แผนสัปดาห์ที่10

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 79

แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย

โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี


สาระการเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก แผนการจัดประการณ์ ระดับชั้น อนุบาลปีที่ 3/1
หน่วย พระคุณของแม่ แผนที่ 46-50 ระยะเวลา 5 วัน
สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 25 ชั่วโมง
ใช้สอนวันที่ 9-13 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ลงชือ่ ...............................................
(นางสาวปนัดดา ดีเวช)
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง
การตรวจสอบแผนการจัดประสบการณ์ก่อนนำไปใช้

............................................................................................................................. ....................................................................
.................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................... ......................................................................
ลงชื่อ...............................................
(นางณัฐสิมา ณ พัทลุง)
ครูวิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง

............................................................................................................................. ....................................................................
.................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................................
ลงชื่อ...............................................
(นางวารุณี สังขผล)
หัวหน้างานวิชาการ
โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง
แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ชั้นอนุบาลปีที่ 3 สาระการเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง พระคุณของแม่
สัปดาห์ที่ 10 วันที่ 9-13 สิงหาคม พ.ศ. 2564 โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

วันที่ 1
ความสำคัญของแม่ สัญลักษณ์วันแม่
วันที่ 5 วันที่ 2
โครงการศิลปาชีพ ประวัต/ิ พระราชกรณียกิจ

หน่วย พระคุณของแม่

วันที่ 4 วันที่ 3
การตอบแทนพระคุณแม่ สัญลักษณ์วันแม่
แผนการจัดประสบการณ์ สัปดาห์ที่ 10 หน่วย พระคุณของแม่ ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3/1

กิจกรรมเคลื่อนไหว กิจกรรมเสริม กิจกรรม กิจกรรมเกม


วันที่ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี
และจังหวะ ประสบการณ์ กลางแจ้ง การศึกษา
- เคลื่อนไหวพื้นฐาน วาดภาพระบายสีไม้
- เคลื่อนไหวตาม ความสำคัญ การปั้นแป้งโด มุม เกม เกมจับคู่
1
คำสั่ง ของแม่ การพับสี ประสบการณ์ วิ่งเก็บของ ภาพกับเงา
- นั่งสมาธิ การพับกระดาษ
- เคลื่อนไหวพื้นฐาน การปั้นแป้งโด
ประวัติ/ การละเล่น
- เคลื่อนไหวแบบ การร้อยลูกปัด มุม
2 พระราช พื้นบ้าน เกมภาพตัดต่อ
ผู้นำ ผู้ตาม การพับสี ประสบการณ์
กรณียกิจ “งูกินหาง”
- นอนสมาธิ การฉีก ตัด ปะ
- เคลื่อนไหวพื้นฐาน วาดภาพระบายสีเทียน
- เคลื่อนไหว เกม
การร้อยลูกปัด มุม เกมจับคู่
3 ประกอบอุปกรณ์ สัญลักษณ์วันแม่ กระโดด
การฉีก ตัด ปะ ประสบการณ์ ภาพเหมือน
- ผลัดกันนวดไหล่ ข้ามห่วง
การดีดสี
- เคลื่อนไหวพื้นฐาน
การฉีก ตัด ปะ
- เคลื่อนไหว
การตอบแทน การรดีดสี มุม เครื่องเล่น เกม
4 ประกอบเพลง
พระคุณแม่ การพิมพ์ภาพด้วยนิ้วมือ ประสบการณ์ สนาม ลอตโต้
- เบรนยิม นวดปุ่ม
การเป่าสี
ขมับ
- เคลื่อนไหวพื้นฐาน การร้อยลูกปัด
- เคลื่อนไหวท่าทาง โครงการ การปั้นแป้งโด มุม เกมลิง
5 เกมเรียงลำดับ
ประกอบคำบรรยาย ศิลปาชีพ การดีดสี ประสบการณ์ ชิงบอล
- โยคะท่า “ต้นไม้” การรูดสี
***หมายเหตุ กิจกรรมเล่นตามมุมมีดังต่อไปนี้ มุมหมอ มุมวิทยาศาสตร์ มุมแต่งตัว มุมหนังสือ มุมบ้าน
มุมดนตรี มุมบล็อก มุมเกมการศึกษา และมุมศิลปะ
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง ความสำคัญของแม่ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 1 วันที่ 9 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15 นาที
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. มฐ.4 ตบช. 4.1 (4.1.3 สนใจ มีความสุข และแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบเพลง
จังหวะและดนตรี)
2. มฐ.11 ตบช.11.2 (11.2.1เคลื่อนไหวท่าทาง เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของ
ตนเองอย่างหลากหลายและแปลกใหม่)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สนใจ มีความสุข และแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบเพลง จังหวะและดนตรี
2. ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวท่าทาง เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเองได้อย่าง
หลากหลาย
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเคลื่อนไหวอยู่กับที่
- การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
- การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดับ และพื้นที่
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
- การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามความสามารถของตนเอง
ด้านสังคม
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
-การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สาระที่ควรเรียนรู้
การเคลื่อนไหวตามคำสั่ง
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐานโดยการเดิน ไปในทิศทาง ซ้าย ขวา หน้า หลัง
2. เด็กและครูร่วมกันกำหนดสัญญาณในการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายตามจังหวะช้า
เร็ว หยุด ดังนี้
- เคาะสัญญาณช้า ๆ ให้เด็กเคลื่อนไหวช้า ๆ
- เคาะสัญญาณเร็ว ๆ ให้เด็กเคลื่อนไหวเร็ว ๆ
- เคาะสัญญาณ 2 ครั้งติดกันให้เด็กหยุดเคลื่อนไหวทันที
3. เด็กและครูทบทวนการใช้สัญญาณ จากนั้นให้เด็กเคลื่อนไหวอย่างอิสระตามสัญญาณ
1- 2 ครั้ง โดยเน้นซ้าย ขวา หน้า หลัง เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณหยุดให้ค้างท่าสุดท้ายของ
การเคลื่อนไหว
4. เด็กและครูร่วมกันกำหนดข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม ดังนี้
- ไม่เคลื่อนไหวชนเพื่อน
- หาพื้นที่ว่างในการทำกิจกรรม
- ขณะเคลื่อนไหวต้องคำนึงถึงความปลอดภัย
5. เด็กร่วมกันเคลื่อนไหวตามคำสั่ง
6. เมือ่ ได้ยินเสียงสัญญาณหยุดให้เด็กๆ หยุดการเคลื่อนไหวทันที
7. เด็กๆ นั่งเป็นวงกลมทำกิจกรรมผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยการนั่งสมาธิ
สือ่
1. เครื่องเคาะจังหวะ

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. สนใจ มีความสุข และแสดง การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบเพลง พฤติกรรมเด็ก การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
จังหวะและดนตรี ขณะเคลื่อนไหว พฤติกรรม ในระดับพอใช้
2. เคลื่อนไหวท่าทาง เพื่อสื่อสาร ตามคำสั่ง 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
ความคิด ความรู้สึกของตนเองอย่าง ตนเองได้ดี
หลากหลาย
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง ความสำคัญของแม่ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 1 วันที่ 9 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15 นาที
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. มฐ.9 ตบช.9.1 (9.1.1 ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบอย่างต่อเนื่องเชื่อมโยงกับ
เรื่องที่ฟัง)
2. มฐ.9 ตบช. 9.1 (9.1.2 เล่าเป็นเรื่องราวต่อเนื่องได้)
3. มฐ.12 ตบช.12.1 (12.1.2 กระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบ)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ฟังและสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับเรื่องความสำคัญของแม่ได้
2. เล่าเป็นเรื่องราวต่อเนื่องได้
3. มีความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบ
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในกิจวัตรประจำวัน
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี
ด้านสังคม
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
- การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ด้านสติปัญญา
- การรอจังหวะที่เหมาะสมในการพูด
- การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
- การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง หรือพูดเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ
ตนเอง
- การอ่านและชี้ข้อความ โดยการกวาดสายตาตามบรรทัดจากซ้ายไปขวา จากบน
ลงล่าง
2. สาระที่ควรเรียนรู้
ความสำคัญของแม่
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. ครูร้องเพลง “ใครหนอ” ให้เด็กฟังโดยเด็กร้องตามครูทีละวรรคจากนั้นร้องพร้อมกัน
1-2 รอบ
ขั้นสอน
2. ครูนำภาพความสำคัญของแม่มาให้เด็กดู ตั้งแต่การดูแลลูกตั้งแต่อยู่ในท้องจนลูกเติบโต
เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับภาพที่ได้ดู โดยใช้คำถามดังนี้
2.1 แม่มีความสำคัญอย่างไร ?
2.2 แม่มีหน้าที่ทำอะไรบ้าง ?
ขั้นสรุป
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงความสำคัญของแม่ และให้เด็กพูดถึงแม่ของตัวเองคนละ 1 ข้อ
สือ่
1. ภาพความสำคัญของแม่
2. เพลง “ใครหนอ”

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. ฟังและสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับ การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
เรื่องความสำคัญของแม่ได้ พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2.เล่าเป็นเรื่องราวต่อเนื่องได้ สนทนาโต้ตอบ พฤติกรรม ในระดับพอใช้
3. มีความกระตือรือร้นในการร่วม 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
กิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบ ตนเองได้ดี
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง ความสำคัญของแม่ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 1 วันที่ 9 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. มฐ. 4 ตบช. 4.1 (4.1.1 สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านงานศิลปะ)
2. มฐ. 5 ตบช. 5.4 (5.4.1 ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จด้วยตนเอง)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านงานศิลปะ
2. ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จด้วยตนเอง
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและการสร้างสิ่งต่างๆ จากแท่งไม้ บล็อก
- การเขียนภาพและการเล่นสี
- การปั้น
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การทำกิจกรรมศิลปะต่าง ๆ
- การทำงานศิลปะ
- การสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม
- การเล่นอิสระ
ด้านสังคม
- การดูแลห้องเรียนร่วมกัน
- การทำศิลปะแบบร่วมมือ
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
2. สาระที่ควรเรียนรู้
- กิจกรรมวาดภาพระบายสีไม้
- กิจกรรมการปั้นแป้งโด
- กิจกรรมการพับสี
- กิจกรรมการพับกระดาษ
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการทำงานศิลปะ
2. ครูแนะนำกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยแบ่งออกเป็น 4 โต๊ะ ประกอบด้วย
2.1 โต๊ะที่ 1 วาดภาพระบายสีไม้
2.2 โต๊ะที่ 2 การปั้นแป้งโด
2.3 โต๊ะที่ 3 พับสี
2.4 โต๊ะที่ 4 พับกระดาษ
3. ครูอธิบายวิธีการทำกิจกรรมแต่ละโต๊ะ
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงกับนักเรียนขณะทำกิจกรรมและหลังทำกิจกรรม ดังนี้
4.1 ให้เด็กแต่ละคนปฏิบัติกิจกรรมอย่างน้อยคนละ 2 กิจกรรม
4.2 ห้ามนำอุปกรณ์ในแต่ละกิจกรรมมาปะปนกัน
4.3 เก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อยหลังจากเสร็จกิจกรรม
4.4 ให้นำผลงานที่เสร็จแล้ว 1 ชิ้นให้นำไปติดที่มุมผลงานและสามารถทำกิจกรรม
ที่ 2 ได้
4.5 สัญญาณในการปฏิบัติกิจกรรมคือ
- เคาะสัญญาณ 1 ครั้ง คือ ให้เก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย
- เคาะสัญญาณ 2 ครั้ง คือ หมดเวลาให้กลับไปนั่งที่เดิม
5. เด็กและครูร่วมกันแบ่งกลุ่มโดยครูใช้เทคนิคการแบ่งกลุ่มโดยการให้เด็กทุกคนออกมาจับ
ฉลากสี คือ สีแดง สีเขียว สีส้ม สีชมพูแล้วแบ่งกลุ่ม ตามสีที่ได้ออกเป็น 4 กลุ่ม
6. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ โดยอยู่ภายใต้ข้อตกลงที่สร้างร่วมกันไว้
7. เมื่อทำผลงานเสร็จ ให้เด็กนำผลงานมาส่ง พร้อมทั้งเล่าเรื่องราวของชิ้นงานที่สร้าง โดยครู
จดบันทึกคำพูดของนักเรียน ในชิ้นงานนั้น
8. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรม โดยการให้เด็กออกมานำเสนอผลงานที่ได้ทำ
9. เด็กและครูร่วมกันนำเสนอผลงาน โดยให้นักเรียนส่งตัวแทนมานำเสนอผลงานเพื่อนำเสนอ
ผลงานที่ภูมิใจ 1 ชิ้น ให้เพื่อนในห้องเรียนฟัง
10.เมื่อหมดเวลาครูให้สัญญาณ เด็กช่วยกันเก็บของและมานั่งเป็นรูปตัวยูเหมือนเดิม
สือ่
1. สีน้ำ/พู่กัน/จานสี 4. ฉลาก
2. กระดาษสี, กระดาษ A4 5. ดินสอ/สีไม้
3. แป้งโด 6. เครื่องเคาะสัญญาณ
การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. สนใจ มีความสุข และแสดงออก การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ผ่านงานศิลปะ พฤติกรรมขณะ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. ทำงานที่ได้รับมอบหมายจน ทำงานศิลปะ พฤติกรรม ในระดับพอใช้
สำเร็จด้วยตนเอง 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
ตนเองได้ดี
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง ความสำคัญของแม่ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 1 วันที่ 9 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมเล่นตามมุม
1. มฐ.1 ตบช.1.3 (1.3.1 เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยด้วยตนเอง)
2. มฐ.5 ตบช.5.1 (5.1.1 ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของของผู้อื่นด้วยตนเอง)
3. มฐ.6 ตบช.6.2 (6.2.1 เก็บของเล่นของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อยด้วยตนเอง)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยได้
2. รู้จักขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของ
3. เก็บของเล่น ของใช้เข้าที่ได้ด้วยตนเอง
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและการสร้างสิ่งต่าง ๆ จากแท่งไม้ บล็อก
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การเล่นตามมุมประสบการณ์/มุมเล่นต่าง ๆ
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
ด้านสติปัญญา
- การต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์ และการแยกชิ้นส่วน
2. สาระที่ควรเรียนรู้
การเรียนรู้ตามมุมประสบการณ์
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง นั่งตรง
2. ครูแนะนำมุมทั้ง 5 มุม ได้แก่ มุมบ้าน มุมหนังสือ มุมดนตรี มุมบล็อก มุมบทบาทสมมติ
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงร่วมกัน
3.1 ใน 1 มุมสามารถเข้าทำกิจกรรมได้ไม่เกิน 6 คน
3.2 ไม่นำของเล่นแต่ละมุมไปปนกับมุมอื่น
3.3 เมื่อเล่นเสร็จเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
3.4 เด็กและครูร่วมกันตกลงสัญญาณเวลาในการเล่นแต่ละมุม
4. เคาะจังหวะรัว ๆ คือ หมดเวลาในการทำกิจกรรม เด็ก ๆ เก็บของให้เข้าที่แล้วให้เด็ก ๆ
เปลี่ยนมุมเพื่อทำกิจกรรมจนครบทุกมุม
5. เด็กทำกิจกรรมตามมุมอย่างอิสระ โดยครูเป็นผู้คอยให้คำแนะนำ และคอยดูแลเด็กในการ
เล่นในแต่ละมุม
6. เด็กแต่ละคนออกมานำเสนอว่าชอบเล่นมุมไหนมากที่สุด และในแต่ละมุมมีกิจกรรม
อะไรบ้าง
สือ่
1. เพลง นั่งตรง
2. สื่ออุปกรณ์ตามมุมต่าง ๆ
3. เครื่องเคาะจังหวะ

