นแบบ เป็ นไดอะแกรม หรื อวงจรซึ่ งมีมาตรฐานที่แตกต่างกันจึงต้อมีการจัดการให้เหมาะกับการใช้
งานด้วย
• วัสดุและพื้นผิว Materials and Finishes : ในองค์ประกอบของชิ้นงานมีวสั ดุที่แตกต่างกันและสามารถแสดงผลจาก
รู ปทรง จากผิว จากคุณสมบัติของวัตถุน้ นั ที่ได้ถูกสร้างขึ้น ค่าต่างๆนี้สามารถนํามาวิเคราะห์ประกอบการทํางาน
ออกแบบ ตัวอย่างเช่นโคมไฟหรื อกระจกที่จะต้องมีผลต่อการมองเห็นโปร่ งแสงหรื อการกระจายแสง

66
• ข้อมูล ข้อกําหนด เงื่อนไขทางการคํานวณ : BIM Content มักจะระบุขอ้ มูลของอุปกรณ์หรื อเงื่อนไขต่างๆลงใน
อุปกรณ์โดยเฉพาะ Content ทางงานระบบที่ตอ้ งมีการกําหนดเงื่อนไขตั้งแต่เริ่ มต้นในการทํางาน นอกจากนี้ยงั
เกี่ยวเนื่องกับการคํานวณ
• การนําไปใช้งาน : เมื่อมีขอ้ มูลและเงื่อนไขของอุปกรณ์แล้วการเลือกใช้งานให้ตรงตามความต้องการจะทําให้
สามารถแสดงผลได้อย่างสมบูรณ์ Content แต่ละประเภทไม่สามารถระบุเงื่อนไขตามวิธีการทํางานเฉพาะทางได้จึง
ต้องเปิ ดให้ทาํ การสร้างข้อมูลเพิม่ เติมเช่นการระบุชื่อหรื อตัวเลขระบุชนิด สิ่ งเหล่านี้ผใู ้ ช้จะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้
งานอย่างถูตอ้ ง
องค์ประกอบต่างๆจะถูกนํามาใช้งานตามจุดประสงค์ของการใช้งานแต่ละประเภทของงานที่จะต้องกําหนดขึ้นไว้
ก่อนเริ่ มงาน ด้วยการใช้เครื่ องมือและกลไกในการทํางานทําให้สามารถนําข้อมูลต่างๆที่บรรจุภายใน Content มาใช้
งานได้ ผูผ้ ลิตสิ นค้าที่มีขอ้ มูลเฉพาะสามารถบรรจุสิ่งต่างๆลงเพื่อประกอบการใช้งานได้อย่างดี นอกจากนี้ยงั สามารถ
เข้าถึงผูใ้ ช้ได้โดยตรงและง่ายต่อการเลือกใช้หรื อขายสิ นค้า ปัจจุบนั สามารถเข้าถึงจาก Free Download จาก Website
ต่างๆที่ให้ขอ้ มูลผลิตภัณฑ์จากโรงงานผูผ้ ลิตซึ่ งจะกล่าวถึงในครั้งต่อไป
ทรงพล ยมนาค
600805

67
68
29 BIM Content-5

บทความนี้มีความยาวจําเป็ นต้องแบ่งเป็ นตอนๆและบางส่ วนได้เคยกล่าวมาบ้างแล้วในครั้งก่อน อาจจะไม่จาํ เป็ น


สําหรับบางท่านส่ วนผูท้ ี่เห็นความสําคัญก็นาํ ไปพิจารณาตามความเหมาะสมครั้งก่อนได้กล่าวถึงการต่อยอดและ
องค์ประกอบที่มีผลต่อการใช้งาน สําหรับบทสุ ดท้ายที่จะกล่าวเป็ นการนําองค์ประกอบมาใช้จากแหล่งต่างๆซึ่ งมีให้
ใช้จากผูผ้ ลิตสิ นค้าโดยตรง เห็นได้วา่ ในวงจรการทํางานเกิดการเชื่อมโยงทั้งระบบตั้งแต่ผผู ้ ลิตสิ นค้า ผูอ้ อกแบบ ไป
จนถึงการใช้งานก่อสร้าง
BIM Content จะนํามาใช้จากไหนบ้าง?
ส่ วนใหญ่ใน BIM Application จะมีมาให้ใช้เป็ นพื้นฐานอยูแ่ ล้วแต่อาจไม่สอดคล้องกับการทํางานของแต่ละภูมิ
ประเทศที่มีมาตรฐานการทํางานที่แตกต่างกันบางตัวไม่สามารถนํามาใช้ได้เลย บางตัวก็สามารถใช้ได้บางส่ วน ใน
ระยะแรกของการใช้งานอาจจะอึดอัดกับสิ่ งเหล่านี้ จะจําแนกประเภทของ Content เพื่อประกอบการทํางานดังนี้
• Content ที่บรรจุใน BIM Application ถือว่าเป็ นตัวเริ่ มต้นของการทํางานที่ผผู ้ ลิตทําไว้ให้เริ่ มทํางานได้จะสังเกตว่า
ใช้งานได้บางส่ วนจะต้องนํามาดัดแปลงสําหรับใช้งาน
• Content ที่ดดั แปลงจาก BIM Application แล้วเก็บไว้ใช้งาน วิธีน้ ีเป็ นสิ่ งที่ง่ายที่สุดสําหรับการเริ่ มต้นแต่ตอ้ งเรี ยนรู ้
ว่าองค์ประกอบต่างๆได้ถูกสร้างขึ้นมาอย่างไรเพื่อนําไปดัดแปลงได้ การบันทึกด้วยการตั้งชื่อตามมาตรฐานและ
สร้างที่เก็บให้ถูกต้องจะทําให้การใช้งานครั้งต่อไปสะดวกขึ้น
• Content ที่ตอ้ งสร้างขึ้นใหม่ บางชิ้นงานจําเป็ นต้องสร้างขึ้นเฉพาะการทํางานนั้นหรื อสร้างตามาตรฐานที่ใช้งานซึ่ ง
ไม่เหมือนกับที่อื่น การสร้างต้องคํานึงถึงมาตรฐานต่างๆและวิธีการใช้งาน ผูท้ ี่มีความชํานาญแล้วสามารถสร้าง
ขึ้นมาใช้เองอย่างมีประสิ ทธิภาพ
• Content ที่หยิบยืมมา ในบางครั้งการทํางานร่ วมกันสามารถยืมชิ้นงานมาทํางานได้แต่ควรต้องได้รับการอนุญาต
จากผูท้ ี่เป็ นเจ้าของ นอกจากนี้ยงั สามารถ Download มาใช้งานได้ซ่ ึ งส่ วนใหญ่ผผู ้ ลิตสิ นค้าจะทําขึ้นมาให้นาํ ไปใช้
งานพร้อมกับระบุร่น ขนาด และเงื่อนไขการทํางานสามารถนํามาประกอบการออกแบบได้

BIM Content Download


ในแต่ละค่ายของ BIM Software จะมีขอ้ มูลให้ Free Download บางค่ายก็จะเป็ นผูผ้ ลิตสิ นค้าที่ทาํ BIM Content ให้
ใช้ในหลาย File Format ซึ งเป็ นประโยชน์กบั การขายสิ นค้าเพราะการนําเสนอสิ นค้าครั้งเดียวสามารถรับรู ้ได้ทวั่ โลก
การให้ Free Download จึงเป็ นประโยชน์กบั ผูใ้ ช้และผูผ้ ลิต กรอบการค้าจะมีอาณาเขตที่กว้างในขณะที่ตน้ ทุนในการ
โฆษณาตํ่า สิ นค้าหลายตัวจึงหันมาทํา BIM Content (รู ป 3)ตัวอย่างที่สามารถ Free Download ได้ดงั นี้
https://www.bimstore.co.uk/
http://www.smartbim.com/
http://www.us.kohler.com/us/
http://www.arcat.com/bim/bim_objects.shtml

