Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

การเคลื่อนที่ของไส้เดือนดิน

movement of earthworms
Movement?

การเคลื่อนที่ของไส้เดือนเกิดจากการทำงาน
ไส้เดือนดินเคลื่อนที่โดยจะใช้เดือย
ร่วมกันของกล้ามเนื้อวงกลมและกล้ามเนื้อตาม ส่วนท้ายจิกดินไว้ เพื่อป้องกันไม่ให้
ยาวหดตัวและคลายตัวเป็นระลอกคลื่นจากทาง ส่วนท้ายเคลื่อนที่ ขณะเดียวกัน
ด้านหน้ามาทางด้านหลังทำให้เกิดการ
เคลื่อนที่ไปด้านหน้า กล้ามเนื้อวงจะหดตัว กล้ามเนื้อตาม
ยาวคลายตัว ปล้องของลำตัวจะยืดยาว
ออก ทำให้ลำตัวเคลื่อนไปข้างหน้า
จากนั้นเดือยที่ปล้องส่วนหน้าจะจิก
ดินไว้ กล้ามเนื้อวงคลายตัว กล้าม
ไส้เดือน (earth worm) ไส้เดือนจัด เนื้อตามยาวหดตัว ทำให้ปล้องโป่ง
อยู่ในไฟลัมแอนเนลิตา (annelida) ออกดึงส่วนท้ายของลำตัวให้เคลื่อน
ไปข้างหน้า การทำงานร่วมกันของ
กล้ามเนื้อวงและกล้ามเนื้อตามยาว
โดยการหดและคลายตัวต่อเนื่องกัน
ส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของไส้เดือนดิน ได้แก่ เป็นระลอกคลื่นทางด้านหน้ามาส่วน
- กล้ามเนื้อวง (Circular muscle)
- กล้ามเนื้อตามยาว (longitudinal muscle) ท้ายของลำตัว ทำให้ไส้เดือนดิน
- เดือย (setae) สามารถเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้

ไส้เดือนดินเป็นสัตว์ที่มีลำตัวอ่อนนิ่ม และมีลักษณะเป็นปล้อง ๆ ตลอดลำตัว การ


เคลื่อนที่ของไส้เดือนดินอาศัยโครงสร้างดังนี้
1. กล้ามเนื้อ 2 ชุด ประกอบด้วยกล้ามเนื้อวง (circular muscle) เป็นกล้าม
เนื้อที่เรียงตัวเป็นวงรอบลำตัว และกล้ามเนื้อตามยาว (longitudinal muscle) ที่มี
การจัดเรียงตัวตามยาวขนานกับลำตัว กล้ามเนื้อทั้ง 2 ชุดจะทำงานในแบบสภาวะ
ตรงกันข้าม (antagonism)
2. เดือย (setae) เป็นโครงสร้างเล็ก ๆ ที่ยื่นออกมาจากผนังลำตัวของแต่ละปล้อง
ทำหน้าที่ช่วยบังคับทิศทางในการเคลื่อนที่โดยเดือยจะจิกดินไว้ขณะมีการเคลื่อนที่

นายนันทพงศ์ ธารากุล ม.6/6 เลขที่8

You might also like