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. เล่นและทำกิจกรรมอย่าง การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ปลอดภัยได้ พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. รู้จักขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อ เล่นร่วมกับ พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ต้องการสิ่งของ เพื่อน 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
3. เก็บของเล่น ของใช้เข้าที่ได้ด้วย ตนเองได้ดี
ตนเอง
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง ความสำคัญของแม่ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 1 วันที่ 9 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. มฐ.1 ตบช.1.3 (1.3.1 เล่น ทำกิจกรรมและปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย)
2. มฐ.8 ตบช.8.3 (8.3.1 มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตามข้อตกลงด้วยตนเอง)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เล่น ทำกิจกรรมและปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย
2. มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตามข้อตกลงด้วยตนเอง
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระ
- การเล่นเครื่องเล่นอย่างปลอดภัย
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การเล่นอิสระ
- การเล่นนอกห้องเรียน
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
2. สาระที่ควรเรียนรู้
เกมวิ่งเก็บของ
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กเดินเป็นแถวไปที่ลานกิจกรรม และร่วมอบอุ่นร่างกาย
2. แบ่งเด็กเป็น 2 แถวโดยแต่ละแถวจำนวนคนเท่ากัน
3. ครูอธิบายพร้อมสาธิตวิธีเล่นเกมวิ่งเก็บของโดยให้เด็กอาสาสมัคร 4 คนสาธิตการเล่น
4. เด็กเริ่มเล่นเกมวิ่งเก็บของ โดยมีครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
5. เมื่อเด็กเล่นเกมวิ่งเก็บของเสร็จแล้ว เด็กเล่นเครื่องเล่นสนามโดยมีครูดูแลอย่างใกล้ชิด
6. ก่อนหมดเวลาครูเป่านกหวีด ตามสัญญาณที่ตกลงไว้ แล้วให้เด็กมาเข้าแถว จากนั้น
พูดคุยเกี่ยวกับการทำกิจกรรม และปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการทำกิจกรรม
7. ทำความสะอาดร่างกายโดยการล้างมือ แล้วนั่งพักผ่อนในห้องเรียน
สือ่
1. สิ่งของต่าง ๆ เช่น ลูกบอล ตัวบล็อก
2. นกหวีด
3. เครือ่ งเล่นสนาม

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. เล่น ทำกิจกรรมได้อย่าง การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ปลอดภัย พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและ เล่นอย่าง พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ปฏิบัติตามข้อตกลงด้วยตนเอง ปลอดภัย 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
ตนเองได้ดี
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง ความสำคัญของแม่ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 1 วันที่ 9 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 30 นาที
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. มฐ. 8 ตบช. 8.2 (8.2.1 เล่นหรือทำงานร่วมมือกับเพื่อนอย่างมีเป้าหมาย)
2. มฐ. 10 ตบช. 10.1 (10.1.2 จับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างและความเหมือน
ของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ลักษณะที่สังเกตพบสองลักษณะขึ้นไป)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เล่นหรือทำงานร่วมมือกับเพื่อนอย่างมีเป้าหมาย
2. จับคูภ่ าพกับเงาได้
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านอารมณ์จิตใจ
- การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่
- การรปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามความสามารถของตนเอง
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
- การเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่น
ด้านสติปัญญา
- การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
- การจับคู่ การเปรียบเทียบ และการเรียงลำดับ สิ่งต่างๆ ตามลักษณะ ความยาว/
ความสูง น้ำหนัก ปริมาตร
2. สาระที่ควรเรียนรู้
เกมจับคู่ภาพกับเงา “แม่ของฉัน”
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมจับคู่ภาพกับเงา “แม่ของฉัน” ให้เด็กดู
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงขณะทำกิจกรรมและหลังทำกิจกรรม
2.1 ไม่ส่งเสียงดังและห้ามนำเกมแต่ละเกมมาปะปนกัน
2.2 เมื่อเล่นเกมเสร็จแล้วให้เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
2.3 สัญญาณในการปฏิบัติการเล่นเกมคือ
- เคาะสัญญาณ 1 ครั้ง คือ ให้เก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย
- เคาะสัญญาณ 2 ครั้ง คือ ให้เปลี่ยนเกมกับกลุ่มอื่น
3. เด็กและครูร่วมกันแบ่งกลุ่มโดยครูใช้เทคนิคการแบ่งกลุ่มโดยการให้เด็กทุกคนออกมาจับ
ฉลากสี คือ สีแดง สีเหลือง สีฟ้า สีเขียว สีส้ม แล้วแบ่งกลุ่ม ตามสีที่ได้ออกเป็น 5 กลุ่ม
4. เด็กเล่นเกมอย่างอิสระ เมื่อหมดเวลาให้มานั่งที่เดิม
5. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเล่นเกม โดยให้เด็กส่งตัวแทนมา 2 คนเพื่อสรุป
เกี่ยวกับการเล่นเกมได้อะไรบ้าง
สือ่
1. เกมจับคู่ภาพกับเงา “แม่ของฉัน”
2.เครื่องเคาะจังหวะ
3. ฉลากสี

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. เล่นหรือทำงานร่วมมือกับเพื่อน การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ได้อย่างมีเป้าหมาย พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. จับคู่ภาพกับเงาได้ เล่นเกม พฤติกรรม ในระดับพอใช้
การศึกษา 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
ตนเองได้ดี
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง พระราชกรณียกิจ ชั้นอนุบาล 3/2
สอนวันที่ 2 วันที่ 10 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15 นาที
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. มฐ.5 ตบช. 8.3 (8.3.2 ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามได้เหมาะสมกับสถานการณ์)
2. มฐ.11 ตบช. 11.2 (11.2.1 เคลื่อนไหวท่าทาง เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของ
ตนเองอย่างหลากหลายและแปลกใหม่)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามได้เหมาะสมกับสถานการณ์
2. ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวท่าทาง เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเองได้อย่าง
หลากหลาย
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเคลื่อนไหวอยู่กับที่
- การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
- การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดับ และพื้นที่
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
- การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามความสามารถของตนเอง
ด้านสังคม
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
- การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สาระที่ควรเรียนรู้
การเคลื่อนไหวผู้นำ ผู้ตาม
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐานโดยการเดิน ไปในทิศทาง ซ้าย ขวา หน้า หลัง
2. เด็กและครูร่วมกันกำหนดสัญญาณในการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตามจังหวะ
ช้า เร็ว หยุด ดังนี้
- เคาะสัญญาณช้า ๆ ให้เด็กเคลื่อนไหวช้า
- เคาะสัญญาณเร็ว ๆ ให้เด็กเคลื่อนไหวเร็ว ๆ
- เคาะสัญญาณ 2 ครั้งติดกันให้เด็กหยุดเคลื่อนไหวทันที
3. เด็กและครูทบทวนการใช้สัญญาณ จากนั้นให้เด็กเคลื่อนไหวอย่างอิสระตามสัญญาณ 1- 2
ครั้ง โดยเน้นซ้าย ขวา หน้า หลัง เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณหยุดให้ค้างท่าสุดท้ายของการ
เคลื่อนไหว
4. เด็กและครูร่วมกันกำหนดข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม ดังนี้
- ไม่เคลื่อนไหวชนเพื่อน
- หาพื้นที่ว่างในการทำกิจกรรม
- ขณะเคลื่อนไหวต้องคำนึงถึงความปลอดภัย
5. เด็กร่วมกันเคลื่อนไหวตามแบบผู้นำ ผู้ตามโดยครูขออาสาสมัครมาเป็นผู้นำเพื่อนครั้งละ
1 คน สลับกันออกมาจนครบทุกคน
6. เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณหยุดให้เด็ก ๆ หยุดการเคลื่อนไหวทันที
7. เด็ก ๆ นั่งเป็นวงกลมทำกิจกรรมผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยการนอนสมาธิ
สือ่
1. เครื่องเคาะจังหว

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามได้ การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
เหมาะสมกับสถานการณ์ พฤติกรรมเด็ก การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวท่าทาง ขณะเคลื่อนไหว พฤติกรรม ในระดับพอใช้
เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของ แบบผู้นำ ผู้ตาม 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
ตนเองได้อย่างหลากหลาย ตนเองได้ดี
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง พระราชกรณียกิจ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 2 วันที่ 10 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15 นาที
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. มฐ.7 ตบช.7.2 (7.2.3 ยืนตรงและร่วมร้องเพลงชาติไทยและเพลงสรรเสริญ
พระบารมี)
2. มฐ.9 ตบช.9.1 (9.1.1 ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบอย่างต่อเนื่องเชื่อมโยงกับ
เรื่องที่ฟัง)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ยืนตรงและร่วมร้องเพลงชาติไทยและเพลงสรรเสริญพระบารมี
2. ฟังและสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับเรื่องประวัติ/พระราชกรณียกิจได้
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านสังคม
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
- การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- การร่วมกิจกรรมวันสำคัญ
ด้านสติปัญญา
- การรอจังหวะที่เหมาะสมในการพูด
- การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง หรือพูดเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ
ตนเอง
- การสังเกตตัวอักษรที่ประกอบเป็นคำ ผ่านการผ่านหรือเขียนของผู้ใหญ่
- การพูดแสดงความคิด ความรู้สึก และความต้องการ
- การตั้งคำถามในเรื่องที่สนใจ
2. สาระที่ควรเรียนรู้
ประวัติ/พระราชกรณียกิจ
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. ครูสนทนากับเด็กเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ
ขั้นสอน
2. ครูให้เด็กดูภาพเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของสมเด็จพระนางเจ้า
พระบรมราชินีนาถเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของพระองค์ที่มีต่อปวงชนชาวไทย
โดยครูอธิบาย พระราชกรณียกิจในแต่ละภาพให้เด็กฟัง
ขั้นสรุป
3. ครูและเด็กสรุปเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯร่วมกัน
สือ่
1. บัตรภาพพระราชกรณียกิจ

