Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

แบบฝึกหัดเพิ่มเติม บทที่ 1 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง Version 1.0 (3 กพ.

63)

แบบฝึกหัดเพิ่มเติมบทที่ 1
1. วงจรไฟฟ้ากระแสตรงต่าง ๆ ตามรูป ให้นิสิตคำนวณหาคำตอบต่าง ๆ ดังนี้
1.1 ก) จงหาค่าความต้านทานระหว่างจุด a และ b ดังแสดงในรูป (45.5 Ω)
ข) จงหาค่าความต้านทานระหว่างจุด a และ b หากลัดวงจรระหว่าง c และ d (33 Ω)

1.2 จงหาค่ากำลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน 12 Ω (588W)

1.3 จงหาค่ากำลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน 1/6 Ω (24W)

2. จงคำนวณและหาค่าต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
3W 9W 6W
A B

VS1 VS2
30 V 9W 9W DC
24 V

C
ก) กำลังจ่ายออกของแหล่งจ่ายแรงดัน VS1 และ VS2 โดยวิธี Node voltage analysis (960/11 W,
336/11 W)
ข) ถ้าเปลี่ยนการต่อตัวต้านทาน 9 โอห์มทั้งสามตัวที่ต่ออยู่ระหว่าง Node A, B และ C เป็นการต่อ
แบบวายตัว ต้านทานค่าใหม่ทั้งสามตัวนี้จะต้องมีค่าเท่าไร จึงจะทำให้กำลังไฟฟ้ารวมที่เกิดขึ้นกับ
ตัวต้านทานทั้งสามตัวนี้มีค่าเท่ากับในข้อ ก) และกำลังไฟฟ้ารวมที่ตัวต้านทานค่าใหม่ทั้งสามตัวนี้
มีค่าเท่าไร ทั้งนี้ให้ใช้วิธี Mesh current analysis ในการวิเคราะห์หาค่ากำลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน

Page Ch 1 - 1
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม บทที่ 1 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง Version 1.0 (3 กพ. 63)

ทั้งสามตัวนี้ (R ค่าใหม่เมื่อต่อแบบ Wye มีค่าเท่ากับตัวละ 3 W และกำลังไฟฟ้ารวมที่ R ทั้ง 3


ตัวมีค่าเท่ากับ 82.71 W)

3. วงจรไฟฟ้ากระแสตรงตามรูป ให้นิสิตคำนวณหาค่ากำลังไฟฟ้าของตัวต้านทาน 100 W และ ให้ระบุ


ขนาดและทิศทางการไหลของกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 100 W ตัวนี้ด้วย (5.98 W, 0.244 A;
กระแสไหลจาก B→A)
10

5A 2
100 B
A

2 2
20 50
20V   50V

4. จากรูปวงจร จงตอบคำถามต่อไปนี้
10 V
3W 6W 5W A

RAB
2W 4W 5A 5W

ก) จงใช้วิธีการ Mesh current analysis ในการหาค่ากำลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน 6 Ω (53.6 W)


ข) จงใช้วิธีการ Node voltage analysis ในการหาค่าแรงดันตกที่ตัวต้านทาน 4 Ω (22 V)
ค) จงเขียนวงจรเทวินินที่ขั้วต่อ AB และ ถ้าเปลี่ยนตัวต้านทาน RAB เป็น 10 Ω และ 15 Ω ตามลำดับ
จงคำนวณค่ากระแสที่ไหลผ่าน RAB (1.58 A และ 1.3 A ตามลำดับ)

5. จากรูปวงจรแต่ละรูป จงตอบคำถามต่อไปนี้
ก) จงหาขนาดและทิศทางของกระแสที่แหล่งจ่ายแต่ละตัว (0.933 mA , 0.333 mA , 0.2 mA )

Page Ch 1 - 2
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม บทที่ 1 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง Version 1.0 (3 กพ. 63)

ข) จงหากำลังสูญเสียที่ตัวต้านทาน 22/9 W (837.67 W)

6. จากวงจรไฟฟ้ากระแสตรงดังรูป จงคำนวณหา
ก) แรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน 3 W (VA) และตัวต้านทาน 6 W (VB) (32.3684 V และ 107.2105 V)
ข) กำลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน 12 W ได้รับ (742.94 W)
10 A

3W 6W 12 W

+ VA - + VB -
+ 30 W +
240 V - - 6V

+ 120 V
-

7. จากรูปวงจรไฟฟ้ากระแสตรงด้านล่างจงคำนวณหา (อนุญาตให้ใช้วิธีการใดในการคำนวณก็ได้)
ก) ค่ากำลังไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายกระแส 6 A (จ่าย 254.1176 W)
ข) ค่ากำลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน 30 W (รับ 50.2422 W)
6W 30 W

4A 3W 2A 15 W 9W 6A

Page Ch 1 - 3
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม บทที่ 1 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง Version 1.0 (3 กพ. 63)

8. จากรูปจงคำนวณหาค่าต่าง ๆ ดังนี้
I1
2W

A 4W B 2W C

+ V1 -
VS1 I2 VS2
+
12 V 6W V2 4W 5W 10 V
-

D E F

ก) กระแส I1 และ I2 และ แรงดัน V1 และ V2 (I1 = 1A, I2 = -1A, V1 = 4V, V2 = 8V)
ข) กำลังไฟฟ้าที่แหล่งกำเนิดแต่ละตัวจ่ายออก (VS1 จ่าย 48 W, VS2 จ่าย 20 W)

