PAT3

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 58

สารบัญ

PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร
FARMMIE-MAP : MAIN CONCEPT E L E C T R I C I T Y 3
FARMMIE-MAP : MAIN CONCEPT M E C H A N I C S 7
FARMMIE-MAP : MAIN CONCEPT F L U I D 11
FARMMIE-MAP : MAIN CONCEPT H E A T 12
จํานวนเชิงซŒอน และสมการพหุนาม 19
แนวขŒอสอบป‚ล‹าสุด 21
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร (PAT 3) 23
SERIES 1 วิศวกรรมพลังงาน และเชื้อเพลิง 26
SERIES 2 ระบบเฟ„อง 28
SERIES 3 วิศวกรรมยานยนต 30
SERIES 4 วิศวกรรมไฟฟ‡า 31
SERIES 5 เครื่องมือวัด และเครื่องมือทางช‹าง 35
SERIES 6 กลศาสตรวิศวกรรม 39
SERIES 7 วิศวกรรมสังเคราะห 47
SERIES 8 คณิตวิศวกรรม 49
SERIES 9 เขียนแบบวิศวกรรม 51
SERIES 10 ฟสิกส ระคน ปนกัน มันสมาก 55

PAT 2 วิทยาศาสตร (เคมี)


- รศ.สุธน เสถียรยานนท 60
- อ.บัวแกŒว รัตนกมุท 80
- อ. สุระศักดิ์ เมาเทือก 89

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


FARMMIE-MAP : MAIN CONCEPT
ELECTRICITY

การเก็บประจุ
ë กฎการถายเทประจุ
๐ ประจุกอนถายเท = ประจุหลังถายเท สูตร :
๐ ประจุจะหยุดถายเท ก็ตอเมื่อ ศักย ไฟฟาบนตัวนําทรงกลมเทากัน C = Q
V
ë ตัวเก็บประจุ (Capacitor : C)
๐ คือ ความสามารถในการเก็บประจุตอความตางศักดิ์ที่เพิ่มขึ้น 1 หนวย
๐ หนวยของตัวเก็บประจุคือ Farad (F)
๐ ความจุไฟฟาของตัวนําทรงกลม C = R vรวม = v1 = v2 = v3 = ...
K
๐ การตอตัวเก็บประจุ Qรวม = Q1 + Q2 + Q3 + ...
C1 Cรวม = C1 + C2 + C3 + ...
 ตอขนาน
C2
V ขนานเทา
C3 vรวม = v1 + v2 + v3 + ...
Qรวม = Q1 = Q2 = Q3 = ...
C1 C2 C3
 ตออนุกรม Q อนุกรมเทา 1 = 1 + 1 + 1 + ...
Cรวม C1 C2 C3
ë พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ Ep = 1 Qv = 1 Cv2 = 1 Q
2

2 2 2C

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


4

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


แนวโจทยชุ ด ที่ 1
1. วิเคราะหวงจรในรูป จงหาคาแรงดันที่ โวลตมิเตอรอานได
40 
V

100 V + 60 
-

2. นําแอมมิเตอรเครื่องหนึ่งมีความตานทานภายใน 100 โอหม มาใชวัดกระแสเต็มสเกลไดสูงสุด 1 แอมแปร ถาเจเจตองการให


แอมมิเตอรเครื่องนี้วัดกระแสไดสูงสุด 10 แอมแปร จะตองใชตัวตานทานมาตอขนานกี่ โอหม
1. 1.11 โอหม 2. 11.11 โอหม
3. 2.22 โอหม 4. 22.22 โอหม
3. สังเกตมอเตอรเครื่องหนึ่งซึ่งใชกับแรงดันไฟฟา 24 โวลต ขณะมอเตอร ไฟฟาทํางานจะเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาตานกลับ 21.5 โวลต
และมีกระแสไฟฟาผานมอเตอร 5 แอมแปร จงคํานวณหาคาความตานทานของมอเตอร
1. 0.5 โอหม 2. 1.5 โอหม
3. 4.3 โอหม 4. 4.8 โอหม
4. จงหาคาความตานทานรวม
R R R
A

R R R 
R R R
B

5. จงหากําลังไฟฟาสูญเสียไปในตัวตานทาน 3 โอหม

4 1. 3 วัตต
2. 6 วัตต
3. 12 วัตต
24 V 3 2 4. 24 วัตต

6

6. ตอตัวตานทาน 10 โอหมกับแบตเตอรี่ 12 โวลต แลวจุมตัวตานทานในคาลอริมอเตอรที่บรรจุนํ้า 48 ลบ.ซม. กากาตองรอเวลา


กี่วินาที อุณหภูมิของนํ้าจึงจะเพิ่มขึ้น 2 องศาเซลเซียส (กําหนดความจุความรอนจําเพาะของนํ้าเทากับ 4.2 จูล/กรัม เคลวิน)
7. นําลวดตัวนําเสนหนึ่งมีพื้นที่หนาตัด A ยาว L ถานํามารีดใหมีพื้นที่หนาตัด A/2 คาความตานทานของลวดเสนใหมจะเพิ่มขึ้น
หรือลดลงเปนกี่เทาเมื่อเทียบกับเสนเดิม