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. ยืนตรงและร่วมร้องเพลงชาติไทย การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
และเพลงสรรเสริญพระบารมี พฤติกรรมเด็ก การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. ฟังและสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับ ขณะเคลื่อนไหว พฤติกรรม ในระดับพอใช้
เรื่องประวัติ/พระราชกรณียกิจได้ ตามจินตนาการ 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
ตนเองได้ดี
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง พระราชกรณียกิจ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 2 วันที่ 10 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. มฐ.1 ตบช.1.3 (1.3.1 เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยด้วยตนเอง)
2. มฐ.2 ตบช.2.2 (2.2.3 ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.25 ซม. ได้)
3. มฐ.4 ตบช.4.1 (4.1.1 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านงานศิลปะ)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยด้วยตนเอง
2. ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.25 ซม. ได้
3. สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านงานศิลปะ
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเขียนภาพและการเล่นสี
- การประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ ด้วยเศษวัสดุ
- การหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การทำกิจกรรมศิลปะต่าง ๆ
- การสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
- การทำศิลปะแบบร่วมมือ
2. สาระที่ควรเรียนรู้
- กิจกรรมการปั้นแป้งโด
- กิจกรรมการร้อยลูกปัด
- กิจกรรมการพับสี
- กิจกรรมการฉีก ตัด ปะ
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการทำงานศิลปะ
2. ครูแนะนำกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยแบ่งออกเป็น 4 โต๊ะ ประกอบด้วย
2.1 โต๊ะที่ 1 การปั้นแป้งโด
2.2 โต๊ะที่ 2 การร้อยลูกปัด
2.3 โต๊ะที่ 3 พับสี
2.4 โต๊ะที่ ฉีก ตัด ปะ
3. ครูอธิบายวิธีการทำกิจกรรมแต่ละโต๊ะ
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงกับนักเรียนขณะทำกิจกรรมและหลังทำกิจกรรม ดังนี้
4.1 ให้เด็กแต่ละคนปฏิบัติกิจกรรมอย่างน้อยคนละ 2 กิจกรรม
4.2 ห้ามนำอุปกรณ์ในแต่ละกิจกรรมมาปะปนกัน
4.3 เก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อยหลังจากเสร็จกิจกรรม
4.4 ให้นำผลงานที่เสร็จแล้ว 1 ชิ้นให้นำไปติดที่มุมผลงานเด็กและสามารถทำ
กิจกรรมที่ 2 ได้
4.5 สัญญาณในการปฏิบัติกิจกรรมคือ
- เคาะสัญญาณ 1 ครั้ง คือ ให้เก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย
- เคาะสัญญาณ 2 ครั้ง คือ หมดเวลาให้กลับไปนั่งที่เดิม
5. เด็กและครูร่วมกันแบ่งกลุ่มโดยครูใช้เทคนิคการแบ่งกลุ่มโดยการให้เด็กทุกคนออกมา
จับฉลากสี คือ สีแดง สีเหลือง สีฟ้า สีชมพูแล้วแบ่งกลุ่ม ตามสีที่ได้ออกเป็น 4 กลุ่ม
6. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ โดยอยู่ภายใต้ข้อตกลงที่สร้างร่วมกันไว้
7. เมื่อทำผลงานเสร็จ ให้เด็กนำผลงานมาส่ง พร้อมทั้งเล่าเรื่องราวของชิ้นงานที่สร้าง โดยครู
จดบันทึกคำพูดของนักเรียน ในชิ้นงานนั้น
8 . เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรมโดยการให้เด็กออกมานำเสนอผลงานที่ได้ทำ
9. เด็กและครูร่วมกันนำเสนอผลงาน โดยให้นักเรียนส่งตัวแทนมานำเสนอผลงานเพื่อ
นำเสนอผลงานที่ภูมิใจ 1 ชิ้น ให้เพื่อนในห้องเรียนฟัง
10.เมื่อหมดเวลาครูให้สัญญาณ เด็กช่วยกันเก็บของและมานั่งเป็นรูปตัวยูเหมือนเดิม
สือ่
1. สีน้ำ/พู่กัน/จานสี
2. กระดาษ A4/กระดาษสี
3. ฉลาก
4. ลูกปัด/เส้นเอ็น
การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. เล่นและทำกิจกรรมได้อย่าง การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ปลอดภัย พฤติกรรมเด็ก การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่าน ขณะทำงาน พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ศูนย์กลาง 0.25 ซม. ได้ 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
3. สนใจ มีความสุขและแสดงออก ตนเองได้ดี
ผ่านงานศิลปะ
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง พระราชกรณียกิจ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 2 วันที่ 10 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมเล่นตามมุม
1. มฐ.1 ตบช.1.3 (1.3.1 เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยด้วยตนเอง)
2. มฐ.5 ตบช. 5.1 (5.1.1 ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของของผู้อื่นด้วยตนเอง)
3. มฐ.6 ตบช. 6.2 (6.2.1 เก็บของเล่นของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อยด้วยตนเอง)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยได้
2. รู้จักขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของ
3. เก็บของเล่น ของใช้เข้าที่ได้ด้วยตนเอง
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและการสร้างสิ่งต่าง ๆ จากแท่งไม้ บล็อก
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การเล่นตามมุมประสบการณ์/มุมเล่นต่าง ๆ
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
ด้านสติปัญญา
- การต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์ และการแยกชิ้นส่วน
2. สาระที่ควรเรียนรู้
การเรียนรู้ตามมุมประสบการณ์
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง นั่งตรง
2. ครูแนะนำมุมทั้ง 5 มุม ได้แก่ มุมบ้าน มุมหนังสือ มุมดนตรี มุมบล็อก มุมบทบาทสมมติ
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงร่วมกัน
3.1 ใน 1 มุมสามารถเข้าทำกิจกรรมได้ไม่เกิน 6 คน
3.2 ไม่นำของเล่นแต่ละมุมไปปนกับมุมอื่น
3.3 เมื่อเล่นเสร็จเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
3.4 เด็กและครูร่วมกันตกลงสัญญาณเวลาในการเล่นแต่ละมุม
4. เคาะจังหวะรัว ๆ คือ หมดเวลาในการทำกิจกรรม เด็ก ๆ เก็บของให้เข้าที่แล้วให้เด็ก ๆ
เปลี่ยนมุมเพื่อทำกิจกรรมจนครบทุกมุม
5. เด็กทำกิจกรรมตามมุมอย่างอิสระ โดยครูเป็นผู้คอยให้คำแนะนำ และคอยดูแลเด็ก
ในการเล่นในแต่ละมุม
6. เด็กแต่ละคนออกมานำเสนอว่าชอบเล่นมุมไหนมากที่สุด และในแต่ละมุมมีกิจกรรม
อะไรบ้าง
สือ่
1. เพลง นั่งตรง
2. สื่ออุปกรณ์ตามมุมต่าง ๆ
3. เครื่องเคาะจังหวะ

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. เล่นและทำกิจกรรมอย่าง การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ปลอดภัยได้ พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. รู้จักขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อ เล่นร่วมกับ พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ต้องการสิ่งของ เพื่อน 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
3. เก็บของเล่น ของใช้เข้าที่ได้ด้วย ตนเองได้ดี
ตนเอง
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง พระราชกรณียกิจ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 2 วันที่ 10 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. มฐ.1 ตบช. 1.3 (1.3.1 เล่น ทำกิจกรรมและปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย)
2. มฐ.8 ตบช.6.2 (6.2.2 เข้าแถวตามลำดับก่อนหลังได้ด้วยตนเอง)
3. มฐ.8 ตบช. 8.2 (8.2.1 เล่นหรือทำงานร่วมมือกับเพื่อนอย่างมีเป้าหมาย)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เล่น ทำกิจกรรมและปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย
2. เข้าแถวตามลำดับก่อนหลังได้ด้วยตนเอง
3. เล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนอย่างมีเป้าหมาย
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระ
- การเล่นเครื่องเล่นอย่างปลอดภัย
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การเล่นอิสระ
- การเล่นนอกห้องเรียน
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
- การมีส่วนร่วมในการเลือกวิธีการแก้ปัญหา
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม
- การเล่นพื้นบ้านของไทย
2. สาระที่ควรเรียนรู้
การละเล่นพื้นบ้าน “งูกินหาง”
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กเดินเป็นแถวไปที่ลานกิจกรรม และร่วมอบอุ่นร่างกาย
2. แบ่งเด็กเป็น 2 แถวโดยแต่ละแถวจำนวนคนเท่ากัน
3. ครูอธิบายพร้อมสาธิตวิธีเล่นงูกินหางโดยให้เด็กอาสาสมัคร 4 คนสาธิตการเล่น
4. เด็กเริ่มเล่นงูกินหาง โดยมีครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
5. เมื่อเด็กเล่นงูกินหางเสร็จแล้ว เด็กเล่นเครื่องเล่นสนามโดยมีครูดูแลอย่างใกล้ชิด
6. ก่อนหมดเวลาครูเป่านกหวีด แล้วให้เด็กมาเข้าแถว จากนั้นพูดคุยเกี่ยวกับการทำ
กิจกรรม และปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการทำกิจกรรม
7. ทำความสะอาดร่างกายโดยการล้างมือ แล้วนั่งพักผ่อนในห้องเรียน
สือ่
1. เครื่องเล่นสนาม
2. นกหวีด

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. เล่น ทำกิจกรรมได้อย่าง การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ปลอดภัย พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. เข้าแถวตามลำดับก่อนหลังได้ เล่นอย่าง พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ด้วยตนเอง ปลอดภัย 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
3. เล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนได้ ตนเองได้ดี
อย่างมีเป้าหมาย
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง พระราชกรณียกิจ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 2 วันที่ 10 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 30 นาที
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. มฐ. 5 ตบช.5.1 (5.1.1 ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของของผู้อื่นด้วยตนเอง)
2. มฐ. 8 ตบช. 8.2 (8.2.1 เล่นหรือทำงานร่วมมือกับเพื่อนอย่างมีเป้าหมาย)
3. มฐ.12 ตบช. 12.1 (12.1.2 กระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบ)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของของผู้อื่นด้วยตนเอง
2. เล่นหรือทำงานร่วมมือกับเพื่อนอย่างมีเป้าหมาย
3. กระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบ
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านอารมณ์จิตใจ
- การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
ด้านสติปัญญา
- การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
- การต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์ และการแยกชิ้นส่วน
2. สาระที่ควรเรียนรู้
เกมภาพตัดต่อพระราชกรณียกิจ
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมภาพตัดต่อพระราชกรณียกิจให้ เ ด็ ก ดู
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงขณะทำกิจกรรมและหลังทำกิจกรรม
2.1 ไม่ส่งเสียงดังและห้ามนำเกมแต่ละเกมมาปะปนกัน
2.2 เมื่อเล่นเกมเสร็จแล้วให้เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
2.3 สัญญาณในการปฏิบัติการเล่นเกมคือ
- เคาะสัญญาณ 1 ครั้ง คือ ให้เก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย
- เคาะสัญญาณ 2 ครั้ง คือ ให้เปลี่ยนเกมกับกลุ่มอื่น
3. เด็กและครูร่วมกันแบ่งกลุ่มโดยครูใช้เทคนิคการแบ่งกลุ่มโดยการให้เด็กทุกคนออกมาจับ
ฉลากสี คือ สีแดง สีเหลือง สีฟ้า สีเขียว แล้วแบ่งกลุ่ม ตามสีที่ได้ออกเป็น 4 กลุ่ม
4. เด็กเล่นเกมอย่างอิสระ เมื่อหมดเวลาให้มานั่งที่เดิม
5. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเล่นเกม โดยให้เด็กส่งตัวแทนมา 2 คนเพื่อสรุป
เกี่ยวกับการเล่นเกมได้อะไรบ้าง
สือ่
1. เกมภาพตัดต่อพระราชกรณียกิจ
2. เครื่องเคาะจังหวะ
3. ฉลากสี