69
http://www.revitcomponents.blogspot.com/
ตัวอย่างดังกล่าวสามารถนํามาใช้งานได้ตามความต้องการรวมทั้งรายละเอียดประกอบอุปกรณ์ในแต่ละชนิด ส่ วน
ใหญ่จะมี File Format หลายๆแบบให้เลือกก่อนการใช้งานต้องเลือกให้เหมาะสมกับการทํางาน สิ นค้าที่มีมาตรฐาน
จะทําเป็ น BIM Content แล้วทั้งนั้น หัวข้อนี้ยงั มีรายละเอียดอีกมากที่จะกล่าวถึงโดยเฉพาะปั จจุบนั SCG ได้มี BIM
Content ให้ลงทะเบียน Free Download ที่ http://www.scgbuildingmaterials.com/…/Download-SCG-BIM-Libr… มี
อุปกรณ์หลายรายการที่นาํ ไปใช้งานได้เช่นหลังคา สุ ขภัณฑ์ เป็ นต้น
พัฒนาการต่อเนื่อง
BIM Content ถือว่าเป็ นองค์ประกอบที่สาํ คัญอันหนึ่งในการทํางานไม่เพียงหยิบมาใช้งานเพียงอย่างเดียว ในอนาคต
ที่ผผู ้ ลิตสิ นค้าสามารถสร้าง BIM Content ให้เรานํามาใช้งานจะทําให้การเชื่อมต่อระหว่าผูผ้ ลิตอุตสาหกรรมสามารถ
เข้าถึงผูใ้ ช้งานและผูอ้ อกแบบได้อย่างรวดเร็ วด้วย Object ที่เป็ น3มิติ และข้อมูลที่เข้าใจง่ายส่ งผลให้เกิดการตัดสิ นใจ
ได้รวดเร็ ว ประโยชน์น้ ีจะได้กบั ทุกฝ่ ายที่ทาํ งาน เราอาจจะสร้าง BIM Content เฉพาะทางสําหรับการออกแบบ
เท่านั้น ยังมีองค์ประกอบอื่นๆที่สามารถนํามาใช้งานได้อีกมากมายด้วยการพัฒนาการทํางานควบคู่กบั เทคโนโลยีที่
เดินหน้าอย่างต่อเนื่อง
ทรงพล ยมนาค
600812

70
71
30 ก้ าวไปข้ างหน้ า + เปลีย่ นแปลง

การเปลี่ยนไปสู่ ยคุ ใหม่ของระบบอุตสาหกรรมมีววิ ฒั นาการมาอย่างต่อเนื่องเราคงได้ยนิ การผลักดันให้เกิดการ


เปลี่ยนหรื อปรับตัวเพื่อก้าวให้ทนั กับกระบวนการนี้ ขณะที่ยงั ไม่เข้าใจกับรู ปแบบที่จะเกิดขึ้นแต่ได้รับการผลักดันให้
ไปสู่ ส่ิ งใหม่ทาํ ให้เกิดความกังวลในสิ่ งที่มองไม่เห็นหรื อไม่มีคาํ อธิ บายที่ชดั เจน คําบอกเล่าถึงคุณสมบัติต่างๆยัง
ไม่ได้สร้างความมัน่ ใจต่อเมื่อผ่านประสบการณ์ แต่ใครจะลองก่อน? ถ้าผิดพลาดหมายถึงความเสี่ ยง มีแนวทางใน
การทํางานแบบที่เราต้องการหรื อไม่? แล้วต้องลงทุนอีกเท่าไร? จุดคุม้ ทุนอยูท่ ี่ไหน? ในเกมนี้อาจจะมีผเู ้ ล่นมากมาย
แต่ผทู ้ ี่จดั การเกมและผูก้ าํ กับเส้นมีหรื อยัง? คําถามเหล่านี้เกิดขึ้นตลอดเวลาขณะที่ตอ้ งก้าวไปข้างหน้าลองผิดลองถูก
เพื่อหาแนวทางที่ถูกต้องต่อไป
เราคือส่ วนหนึ่งในการเปลี่ยนแปลง
การใช้ BIM เป็ นที่แพร่ หลายในปั จจุบนั หลายๆโครงการขนาดใหญ่ได้นาํ มาใช้ทาํ ให้ผรู ้ ่ วมงานทุกฝ่ ายต้องปรับเข้าหา
ตั้งแต่งานออกแบบไปจนถึงการก่อสร้าง ความเคลื่อนไหวถูกเฝ้ามองและมีคาํ ถามถึงวิธีที่นาํ ไปสู่ การทํางาน ตัวละคร
บางส่ วนได้ปรับตัวเข้าสู่ กระบวนการเปลี่ยนแปลงแล้วด้วยแรงผลักดันจากนโยบายการทํางานหรื อความต้องการจาก
ผูว้ า่ จ้าง ขณะที่แรงผลักดันจากอิทธิพลของต่างประเทศที่ทาํ ให้การร่ วมงานต้องใช้เครื่ องมือที่สามารถทํางานร่ วมกัน
กระแสของพัฒนาการนี้ไม่เคยหยุดยั้งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทาํ ให้มนุษย์ตอ้ งทํางานร่ วมกับเทคโนโลยีดว้ ย
การใช้ Information ซึ่ งเราได้ใช้สิ่งเหล่านี้ ในชีวิตประจําวันอยูแ่ ล้ว ปฏิเสธไม่ได้ที่เราจะเป็ นส่ วนหนึ่งในการ
เปลี่ยนแปลงนั้น
ประสบการณ์ในการเปลี่ยนแปลง
ส่ วนใหญ่เข้าใจว่า BIM เป็ นเรื่ องของ Software หรื อหน้าที่ของส่ วนงาน IT ที่ตอ้ งนํามาพัฒนาในองค์กรทําให้การ
นําเข้ามาใช้มุ่งไปผิดทางการจัดการหรื อวิธีการทํางานจึงถูกจัดวางไม่ถูกต้อง ขณะที่ผใู ้ ช้ส่วนหนึ่ งพร้อมที่จะใช้
เครื่ องมือก็ตาม หรื อการนํามาใช้โดยมุ่งไปที่เครื่ องมือโดยขาดกลวิธีในการทํางานก็ไม่สามารถนําทีมไปสู่ เป้าหมายที่
ต้องการ หลายประสบการณ์ที่ได้พบดังตัวอย่างเช่น
ประสบการณ์ที่ 1
หน่วยงานจัดเตรี ยมเครื่ องมือ BIM พร้อมอบรมการใช้งาน 3-5 วัน พนักงานทั้งหมดกลับมาไม่ใช้เครื่ องมือเพราะ
ผลิตผลงานไม่ได้จากเครื่ องมือนั้น
ประสบการณ์ที่ 2
พนักงานในองค์กรสามารถใช้งาน BIMได้แต่ไม่สามารถประสานการทํางานได้เพราะไม่สามารถบริ หารการใช้งาน
ได้อย่างไร
ประสบการณ์ที่ 3
ในองค์กรยังไม่สามารถผลิตผลงานหรื อไม่มีนโยบายในการใช้ BIM ต้องจ้างบุคคลภายนอกมาทําให้แทนเป็ นชิ้นๆ
เพื่อประกอบการส่ งงาน
อาจจะมีกรณี ที่แตกต่างจากนี้อีกมากมายจะเห็นได้วา่ ความเข้าใจและแนวทางในการนําไปสู่ การปรับเลี่ยนยังไม่
สามารถนํามาใช้ ยังไม่รวมถึงทัศนคติในการรับรู ้และการเปิ ดรับในการเปลี่ยนแปลง