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


8. ตอวงจรเปนรูปดานลาง แตไมทราบวาจะใชตัวเหนี่ยวนํากี่เฮนรี่ จึงจะทําใหกระแสมีคา i(t) = 2 sin (50 t + 90)
10  L

v(t) = 20 cos (50 t) 1. 2,000 เฮนรี


2. 4,000 เฮนรี
V  0.1 F 3. 6,000 เฮนรี
4. 8,000 เฮนรี

9. อุปกรณ ไฟฟาตัวหนึ่ง ซึ่งมีคาประกอบกําลังเทากับ 0.5 ที่ความถี่ 50 Hz ตอกับระบบไฟบาน 220 โวลต 50 Hz วัดกําลังไฟฟา


ที่ตัวอุปกรณ ไดเทากับ 1100 วัตต ควรหาซื้อฟวสที่ใช ในวงจรขนาดกี่แอมแปร โดยใชหลักการเลือกฟวสเปน 1.5 เทาของกระแส
ใชงานปกติ
10. ใชขอความตอไปนี้ตอบคําถามทั้งสองขอ
ลูลูมีหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสเครื่องหนึ่งอยูที่บาน มีขดลวดปฐมภูมิ 200 รอบ ขดลวดทุติยภูมิจํานวน 100 รอบ โดยที่
ขดลวดทุติยภูมิตออยูกับโหลดที่เปนตัวตานทาน 5 โอหม

50 V  Load

200 : 100
1. กําลังไฟฟาที่ผานตัวตานทานมีคากี่วัตต
2. กระแสไฟฟาที่ ไหลทางดานขดลอดปฐมภูมิมีคากี่แอมแปร
11. หากบานหลังหนึ่งมีพฤติกรรมการใช ไฟฟาในรอบวันดังกราฟขางลางนี้ อยากทราบวา ในวันดังกลาวจะมีการใช ไฟฟากี่หนวย
P(W)

3,000
2,000
1,000
time (h)
0 4 8 12 16 20 24

1. 6,000 หนวย 2. 24,000 หนวย


3. (2  4) + (3  12) + (1  20) หนวย 4. (2 + 3 + 1)  4 หนวย
5. ไมมีขอใดถูก
12. หากแหลงจายอินพุตสามารถแปรคาความถี่  ได ที่คาความถี่เทากับเทาใดจึงจะทําให VL = 0V และที่คาความถี่นี้คา VR เทากับ
เทาไร
+ VR - + VL -
1.  = , VR = 0V
2.  = 0, VR = 0V
3.  = , VR = 1V 2 cost 
4.  = 0, VR = 2V
5. ไมมีขอใดถูก

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


FARMMIE-MAP : MAIN CONCEPT
MECHANICS

1. การเคลื่อนที่ ในแนวตรง
s
ไมมีความเรง s = vt ความชัน ...............
แนวตรง พท.ใตกราฟ ..........
v = u + at t
มีความเรง s
s = (v + u) t ความชัน ...............
2 พท.ใตกราฟ ..........
t
s = ut + 1 at2 s
2 ความชัน ...............
พท.ใตกราฟ ..........
v2 = u2 + 2as t

2. แรง มวล กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน


นิ่ง
F =0 รักษาสภาพ กคท. V คงที่
กฎกคท.นิวตัน F = ma แรงชนะ - แรงแพ คิดแรงภายนอก
A=-R ขนาดเทา F = GM12M2
ทิศตรงขาม แรงดึงดูด R
ระหวางมวล
หามหักลาง g = GM2
R

F = F แรงเสียดทาน
3. สมดุลกล
สมดุลตอการเลื่อนตําแหนง F =0 F = F 
สถิต จลน
สมดุลกล สมดุลตอการหมุน M =0 M =M
 
fs  sN fk = kN
สมดุลสัมบูรณ โมเมนต = แรง  ระยะตั้งฉาก

4. งาน และพลังงาน P=W จลน Ek = 1 mv2


t 2
F พท.ใตกราฟ ..........
W=F.S งาน กําลัง พลังงาน ศักย
S งานและพลังงาน โนมถวง Ep = mgh
Eตน = Eปลาย อนุรักษ ยืดหยุน Ep = 1 kx2
สมการ Eff 2
E = Eปลาย - Eตน ได/เสีย Fspring = kx
Eff = Output  100%
Input
7

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


5. โมเมนตัม
โมเมนตัม P = mv อนุรักษ โมเมนตัม P
กอนชน
= Pหลังชน
vocab การดล P = Ft = mv - mu F
พท.ใตกราฟ ..........
แรงดล F = mv - mu
t t
แนวโจทย แนวการชน การอนุรักษ การอนุรักษ Ek หมายเหตุ
ชนยืดหยุน  E = Ekหลังชน u1 + v1 = u2 + v2
kกอนชน
ชนไมยืดหยุน  E > Ekหลังชน มีการสูญเสียพลังงาน
kกอนชน
ระเบิด  E < Ekหลังชน พลังงานจลนเพิ่มขึ้น
kกอนชน