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อ การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ต้องการสิ่งของของผู้อื่นด้วยตนเอง พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. เล่นหรือทำงานร่วมมือกับเพื่อน เล่นเกม พฤติกรรม ในระดับพอใช้
อย่างมีเป้าหมาย การศึกษา 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
3. กระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม ตนเองได้ดี
ตั้งแต่ต้นจนจบ
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง สัญลักษณ์วันแม่ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 3 วันที่ 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15 นาที
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. มฐ. 4 ตบช. 4.1 (4.1.3 สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบเพลง
จังหวะและดนตรี)
2. มฐ.11 ตบช. 11.2 (11.2.1 เคลื่อนไหวท่าทาง เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของ
ตนเองอย่างหลากหลายและแปลกใหม่)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ร่วมกิจกรรมการเคลื่อนไหวด้วยความสนใจผ่านจังหวะดนตรีได้อย่างมีความสุข
2. ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวท่าทาง เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเองได้อย่าง
หลากหลาย
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเคลื่อนไหวอยู่กับที่
- การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
- การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์
- การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดับ และพื้นที่
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
- การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามความสามารถของตนเอง
ด้านสังคม
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
2. สาระที่ควรเรียนรู้
การเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ (ริบบิ้น)
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐานโดยการเดิน ไปในทิศทาง ซ้าย ขวา หน้า หลัง
2. เด็กและครูร่วมกันกำหนดสัญญาณในการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายตามจังหวะช้า
เร็ว หยุด ดังนี้
- เคาะสัญญาณช้า ๆ ให้เด็กเคลื่อนไหวช้า ๆ
- เคาะสัญญาณเร็ว ๆ ให้เด็กเคลื่อนไหวเร็ว ๆ
- เคาะสัญญาณ 2 ครั้งติดกันให้เด็กหยุดเคลื่อนไหวทันที
3. เด็กและครูทบทวนการใช้สัญญาณจากนั้นให้เด็กเคลื่อนไหวอย่างอิสระตามสัญญาณ
4. 1- 2 ครั้ง โดยเน้นซ้าย ขวา หน้า หลัง เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณหยุดให้ค้างท่าสุดท้ายของ
การเคลื่อนไหว
5. เด็กและครูร่วมกันกำหนดข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม ดังนี้
- ไม่เคลื่อนไหวชนเพื่อน
- หาพื้นที่ว่างในการทำกิจกรรม
6. เด็กร่วมกันเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ไปในทิศทางต่าง ๆ
7. เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณหยุดให้เด็กๆหยุดการเคลื่อนไหวทันที
8. เด็กเก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อย
9. เด็ก ๆ นั่งเป็นวงกลมทำกิจกรรมผ่อนคลายกล้ามเนื้อโดยการผลัดกันนวดไหล่
สือ่
1. เครื่องเคาะจังหวะ
2. ริบบิ้น

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. ร่วมกิจกรรมการเคลื่อนไหวด้วย การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ความสนใจผ่านจังหวะดนตรีได้ พฤติกรรมเด็ก การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
อย่างมีความสุข ขณะเคลื่อนไหว พฤติกรรม ในระดับพอใช้
2. แสดงสีหน้าหรือท่าทางรับรู้ ประกอบ 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
ความรู้สึกผู้อื่นอย่างสอดคล้องกับ อุปกรณ์ ตนเองได้ดี
สถานการณ์
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง สัญลักษณ์วันแม่ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 3 วันที่ 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15 นาที
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. มฐ.9 ตบช.9.1 (9.1.1 ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบอย่างต่อเนื่องเชื่อมโยงกับ
เรื่องที่ฟัง)
2. มฐ.10 ตบช.10.1 (10.1.1 บอกลักษณะ ส่วนประกอบการเปลี่ยนแปลงหรือ
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ จากการสังเกตโดยใช้ประสาทสัมผัส)
3. มฐ.12 ตบช.12.1 (12.1.2 กระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบ)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ฟังและสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับเรื่องสัญลักษณ์วันแม่ได้
2. บอกลักษณะ ส่วนประกอบการเปลี่ยนแปลงหรือความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆจากการ
สังเกตโดยใช้ประสาทสัมผัส
3. มีความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบ
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านสังคม
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
- การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ด้านสติปัญญา
- การพูดแสดงความคิด ความรู้สึก และความต้องการ
- การรอจังหวะที่เหมาะสมในการพูด
- การตั้งคำถามในเรื่องที่สนใจ
- การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเองหรือพูดเล่าเรื่องราว
เกี่ยวกับตนเอง
- การสังเกต ลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์
ของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม
2. สาระที่ควรเรียนรู้
สัญลักษณ์วันแม่
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. ครูสนทนากับเด็กเกี่ยวกับสัญลักษณ์ของวันแม่
ขั้นสอน
2. ครูและเด็กสนทนาบอกถึงความหมายของดอกมะลิว่าทำไมถึงนำมาใช้เป็นดอกไม้
สัญลักษณ์ประจำวันแม่ พร้อมทั้งนำดอกมะลิมาให้เด็กดู พร้อมทั้งให้เด็กออกมาดมกลิ่น
ของดอกมะลิ ว่ากลิ่นเป็นอย่างไร จากนั้นร่วมสนทนากับเด็กโดยใช้คำถามดังนี้
2.1 ดอกไม้นี้มีชื่อว่าอะไร ?
2.2 ดอกไม้นี้มีกลิ่นหอมหรือไม่ ?
2.3 ดอกไม้นี้ใช้แทนสัญลักษณ์ในวันอะไรและทำไมถึงเป็นดอกมะลิ ?
ขั้นสรุป
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสัญลักษณ์วันแม่
สือ่
1. ดอกมะลิ

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. ฟังและสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับ การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
เรื่องสัญลักษณ์วันแม่ได้ พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. บอกลักษณะ ส่วนประกอบการ สนทนาโต้ตอบ พฤติกรรม ในระดับพอใช้
เปลี่ยนแปลงหรือความสัมพันธ์ของ 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
สิ่งต่างๆจากการสังเกตโดยใช้ ตนเองได้ดี
ประสาทสัมผัส
3. มีความกระตือรือร้นในการร่วม
กิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบ
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง สัญลักษณ์วันแม่ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 3 วันที่ 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. มฐ.2 ตบช.2.2 (2.2.3 ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.25 ซม. ได้)
2. มฐ.3 ตบช.3.2 (3.2.2 แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเอง
และผู้อื่น)
3. มฐ.4 ตบช.4.1 (4.1.1 สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านงานศิลปะ)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.25 ซม. ได้
2. แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเองและผู้อื่น
3. ร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านงานศิลปะ
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเขียนภาพและการเล่นสี
- การหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ
- การปั้น
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การทำกิจกรรมศิลปะต่าง ๆ
- การทำงานศิลปะ
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
- การทำศิลปะแบบร่วมมือ
2. สาระที่ควรเรียนรู้
- กิจกรรมวาดภาพระบายสีด้วยสีเทียน
- กิจกรรมการร้อยลูกปัด
- กิจกรรมการฉีก ตัด ปะ
- กิจกรรมการดีดสี
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการทำงานศิลปะ
2. ครูแนะนำกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยแบ่งออกเป็น 4 โต๊ะ ประกอบด้วย
2.1 โต๊ะที่ 1 วาดภาพระบายสีเทียน
2.2 โต๊ะที่ 2 การร้อยลูกปัด
2.3 โต๊ะที่ 3 ฉีก ตัด ปะ
2.4 โต๊ะที่ 4 ดีดสี
3. ครูอธิบายวิธีการทำกิจกรรมแต่ละโต๊ะ
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงกับนักเรียนขณะทำกิจกรรมและหลังทำกิจกรรมดังนี้
4.1 ให้เด็กแต่ละคนปฏิบัติกิจกรรมอย่างน้อยคนละ 2 กิจกรรม
4.2 ห้ามนำอุปกรณ์ในแต่ละกิจกรรมมาปะปนกัน
4.3 เก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อยหลังจากเสร็จกิจกรรม
4.4 ให้นำผลงานที่เสร็จแล้ว 1 ชิ้นให้นำไปติดที่มุมผลงานและสามารถทำกิจกรรม
ที่ 2 ได้
4.5 สัญญาณในการปฏิบัติกิจกรรมคือ
- เคาะสัญญาณ 1 ครั้ง คือ ให้เก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย
- เคาะสัญญาณ 2 ครั้ง คือ หมดเวลาให้กลับไปนั่งที่เดิม
5. เด็กและครูร่วมกันแบ่งกลุ่มโดยครูใช้เทคนิคการแบ่งกลุ่มโดยการให้เด็กทุกคนออกมาจับ
ฉลากสี คือ สีแดง สีเหลือง สีเขียว สีชมพูแล้วแบ่งกลุ่มตามสีที่ได้ออกเป็น 4 กลุ่ม
6. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ โดยอยู่ภายใต้ข้อตกลงที่สร้างร่วมกันไว้
7. เมื่อทำผลงานเสร็จ ให้เด็กนำผลงานมาส่ง พร้อมทั้งเล่าเรื่องราวของชิ้นงานที่สร้าง โดย
ครูจดบันทึกคำพูดของนักเรียน ในชิ้นงานนั้น
8. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรม โดยการให้เด็กออกมานำเสนอผลงานที่ได้ทำ
9. เด็กและครูร่วมกันนำเสนอผลงาน โดยให้นักเรียนส่งตัวแทนมานำเสนอผลงานเพื่อ
นำเสนอผลงานที่ภูมิใจ 1 ชิ้น ให้เพื่อนในห้องเรียนฟัง
10. เมื่อหมดเวลาครูให้สัญญาณ เด็กช่วยกันเก็บของและมานั่งเป็นรูปตัวยูเหมือนเดิม
สือ่
1. กระดาษสี 4. ดินน้ำมัน
2. สีไม้ 5. ฉลาก
3. กระดาษ A4 6. สีน้ำ/พู่กัน/จานสี/หลอด
การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่าน การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ศูนย์กลาง 0.25 ซม.ได้ พฤติกรรมเด็ก การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. แสดงความพอใจในผลงานและ ขณะเคลื่อนไหว พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ความสามารถของตนเองและผู้อื่น ตามจินตนาการ 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
3. ร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจ มี ตนเองได้ดี
ความสุข และแสดงออกผ่านงาน
ศิลปะ
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง สัญลักษณ์วันแม่ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 3 วันที่ 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมเล่นตามมุม
1. มฐ.1 ตบช.1.3 (1.3.1 เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยด้วยตนเอง)
2. มฐ.5 ตบช. 5.1 (5.1.1 ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของของผู้อื่นด้วยตนเอง)
3. มฐ.6 ตบช. 6.2 (6.2.1 เก็บของเล่นของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อยด้วยตนเอง)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยได้
2. รู้จักขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของ
3. เก็บของเล่นของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อยด้วยตนเอง
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและการสร้างสิ่งต่างๆจากแท่งไม้ บล็อก
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การเล่นตามมุมประสบการณ์/มุมเล่นต่าง ๆ
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
ด้านสติปัญญา
- การต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์ และการแยกชิ้นส่วน
2. สาระที่ควรเรียนรู้
การเรียนรู้ตามมุมประสบการณ์
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง นั่งตรง
2. ครูแนะนำมุมทั้ง 5 มุม ได้แก่ มุมบ้าน มุมหนังสือ มุมดนตรี มุมบล็อก มุมบทบาทสมมติ
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงร่วมกัน
3.1 ใน 1 มุมสามารถเข้าทำกิจกรรมได้ไม่เกิน 6 คน
3.2 ไม่นำของเล่นแต่ละมุมไปปนกับมุมอื่น
3.3 เมื่อเล่นเสร็จเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
3.4 เด็กและครูร่วมกันตกลงสัญญาณเวลาในการเล่นแต่ละมุม
4. เคาะจังหวะรัว ๆ คือ หมดเวลาในการทำกิจกรรมเด็กๆ เก็บของให้เข้าที่แล้วให้เด็ก ๆ
เปลี่ยนมุมเพื่อทำกิจกรรมจนครบทุกมุม
5. เด็กทำกิจกรรมตามมุมอย่างอิสระโดยครูเป็นผู้คอยให้คำแนะนำและคอยดูแลเด็กในการ
เล่นในแต่ละมุม
6. เด็กแต่ละคนออกมานำเสนอว่าชอบเล่นมุมไหนมากที่สุดและในแต่ละมุมมีกิจกรรม
อะไรบ้าง
สือ่
1. เพลง นั่งตรง
2. สื่ออุปกรณ์ตามมุมต่าง ๆ
3. เครื่องเคาะจังหวะ