72
การนําไปสู่ การเปลี่ยนแปลง
หลายคนกล่าวว่าการนํา BIM มาใช้จะต้องกําหนดจากระดับนโยบายอย่างชัดเจนจะเป็ นตัวผลักดันให้เกิดการทํางาน
ได้ ในทางกลับกันถ้าบุคลากรในองค์กรไม่เข้าใจเป้าหมายมีทศั นคติที่แปลกแยก การตีความเพื่อนํามาทํางานตาม
ความเข้าใจของตัวเอง การพัฒนาก็ไม่สามารถบรรลุผลได้ ถึงแม้วา่ นโยบายจากระดับบนต้องการกําหนดให้ท้ งั
องค์กรเดินไปก็ตาม มีประเด็นที่ควรคํานึงถึงเช่น
• ทําความเข้าใจที่ถูกต้องว่า BIM คืออะไร? อะไรคือความสําคัญหลัก? กระบวนการทํางานเป็ นอย่างไร?
• ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงย่อมมีการต่อต้าน การเปลี่ยนทัศนคติจากเดิมจะต้องถูกจัดเตรี ยมก่อนเข้าสู่
กระบวนการ
• การที่จะปรับเปลี่ยนต้องอาศัย กระบวนการทํางาน การประสานการทํางานเป็ นส่ วนใหญ่ การใช้เทคโนโลยีกบั
Information จะเป็ นสิ่ งที่สนับสนุนให้บรรลุผล
• การกําหนดเป้าหมายและแผนการทํางาน การกําหนดตัวชี้วดั ในการทํางาน การสร้างแนวทางการทํางาน และ
มาตรฐานในการทํางาน จะทําให้ผรู ้ ่ วมงานสามารถดําเนิ นงานได้
• ไม่เพียงแต่การกําหนดนโยบายการทํางานจากระดับบริ หาร ผูป้ ฏิบตั ิงานต้องนําเสนอความเห็นเพื่อปรับการทํางาน
ให้เหมาะสมอีกด้วย
• การทํางานร่ วมมือหาข้อสรุ ปที่ดีต้ งั แต่ระดับบริ หารและพนักงานจะเห็นความคืบหน้าและการแก้ปัญหาที่ดี
• การสร้างความรู ้สึกในการมีส่วนร่ วมในการเสนอความคิดวิธีการทํางานจะผลักดันให้เกิดการทํางานเป็ นทีม
BIM ไม่ใช่แค่เทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว
การปรับไปสู่ ยคุ ใหม่ของการทํางานด้วย BIM ซึ่ งต้องประสานกับการใช้เทคโนโลยีเป็ นเรื่ องท้าทายขององค์กร การ
นําไปสู่ การเปลี่ยนแปลงไม่เพียงการกําหนดให้ทาํ เพียงอย่างเดียวยังต้องบอกวิธีที่จะนําไปสู่ เป้าหมายอย่างเป็ น
ขั้นตอนยังต้องสร้างทัศนะคติความเข้าใจและผลลัพธ์ต่อผูป้ ฏิบตั ิงานอีกด้วย เป็ นภารกิจที่นาํ มาประสานกับการใช้
เทคโนโลยีซ่ ึ งเลือกนํามาใช้งาน มนุษย์เป็ นผูส้ ามารถสร้างกระบวนการเรี ยนรู ้และพัฒนาด้วยตัวเองได้ การใช้
เทคโนโลยีจึงไม่ใช่เรื่ องยาก แต่การทําให้องค์กรและบุคลากรนําเทคโนโลยีท้ งั กระบวนการอย่างถูกต้องเป็ นเรื่ องที่
ยากกว่า
ทรงพล ยมนาค
600827

73
74
31 เตรียมโครงการก่ อนเริ่ม BIM

ความเข้าใจทัว่ ไปที่คิดว่า BIM เป็ น Software มักจะเริ่ มต้นจากการซื้ อมาติดตั้งแล้วสั่งทํางาน ผลที่ออกมาคือความ


ล้มเหลวจากทักษะของผูป้ ฏิบตั ิงานหรื อวิธีการใช้เครื่ องมือหรื อองค์ประกอบต่างๆไม่อาํ นวยความสะดวกต่อการ
ทํางานในสํานักงาน ทุกคนมุ่งไปที่จะทําอย่างไรให้ผลิตงานตามรู ปแบบที่ตอ้ งการบนฐานความคิดแบบเดิม ปัญหา
เหล่านี้ยงั คงอยูจ่ นกว่าจะเข้าใจการเปลี่ยนแปลงไปสู การทํางานรู ปแบบใหม่และกระบวนการทํางานของ BIM ที่
แตกต่างจากเดิมซึ่ งต้องวางแผนและจัดเตรี ยมสิ่ งต่างๆให้สามารถทํางานร่ วมกันเป็ นทีมได้
บางอย่างที่ควรรู ้
BIM เป็ นกระบวนการทํางานเพื่อทุกคนทํางานร่ วมกันแลกเปลี่ยนข้อมูลไปพัฒนางานของตนให้มีประสิ ทธิภาพและ
ยังนําไปทําการวิเคราะห์ดา้ นต่างๆด้วยการใช้ขอ้ มูล Information บนฐานเดียวกันโดยเครื่ องมือทางเทคโนโลยีทาํ ให้
การประมวลผลได้ดีข้ ึน งานด้านออกแบบเกิดจาการสร้างทางทางวัตถุและตรรกะทางจิตวิทยาผสมผสานร่ วมกันแล้ว
กลัน่ กรองออกมาเป็ นผล ทั้งนี้ตอ้ งการข้อมูลพื้นฐานจากปั จจัยของความต้องการนํามาสร้างฐานความรู ้เพื่อให้เกิด
ปั ญญา การคิดและประมวลออกจากสมองลงไปสู่ มือเพื่อบังคับควบคุมเครื่ องมือให้ทาํ งาน เพราะว่ามนุษย์เป็ น
สิ่ งมีชีวติ ที่สามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาด้วยการฝึ กฝน การวางแผน การสร้างกระบวนการทํางานทําให้ทาํ งานรวมกลุ่ม
ได้ ความเข้าใจและรับรู ้ดว้ ยปัญญาจะถูกส่ งถ่ายด้วยภาพจําลอง 3 มิติและข้อมูลในสภาพแวดล้อมของ BIM
กระบวนการทํางานเป็ นตัวขับเคลื่อนให้การใช้ขอ้ มูลสามารถนําไปใช้ได้ตลอดโครงการ
กรอบการทํางานเป็ นเรื่ องเกี่ยวพัน
กระบวนการทํางานมีความเกี่ยวพันกับจุดมุ่งหมาย , เป้าหมาย และความต้องการในการทํางานทําให้ BIM ในแต่ละ
โครงการ ทําให้แต่ละรู ปแบบธุรกิจมีความแตกต่างกันออกไป การจัดระเบียนการทํางานมักอ้างอิงเรื่ องมาตรฐานใน
การใช้งาน ในปั จจุบนั ที่เราใช้ CAD ในการทํางานมี Office Standard วางไว้เป็ นรู ปแบบหนึ่งแต่เมื่อเริ่ มใช้ BIM การ
นําเอามาตรฐานการใช้งานแตกต่างออกไปจากเดิมซึ่ งเป็ นการทํางานผ่านการใช้ขอ้ มูลและการวิเคราะห์ ผูร้ ่ วมงานทุก
คนต้องเข้าใจหลักการและวิธีใช้งานมากขึ้นบนวินยั การทํางาน
อะไรบ้างที่ตอ้ งจัดเตรี ยม?
การสร้างมาตรฐานในการทํางานให้สอดคล้องกันทุกหน้าที่เพื่อเดินงานบนกระบวนการใช้ BIM มีประเด็นที่ควร
คํานึงถึงสําหรับผูท้ ี่มีหน้าที่จดั เตรี ยมเช่น BIM Manager หรื อหัวหน้าทีมงานมีรายละเอียดสังเขปดังนี้
• เป้าหมายการทํางานและคําจํากัดความ เป็ นหลักในการทําความเข้าใจเบื้องต้นของการทํางาน
• แผนในการปฏิบตั ิงาน เพื่อทํางานร่ วมกันเป็ นข้อตกลงที่ทุกฝ่ ายยอมรับ
• Project Setup จัดเตรี ยมข้อมูลการทํางาน ,เครื่ องมือ ,มาตรฐาน ,กําหนดความรับผิดชอบ ,File Location ,การ
เชื่อมโยงไฟล์ , Storage อื่นๆ
• Content Standard การใช้องค์ประกอบอาคารด้วยมาตรฐานใด? , การส่ งต่อข้อมูลไปให้ทีมต่างๆที่สามารถทํางาน
ร่ วมกันได้ดว้ ยสื่ ออะไร?
• การจัดการแสดงผลด้วย 2D หรื อ 3D การส่ งงานด้วย 2D-3D บนรู ปแบบใด? บนสื่ ออะไร? เพื่อให้ทุกคนสามารถ
รับรู ้ได้