6. การเคลื่อนที่แบบตางๆ
หนึ่ง. การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล
u sin  วิธีคํานวณ


u cos 

แกน x : sx = vxt
เวลาทุกแกนเทากัน
แกน y : s u v a t

สอง. การเคลื่อนที่แบบวงกลม
ปริมาณ วิธีคํานวณ
Fc = mv
2

- แรงเขาสูศูนยกลาง R
a = v 2
- ความเรงเขาสูศูนยกลาง c R
• ความเร็วเชิงเสน v = 2T r = 2Rf
• ความเร็วเชิงมุม  = 2 = 2f
T
- คาบ : เวลาครบรอบ
- ความถี่ : จํานวนรอบตอเวลา f = 1T

สาม. การเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารมอนิค
• นิยาม : เปนการเคลือ่ นทีก่ ลับไปกลับมาซํา้ รอยเดิม โดยมีขนาด แนวโจทยสุดฮิตติดชารท
ความเรงแปรผันตรงกับการกระจัดแตทิศตรงกันขาม a  -s
สมการคลื่น ตุŒม สปริง
• y = Rsin t ความเร็วขณะใดๆ O point of
suspension
• v = Rcos t v =  R2 - x2 time

• a = -2 Rcos t A
B
C

การต‹อสปริง
ถาตัดใหสั้นลง สปริงจะแข็งขึ้น คา เปลี่ยน
เชน สปริงยาว L คานิจ K ถายาวเหลือ L/2 คานิจเปน 2K T = 2 gl T = 2 mk
ถาดึงกันคนละขาง คา K ใหเอามารวมกัน
ถาตอขนาน คา K ใหเอามารวมกัน = g = k
l m
ถาตออนุกรม คา K ใหคิดจาก 1/kรวม = 1/k1 + 1/k2 + …
8

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


แนวโจทยชุ ด ที่ 2
L L
P
30º
1. จงหาโมเมนตที่จุด A ของคานที่กําหนดให A
(ไมคิดนํ้าหนักของคาน)
1. 3 PL
2. 5 PL/2 L
3. PL/2
4. PL
5. 2 PL
P
L/2

2. นาย A ปาลูกบอลออกไปในแนวระดับดวยความเร็ว 10 m/s จากระดับความสูง 80 เมตร ดังรูป ถานาย B เริ่มออกตัววิ่ง


จากตึกไปดวยความเรงคงที่ ในขณะเดียวกันกับที่ นาย A ปาลูกบอล จงหาวานาย B จะตองวิ่งไปดวยความเรงเทาไหรจึงจะ
สามารถรับลูกบอลไดพอดี กําหนดใหคาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก มีคาเทากับ 10 m/s2 และไมคิดแรงตานอากาศ
V0 = 10 m/s
ก.

ข.

3. กลองมีนํ้าหนัก 100 kN ถูกแขวนดวยเคเบิล AB และ AC ที่จุด A ดังรูป ถาระบบอยูในสภาวะสมดุล จงคํานวณหาขนาด


แรงตึงในเคเบิล AB และแรงตึงในเคเบิล AC
C
B

30° 60°
A

100 kN
9

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


4. โครงสรางรับแรงกระทําที่จุดตางๆ ดังรูป จงหาขนาดของแรงปฏิกริยาที่กระทําที่จุดรองรับ B
20 kN
3m
B
A
30 kN 50 kN 30 kN
2m 2m 2m 2m

5. นักออกแบบเครื่องเลนสวนสนุกมือหนึ่งของโลก ไดออกแบบกระดานลื่นที่มีความชันที่ตําแหนงเริ่มตน และตําแหนงสุดทายดังรูป


โดยตองการใหความเร็วของผูเลนเมื่อหลุดออกจากกระดานไมเร็วกวา 18 กิโลเมตร/ชั่วโมง หลอนจะตองออกแบบให ความสูง H
เปนเทาไร (กําหนด g = 10 เมตรตอวินาที2)
3
4
x

5
12 L

6. กลองมวล 5 กิโลกรัม วางนิ่งอยูกับที่ ตอมาถูกดึงดวยแรง 50 นิวตัน ซึ่งทํามุม 37º กับแนวราบ กําหนดใหผิวสัมผัสระหวางกลอง


และพื้นขรุขระมีสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานสถิต μS = 0.5 และสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลน μs = 0.25 จงหาวา
กลองจะเคลื่อนที่ ไปไดระยะทางกี่เมตร เมื่อเวลาผานไป 2 วินาที

50 N

5 kg
37°

µS = 0.5, µS = 0.25

10

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


FARMMIE-MAP : MAIN CONCEPT
FLUID

• ความดัน P=F ความดันเกจ Pเกจ = ρgh ความดันสัมบูรณ Pสัมบูรณ = Pเกจ + Pa


A

• แรงที่นํ้าดันเขื่อนตรง

F = 1 ρgLh2
2

• ความดันบรรยากาศ 1.01  105 N/m2 = 760 mmHg = 1 atm


• หลอดรูปตัวยู : ของเหลวชนิดเดียวกันที่ระดับเดียวกัน จะมีความดันเทากัน เมื่อของเหลวตอถึงกัน