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. เล่นและทำกิจกรรมอย่าง การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ปลอดภัยได้ พฤติกรรมเด็ก การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. รู้จักขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อ ขณะเคลื่อนไหว พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ต้องการสิ่งของ ตามจินตนาการ 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
3. เก็บของเล่น ของใช้เข้าที่ได้ด้วย ตนเองได้ดี
ตนเอง
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง สัญลักษณ์วันแม่ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 3 วันที่ 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. มฐ.1 ตบช. 1.3 (1.3.1 เล่น ทำกิจกรรมและปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย)
2. มฐ.8 ตบช. 8.3 (8.3.3 ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดยปราศจากการใช้ความรุนแรง
ด้วยตนเอง)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เล่น ทำกิจกรรมและปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย
2. ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดยปราศจากการใช้ความรุนแรงด้วยตนเอง
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
- การเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระ
- การเล่นเครื่องเล่นอย่างปลอดภัย
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การเล่นอิสระ
- การเล่นนอกห้องเรียน
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
- การมีส่วนร่วมในการเลือกวิธีการแก้ปัญหา
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม
2. สาระที่ควรเรียนรู้
เกมกระโดดข้ามห่วง
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กเดินเป็นแถวไปที่ลานกิจกรรม และร่วมอบอุ่นร่างกาย
2. แบ่งเด็กเป็น 2 แถวโดยแต่ละแถวจำนวนคนเท่ากัน
3. ครูอธิบายพร้อมสาธิตวิธีเล่นเกมห่วงเดินได้โดยให้เด็กอาสาสมัคร 10 คนสาธิตการเล่น
4. เด็กเริ่มเล่นเกมห่วงเดินได้ โดยมีครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
5. เมื่อเด็กเล่นเกมห่วงเดินได้เสร็จแล้ว เด็กเล่นเครื่องเล่นสนามโดยมีครูดูแลอย่างใกล้ชิด
6. ก่อนหมดเวลาครูเป่านกหวีดแล้วให้เด็กมาเข้าแถวจากนั้นพูดคุยเกี่ยวกับการทำกิจกรรม
และปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการทำกิจกรรม
7. ทำความสะอาดร่างกายโดยการล้างมือ แล้วนั่งพักผ่อนในห้องเรียน
สือ่
1. ห่วงฮูลาฮูป
2. นกหวีด
3. เครือ่ งเล่นสนาม

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. เล่น ทำกิจกรรมได้อย่าง การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ปลอดภัย พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดย เล่นอย่าง พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ปราศจากการใช้ความรุนแรงด้วย ปลอดภัย 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
ตนเอง ตนเองได้ดี
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง สัญลักษณ์วันแม่ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 3 วันที่ 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 30 นาที
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. มฐ.8 ตบช. 8.2 ( 8.2.1 เล่นหรือทำงานร่วมมือกับเพื่อนอย่างมีเป้าหมาย)
2. มฐ.5 ตบช. 5.1 (5.1.1 ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของของผู้อื่นด้วยตนเอง)
3. มฐ.10 ตบช. 10.1 (10.1.2 จับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างและความเหมือน
ของสิ่งต่างๆ โดยใช้ลักษณะที่สังเกตพบสองลักษณะขึ้นไป)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เล่นหรือทำงานร่วมมือกับเพื่อนอย่างมีเป้าหมาย
2. ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของของผู้อื่นด้วยตนเอง
3. จับคู่ภาพเหมือนได้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านอารมณ์จิตใจ
- การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่
- การรปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามความสามารถของตนเอง
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
- การเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่น
ด้านสติปัญญา
- การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
- การจับคู่ การเปรียบเทียบ และการเรียงลำดับ สิ่งต่างๆ ตามลักษณะ ความยาว/
ความสูง น้ำหนัก ปริมาตร
2. สาระที่ควรเรียนรู้
เกมจับคู่ภาพเหมือนดอกมะลิ
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมจับคู่ภาพเหมือนดอกมะลิ ให้เด็กดู
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงขณะทำกิจกรรมและหลังทำกิจกรรม
2.1 ไม่ส่งเสียงดังและห้ามนำเกมแต่ละเกมมาปะปนกัน
2.2 เมื่อเล่นเกมเสร็จแล้วให้เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
2.3 สัญญาณในการปฏิบัติการเล่นเกมคือ
- เคาะสัญญาณ 1 ครั้ง คือ ให้เก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย
- เคาะสัญญาณ 2 ครั้ง คือ ให้เปลี่ยนเกมกับกลุ่มอื่น
3. เด็กและครูร่วมกันแบ่งกลุ่มโดยครูใช้เทคนิคการแบ่งกลุ่มโดยการให้เด็กทุกคนออกมาจับ
ฉลากสี คือ สีแดง สีเหลือง สีฟ้า สีเขียว สีส้ม แล้วแบ่งกลุ่มตามสีที่ได้ออกเป็น 5 กลุ่ม
4. เด็กเล่นเกมอย่างอิสระ เมื่อหมดเวลาให้มานั่งที่เดิม
5. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเล่นเกมโดยให้เด็กส่งตัวแทนมา 2 คนเพื่อสรุป
เกี่ยวกับการเล่นเกมได้อะไรบ้าง
สื่อและอุปกรณ์
1. เกมจับคู่ภาพเหมือนดอกมะลิ
2. เครื่องเคาะจังหวะ
3. ฉลากสี

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. เล่นหรือทำงานร่วมมือกับเพื่อน การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
อย่างมีเป้าหมาย พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2.ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อ เล่นเกม พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ต้องการสิ่งของของผู้อื่นด้วยตนเอง การศึกษา 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
3. จับคู่ภาพเหมือนได้ ตนเองได้ดี
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง การตอบแทนพระคุณ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 4 วันที่ 12 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15 นาที
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. มฐ.4 ตบช. 4.1 (4.1.3 สนใจ มีความสุข และแสดงท่าทาง/ เคลื่อนไหว ประกอบ
เพลง จังหวะและ ดนตรี)
2. มฐ.11 ตบช. 11.2 (11.2.1เคลื่อนไหวท่าทาง เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของ
ตนเองอย่างหลากหลายและแปลกใหม่)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวด้วยความสนใจ มีความสุข และแสดงท่าทาง/ เคลื่อนไหว
ประกอบเพลง จังหวะและ ดนตรี
2. ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวท่าทาง เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเองได้อย่าง
หลากหลาย
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเคลื่อนไหวอยู่กับที่
- การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
- การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดับ และพื้นที่
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
- การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ตามความสามารถของตนเอง
ด้านสังคม
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
2. สาระที่ควรเรียนรู้
การเคลื่อนไหวประกอบเพลง
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐานโดยการเดิน ไปในทิศทาง ซ้าย ขวา หน้า หลัง
2. เด็กและครูร่วมกันกำหนดสัญญาณในการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายตามจังหวะช้า
เร็ว หยุด ดังนี้
- เคาะสัญญาณช้า ๆ ให้เด็กเคลื่อนไหวช้า ๆ
- เคาะสัญญาณเร็ว ๆ ให้เด็กเคลื่อนไหวเร็ว ๆ
- เคาะสัญญาณ 2 ครั้งติดกันให้เด็กหยุดเคลื่อนไหวทันที
3. เด็กและครูทบทวนการใช้สัญญาณ จากนั้นให้เด็กเคลื่อนไหวอย่างอิสระตามสัญญาณ
1- 2 ครั้ง โดยเน้นซ้าย ขวา หน้า หลัง เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณหยุดให้ค้างท่าสุดท้ายของ
การเคลื่อนไหว
4. เด็กและครูร่วมกันกำหนดข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม ดังนี้
- ไม่เคลื่อนไหวชนเพื่อน
- หาพื้นที่ว่างในการทำกิจกรรม
5. เด็กร่วมกันเคลื่อนไหวประกอบเพลง “อิ่มอุ่น”
6. เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณหยุดให้เด็กๆ หยุดการเคลื่อนไหวทันที
7. เด็ก ๆ นั่งเป็นวงกลมทำกิจกรรมผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยการทำเบรนยิมนวดปุ่มขมับ
สือ่
1. เครื่องเคาะจังหวะ
2. เพลง “อิ่มอุ่น”

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวด้วย การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึน้ ไป
ความสนใจ มีความสุข และแสดง พฤติกรรมเด็ก การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
ท่าทาง/ เคลื่อนไหว ประกอบเพลง ขณะเคลื่อนไหว พฤติกรรม ในระดับพอใช้
จังหวะและ ดนตรี ประกอบเพลง 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
2. ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวท่าทาง ตนเองได้ดี
เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของ
ตนเองได้อย่างหลากหลาย
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง การตอบแทนพระคุณ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 4 วันที่ 12 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15 นาที
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. มฐ.9 ตบช.9.1 (9.1.1 ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบอย่างต่อเนื่องเชื่อมโยงกับ
เรื่องที่ฟัง)
2. มฐ.9 ตบช. 9.1 (9.1.2 เล่าเป็นเรื่องราวต่อเนื่องได้)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ฟังและสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับเรื่องการตอบแทนพระคุณแม่ได้
2. เล่าการตอบแทนพระคุณแม่เป็นเรื่องราวต่อเนื่องได้
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านสังคม
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
- การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ด้านสติปัญญา
- การรอจังหวะที่เหมาะสมในการพูด
- การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเองหรือพูดเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ
ตนเอง
2. สาระที่ควรเรียนรู้
การตอบแทนพระคุณแม่
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการตอบแทนพระคุณแม่
ขั้นสอน
2. ครูเปิดนิทานสอนใจเรื่องพระคุณแม่ ในอินเตอร์เน็ต (ยูทูป)ให้เด็กดู
3. เด็กร่วมกันดูนิทาน “พระคุณแม่” เมื่อดูจบเด็กร่วมกันตอบคำถามและแสดงความ
คิดเห็น เช่น การตอบแทนพระคุณแม่ทำได้อย่างไร
ขั้นสรุป
4. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการตอบแทนพระคุณแม่
สือ่
1. อินเตอร์เน็ต (ยูทูป) นิทาน “พระคุณแม่”