75
• การจัดมาตรฐานการแสดงผลของงานที่เป็ นตัวอักษร ,สัญลักษณ์ , การบอกมิติ บนมาตรฐานสากลที่ยอมรับได้
• การจัด Views ต่างๆไม่วา่ จะเป็ น 2D Sheet , 3D view การจัดการการตั้งชื่อ ,การระบุขอ้ มูลประกอบใน 3D
• Data Set การจัดการข้อมูลที่บนั ทึกลงใน 3D Model เพื่อใช้งานในรู ปแบบอื่นๆตามจุดประสงค์ของโครงการ
• การจัดสรรหน้าที่ในการทํางานร่ วมกันใน Model สําหรับการทํางานร่ วมกันในหลายหน้าที่
• การจัดการ Material และข้อมูลที่ถูกบันทึกลงใน Model
• การจัดการไฟล์เชื่อมโยงและการจัดโครงสร้าง Model เพื่อบริ หารการทํางานในแต่ละหน้าที่
• การใช้ LOD ในแต่ละขั้นตอนการทํางาน
• การบริ หารไฟล์ที่ตอ้ งส่ งต่อไปยังเครื่ องมืออื่นๆที่มี Format ที่แตกต่างกัน
• การเขียนโปรแกรมและเครื่ องมือในการสร้างโปรแกรมเพื่อประมวลผลและทํางานเชื่อมต่อกับเครื่ องมือที่แตกต่าง
• การจัดเก็บและบันทึกและการแบ่งปั นไฟล์ตามขั้นตอนในการทํางาน
• วิธีการส่ งงาน การจัดเตรี ยมการส่ งงานด้วยไฟล์และข้อมูลในรู ปแบบต่างๆ
หัวข้อดังที่กล่าวมาเป็ นแค่กรอบกว้างๆที่ควรรับรู ้ในการเริ่ มต้นการทํางานซึ่ งต้องมีการเตรี ยมการตั้งแต่เริ่ มโครงการ
จะเห็นได้วา่ ก่อนเริ่ มสร้าง Model ให้ได้ตามประสงค์ของโครงการมีเงื่อนไขมากมายที่มีผลกับการทํางานบน
สภาพแวดล้อมของ BIM
ทรงพล ยมนาค
600902

76
32 บางประการของการทํา Clash Detection

การทํา Coordination หลายโครงการใช้ Clash Detection เพื่อช่วยในการทํางานแต่จริ งหรื อไม่ที่จะช่วยแกปั ญหาของ


การทํางานตั้งแต่การออกแบบไปจนถึงงานก่อสร้าง ระยะเวลา ,ความไม่พร้อม ,ขาดความเข้าใจ ทําให้ยากที่จะ
นําไปสู่ ความสําเร็ จ ปัญหาที่ทาํ ให้ผรู ้ ่ วมงานเกิดความกังวลและเหนื่อยหน่ายทําให้บรรยากาศการทํางานร่ วมกันหด
หายไป ทุกคนต้องการเดินหน้าและส่ งงานตามเป้าหมาย แต่ความท้าทายอยูท่ ี่จะพบอะไรในการประชุม Coordinate
Meeting เมื่อทุกคนตัดสิ นใจในการใช้ BIM เป็ นการทํางานร่ วมกัน
ทํา Clash Detection เพื่ออะไร?
การทํา Clash Detection เป็ นกระบวนการหนึ่งเพื่อนําเนื้องานของผูร้ ับผิดชอบในแต่ละหน้าที่นาํ BIM Model มา
ตรวจสอบร่ วมกันตั้งแต่ข้ นั ตอนการออกแบบไปจนถึงการก่อสร้างเพือ่ หาข้อขัดแย้งของ Model ที่ถูกสร้างขึ้นเป็ น
รู ปทรงเลขาคณิ ต ,ตารางเวลาของเนื้องาน ,องค์ประกอบอาคารเช่น ผนัง ท่อ คาน นํามาทดสอบการชนกันของส่ วน
ต่างๆด้วยเครื่ องมือเพื่อให้รับทราบข้อมูลการขัดแย้งของส่ วนต่างๆด้วยรายงานเป็ นรู ปภาพและตัวอักษรที่บอก
ตําแหน่งและเงื่อนไขที่เกิดขึ้น ผลที่ได้จึงนําไปแก้ไขปัญหาหรื อจัดการแก้ไขงานออกแบบหรื อวิธีการติดตั้งอุปกรณ์
ด้วยความซับซ้อนของงานออกแบบมีมากขึ้นความเข้าใจและการหาจุดขัดแย้งไม่สามารถทําด้วยระบบธรรมดาได้
ทันเวลา Clash Detection จึงถูกใช้เพื่อช่วยให้เข้าถึงปั ญหาและเห็นได้อย่างรวดเร็ ว
ทํา Clash Detection ต้องเตรี ยมอะไร?
มีวธิ ีการทํา Clash Detection ที่หลากหลายขึ้นอยูก่ บั จุดประสงค์ของการใช้งานแต่ละโครงการ กรอบการทํางานต้อง
คํานึงถึงองค์ประกอบที่ทาํ ให้เกิดการทํางานได้เช่น
○ เป้าหมายในการทํา Clash Detection
○ แผนปฏิบตั ิงานซึ่ งกําหนดจากเป้าหมายการทํางานด้วยความเห็นชอบของทุกฝ่ ายที่ร่วมงาน
○ BIM Model ที่มีคุณภาพในการทํางานแต่ละหน้าที่ของงานอาคาร
○ เลือกเครื่ องมือที่สามารถรองรับการทํางานเช่น Hardware / Software / Network / Cloud
○ Origin Point ของ การสร้าง Model ที่ตกลงตําแหน่งอย่างถูกต้อง
○ Standard ในการทํางาน เช่นการตั้งชื่อ การกําหนดสี การแบ่งอุปกรณ์ตามหมวดหมู่
○ LOD / Tolerance / Zone and Priorities
○ การกําหนดไฟล์ประเภทต่างๆเพื่อใช้งานร่ วมกัน
○ ความรับผิดชอบในการทํางานแต่ละหน้าที่
○ เครื่ องมือสําหรับการทํา Clash Detection
○ วิธีการรายงานผลและขั้นตอนที่ทาํ ให้ทุกฝ่ ายสามารถนําไปปรับปรุ งหรื อแก้ไข
○ การจัดประชุมเพื่อหาข้อยุติ
○ และอื่นๆตามจุดประสงค์ของโครงการ
เมื่อองค์ประกอบที่จดั เตรี ยมไว้พร้อมแล้วจะใช้การประชุมเพื่อนําเสนอภาพ 3มิติและข้อมูลการชนของอุปกรณ์มา
หารื อ แน่นอนที่ตอ้ งมีผรู ้ ับผิดชอบในการจัดและดําเนิ นการนี้เช่น BIM Manager ในทุกการประชุมต้องมีขอ้ ยุติและ