ρ1gh1 = ρ2gh2

• กฎของพาสคัล : ถาเพิ่มความดันใหแกของไหลที่อยูนิ่งในภาชนะปด ความดันสวนที่เพิ่ม จะถายทอดไปทั่วทุกจุดในของไหลนั้น

F = f
A a

• แรงตึงผิว F = L ความหนืด เปนสมบัติในการตานการเคลื่อนที่ของวัตถุในของเหลว f = 6 r v


• แรงลอยตัว FB = ρเหลวvจมg (คํานวณพรอมหลักสมดุล)
• อัตราการไหล A1v1 = A2v2
หลักของแบรนูลลี P1 + 1 ρv12 + ρ1gh1 = P2 + 1 ρv22 + ρ2gh2
2 2

11

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


FARMMIE-MAP : MAIN CONCEPT
HEAT

• การถายพลังงานความรอน ถาเปลี่ยนอุณหภูมิ Q = mcΔT ถาเปลี่ยนสถานะ Q = mL


• อุณหภูมิผสม ใชหลักคํานวณคือ ΔQลด = ΔQเพิ่ม
• กฎของบอยล P1 V 1 = P 2 V 2 เมื่อ T คงที่ P1V 1 P 2 V 2
=
V1 = V 2 T1 T2
• กฎของชารล เมื่อ P คงที่
T1 T2

• กฎของแกส PV = nRT หรือ PV = NkBT เมื่อ R = 8.314 J/mol.K และ kB = 1.38  10- 23 J/K
• การใชกฎของแกสตองใช P สัมบูรณเสมอ หามใช P เกจ เด็ดขาด
• ทฤษฎีจลนของแกส : กาซมีการเคลื่อนที่แบบบราวน คือไมมีทิศทางแนนอน เปลี่ยนทิศการเคลื่อนที่ตลอดเวลา ซึ่งอาจเกิดจาก
การชนระหวางอนุภาคดวยกัน หรือชนกับอนุภาคของตัวกลางที่อนุภาคนั้นไปแขวนลอยอยู
PV = NM 3 (v )
2

• สูตรตามทฤษฎีของแกส vrms = 3RT = 3kBT = 3P


M m p
Ekของกาซหนึ่งโมเลกุล = 3 kBT
• แกสผสม nผสมTผสม = n1T1 + n2T2 + ... หรือ PผสมVผสม = P1V1 + P2V2 + ... 2

• งานในการเปลี่ยนปริมาตร และ P-V Diagram


W = P (V2 - V1) = PΔV ดังนั้นจะหางานไดจากพื้นที่ใตกราฟของกราฟ P-V นั่นเอง
• พลังงานภายในระบบ : เปนพลังงานของแกสทุกโมเลกุลที่อยูในภาชนะ (พลังงานจลน)
U = NEk = 3 NkBT = 3 nRT = 3 PV
2 2 2
• จากกฎอนุรักษพลังงาน จะพบวา ความรอนที่ใหแกระบบ จะมีคาเทากับผลรวมพลังงานภายในที่เพิ่มขึ้น รวมกับงานที่ระบบทํา
ΔQ = ΔW + ΔU
พลังงานความรอน พลังงานภายในระบบ
งานที่ระบบทํา
+ คือระบบดูดความรอน + รอนขึ้น
- คือระบบคายความรอน W = P(V2 - V1) = PΔV - เย็นลง
+ แกสขยายตัวขึ้น
- แกสหดตัว

12

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


แนวโจทยชุ ด ที่ 3
1. ริดซี่นําแทงโลหะไมทราบชนิดอันหนึ่ง ซึ่งยาวพอสมควรมาดึงที่ปลายขางหนึ่ง โดยที่ยึดปลายอีกขางหนึ่งไว วัสดุจะเปลี่ยนแปลง
ตามเสนทางการเดินของกราฟความสัมพันธระหวางขนาดของแรงดึงกับความยาวทีส่ ปริงยืดออก จากจุด o ไปยังจุด a (ขีดจํากัด
การแปรผันตรง) ไปยังจุด b (ขีดจํากัดสภาพยืดหยุน) และไปยังจุด c ตามลําดับดังรูป เมื่อปลอยแรงดึงแลว ริดซี่จะพบวา
แทงเหล็กคืนตัวในเสนทางใด

แรงกระทํา b c
a
1. cbao
2. cbad
3. co
4. cd

o
d ระยะยืดตัว

2. อั้มออกแบบเลือกใชทอนเหล็กสําหรับรองรับโครงสรางที่ ไมยอมใหมีการเปลี่ยนรูปแบบถาวรได หลอนทราบวาวัสดุที่หลอนเลือก