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. ฟังและสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับ การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
เรื่องการตอบแทนพระคุณแม่ได้ พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. เล่าการตอบแทนพระคุณแม่เป็น สนทนาโต้ตอบ พฤติกรรม ในระดับพอใช้
เรื่องราวต่อเนื่องได้ 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
ตนเองได้ดี
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง การตอบแทนพระคุณ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 4 วันที่ 12 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. มฐ.4 ตบช.4.1 (4.1.1 สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านงานศิลปะ)
2. มฐ. 5 ตบช. 5.4 (5.4.1 ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จด้วยตนเอง)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเองและผู้อื่น
2. ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จด้วยตนเอง
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเขียนภาพและการเล่นสี
- การหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การทำกิจกรรมศิลปะต่างๆ
- การทำงานศิลปะ
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
- การทำศิลปะแบบร่วมมือ
ด้านสติปัญญา
- การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้รูปร่าง รูปทรงจากวัสดุที่หลากหลาย
2. สาระที่ควรเรียนรู้
- กิจกรรมการฉีก ตัด ปะ
- กิจกรรมการรดีดสี
- กิจกรรมการพิมพ์ภาพด้วยนิ้วมือ
- กิจกรรมการเป่าสี
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการทำงานศิลปะ
2. ครูแนะนำกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยแบ่งออกเป็น 4 โต๊ะ ประกอบด้วย
2.1 โต๊ะที่ 1 ฉีก ตัด ปะ
2.2 โต๊ะที่ 2 ดีดสี
2.3 โต๊ะที่ 3 พิมพ์ภาพด้วยนิ้วมือ
2.4 โต๊ะที่ 4 เป่าสี
3. ครูอธิบายวิธีการทำกิจกรรมแต่ละโต๊ะ
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงกับนักเรียนขณะทำกิจกรรมและหลังทำกิจกรรม ดังนี้
4.1 ให้เด็กแต่ละคนปฏิบัติกิจกรรมอย่างน้อยคนละ 2 กิจกรรม
4.2 ห้ามนำอุปกรณ์ในแต่ละกิจกรรมมาปะปนกัน
4.3 เก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อยหลังจากเสร็จกิจกรรม
4.4 ให้นำผลงานที่เสร็จแล้ว 1 ชิ้นให้นำไปติดที่มุมผลงานเด็กและสามารถทำ
กิจกรรมที่ 2 ได้
4.5 สัญญาณในการปฏิบัติกิจกรรมคือ
- เคาะสัญญาณ 1 ครั้ง คือ ให้เก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย
- เคาะสัญญาณ 2 ครั้ง คือ หมดเวลาให้กลับไปนั่งที่เดิม
5. เด็กและครูร่วมกันแบ่งกลุ่มโดยครูใช้เทคนิคการแบ่งกลุ่มโดยการให้เด็กทุกคนออกมาจับ
ฉลากสี คือ สีแดง สีเหลือง สีฟ้า สีเขียวแล้วแบ่งกลุ่มตามสีที่ได้ออกเป็น 4 กลุ่ม
6. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ โดยอยู่ภายใต้ข้อตกลงที่สร้างร่วมกันไว้
7. เมื่อทำผลงานเสร็จ ให้เด็กนำผลงานมาส่ง พร้อมทั้งเล่าเรื่องราวของชิ้นงานที่สร้างโดยครู
จดบันทึกคำพูดของนักเรียน ในชิ้นงานนั้น
8. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรม โดยการให้เด็กออกมานำเสนอผลงานที่ได้ทำ
9. เด็กและครูร่วมกันนำเสนอผลงาน โดยให้นักเรียนส่งตัวแทนมานำเสนอผลงานเพื่อนำเสนอ
ผลงานที่ภูมิใจ 1 ชิ้น ให้เพื่อนในห้องเรียนฟัง
10. เมื่อหมดเวลาครูให้สัญญาณ เด็กช่วยกันเก็บของและมานั่งเป็นรูปตัวยูเหมือนเดิม
สือ่
1. กระดาษ A4 5. ฉลาก
2. กาว/หลอด 6. สีน้ำ/จานสี/พู่กัน
3. กระดาษสี 7. เครื่องเคาะจังหวะ
4. กรรไกร
การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. แสดงความพอใจในผลงานและ การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ความสามารถของตนเองและผู้อื่น พฤติกรรมขณะ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2.สนใจ มีความสุข และแสดงออก ทำงานศิลปะ พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ผ่านงานศิลปะ 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
3.เก็บของเล่นของใช้เข้าที่อย่าง ตนเองได้ดี
เรียบร้อย
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง การตอบแทนพระคุณ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 4 วันที่ 12 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมเล่นตามมุม
1. มฐ.1 ตบช.1.3 (1.3.1 เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยด้วยตนเอง)
2. มฐ.5 ตบช. 5.1 (5.1.1 ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของของผู้อื่นด้วยตนเอง)
3. มฐ.6 ตบช. 6.2 (6.2.1 เก็บของเล่นของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อยด้วยตนเอง)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยได้
2. รู้จักขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของ
3. เก็บของเล่น ของใช้เข้าที่ได้ด้วยตนเอง
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและการสร้างสิ่งต่างๆจากแท่งไม้ บล็อก
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การเล่นตามมุมประสบการณ์/มุมเล่นต่าง ๆ
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
ด้านสติปัญญา
- การต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์และการแยกชิ้นส่วน
2. สาระที่ควรเรียนรู้
การเรียนรู้ตามมุมประสบการณ์
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง นั่งตรง
2. ครูแนะนำมุมทั้ง 5 มุม ได้แก่ มุมบ้าน มุมหนังสือ มุมดนตรี มุมบล็อก มุมบทบาทสมมติ
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงร่วมกัน
3.1 ใน 1 มุมสามารถเข้าทำกิจกรรมได้ไม่เกิน 6 คน
3.2 ไม่นำของเล่นแต่ละมุมไปปนกับมุมอื่น
3.3 เมื่อเล่นเสร็จเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
3.4 เด็กและครูร่วมกันตกลงสัญญาณเวลาในการเล่นแต่ละมุม
4. เคาะจังหวะรัว ๆ คือ หมดเวลาในการทำกิจกรรมเด็ก ๆ เก็บของให้เข้าที่แล้วให้เด็ก ๆ
เปลี่ยนมุมเพื่อทำกิจกรรมจนครบทุกมุม
5. เด็กทำกิจกรรมตามมุมอย่างอิสระโดยครูเป็นผู้คอยให้คำแนะนำและคอยดูแลเด็กในการ
เล่นในแต่ละมุม
6. เด็กแต่ละคนออกมานำเสนอว่าชอบเล่นมุมไหนมากที่สุดและในแต่ละมุมมีกิจกรรม
อะไรบ้าง
สือ่
1. เพลง นั่งตรง
2. สื่ออุปกรณ์ตามมุมต่าง ๆ
3. เครื่องเคาะจังหวะ

การประเมินผ
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. เล่นและทำกิจกรรมอย่าง การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ปลอดภัยได้ พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. รู้จักขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อ เล่นร่วมกับ พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ต้องการสิ่งของ เพื่อน 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
3. เก็บของเล่น ของใช้เข้าที่ได้ด้วย ตนเองได้ดี
ตนเอง
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง การตอบแทนพระคุณ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 4 วันที่ 12 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. มฐ.1 ตบช.1.3 (1.3.1 เล่น ทำกิจกรรมและปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย)
2. มฐ.6 ตบช.6.2 (6.2.2 เข้าแถวตามลำดับก่อนหลังได้ด้วยตนเอง)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เล่น ทำกิจกรรมได้อย่างปลอดภัย
2. เข้าแถวตามลำดับก่อนหลังได้ด้วยตนเอง
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
- การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดับและพื้นที่
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การเล่นอิสระ
- การเล่นนอกห้องเรียน
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
- การมีส่วนร่วมในการเลือกวิธีการแก้ปัญหา
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม
2. สาระที่ควรเรียนรู้
การเล่นเครื่องเล่นสนาม
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กและครูเดินกันเป็นแถวไปที่ลานกิจกรรมและร่วมกับอบอุ่นร่างกาย
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับการเล่น ดังนี้
2.1 เล่นด้วยความระมัดระวัง
2.2 สัญญาณเตือนก่อนหมดเวลา คือ เป่านกหวีดสั้น
2.3 สัญญาณเตือนหมดเวลา คือ เป่านกหวีดยาว ให้เด็กมาเข้าแถวให้เรียบร้อย
3. เด็กได้เล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระโดยมีครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
4. ก่อนหมดเวลาครูเป่านกหวีดแล้วให้เด็กมาเข้าแถวจากนั้นพูดคุยเกี่ยวกับการทำกิจกรรม
และปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการทำกิจกรรม
5. เด็กได้ทำความสะอาดร่างกาย แล้วนั่งพักผ่อนในห้องเรียน
สือ่
1. นกหวีด
2. เครื่องเล่นสนาม

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. เล่น ทำกิจกรรมได้อย่าง การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ปลอดภัย พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. เข้าแถวตามลำดับก่อนหลังได้ เล่นอย่าง พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ด้วยตนเอง ปลอดภัย 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
ตนเองได้ดี
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง การตอบแทนพระคุณ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 4 วันที่ 12 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 30 นาที
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. มฐ. 8 ตบช. 8.3 (8.3.1 มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตามข้อตกลงด้วยตนเอง)
2. มฐ. 10 ตบช. 10.1 (10.1.2 จับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างและความเหมือน
ของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ลักษณะที่สังเกตพบสองลักษณะขึ้นไป)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตามข้อตกลงด้วยตนเอง
2. จับคู่ภาพเหมือนได้
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านอารมณ์จิตใจ
- การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่
- การรปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามความสามารถของตนเอง
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
- การเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่น
ด้านสติปัญญา
- การจับคู่ การเปรียบเทียบ และการเรียงลำดับ สิ่งต่างๆตามลักษณะความยาว/
ความสูง น้ำหนัก ปริมาตร
- การพูดอย่างสร้างสรรค์ในการเล่น และการกระทำต่าง ๆ
2. สาระที่ควรเรียนรู้
เกมลอตโต้ ความรักของแม่
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมลอตโต้ ความรักของแม่ ให้เด็กดู
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงขณะทำกิจกรรมและหลังทำกิจกรรม
2.1 ไม่ส่งเสียงดังและห้ามนำเกมแต่ละเกมมาปะปนกัน
2.2 เมื่อเล่นเกมเสร็จแล้วให้เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
2.3 สัญญาณในการปฏิบัติการเล่นเกมคือ
- เคาะสัญญาณ 1 ครั้ง คือ ให้เก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย
- เคาะสัญญาณ 2 ครั้ง คือ ให้เปลี่ยนเกมกับกลุ่มอื่น
3. เด็กและครูร่วมกันแบ่งกลุ่มโดยครูใช้เทคนิคการแบ่งกลุ่มโดยการให้เด็กทุกคนออกมาจับ
ฉลากสี คือ สีแดง สีเหลือง สีฟ้า สีเขียว สีส้ม แล้วแบ่งกลุ่ม ตามสีที่ได้ออกเป็น 5 กลุ่ม
4. เด็กเล่นเกมอย่างอิสระ เมื่อหมดเวลาให้มานั่งที่เดิม
5. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเล่นเกม โดยให้เด็กส่งตัวแทนมา 2 คนเพื่อสรุป
เกี่ยวกับการเล่นเกมได้อะไรบ้าง
สือ่
1. เกมลอตโต้ ความรักของแม่
2. เครื่องเคาะจังหวะ
3. ฉลากสี