9. จงคำนวณหาค่ากระแส (IX) ที่ไหลผ่านความต้านทาน 9 W พร้อมทั้งหาค่ากำลังสูญเสียที่เกิดขึ้น (IX =


28/85 A และ P ที่ R 9 W = 0.9766 W)
3W

6W
3W 5W 4A
24V
12V 1W 3W

IX

3A 4W 9W 3W

10. จากภาพหากนิสิตได้รับมอบหมายให้หาค่ากระแสที่ไหลผ่านแหล่งจ่าย 24 V โดยใช้โวลท์มิเตอร์วัด


แรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน 1 W จงหาค่าแรงดันที่ตกคร่อมตัวต้านทาน 1 W และ กระแสที่ไหลผ่านตัว
ต้านทาน 1 W และ หาค่ากำลังไฟฟ้าอย่างน้อยที่ตัวต้านทาน 1 W จะต้องทนได้โดยที่ไม่เสีย หายใน
ระหว่างการวัด (แรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน 1 W ตามรูป = -1.2821 V และ กระแสที่ไหลผ่านตัว
ต้านทาน 1 W คือ 1.2821 A ไหลจากซ้ายไปขวา และ กำลังไฟฟ้าอย่างน้อยที่ตัวต้านทาน 1 W จะต้อง
ทนได้มีค่าเท่ากับ 1.6437 W)
3W

6W
3W 5W 4A
24V
12V 1W

+ VR1W -

3A 4W 9W 4W

2W

Page Ch 1 - 4
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม บทที่ 1 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง Version 1.0 (3 กพ. 63)

11. จากรูปจงหาค่ากระแส IA, IB และ กำลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน 6 โอห์ม (P6) Hint: ใช้วิธี Node voltage
analysis) (IA = 0.16 A, IB = 0.172 A, PR6W = 1.703 W)

12. จากรูปจงหากระแส Mesh ในวงจร และกำลังของแหล่งจ่ายกระแส 7 A (I1 = 9 A, I2 = 2.5 A, I3 = 2


A, และ แหล่งจ่ายกระแส 7 A จ่ายกำลัง = 94.5 W)

I2

I1 I3

13. จากรูปจงคำนวณค่ากระแส IX และ IY และค่าแรงดัน VZ และ จงพิจารณาว่าแหล่งจ่ายแรงดัน VS1, VS2


และ IS1 กำลังรับหรือจ่ายกำลังเท่ากับเท่าไร (IX = -19/15 A, IY = +23/10 A, VZ = 251/9 V และ
PVS1 = 19W (รับ), PVS2 = 46W (จ่าย), PIS1 = 502/9 W (จ่าย))

Page Ch 1 - 5
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม บทที่ 1 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง Version 1.0 (3 กพ. 63)

14. จากรูปจงคำนวณค่ากระแส IX, IY, IZ และค่าแรงดัน VM และ จงพิจารณาว่าแหล่งจ่ายแรงดัน VS1, VS2,


VS3และ IS1 กำลังรับหรือจ่ายกำลังเท่ากับเท่าไร (IX = 7.25 A, IY = -3.125 A, IZ = 4.5 A, VM = 26.25
V และ PVS1 = 108.75 W (จ่าย), PVS2 = 31.25 W (รับ), PVS3 = 90 W (จ่าย) และ PIS1 = 315 W
(จ่าย))

15. จากรูปจงคำนวณค่ากระแสที่ไหลผ่านแหล่งจ่ายแรงดัน VS1, VS2 และ จงคำนวณค่าแรงดันตกคร่อม


แหล่งจ่ายกระแส IS1 และ จงคำนวณหาค่า VAB, VBC, VBD, VAP, VPR, VBS, VQE (ตอบ IVS1 = 3 A, IVS2 =
4.2 A, VIS1 = 16 V, VAB = 0 V, VBC = 0 V, VBD = 0 V, VAP = -12 V, VPR = 12 V, VBS = -8 V, VQE
= 16 V)

16. จากรูปจงเขียนวงจรสมูลเทวินิน และ วงจรสมมูลนอร์ตัน ที่จุด AB พร้อมทั้งหาค่ากระแสที่ไหลผ่าน


RX เมื่อ RX มีค่าเท่ากับ 10 W และ 100 W ตามลำดับ (วงจรสมมูลเทวินิน VTH = 45/17 V RTH =
72/17 W วงจรนอร์ตัน IN = 5/8 A และ RN = 72/17 W และ เมื่อ RX = 10 W ได้ IRX = 45/424 A
และ เมื่อ RX = 100 W ได้ IRX = 45/1772 A)
6W 8W A

VS
IS
3W 5V 10 W 9W RX
4A

Page Ch 1 - 6
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม บทที่ 1 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง Version 1.0 (3 กพ. 63)

17. จากรูปจงเขียนวงจรสมูลเทวินิน และ วงจรสมมูลนอร์ตัน ที่จุด AB พร้อมทั้งหาค่ากระแสที่ไหลผ่าน


RX เมื่อ RX มีค่าเท่ากับ 10 W และ 100 W ตามลำดับ (วงจรสมมูลเทวินิน VTH = 32/3 V RTH = 4/3
W วงจรนอร์ตัน IN = 8 A และ RN = 4/3 W และ เมื่อ RX = 10 W ได้ IRX = 16/17 A และ เมื่อ RX
= 100 W ได้ IRX = 2/19 A)
2W

4W A 2W

VS1 VS2
12 V 6W RX 5W 10 V

Page Ch 1 - 7

You might also like