ใชสามารถรับความเคนสูงสุดได 400 นิวตันตอตารางมิลลิเมตร และรับแรงดึงครากได 240 นิวตันตอตารางมิลลิเมตร
แรงกระทําที่เกิดขึ้นตอชิ้นสวนนี้มีขนาดระหวาง 120 ถึง 180 กิโลนิวตัน ระหวางการใชงานชิ้นสวนซึ่งมีความยาว 1.5 เมตรนี้
ไมสามารถยืดหรือหดตัวมากเกินกวา 1 มิลลิเมตร เพือ่ ใหการทํางานของโครงสรางถูกตอง เหล็กมี โมดูลสั ความยืดหยุน 200  103
นิวตันตอตารางมิลลิเมตร อั้มตองเลือกใชเหล็กที่มีพื้นที่หนาตัดอยางนอยเทาใด
1. 450 ตารางมิลลิเมตร 2. 750 ตารางมิลลิเมตร
3. 900 ตารางมิลลิเมตร 4. 1,350 ตารางมิลลิเมตร
เปดสู‹ความดันบรรยากาศ A

3. จากรูป จงหาวาถาเบเบนํามาตรวัดความดัน A อากาศ


มาวัดคาความดัน หลอนจะอานคาไดเทาใด
กําหนดใหนํ้ามีความหนาแนน 1,000 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร นํ้ามัน 100 ซม.
นํ้ามันมีความหนาแนน 800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร 200 ซม.
ปรอทมีความหนาแนนมากกวานํ้า 13.6 เทา นํ้า
ความดันบรรยากาศ 100 กิโลพาสคัล
50 ซม.
และคา g = 10 เมตรตอวินาที2 B B
ปรอท

4. นักเรียนทําการทดลอง โดยนําวัตถุกอนหนึ่งมีความหนาแนน d เมื่อนําไปหยอนลงในของเหลว 4 ชนิด และวัตถุหยุดนิ่ง ไดผล


ดังรูป เชือกดึง

ของเหลว A ของเหลว B ของเหลว C ของเหลว D

แรงลอยตัวในของเหลวขอใดมีคาเทากัน
1. A และ B 2. B และ C
3. A และ D 4. A B และ D
13

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


5. สังเกตลูกปงปองกําลังลอยขึ้นจากกนสระนํ้า ในขณะที่ลูกปงปองมีอัตราเร็วไมคงที่ ผลของความหนืดของนํ้าจะทําใหอัตรราเร็ว
และอัตราเรงของลูกปงปองมีการเปลี่ยนแปลงอยางไร
1. อัตราเร็วกําลังเพิ่ม อัตราเรงกําลังเพิ่ม 2. อัตราเร็วกําลังเพิ่ม อัตราเรงกําลังลด
3. อัตราเร็วกําลังลด อัตราเรงกําลังเพิ่ม 4. อัตราเร็วกําลังลด อัตราเรงกําลังลด
6. ศึกษาพฤติกรรมแกสอุดมคติชนิดหนึ่งบรรจุอยูในภาชนะที่มีปริมาตรคงตัว ถาลดจํานวนโมเลกุลของแกสลงครึ่งหนึ่ง โดยรักษา
ความดันใหมีคาคงเดิม ขอใดไมถูก
1. อุณหภูมิของแกสมีคาเทาเดิม
2. พลังงานภายในของแกสมีคาเทาเดิม
3. Vrms ตอนหลังมีคามากกวา Vrms ตอนแรก
4. พลังงานจลนเฉลี่ยของแกสตอนหลังเปน 2 เทาของตอนแรก
7. ใหความรอนแกแกสในกระบอกสูบเปนปริมาณ 300 จูล ทําใหปริมาตรเปลีย่ นแปลงไป 5  10- 3 ลูกบาศกเมตร ถาในกระบวนการนี้
ระบบมีความดันคงตัว 2  105 พาสคัล เครื่องหมายของ ΔU และ ΔW เปนอยางไรตามลําดับ
1. บวก, บวก 2. บวก, ลบ
3. ลบ, บวก 4. ลบ, ลบ
8. โรงงานแหงหนึ่งในยานนิคมมาบตาพุด ติดตั้งเครื่องแลกเปลี่ยนความรอนเพื่อนําอากาศรอนทิ้งที่ปลองไอเสียของโรงงาน
กลับมาใช ใหม ถาอุปกรณืแลกเปลี่ยนความรอนมีประสิทธิภาพ 75% และเมื่อตรวจวัดพบวาใน 30 นาที อากาศรอนทิ้งมีมวล
75 กิโลกรัม อุณหภูมิเขา-ออกที่อุปกรณและเปลี่ยนความรอนเปน 550 และ 250 องศาเซลเซียส สวนอากาศที่นํามารับ
ความรอนเขาทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 30 องศาเซลเซียส จงหาวาตองใชมวลอากาศเทาใดไปรับความรอนในชวงระยะเวลาดังกลาว ถาตองการ
ใหอากาศออกมาที่อุณหภูมิ 180 องศาเซลเซียส (คา Cp อากาศ = 1 กิโลจูจตอกิโลกรัม*องศาเซลเซียส)
1. 200 กิโลกรัม 2. 150 กิโลกรัม
3. 66.7 กิโลกรัม 4. 6.67 กิโลกรัม
9. จากรูปแสดงภาพตัดขวางของปกเครื่องบิน และเสนการไหลของอากาศ บริเวณใดที่มีความดันตํ่าที่สุด
B 1. A
2. B
3. C
A D 4. D
C 5. ทุกจุดมีความดันเทากัน