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1.มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและ การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ปฏิบัติตามข้อตกลงด้วยตนเอง พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. จับคู่ภาพเหมือนได้ เล่นเกม พฤติกรรม ในระดับพอใช้
3.กระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม การศึกษา 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
ตั้งแต่ต้นจนจบ ตนเองได้ดี
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง โครงการศิลปาชีพ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 5 วันที่ 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15
นาที
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. มฐ. 4 ตบช. 4.1 (4.1.3 สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบ
เพลง จังหวะและดนตรี
2. มฐ. 5 ตบช. 5.3 (5.3.1 แสดงสีหน้าและท่าทางรับรู้ความรู้สึกผู้อื่นอย่างสอดคล้อง
กับสถานการณ์)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวด้วยความสนใจผ่านจังหวะดนตรีได้อย่างมีความสุข
2. ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวโดยการแสดงสีหน้าและท่าทางรับรู้ความรู้สึกได้อย่างสอดคล้อง
กับสถานการณ์
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเคลื่อนไหวอยู่กับที่
- การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
- การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดับ และพื้นที่
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
ด้านสังคม
- การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
ด้านสติปัญญา
- การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
- การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง บทร้อยกรอง หรือเรื่องราวต่างๆ
2. สาระที่ควรเรียนรู้
การเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยาย
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐานโดยการเดิน ไปในทิศทาง ซ้าย ขวา หน้า หลัง
2. เด็กและครูร่วมกันกำหนดสัญญาณในการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายตามจังหวะช้า
เร็ว หยุด ดังนี้
- เคาะสัญญาณช้า ๆ ให้เด็กเคลื่อนไหวช้า ๆ
- เคาะสัญญาณเร็ว ๆ ให้เด็กเคลื่อนไหวเร็ว ๆ
- เคาะสัญญาณ 2 ครั้งติดกันให้เด็กหยุดเคลื่อนไหวทันที
3. เด็กและครูทบทวนการใช้สัญญาณ จากนั้นให้เด็กเคลื่อนไหวอย่างอิสระตามสัญญาณ
1- 2 ครั้ง โดยเน้นซ้าย ขวา หน้า หลัง เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณหยุดให้ค้างท่าสุดท้าย
ของการเคลื่อนไหว
4. เด็กและครูร่วมกันกำหนดข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม ดังนี้
- ไม่เคลื่อนไหวชนเพื่อน
- หาพื้นที่ว่างในการทำกิจกรรม
- ขณะเคลื่อนไหวต้องคำนึงถึงความปลอดภัย
5. เด็กร่วมกันเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยาย ดังนี้ 12 สิงหาคม วันแม่แห่งชาติ ฉันซื้อดอก
มะลิไปไหว้แม่ ฉันกอดแม่ กราบแม่ ฉันช่วยแม่ทำงานบ้าน กวาดบ้าน ถูบ้าน เก็บขยะ
ฉันทำความดีเพื่อแม่ ฉันช่วยงานแม่ทุกวัน ฉันรักทุกวัน ไม่ใช่แค่วันแม่วันเดียว
6. เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณหยุดให้เด็กๆ หยุดการเคลื่อนไหวทันที
7. เด็ก ๆ นั่งเป็นวงกลมทำกิจกรรมผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยการกำหนดลมหายใจเข้าออก
สือ่
1. เครื่องเคาะจังหวะ
2. คำบรรยาย “12 สิงหาคม วันแม่แห่งชาติ”
การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวด้วย การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ความสนใจผ่านจังหวะดนตรีได้ พฤติกรรมเด็ก การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
อย่างมีความสุข ขณะเคลื่อนไหว พฤติกรรม ในระดับพอใช้
2. ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวโดยการ ประกอบคำ 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
แสดงสีหน้าและท่าทางรับรู้ บรรยาย ตนเองได้ดี
ความรู้สึกได้อย่างสอดคล้องกับ
สถานการณ์
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง โครงการศิลปาชีพ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 5 วันที่ 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15 นาที
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. มฐ.3 ตบช.3.2 (3.2.1 กล้าพูดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมตามสถานการณ์)
2. มฐ.9 ตบช.9.1 (9.1.1 ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบอย่างต่อเนื่องเชื่อมโยงกับ
เรื่องที่ฟัง)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. กล้าพูดกล้าแสดงออกได้อย่างเหมาะสม
2. ฟังและสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับเรื่องโครงการศิลปาชีพได้
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านอารมณ์
- การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี
ด้านสติปัญญา
- การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง บทร้อยกรอง หรือเรื่องราวต่างๆ
- การรอจังหวะที่เหมาะสมในการพูด
- การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง หรือพูดเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ
ตนเอง
- การพูดแสดงความคิด ความรู้สึก และความต้องการ
- การตั้งคำถามในเรื่องที่สนใจ
2. สาระที่ควรเรียนรู้
โครงการศิลปาชีพ
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. ครูเล่านิทาน “ฉันรักพระราชินี” ให้เด็กฟัง
2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับโครงการศิลปาชีพ
ขั้นสอน
3. ครูเปิดอินเตอร์เน็ต (ยูทูป) ให้เด็กดูเกี่ยวกับ โครงการศิลปาชีพของพระราชินี
ขั้นสรุป
4. เด็กและครูร่วมกับสรุปเกี่ยวกับโครงการศิลปาชีพโดยครูตั้งคำถาม
4.1 พระราชินีช่วยเหลือประชาชนในเรื่องอะไรบ้าง
4.2 พระราชินีเสด็จไปช่วยเหลือประชาชนกับใคร
สือ่
1. นิทานเรื่อง “ฉันรักพระราชินี”
2. อินเตอร์เน็ต (ยูทูป) โครงการศิลปาชีพ

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. กล้าพูดกล้าแสดงออกได้อย่าง การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
เหมาะสม พฤติกรรม การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. ฟังและสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับ สนทนาโต้ตอบ พฤติกรรม ในระดับพอใช้
เรื่องโครงการศิลปาชีพได้ 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
ตนเองได้ดี
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง โครงการศิลปาชีพ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 5 วันที่ 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. มฐ.2 ตบช.2.2 (2.2.3 ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.25 ซม. ได้)
2. มฐ. 4 ตบช. 4.1 (4.1.1 สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านงานศิลปะ)
3. มฐ. 11 ตบช. 11.1 (11.1.1 สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของ
ตนเองโดยมีการดัดแปลงแปลกใหม่จากเดิมและมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.25 ซม. ได้
2. สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านงานศิลปะ
3. สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเองโดยมีการดัดแปลงแปลก ใหม่
จากเดิมและมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเขียนภาพและการเล่นสี
- การหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การทำกิจกรรมศิลปะต่างๆ
- การสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม
- การทำงานศิลปะ
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
- การทำศิลปะแบบร่วมมือ
2. สาระที่ควรเรียนรู้
- กิจกรรมการร้อยลูกปัด
- กิจกรรมการปั้นแป้งโด
- กิจกรรมการดีดสี
- กิจกรรมการรูดสี
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูพูดคุยกับเด็กๆเกี่ยวกับงานศิลปะ
2. ครูแนะนำกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยแบ่งออกเป็น 4 โต๊ะ ประกอบด้วย
2.1 โต๊ะที่ 1 การร้อยลูกปัด
2.2 โต๊ะที่ 2 ปั้นแป้งโด
2.3 โต๊ะที่ 3 ดีดสี
2.4 โต๊ะที่ 4 รูดสี
3. ครูอธิบายวิธีการทำกิจกรรมแต่ละโต๊ะ
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงกับนักเรียนขณะทำกิจกรรมและหลังทำกิจกรรม ดังนี้
4.1 ให้เด็กแต่ละคนปฏิบัติกิจกรรมอย่างน้อยคนละ 2 กิจกรรม
4.2 ห้ามนำอุปกรณ์ในแต่ละกิจกรรมมาปะปนกัน
4.3 เก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อยหลังจากเสร็จกิจกรรม
4.4 ให้นำผลงานที่เสร็จแล้ว 1 ชิ้นให้นำไปติดที่มุมผลงานเด็กและสามารถทำ
กิจกรรมที่ 2 ได้
4.5 สัญญาณในการปฏิบัติกิจกรรมคือ
- เคาะสัญญาณ 1 ครั้ง คือ ให้เก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย
- เคาะสัญญาณ 2 ครั้ง คือ หมดเวลาให้กลับไปนั่งที่เดิม
5. เด็กและครูร่วมกันแบ่งกลุ่มโดยครูใช้เทคนิคการแบ่งกลุ่มโดยการให้เด็กทุกคนออกมาจับ
ฉลากสี คือ สีแดง สีเหลือง สีฟ้า สีเขียวแล้วแบ่งกลุ่ม ตามสีที่ได้ออกเป็น 4 กลุ่ม
6. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ โดยอยู่ภายใต้ข้อตกลงที่สร้างร่วมกันไว้
7. เมื่อทำผลงานเสร็จ ให้เด็กนำผลงานมาส่ง พร้อมทั้งเล่าเรื่องราวของชิ้นงานที่สร้างโดยครู
จดบันทึกคำพูดของนักเรียน ในชิ้นงานนั้น
8. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรม โดยการให้เด็กออกมานำเสนอผลงานที่ได้ทำ
9. เด็กและครูร่วมกันนำเสนอผลงาน โดยให้นักเรียนส่งตัวแทนมานำเสนอผลงานเพื่อนำเสนอ
ผลงานที่ภูมิใจ 1 ชิ้น ให้เพื่อนในห้องเรียนฟัง
10. เมื่อหมดเวลาครูให้สัญญาณ เด็กช่วยกันเก็บของและมานั่งเป็นรูปตัวยูเหมือนเดิม
สือ่
1. กระดาษ A4 4. ฉลาก
2. ลูกปัด/เส้นเอ็น/เชือก 5. เครื่องเคาะจังหวะ
3. สีน้ำ/พู่กัน/จานสี 6. แป้งโด
การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่าน การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ศูนย์กลาง 0.25 ซม. ได้ พฤติกรรมขณะ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. สนใจ มีความสุข และแสดงออก ทำงานศิลปะ พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ผ่านงานศิลปะ 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
3. สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสาร ตนเองได้ดี
ความคิด ความรู้สึกของตนเองโดยมี
การดัดแปลงแปลกใหม่จากเดิมและ
มีรายละเอียดเพิ่มขึ้น
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง โครงการศิลปาชีพ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 5 วันที่ 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมเล่นตามมุม
1. มฐ. 1 ตบช.1.3 (1.3.1 เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยด้วยตนเอง)
2. มฐ. 5 ตบช. 5.1 (5.1.1 ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของของผู้อื่น
ด้วยตนเอง)
3. มฐ.6 ตบช. 6.2 (6.2.1 เก็บของเล่นของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อยด้วยตนเอง)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยได้
2. รู้จักขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของ
3. เก็บของเล่นของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อยด้วยตนเอง
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและการสร้างสิ่งต่าง ๆ จากแท่งไม้ บล็อก
ด้านอารมณ์ จิตใจ
- การเล่นตามมุมประสบการณ์/มุมเล่นต่าง ๆ
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
ด้านสติปัญญา
- การต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์และการแยกชิ้นส่วน
2. สาระที่ควรเรียนรู้
การเรียนรู้ตามมุมประสบการณ์
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง นั่งตรง
2. ครูแนะนำมุมทั้ง 5 มุม ได้แก่ มุมบ้าน มุมหนังสือ มุมดนตรี มุมบล็อก มุมบทบาทสมมติ
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงร่วมกัน
3.1 ใน 1 มุมสามารถเข้าทำกิจกรรมได้ไม่เกิน 6 คน
3.2 ไม่นำของเล่นแต่ละมุมไปปนกับมุมอื่น
3.3 เมื่อเล่นเสร็จเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
3.4 เด็กและครูร่วมกันตกลงสัญญาณเวลาในการเล่นแต่ละมุม
4. เคาะจังหวะรัว ๆ คือ หมดเวลาในการทำกิจกรรมเด็กๆ เก็บของให้เข้าที่แล้วให้เด็ก ๆ
เปลี่ยนมุมเพื่อทำกิจกรรมจนครบทุกมุม
5. เด็กทำกิจกรรมตามมุมอย่างอิสระโดยครูเป็นผู้คอยให้คำแนะนำและคอยดูแลเด็กในการ
เล่นในแต่ละมุม
6. เด็กแต่ละคนออกมานำเสนอว่าชอบเล่นมุมไหนมากที่สุดและในแต่ละมุมมีกิจกรรม
อะไรบ้าง
สือ่
1. เพลง นั่งตรง
2. สื่ออุปกรณ์ตามมุมต่าง ๆ
3. เครื่องเคาะจังหวะ

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. เล่นและทำกิจกรรมอย่าง การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ปลอดภัยได้ พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. รู้จักขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อ เล่นเกม พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ต้องการสิ่งของ การศึกษา 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
3. เก็บของเล่นของใช้เข้าที่อย่าง ตนเองได้ดี
เรียบร้อยด้วยตนเอง
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง โครงการศิลปาชีพ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 5 วันที่ 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20 นาที
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. มฐ.1 ตบช.1.3 (1.3.1 เล่น ทำกิจกรรมและปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย)
2. มฐ.8 ตบช. 8.3 (8.3.1 มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตามข้อตกลงด้วยตนเอง)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เล่นและทำกิจกรรมได้อย่างปลอดภัย
2. มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตามข้อตกลงด้วยตนเอง
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระ
- การเล่นเครื่องเล่นอย่างปลอดภัย
ด้านอารมณ์
- การเล่นอิสระ
- การเล่นนอกห้องเรียน
ด้านสังคม
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
- การมีส่วนร่วมในการเลือกวิธีการแก้ปัญหา
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม
2. สาระที่ควรเรียนรู้
การเล่นเกมลิงชิงบอล
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กและครูเดินกันเป็นแถวไปที่ลานกิจกรรม และร่วมกับอบอุ่นร่างกาย
2. ครูอธิบายการเล่นเกมลิงชิงบอล โดยให้ผู้เล่นเข้าแถวเป็นวงกลม แล้วเลือกผู้เล่นให้
ออกมาเป็นลิง
3. เริ่มเล่นโดยผู้เล่นที่ยืนเป็นวงกลมโยนบอลให้กับเพื่อนที่อยู่ห่างออกไปเป็นผู้รับโดยระวัง
ไม่ให้ลิงแย่งบอลได้
4. ถ้าผู้ส่งบอลพลาดหรือผู้รับบอลพลาด ถูกลิงแย่งบอลหรือแตะบอลได้ให้ผู้เล่นคนนั้น
ออกไปเป็นลิงแทน
5. เด็กเล่นเกมลิงชิงบอลอย่างอิสระโดยมีครูดูแลอย่างใกล้ชิด
6. เมื่อเด็กเล่นเกมลิงชิงบอลเสร็จ เล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระโดยมีครูดูแลอย่างใกล้ชิด
7. ก่อนหมดเวลาครูเป่านกหวีด แล้วให้เด็กมาเข้าแถว จากนั้นพูดคุยเกี่ยวกับการทำ
กิจกรรม และปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการทำกิจกรรม
8. ทำความสะอาดร่างกาย แล้วนั่งพักผ่อนในห้องเรียน
สือ่
1. นกหวีด
2. ลูกฟุตบอล
3. เครื่องเล่นสนาม