77
การโต้แย้งเพื่อหาข้อสรุ ปที่เหมาะสม ความเป็ นเจ้าของ Model ,ความรับผิดชอบ ,การปรับเข้าหากัน เป็ นสิ่ งที่ทาํ ให้
โครงการดําเนินได้
ทํา Clash Detection แบบไหน?
การใช้เครื่ องมือในการทํา Clash ไม่ได้หมายความว่าการรายงานผลจะถูกนํามาใช้ได้ทุกรายการ เครื่ องมือคือหุ่นยนต์
ที่ทาํ งานตามข้อกําหนดที่เราตั้งขึ้นให้ทาํ งานแต่ในยุคนี้เครื่ องมือยังไม่สามารถคิดและแก้ปัญหาให้ทุกกรณี ได้ เรา
ต้องเป็ นผูว้ ินิจฉัยประเด็นต่างๆที่มีผลกับการทํางานจากประสบการณ์ในวิชาชีพ ถ้าจะแบ่งการทํา Clash ออกเป็ น
ประเภทได้เช่น การตรวจสอบวัตถุที่ชนกันโดยตรง ,การตรวจสอบวัตถุที่มีระยะหรื อกรอบที่กาํ หนดไว้ ,การ
ตรวจสอบวัตถุที่นาํ เข้าเพื่อการติดตั้งที่มีความสัมพันธ์กบั ระยะเวลาเช่นการกําหนดก่อนหลังของการเข้าทํางาน
เนื้อหาของการตรวจสอบแบ่งออกเป็ น
○ เบื้องต้นการสํารวจจากการทํา Visual Check สามารถทําให้ทุกคนเข้าใจภาพรวมของโครงการและพบข้อขัดแย้ง
ในส่ วนที่ Clash ปรกติไม่สามารถแจ้งเตือนเช่น Sprinkle ที่วางลอยอยูน่ อกอาคารไม่ได้ชนกับวัตถุอื่นเครื่ องมือจะไม่
แสดงผล
○ ขั้นต่อไปคือการทํา Clash Check ที่แสดงผลการชนของวัตถุเป็ นภาพและรายงานผลซึ่ งสามารถบันทึกความเห็น
ในการทํางานเพื่อนําไปแก้ไข
ถึงแม้วา่ การใช้ BIM จะเป็ นที่แพร่ หลายในปัจจุบนั Clash Detection เป็ นหัวข้อหนึ่งในกระบวนการนี้ที่ทาํ กันอย่าง
มาก แต่ตอ้ งคํานึงถึงกระบวนการอื่นๆที่จะผลักดันให้เกิดคุณภาพในการทํางานมีบางประเด็นที่ควรนําไปพิจารณา
เมื่อเริ่ มทํางานด้วย BIM เช่น
○ การทํา Coordination เพื่อบรรลุเป้าหมายมีความสําคัญมากกว่าการทํา Clash เพียงอย่างเดียว
○ ควรจะนําผล Clash มาแก้ไขปั ญหามากกว่าการนับผลจํานวน Clash
○ Clash ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ท้ งั หมดของโครงการแต่เราสามารถกําหนดการแก้ปัญหาในจุดที่สาํ คัญ
ทรงพล ยมนาค
600930

78
33 BIM – M

ทุกวันที่เราทํางานการใช้อีเมล์ การใช้โทรศัพท์มือถือ การจองตัว๋ เดินทาง ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต หรื อจะเรี ยกรถ


เลือกสั่งซื้ อสิ นค้า สนทนากับกลุ่มเพื่อนได้ตลอดเวลา เราสนใจที่หน้าจอมากกว่ามองทางในระหว่างเดิน เราใช้
เทคโนโลยีอยูใ่ นชีวิตประจําวันเสมือนเป็ นความต้องการส่ วนหนึ่งของการดํารงชีวิต สื่ อทางเทคโนโลยีได้เข้ามาเป็ น
องค์ประกอบสําคัญในการใช้ชีวิตอย่างรวดเร็ ว
ในอีกมุมหนึ่งถึงแม้วา่ การเคลื่อนไหวของการใช้ BIM มีความเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ วและมีส่วนสําคัญในการ
ทํางานออกแบบ ก่อสร้าง และเริ่ มนํามาใช้ประกอบการบริ หารจัดการอาคาร หรื องานที่มีขอบเขตที่กว้างขวางกว่า
อาคารก็ตาม แต่ทิศทางที่จะนําไปสู่ การทํางาน ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวะที่แท้จริ งในสภาวะแห่งคุณภาพ
ยังต้องค้นหาอีกต่อไป วิธีการทํางานควรเป็ นอย่างไร? จะต้องทําอะไรที่แตกต่างมากกว่านี้หรื อไม่? อะไรที่ตอ้ งทํา
บ้างในแต่ละประเภทของงาน? ความพอเหมาะของเนื้องาน ความพอเหมาะของเวลา? เหล่านี้ยงั ต้องการคําตอบจาก
ประสบการณ์
คําตอบอยูท่ ี่ไหน?
ทุกคนอยากรู ้วธิ ี เข้าถึงคําตอบเหล่านี้เพื่อนําไปใช้เพือ่ ตอบสนองความต้องการแต่ตอ้ งทําความเข้าใจก่อนว่าในความ
เป็ นจริ งแล้วทุกคนก็ยงั หาคําตอบที่เหมาสมและลงตัวอยูเ่ หมือนกันว่าวิธีที่ดีที่สุดควรทําอย่างไร? ความต้องการใน
การใช้งานที่หลากหลายบนระยะเวลาที่จาํ กัด ประเด็นข้อขัดแย้งในองค์ประกอบการทํางาน การสื่ อสารเพื่อทําความ
เข้าใจ การใช้ขอ้ มูลร่ วมกัน การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมมากกว่าการทุ่มเทลงทุนเกินความจําเป็ น เราต้องการ
กระบวนการทํางาน ถึงแม้วา่ ยังไม่รู้วา่ จะดีหรื อไม่ แต่ไม่สามารถหยุรอหรื อกลับไปยังจุดเดิมได้อีก อย่างไรก็ตามเรา
ถูกผลักดันด้วยสภาวะของเทคโนโลยี การสร้างผลิตผลทางธุรกิจที่ตอ้ งการความได้เปรี ยบในวงจรของการทํางาน
อย่างไม่สามารถรอได้
พัฒนาการที่จะได้สัมผัส
วิวฒั นาการทางเทคโนโลยีมีส่วนในชีวิตการทํางานที่ก่อผลกระทบกับการใช้ BIM ที่สามารถเห็นได้ไม่ชา้ ก็เร็ ว มีบาง
หัวข้อที่ประมวลได้เช่น
○ การใช้และการเข้าถึง Information ในสภาพแวดล้อมของข้อมูลซึ่ งนําไปสู่ Big Data และการบันทึก
○ การเข้าถึง Network การใช้ Mobile เพื่อการเชื่อมต่อสื่ อสาร
○ การใช้ Augmented เพื่อการสื่ อสารที่เข้าถึงได้ดีข้ ึน
○ การใช้ขอ้ มูลอย่างเท่าเทียมและแบ่งปั น
○ การประกอบติดตั้งโดยชิ้นส่ วนจากโรงงาน
○ การใช้ Drone , Laser Scan
○ การใช้ขอ้ มูลจาก Libraries ทีมีขอ้ มูลอุปกรณ์ สิ นค้า ราคา
○ การประมวลผลและถ่ายทอดข้อมูลบน Cloud Platform
BIM เพียงแค่ Modelling?
เราคุน้ เคยกับการทํางานด้วยการสร้าง Model ของ BIM หรื อการใช้ Information ที่ตอ้ งบันทึกลงใน Model ด้วย