อุณหภูมิ (ºC)
10. วิศวกรคนหนึ่งทําการใหความรอนในอัตราที่เทากันแก สาร B
สาร A และสาร B ที่มีมวลเทากัน จนสารทั้งสองเปลี่ยน 120
สถานะจากของเหลวกลายเปนไอในที่สุด ไดความสัมพันธ 80 สาร A
ระหวางอุณหภูมิ และคาความรอนดังรูป
พิจารณาขอความตอไปนี้ขอใดถูกตอง 60

10 คาความรอน (kJ)
60 90 160 220
ก. สาร A มีคาความจุความรอนสูงกวาสาร B ในสถานะของเหลว
ข. สาร A มีคาความรอนแฝงในการกลายเปนไอสูงกวาสาร B
ค. คาความรอนที่ใช ในการกลายเปนไอของสาร A มีคาสูงกวาสาร B
ง. สาร A เปลี่ยนสถานะกลายเปนไอกอนสาร B
1. ขอ ก. และ ข. เทานั้น 2. ขอ ก. , ข. และ ค.
3. ขอ ข. และ ง. เทานั้น 4. ขอ ข. , ค. และ ง.
5. ขอ ก. , ค. และ ง.
14

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


11. เครื่องทําความรอนพิกัดกําลัง 40 กิโลวัตต นํามาใหความรอนกับนํ้า 5 กิโลกรัมที่มีอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ใหกลายเปน
ไอทั้งหมด ตองใชเวลากี่วินาที กําหนดความรอนแฝงของการหลอมเหลวและของการกลายเปนไอทั้งหมด ตองใชเวลากี่วินาที
กําหนด kJ/kg ตามลาดับ
1. 28.2 วินาที 2. 40 วินาที
3. 41.88 วินาที 4. 200 วินาที
5. 282 วินาที

แนวโจทยชุด ที่ 4 ทักษะเคมี วิ ศ วกรรม


1. ขอความใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับสมบัติของพลาสติกที่ใช ในการทําเกาอี้นั่งนักเรียน
ก. เมื่อไดรับความรอนสามารถคืนรูปเดิม หรือเปลี่ยนรูปได
ข. พลาสติกประเภทเทอรมอเซ็ต (Thermosetting plastic)
ค. มี โครงสรางโมเลกุลแบบเสน
1. ก. 2. ข.
3. ค. 4. ก. และ ข.
5. ก.,ข. และ ค.
2. ของเหลว A, B และ C ผสมกันอยูในภาชนะ โดยมีสมบัติของสารแตละชนิดดังตารางขางลาง
ของเหลว การละลายในนํ้า จุดเดือด (°C)
A ละลาย 70
B ไมละลาย 70
C ละลาย 80
นักเรียนคิดวาควรแยกสารเหลานี้ โดยวิธี ใด เพื่อใหการแยกสมบูรณที่สุด
1. แยกโดยการสกัดดวยตัวทําละลาย และการกลั่นลําดับสวน
2. แยกโดยการสกัดดวยทําละลาย และการกลั่นธรรมดา
3. แยกโดยการสกัดดวยตัวทําละลาย และการกลั่นดวยไอนํ้า
4. แยกโดยการกลั่นดวยไอนํ้า และการกลั่นลําดับสวน
5. แยกโดยการสกัดดวยตัวทําละลาย
3. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับประโยชนของธาตุซิลิคอน (Si)
1. เปนสารกึ่งตัวนําใชทําวงจรไฟฟาขนาดเล็ก เชน ไมโครคอมพิวเตอร วิทยุ โทรทัศน
2. ใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมทําแกว
3. ใช ในอุตสาหกรรมเซรามิกส
4. ซิลิคอนคาร ไบด (SiC) มี โครงสรางแบบรางตาขาย ทําใหมีความแข็งแรงมาก นิยมใชทําเครื่องสับ เครื่องบด เครื่องโม
5. ซิลิโคน เปนพอลิเมอรของซิลิคอน ใชเปนฉนวนไฟฟาและเคลือบผิววัสดุ
4. แกสชนิดใดที่มีความหนาแนนมากที่สุดที่อุณหภูมิ 25 °C ความดัน 1 บรรยากาศ กําหนดให นํ้าหนักอะตอม CI = 35.5, S = 32,
O = 16, N = 14, H = 1, C = 12 และคา R = 0.08 ลิตร-บรรยากาศ/โมล-เคลวิน
1. SO2 2. CI2
3. NO2 4. CH2
5. CO2
5. ขอใดกลาวถูกตองในการเปรียบเทียบคุณสมบัติของเสนใยไนลอนกับเสนใยฝาย
ก. เสนใยฝายยากกวาเสนใยไนลอน ข. เสนใยไนลอนซักงาย และแหงเร็วกวาเสนใยฝาย
ค. เสนใยฝายเหมาะกับอากาศเย็น ง. เสนใยไนลอนทนตอสารเคมีมากกวาเสนใยฝาย
1. ก. และ ค. 2. ก. และ ง.
3. ข. และ ค. 4. ค. และ ง.
5. ข. และ ง.
15