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ได้อย่างปลอดภัย พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและ เล่นอย่าง พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ปฏิบัติตามข้อตกลงด้วยตนเอง ปลอดภัย 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
ตนเองได้ดี
แผนการจัดประสบการณ์สัปดาห์ที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก หน่วยพระคุณแม่
เรื่อง โครงการศิลปาชีพ ชั้นอนุบาล 3/1
สอนวันที่ 5 วันที่ 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 30 นาที
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. มฐ. 5 ตบช. 5.2 (5.2.1 ช่วยเหลือและแบ่งปันผู้อื่นได้ด้วยตนเอง)
2. มฐ. 8 ตบช. 8.3 (8.3.1 มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตามข้อตกลงด้วยตนเอง)
3. มฐ.10 ตบช.10.1 (10.1.4 เรียงลำดับสิ่งของและเหตุการณ์อย่างน้อย 5 ลำดับ)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ช่วยเหลือและแบ่งปันผู้อื่นได้ด้วยตนเอง
2. มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตามข้อตกลงด้วยตนเองได้
3. เรียงลำดับสิ่งของและเหตุการณ์ได้
สาระการเรียนรู้
1. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านอารมณ์จิตใจ
- การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่
ด้านสังคม
- การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน
- การเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
ด้านสติปัญญา
- การจับคู่ การเปรียบเทียบ และการเรียงลำดับ สิ่งต่างๆตามลักษณะความยาว/
ความสูง
- การคักแยก การจัดกลุ่ม และการจำแนกสิ่งต่างๆ ตามลักษณะและรูปร่าง รูปทรง
2. สาระที่ควรเรียนรู้
เกมเรียงลำดับภาพดอกมะลิ
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กและครูร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับโครงกาลศิลปาชีพ
2. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมเรียงลำดับภาพดอกมะลิให้เ ด็ ก ดู
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงขณะทำกิจกรรมและหลังทำกิจกรรม ดังนี้
3.1 ไม่ส่งเสียงดังและห้ามนำเกมแต่ละเกมมาปะปนกัน
3.2 เมื่อเล่นเกมเสร็จแล้วให้เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
3.3 สัญญาณในการปฏิบัติการเล่นเกมคือ
- เคาะจังหวะ 1 ครั้ง คือ ให้เก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย
- เคาะจังหวะ 2 ครั้ง คือ ให้เปลี่ยนเกมกับกลุ่มอื่น
4. เด็กและครูร่วมกันแบ่งกลุ่มโดยครูใช้เทคนิคการแบ่งกลุ่มโดยการให้เด็กทุกคนออกมาจับ
ฉลากสี คือ สีแดง สีเหลือง สีฟ้า สีเขียว สีส้ม แล้วแบ่งกลุ่ม ตามสีที่ได้ออกเป็น 5 กลุ่ม
5. เด็กเล่นเกมอย่างอิสระ เมื่อหมดเวลาให้มานั่งที่เดิม
6. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเล่นเกม โดยให้นักเรียนส่งตัวแทนมา 2 คนเพื่อสรุป
เกี่ยวกับการเล่นเกมได้อะไรบ้าง
สือ่
1. เกมเรียงลำดับภาพดอกมะลิ
2. เครื่องเคาะจังหวะ
3. ฉลากสี

การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การตัดสิน
1. ช่วยเหลือและแบ่งปันผู้อื่นได้ด้วย การสังเกต แบบบันทึกผล 1 หมายถึง ควรส่งเสริม ระดับ 2 ขึ้นไป
ตนเอง พฤติกรรมการ การสังเกต 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ หมายถึง ผ่าน
2. มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและ เล่นเกม พฤติกรรม ในระดับพอใช้
ปฏิบัติตามข้อตกลงด้วยตนเองได้ การศึกษา 3 หมายถึง ปฏิบัติด้วย
3. เรียงลำดับสิ่งของและเหตุการณ์ ตนเองได้ดี
ได้
ภาคผนวก
เพลง
เพลง “ใครหนอ”
(คำร้อง/ทำนอง สุรพล โทณะวณิก)
ใครหนอ รักเรา เท่าชีวี ใครหนอ ปราณี ไม่มีเสื่อมคลาย
ใครหนอ รักเราใช่เพียงรูปกาย รักเขาไม่หน่าย มิคิดทำลาย ใครหนอ
ใครหนอ เห็นเรา เศร้าทรวงใน ใครหนอ เอาใจปลอบเราเรื่อยมา
ใครหนอ รักเราดังดวงแก้วตา รักเขากว้างกว่า พื้นพสุธา นภากาศ
จะเอาโลก มาทำปากกา แล้วเอานภา มาแทน กระดาษ
เอาน้ำหมด มหาสมุทรแทนหมึกวาด ประกาศ พระคุณไม่พอ
ใครหนอ รักเรา เท่าชีวัน ใครหนอ ใครกันให้เราขี่คอ
ใครหนอ ชักชวนดูหนังสี่จอ รู้แล้วละก็ อย่ามัวรั้งรอ ทดแทนบุญคุณ

เพลง “อิ่มอุ่น”
(ร้องโดย ศุ บุญเลี้ยง)
อุ่นใดๆ โลกนี้มิมีเทียบเทียม อุ่นอกอ้อมแขนอ้อมกอดแม่ตระกอง
รักเจ้าจึงปลูก รักลูกแม่ย่อมห่วงใย ไม่อยากจากไปไกล แม้เพียงครึ่งวัน
ให้กายเราใกล้กัน ให้ดวงตาใกล้ตา ให้ดวงใจเราสองเชื่อมโยงผูกพัน
อิ่มใดๆ โลกนี้มิมีเทียบเทียม อิ่มอกอิ่มใจ อิ่มรักลูกหลับนอน
น้ำนมจากอก อาหารของความอาทร แม่พร่ำเตือนพร่ำสอน สอนสั่ง
ให้เจ้าเป็นเด็กดี ให้เจ้ามีพลัง ให้เจ้าเป็นความหวังของแม่ต่อไป
ใช่เพียงอิ่มท้อง ที่ลูกร่ำร้องเพราะต้องการไออุ่น
อุ่นไอรัก อุ่นละมุน ขอน้ำนมอุ่นจากอกให้ลูกดื่มกิน

เพลงนั่งตรง
(ไม่ปรากฏนามผู้ประพันธ์)
นั่งตัวตรง ตรง นั่งตัวตรง ตรง
ตรงไหมคะ(ซ้ำ) ตรงแล้วค่ะ(ซ้ำ)
คำบรรยาย
คำบรรยาย “12 สิงหาคม วันแม่แห่งชาติ”
12 สิงหาคม วันแม่แห่งชาติ ฉันซื้อดอกมะลิไปไหว้แม่ ฉันกอดแม่ กราบแม่ ฉันช่วยแม่ทำงาน
บ้าน กวาดบ้าน ถูบ้าน เก็บขยะ ฉันทำความดีเพื่อแม่ ฉันช่วยงานแม่ทุกวัน ฉันรักทุกวัน ไม่ใช่แค่วัน
แม่วันเดียว

เกมการละเล่น
เกมวิ่งเก็บของ

วิธีการเล่น
วางสิ่งของที่ให้เก็บเป็นแนวยาว ให้มีระยะห่างพอสมควร ให้ผู้เล่นวิ่งไปเก็บของแต่ละอย่าง
จนครบแล้วกลับมาอยู่ที่เริ่มต้น

เกมกระโดดข้ามห่วง

วิธีเล่น
1. แบ่งผู้เล่นออกเป็นสองทีม
2. วางห่วงยางลงบนพื้นต่อกัน สองฝั่ง
3. ให้ผู้เล่นแต่ละทีมกระโดดในห่วง ห้ามออกจากห่วง ทีมไหน กระโดดครบหมดทุกคนก่อน
ถือว่าชนะ
การละเล่น งูกินหาง

วิธีเล่น
1. แบ่งผู้เล่นเป็น 2 ฝ่าย
2. ฝ่ายที่ 1 จะต้องเป็น “พ่องู” 1 คน ฝ่ายที่ 2 มี “แม่งู” 1 คน ที่เหลือเป็น “ลูกงู” ซึ่งผู้เล่นเป็นลูกงู
จะต้องเกาะเอวผู้เล่นเป็นแม่งู
3. จากนั้น พ่องูเริ่มถามว่า “แม่งูเอ๋ย” แม่งูและลูกงูก็ร้องตอบว่า “เอ๋ย” พอช่วงท้ายพ่องูถามว่า “กิน
หัว กินหาง” แม่งูตอบว่า “กินกลางตลอดตัว”
4. พ่องูก็จะไล่จับลูกงูจากปลายแถว ฝ่ายแม่งูจะต้องกางมือเพื่อป้องกันลูก หากลูกงูตัวใดถูกพ่องูดึงจน
หลุดออกจากแถวไป ก็จะต้องออกจากการเล่น
5. ผู้เล่นที่เหลือก็เริ่มเล่นกันอีกจนกว่าลูกงูจะถูกจับจนหมด

เกมลิงชิงบอล
วิธีเล่น
ผู้เล่น ตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป คนหนึ่งเล่นเป็นลิงไปยืนกลางวงคอยแย่งชิงลูกบอล ส่วนคนที่เหลือ
เป็นผู้รับส่งลูกบอล ไม่ให้ผู้ที่เป็นลิงสัมผัสถูกลูกบอลได้ ถ้าผู้เล่นที่อยู่กลางวงแตะหรือจับลูกบอลได้
จากใคร ผู้นั้นจะต้องมาเป็นผู้ไล่แตะหรือจับลูกบอลกลางวงแทน
ให้เจ้าเป็นเด็กดีให้เจ้ามีพลัง
ให้เจ้าเป็นความหวังของแม่ต่อไป

ใช่เพียงอิ่มท้อง
ที่ลูกร่ำร้องเพราะต้องการไออุ่น
อุ่นไอรักอุ่นละมุน
ขอน้ำนมอุ่นจากอกใจ้าเป็นความหวังข
ใบงาน สัปดาห์ที่ 10 วันศุกร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ชื่อ.........................................................................................ชั้น........................
คำชี้แจง ให้นักเรียนวาดการ์ดวันแม่ และระบายสีภาพให้สวยงาม

ผลการประเมินความพร้อม ดี พอใช้ ควรส่งเสริม


ใบงาน สัปดาห์ที่ 10 วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ชื่อ.........................................................................................ชั้น........................

คำชี้แจง ให้นักเรียนระบายสีภาพให้สวยงาม

ผลการประเมินความพร้อม ดี พอใช้ ควรส่งเสริม


ใบงาน สัปดาห์ที่ 10 วันพุธที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ชื่อ.........................................................................................ชั้น........................

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตามรอยปะระบายสีภาพดอกมะลิให้สวยงาม

ดอกมะลิ
ผลการประเมินความพร้อม ดี พอใช้ ควรส่งเสริม
ใบงาน สัปดาห์ที่ 10 วันพฤหัสบดีที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ชื่อ.........................................................................................ชั้น........................

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตามรอยประ และระบายสีภาพให้สวยงาม

รักแม่ที่สุดในโลก
ผลการประเมินความพร้อม ดี พอใช้ ควรส่งเสริม
ใบงาน สัปดาห์ที่ 10 วันจันทร์ที่ 9 สิงหาาคม พ.ศ. 2564
ชื่อ.........................................................................................ชั้น........................
คำชี้แจง ให้นักเรียนวาดวาดการ์ดวันแม่ตามจินตนาการ และระบายสีภาพให้สวยงาม

ผลการประเมินความพร้อม ดี พอใช้ ควรส่งเสริม

You might also like