79
หลักการตามมาตรฐาน ถึงแม้วา่ คําย่อของ M ใน BIM จะหมายถึง Modelling แสดงผลเป็ นภาพ 3 มิติที่มีขอ้ มูล
Graphic และ Non Graphic ก็ตามซึ่ งเป็ นเครื่ องมือที่นาํ ไปสู่ ความเข้าใจในการมองเห็น แต่ถา้ มองอีกแง่หนึ่งของการ
ทําให้ BIM บรรลุเป้าหมายยังต้องการ "M" ยังมีความหมายถึง Management ที่จะช่วยให้การทํางานเป็ นทีมและสร้าง
กระบวนการทํางานรวมถึงวิธีต่างๆให้ขอ้ มูลใช้งานได้ต้ งั แต่เริ่ มโครงการซึ่ งเป็ นเนื้อหาส่ วนใหญ่ในการทํางาน งาน
ด้านนี้ ดาํ เนินไปควบคู่การทํางานตลอดโครงการด้วยกระบวนการที่ตอ้ งการวิธีการด้านต่างๆให้ทีมทั้งหมดสามารถ
ประสานงานได้ เราไม่อาจจะมอบสิ่ งเหล่านี้ ให้กบั BIM Manager เพียงลําพัง การบริ หารจัดการต้องการทีมที่มีความ
เข้าใจและมีส่วนร่ วมในกิจกรรมทั้งหมดด้วย
การนําไปสู่ การทํางานบนแนวทางที่เป็ นกระบวนการทํางานโดยใช้เทคโนโลยียงั ต้องการประสบการณ์เพื่อหา
คําตอบที่เหมาะสม การ Implementation ที่จะนําให้องค์กรสามารถดําเนินการทํางานด้วย BIM ยังต้องการวิธรการ
บริ หารที่ลงตัวกับธุรกิจในแต่ละประเภทอาจจะเรี ยกว่าไม่มี Template มาตรฐานที่ใช้ได้กบั ทุกประเภทของงานขึ้นอยู่
กับความต้องการและจุดประสงค์ในการทํางานนั้นซึ่ งต้องการวิธีจดั การที่เข้าใจกระบวนการทํางานอย่างชัดเจนใน
การใช้เทคโนโลยีผสมผสานกับทีมที่ทาํ งานด้วยกัน
ทรงพล ยมนาค
601007

80
34 เรือ
่ งของ Model

การดําเนินงานในกระบวนการของ BIM ต้องการเครื่ องมือต่างๆเพื่อจัดการข้อมูลอาคารผ่านภาพจําลอง 3 มิติที่บรรจุ


ข้อมูลจากผูอ้ อกแบบ ข้อมูลเหล่านี้ไม่ต่างกับระบบนิเวศของธรรมชาติที่มีมนุษย์เป็ นผูส้ ่ งถ่ายและเรี ยนรู ้การ
ดํารงชีวิตที่เกื้อหนุนเป็ นวัฏจักร แดด ฝน ลม นํ้า ดิน ทําให้สิ่งมีชีวติ สามารถอยูด่ ว้ ยกันได้ BIM ก็เช่นกันที่มีการ
สื่ อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลตลอดอายุของอาคารนั้นกับผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทุกหน้าที่ การก้าวไปสู่ การเรี ยนรู ้จึงต้องการ
ปรับไปสู่ วฒั นธรรมการใช้ขอ้ มูลผ่านการสร้างภาพจําลอง 3 มิติ
Information Model
ภาพจําลอง 3 มิติที่บรรจุขอ้ มูลจากผูอ้ อกแบบมีองค์ประกอบของรู ปทรงที่เป็ น Graphic มีการควบคุมด้วย Parameter
ประกอบกับข้อมูลที่เป็ น Non Graphic เป็ นข้อมูลด้านต่างๆทําให้ BIM Model สามารถทําการแสดงผลและนําข้อมูล
ไปวิเคราะห์ ผูอ้ อกแบบในแต่ละหน้าที่จะทําการสร้างองค์ประกอบของตนแล้วนํามารวมกันเพื่อหาข้อสรุ ปในการ
แก้ปัญหาตั้งแต่ระยะการออกแบบไปจนถึงการก่อสร้าง Model จึงถูกสร้างขึ้นตามหน้าที่ในการทํางานและตาม
ประเภทของการใช้งาน
ชนิดของ Model
ในการทํางานเราคุน้ เคยกับ Model ในลักษณะต่างๆและใช้มนั ในทุกๆด้าน Model จะเกิดขึ้นตามจุดประสงค์และ
ความต้องการของการใช้งานแต่ละประเภทและแต่ละช่วงเวลาการทํางาน องค์ประกอบที่ถูกบันทึกจึงมีความแตกต่าง
ออกไป รวมถึงการควบคุมคุณภาพที่มีกรอบเพื่อนําไปทํางานได้ ข้อกําหนดต่างๆจะกําหนดให้ Model มีเงื่อนไขเพื่อ
นําไปสู่ การทํางานตามจุดประสงค์ Model จึงถูกแบ่งตามชนิดของการทํางานนั้นๆและไม่ได้นาํ ไปใช้ทุกๆเรื่ องใน
Model เดียว เช่นการใช้ VDC (Virtual Design & Construction) Models ควบคู่ไปขณะการทํางานออกแบบและการ
ก่อสร้างโดยใช้เครื่ องมือที่แตกต่างออกไปเพื่อให้แสดงผลอย่างที่ตอ้ งการ Model แต่ละชนิดถูกสร้างขึ้นในระบบการ
ทํางานของวงจร BIM ประเภทของ Model ได้รวบรวมโดยสังเขปดังนี้
Design Models : สําหรับการทํางานของผูอ้ อกแบบแต่ละหน้าที่ระหว่างการออกแบบ
Design Intent Models
Energy and Performance Models
Construction Models : สําหรับการทํางานในระยะการก่อสร้าง
Construction Model
Trade Construction Models
Survey Model
Layout Model
VDC (Virtual Design & Construction) Models : สําหรับการทํางานควบคู่กบั งานออกแบบและก่อสร้างเพื่อช่วย
วิเคราะห์และเข้าถึงข้อมูลเพื่อตัดสิ นใจในแต่ละช่วงการทํางานด้วยการแสดงภาพและแผนงานการติดตามผลและการ
ประมาณราคา
Experience Simulation Models
81
Coordination Models
4-D Models
Tracking Models
Cost and Quantification Models
As-Built Models : สําหรับการส่ งงานเพื่อนําไปบริ หารอาคาร
Facilities Management Models and Operations Models
ในหัวข้อดังกล่าวอาจจะไม่ครบถ้วนนักนํามาแสดงให้เห็นเพื่อสร้างความเข้าใจถึงประเภทของการใช้งาน Model ใน
แต่ละขั้นตอนซึ่ งยังต้อมีรายละเอียดอีกมากสําหรับการทํางานเช่น ข้อกําหนดของ LOD. ในแต่ละขั้นตอนการทํางาน
,Model Structure ของ Model แต่ละประเภท ,การบันทึก Information ,Materials ,Standard และอื่นๆอีกมาก อีกเรื่ อง
ที่นาํ มากล่าวถึงคือ VDC Models เพื่อให้เห็นได้วา่ สิ่ งนี้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการของ BIM อยูแ่ ล้ว ไม่สามารถ
จะแยกเป็ นส่ วนใดส่ วนหนึ่งจาก BIM ซึ่ งเดิมทีได้มีการทํากันมานานแล้วก็ตาม สิ่ งที่ควรคํานึ งถึงเรื่ องการใช้ Model
คือการเน้นเนื้อหาของการนําข้อมูลมาแลกเปลี่ยนเพื่อสนับสนุนกระบวนการทํางานมากกว่าผลิตผลของสิ่ งประดิษฐ์
ที่ได้จากกระบวนการทํางาน
ทรงพล ยมนาค
601014