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


6. จากขอมูลตอไปนี ้พลังงานที่ใชเพื่อเอาชนะแรงระหวางโมเลกุลในการทาใหเมทานอลเดือดกลายเป นไอ เป นไปตามขอใด
ก. แรงดึงดูดระหวางขั้ว ข. พันธะไฮโดรเจน
ค. แรงลอนดอน ง. แรงระหวางประจุไฟฟา
1. ก. ข. 2. ก. ค.
3. ก. ง. 4. ก. ข. ค.
7. ในโรงงานของตั๊กมอ ซึ่งผลิตออกซิเจนบรรจุถัง พิจารณาขั้นตอนการบรรจุแกสออกซิเจนลงในถังพบวา ครั้งแรกพนักงานบรรจุ
แกสจนถังดังกลาวมีความดัน 150 กิโลพาสคัล อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส และมีนํ้าหนักแกสเปน 30 กิโลกรัม แตเนื่องจาก
พบวาความดันสูงสุดที่ถังทนไดคือ 250 กิโลพาสคัล จึงไดทาการเติมแกสเพิ่มในขณะที่เติมพบวาอุณหภูมิของแกสออกซิเจน
เปน 30 องศาเซลเซียส ถามวานํ้าหนักแกสเติมเขาไปภายหลังมีคากี่กิโลกรัม
1. 19.5 กิโลกรัม 2. 25.5 กิโลกรัม
3. 30.0 กิโลกรัม 4. 49.5 กิโลกรัม
8. ในโรงงานแหงหนึ่งแถบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด มีระบบการบาบัดนํ้าเสียที่มีการใช Ca(HCO3)2 1620 ppm และ
Mg(HCO3)2 1460 ppm ปริมาตร 100 ลิตร ควรใชปูนขาวกี่กรัม (Ca = 40, H = 1, C = 12, O = 16, Mg = 24) สําหรับ
Carbonate Hardness ใชปูนขาว (Lime Ca(OH)2) ดังสมการ 1 และ 2
Ca(HCO3)2 + Ca(OH)2  2CaCO3 + 2H2O ..........…(1)
Mg(HCO3)2 + Ca(OH)2  MgCO3 + CaCO3 + 2H2O ..........…(2)
MgCO3 ไมตกตะกอน จะเกิดปฏิกิริยากับปูนขาวตอไป ดังสมการ (3)
MgCO3 + Ca(OH)2  CaCO3 + Mg(OH)2 ..........…(3)
1. ใชปูนขาว 74 กรัม 2. ใชปูนขาว 148 กรัม
3. ใชปูนขาว 222 กรัม 4. ใชปูนขาว 296 กรัม
4. จากกราฟที่ใหมาจงตอบคําถามทั้งสองขอตอไปนี้
สภาพการละลายได (กรัม/นํ้า 100 กรัม)
100
90
80
70 C
60 D
50 B
40
30 A
20
10
0 อุณหภูมิ (°C)
10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น สารใดที่มีความสามารถในการละลายไดลดลง
1. สาร A 2. สาร B
3. สาร C 4. สาร D
ที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส สาร C ละลายไดมากกวาสาร A กี่กรัม
1. 15 กรัม 2. 20 กรัม
3. 25 กรัม 4. 30 กรัม

16

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


แนวโจทยชุด ที่ 5 การเขียนแบบทางวิ ศ วกรรม

1. ชิ้นงานชิ้นหนึ่งใหรูปดานบน และรูปดานหนาตามที่แสดงไว
จงหารูปดานขางของงานชิ้นนี้

รูปดานบน

รูปดานหนา รูปดานขาง

1. 2 3. 4.

2. จงหาภาพที่เกิดขึ้นจากการมองวัตถุในทิศทางที่กําหนดให

1. 2.

3. 4.

3. กําหนดภาพของดานของวัตถุให 2 ภาพ ใหหาภาพที่ถูกตองของภาพที่เหลือ

1. 2. 3. 4.

17

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


4. จากภาพที่กําหนดให ขอใดแสดงภาพตามทิศทางการมองที่กําหนด

1. 2.

3. 4.

5. จากภาพสามมิติที่กําหนดให
ขอใดแสดงภาพฉายตามทิศ
การมองของลูกศรไดถูกตอง

1. 2. 3. 4.

6. จากภาพฉายที่กําหนดใหจะเปนภาพสามมิติรูปใด

1. 2.

3. 4.

7. รูปใดที่มองจากดานบนแลวไดรูปตางไปจากขออื่น

1. 2. 3. 4.