82
35 เรื่ องของ Model

การดําเนินงานในกระบวนการของ BIM ต้องการเครื่ องมือต่างๆเพื่อจัดการข้อมูลอาคารผ่านภาพจําลอง 3 มิติที่


บรรจุขอ้ มูลจากผูอ้ อกแบบ ข้อมูลเหล่านี้ ไม่ต่างกับระบบนิเวศของธรรมชาติที่มีมนุษย์เป็ นผูส้ ่ งถ่ายและเรี ยนรู ้การ
ดํารงชีวิตที่เกื้อหนุนเป็ นวัฏจักร แดด ฝน ลม นํ้า ดิน ทําให้สิ่งมีชีวติ สามารถอยูด่ ว้ ยกันได้ BIM ก็เช่นกันที่มีการ
สื่ อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลตลอดอายุของอาคารนั้นกับผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทุกหน้าที่ การก้าวไปสู่ การเรี ยนรู ้จึงต้องการ
ปรับไปสู่ วฒั นธรรมการใช้ขอ้ มูลผ่ านการสร้างภาพจําลอง 3 มิติ
144

Information Model
ภาพจําลอง 3 มิติที่บรรจุขอ้ มูลจากผูอ้ อกแบบมีองค์ประกอบของรู ปทรงที่เป็ น Graphic มีการควบคุมด้วย
Parameter ประกอบกับข้อมูลที่เป็ น Non Graphic เป็ นข้อมูลด้านต่างๆทําให้ BIM Model
สามารถทําการแสดงผลและนําข้อมูลไปวิเคราะห์ ผูอ้ อกแบบในแต่ละหน้าที่จะทําการสร้างองค์ประกอบของตนแล้ว
นํามารวมกันเพื่อหาข้อสรุ ปในการแก้ปัญหาตั้งแต่ระยะการออกแบบไปจนถึงการก่อสร้าง Model จึงถูกสร้างขึ้น
ตามหน้าที่ในการทํางานและตามประเภทของการใช้งาน
ชนิดของ Model
ในการทํางานเราคุน้ เคยกับ Model ในลักษณะต่างๆและใช้มนั ในทุกๆด้าน Model จะเกิดขึ้นตามจุดประสงค์
และความต้องการของการใช้งานแต่ละประเภทและแต่ละช่วงเวลาการทํางาน องค์ประกอบที่ถูกบันทึกจึงมีความ
แตกต่างออกไป รวมถึงการควบคุมคุณภาพที่มีกรอบเพื่อนําไปทํางานได้ ข้อกําหนดต่างๆจะกําหนดให้ Model มี
เงื่อนไขเพื่อนําไปสู่ การทํางานตามจุดประสงค์ Model จึงถูกแบ่งตามชนิดของการทํางานนั้นๆและไม่ได้นาํ ไปใช้
ทุกๆเรื่ องใน Model เดียว เช่นการใช้ VDC (Virtual Design & Construction) Models
ควบคู่ไปขณะการทํางานออกแบบและการก่อสร้างโดยใช้เครื่ องมือที่แตกต่างออกไปเพื่อให้แสดงผลอย่างที่ตอ้ งการ
Model แต่ละชนิดถูกสร้างขึ้นในระบบการทํางานของวงจร BIM ประเภทของ Model ได้รวบรวม
โดยสังเขปดังนี้
Design Models : สําหรับการทํางานของผูอ้ อกแบบแต่ละหน้าที่ระหว่างการออกแบบ
Design Intent Models
Energy and Performance Models
Construction Models : สําหรับการทํางานในระยะการก่อสร้าง
Construction Model
Trade Construction Models
Survey Model
Layout Model
VDC (Virtual Design & Construction) Models : สําหรับการทํางานควบคู่กบั งานออกแบบ
และก่อสร้างเพื่อช่วยวิเคราะห์และเข้าถึงข้อมูลเพื่อตัดสิ นใจในแต่ละช่วงการทํางานด้วยการแสดงภาพและแผนงาน
การติดตามผลและการประมาณราคา

83
Experience Simulation Models
Coordination Models
4-D Models
Tracking Models
Cost and Quantification Models
As-Built Models : สําหรับการส่ งงานเพื่อนําไปบริ หารอาคาร
Facilities Management Models and Operations Models
ในหัวข้อดังกล่าวอาจจะไม่ครบถ้วนนักนํามาแสดงให้เห็นเพื่อสร้างความเข้าใจถึงประเภทของการใช้งาน Model
ในแต่ละขั้นตอนซึ่ งยังต้อมีรายละเอียดอีกมากสําหรับการทํางานเช่น ข้อกําหนดของ LOD. ในแต่ละขั้นตอนการ
ทํางาน ,Model Structure ของ Model แต่ละประเภท ,การบันทึก Information ,Materials
,Standard และอื่นๆอีกมาก อีกเรื่ องที่นาํ มากล่าวถึงคือ VDC Models เพื่อให้เห็นได้วา่ สิ่ งนี้มีส่วน
เกี่ยวข้องกับกระบวนการของ BIM อยูแ่ ล้ว ไม่สามารถจะแยกเป็ นส่ วนใดส่ วนหนึ่งจาก BIM ซึ่ งเดิมทีได้มีการ
ทํากันมานานแล้วก็ตาม สิ่ งที่ควรคํานึงถึงเรื่ องการใช้ Model คือการเน้นเนื้อหาของการนําข้อมูลมาแลกเปลี่ยน
เพื่อสนับสนุนกระบวนการทํางานมากกว่าผลิตผลของสิ่ งประดิษฐ์ที่ได้จากกระบวนการทํางาน
ทรงพล ยมนาค
601014

84
36 เรื่ องของคนทํา Model

ในอุตสาหกรรมการออกแบบก่อสร้างต้นกําเนิดของการสื่ อสารข้อมูลคือแบบสําหรับก่อสร้างที่อธิบายถึงลักษณะ
เนื้องานออกมาเป็ นภาพที่มีความเชื่อมโยงไปยังภาพต่างๆให้เกิดความเข้าใจเนื้อหาของงานที่ออกแบบ การอ่านแบบ
และตีความตามการแสดงผลในภาพฉายต่างๆต้องใช้จินตนาการและประสบการณ์ของการก่อสร้างประกอบการอ่าน
แบบ การสร้างภาพในมุมต่างๆมีระเบียบวิธีบนพื้นฐานของมาตรฐานการทํางานที่ยอมรับกันเป็ นสากลสําหรับ
ผูป้ ฏิบตั ิงานที่สามารถเข้าใจได้ จากการทํางานในยุคก่อนจนถึงปัจจุบนั มีพฒั นาการที่แตกต่างออกไปแต่เนื้อหาคือ
การสื่ อถึงความเข้าใจร่ วมกันของรู ปแบบสําหรับนําไปใช้งานในวงจรการออกแบบและก่อสร้าง
คนทํา Model
ในยุคก่อนเราเรี ยกผูช้ ่วยสําหรับงานออกแบบที่ผลิตแบบก่อสร้างว่า Draftman ต่อมาผูท้ ี่มีทกั ษะค่อยๆเลือนหายไป
จากวงการด้วยหลายเหตุผลจนในที่สุดผูอ้ อกแบบต้องลงมาทํางานด้านนี้ควบคู่กบั งานออกแบบด้วยการกําหนด
ตําแหน่งใหม่ๆขึ้นมาและให้คาํ จํากัดความที่ครอบคลุมเพือ่ รับผิดชอบงานทั้งหมด แต่ในความเป็ นจริ งผูอ้ อกแบบรุ่ น
ใหม่อาจยังไม่มีประสบการณ์หน้างานหรื อระเบียบวิธีของงานเขียนแบบก่อสร้าง อาจจะเป็ นเพราะบางส่ วนไม่ได้
เน้นจากการเรี ยนในระดับมหาวิทยาลัย ปัจจุบนั เมื่อ BIM มีบทบาทมากขึ้นมีความต้องการหน้าที่คนทํา Model ทําให้
เกิดตําแหน่งงานใหม่ข้ ึนมาเช่น BIM Modeler หรื อ BIM Operator ที่สามารถทํางานควบคู่กบั งานออกแบบด้วยการ
สร้างภาพ 3 มิติและแบบก่อสร้าง
หน้าที่และความรับผิดชอบ
กรอบการทํางานของคนทํา Model จะเป็ นผูท้ ่ีช่วยผูอ้ อกแบบหรื อทํางานออกแบบพัฒนางานจาก Model Base ตาม
ความต้องการของโครงการดังนั้นจึงต้องการความรู ้ประสบการณ์มากกว่าการทําแบบในระบบเดิมซึ่ งมีความแตกต่าง
จากตําแหน่ง Draftman ซึ่ งบางสํานักงานอาจจะยังไม่มี Job Description ของงานในหน้าที่เหล่านี้องค์ประกอบนี้เป็ น
สิ่ งสําคัญในการขับเคลื่อนให้ BIM Team เกิดขึ้นในสํานักงาน ทักษะของผูท้ ี่ทาํ งานทางด้านนี้อา้ งอิงจาก AEC (UK)
BIM Technology Protocol Version 2.1.1 June 2015 ได้ระบุไว้วา่ Modelling authoring ควรจะต้องมีความสามารถ
ดังนี้
• Content Creation : สามารถสร้างองค์ประกอบอาคารได้
• Modelling : สามารถสร้าง Model ของอาคารได้
• Drawing Production : สามารถผลิตงานแบบก่อสร้างได้
ผูอ้ อกแบบควรจะมีส่วนในกระบวนการสร้าง Model และถือเป็ นส่ วนหนึ่งของงานออกแบบที่สามารถนําข้อมูลไป
ทํางานต่อยอดเช่นการนําไปวิเคราะห์ ,การทําแผนงาน ,การประมาณราคา ,การศึกษาวิธีการก่อสร้าง คนทํา Model
จึงต้องการเรี ยนรู ้จากการ Training วิธีการใช้ Application หรื อเครื่ องมืออื่นๆที่ใช้ประกอบการทํางาน อย่างไรก็ตาม
การเรี ยนรู ้จะต้องนํามาใช้งานให้เกิดผลจริ งมากกว่าเพลิดเพลินสนุกสนานไปกับเครื่ องมือหลากหลายชนิดที่ไม่ได้
สนับสนุนให้งานสําเร็ จได้
กุญแจสําคัญของคนทํา Model
ต้องไม่ลืมว่าความสําเร็ จในการทํางานต้องเข้าใจ Concept ของการทํางานตั้งแต่การออกแบบเบื้องต้นและพัฒนา

85
Model ไปตามระดับความละเอียดของเนื้องานบนมาตรฐานร่ วมกันซึ่ งเป็ นการควบรวมการทํางานออกแบบและการ
ก่อสร้างด้วยการจําลองภาพเสมือนจริ ง สิ่ งที่ควรคํานึงถึงในการทํางานมีดงั นี้
• พัฒนาการของ BIM Model จะต้องสนับสนุนการทํางานออกแบบตามขั้นตอนของสถาปนิกและวิศวกร
• เข้าใจการทํางานบนพื้นฐานของ Office Standard และเงื่อนไขต่างๆในการทํางาน การส่ งงาน พัฒนางานออกมา
เป็ น 2D จาก BIM Model
• สนับสนุนการทํางานเชื่อมโยงกับผูร้ ่ วมงานในหน้าที่ต่างๆระหว่างการทํางาน
• จัดเตรี ยม Coordination Model ตามเงื่อนไขมาตรฐานการทํางานของสํานักงาน
• นําเสนอรายละเอียดของ Model ที่มีขอ้ กําหนดหรื อ Specification ประกอบใน Model ให้สถาปนิกและวิศวกร
• ให้คาํ แนะนําผลของข้อสรุ ปในทางเลือกประกอบการทํางานออกแบบให้สถาปนิกและวิศวกร
เป็ นบางประเด็นที่รวบรวมมาให้เห็นถึงความสําคัญของคนทํา Model ที่ตอ้ งมีหลักความคิดที่เป็ นระบบและทํางาน
บนมาตรฐานที่ได้กาํ หนดไว้เพื่อทํางานร่ วมกับผูอ้ อกแบบและผูร้ ่ วมงานอื่นๆที่มีเนื้อหาที่มากกว่าเดิม
ถาม-ตอบ
เมื่อเริ่ มงานได้สักระยะหนึ่งมักจะมีคาํ ถามที่คุน้ เคยเกิดขึ้นเสมอซึ่ งเป็ นพื้นฐานที่คนทํา Model ต้องการเพราะเขาจะ
เริ่ มมองเห็นเป้ าหมายปลายทางเพื่อผลสําเร็ จในการทํางาน สภาพแวดล้อมการทํางานของ BIM ไม่ได้เริ่ มจากการเปิ ด
คอมพิวเตอร์ แล้วเขียนงานเลย มันต้องการเป้าหมายตามความต้องการทํางาน ,แผนการทํางาน ,การจัดเตรี ยม ,การ
ทํางานเป็ นทีม และอื่นๆ พอจะหยิบเอาบางประเด็นมาแสดงได้ดงั นี้
• ไม่มีชิ้นงานอาคารเช่น ประตู หน้าต่าง ตามงานออกแบบจะทําอย่างไร? : เป็ นความสามารถของคนทํา Model อยู่
แล้วที่ตอ้ งทําขึ้นมา การเรี ยนรู ้ การฝึ กฝน การทดสอบ เป็ นวงจรในการทํางาน
• สร้าง Model อย่างเดียวไม่ตอ้ งทํา Detail ได้ไหม? : การสร้าง Model มีองค์ประกอบของ Model และ Detailing
ถึงแม้วา่ มีความสามารถในการทํา Model ได้อย่างดีแต่ไม่มี Detail งานนั้นจะไม่ไปสู่ ความสําเร็ จได้เลย
• อยากทํางานเร็ วๆมีทางด่วนให้ไหม? : ถ้าก่อนทํา Model ไม่เคยสร้างทางด่วนไว้จะเรี ยกมันมาใช้ได้อย่างไร? การ
ทํางานบนระเบียบวิธีที่ถูกต้องเสมือนการสร้างทางด่วนตั้งแต่เริ่ มทํางานเพราะเราสามารถรับรู ้วา่ ขั้นตอนใดสามารถ
กําหนดทิศทางได้แล้วจึงเลือกเดิน
เรื่ องราวยังมีอีกมากมายสําหรับการทํางานบนระบบนิเวศของ BIM คนทํา Model เป็ นจุดเริ่ มต้นการทํางานที่มี
สาระสําคัญอย่างสู งที่จะนําไปสู่ ความสําเร็ จทัศนะที่นาํ มาเสนอเป็ นเรื่ องที่เกิดขึ้นระหว่างการทํางานและข้อมูลจาก
รายงานที่มีส่วนสําคัญให้เห็นกรอบของผูท้ ี่ทาํ งานด้านนี้ และแสดงให้เห็นว่าเราไม่ได้ทาํ งานเพียงคนเดียวอีกต่อไป
ทรงพล ยมนาค
601021

86

You might also like