18

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


จํา นวนเชิงซŒ อ น และสมการพหุ นาม
1. เรื่องของ i ... i = - 1, i2 = - 1, i3 = - i, i4 = 1
in = i เมื่อ n เหลือเศษ 1
4
i =-1
n n
เมื่อ เหลือเศษ 2
4
in = - i เมื่อ n เหลือเศษ 3
4
i =1
n n
เมื่อ เหลือเศษ 0 (หารลงตัว)
4
และ i + i + i + i = 0
n n+1 n+2 n+3

2. สังยุค : Z = a + bi, Z = a - bi
1. Z + Z = 2a  a = Z + Z  Re(Z) = Z + Z
2 2
2. Z - Z = 2bi  a = Z - Z  Im(Z) = Z - Z
2i 2i
3. ZZ = (a + bi) (a - bi) = a2 + b2 เรียกวา พบสวรรค
4. Z1 + Z2 = Z1 + Z2 , Z1 - Z2 = Z1 - Z2
Z Z
5. Z1 . Z2 = Z1 . Z2 , 1 = 1 , Z2  0
Z2 Z2
6. Z = Z
7. (Zn) = (Z)n , (Z- 1) = (Z)- 1
3. ตัวผกผันการบวก และตัวผกผันการคูณ : Z = a + bi
ตัวผกผันการบวกของ Z = - Z = - a - bi
ตัวผกผันการคูณของ Z = Z- 1 = 1 = Z = a2 - bi2
Z ZZ a + b

4. คาสัมบูรณ : Z = a + bi  |Z| + |a + bi| = a2 + b2


1. |Z| = |Z| = |- Z| = |- Z|
2. Z . Z = |Z|2 = |Z|2 = |- Z|2 = |- Z|2
3. |Z1 . Z2| = |Z 1| . |Z 2| , Z 1 = |Z 1| ; |Z 2|  0
Z2 |Z2|
4. |Zn| = |Z|n
5. |Z- 1| = |Z|- 1 = 1
|Z|
6. |Z 1 - Z2 | = ระยะทางจาก Z 1 ไปยัง Z 2
5. รากที่ 2 : Z2 = a + bi
Z =  r + a + r - a i ; r = | a  bi |
2 2
เพิ่มเติม : กําหนด Zn = a  bi
และ Z 1, Z2, Z3 , ..., Zn เปนรากคําตอบของสมการ
1. Z 1 + Z2 + Z3 + ... + Zn = 0
2. |Z 1| = |Z 2| = |Z 3| = ... = |Z n|

19

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


6. จํานวนเชิงซอนในรูปเชิงขั้ว (Polar Form)
y
Z = (a, b) Z = a + bi
b = r [cos  + i sin ] = r cis 
r r = |Z| = |a + bi| = a2 + b2
tan  = b ,  เรียก argument ของ Z
a

x
(0, 0) a
การเทากันของจํานวนเชิงซอนในรูปเชิงขั้ว
ให Z1 = r1 cis 1 และ Z2 = r2 cis 2
จะไดวา Z1 = Z2 ก็ตอเมื่อ r1 = r2 และ 1 = 2 = 2n เมื่อ n  I
สังยุคของจํานวนเชิงซอนในรูปเชิงขั้ว
ให Z = r cis  = r (cos  + i sin )
Z = r (cos  + i sin ) = r [cos (- ) + i sin (- )]
Z = r cis (- )
ตัวผกผันการบวกของจํานวนเชิงซอนในรูปเชิงขั้ว
ให Z = r cis  = r (cos  + i sin )
- Z = - r cis  = (- 1) + (r cis )
- Z = (cis 180°) (r cis )
- Z = r cis (180° + )
ตัวผกผันการคูณของจํานวนเชิงซอนในรูปเชิงขั้ว
ให Z = r cis  = r (cos  + i sin )
Z- 1 = 1 = Z 2 = r cis 2(- )
Z |Z| r
Z- 1 = 1 cis (- )
r
การคูณและการหารจํานวนเชิงซอนในรูปเชิงขั้ว
ให Z1 = r1 cis 1, Z2 = r2 cis 2
Z1 . Z2 = r1r2 cis (1 + 2)
Z1 = r1 cis ( -  )
Z2 r2 1 2

การยกกําลัง
ให Z = r cis 
Zn = rn cis , n เปนจํานวนเต็มใดๆ
การถอดรากที่ n
ให Z = r (cos  + i sin ) = r cis 
การถอดรากที่ n ของ Z ใหทําตามขั้นตอนตอไปนี้
1. หา n r ใสหนา cis
2. หา n ใสหลัง cis
3. นํา 360 °
n บวกจนครบ
7. สมการพหุนาม : P(x) = xn + an - 1xn - 1 + an - 2xn - 2 + ... + a1x + a0
1. ถาหาร P(x) ดวย x - c แลว เศษจากการหารจะเทากับ P(c)
2. ถา P(c) = 0 แลว (x - c) เปนตัวประกอบของ P(x) และ c เปนคําตอบของสมการ P(x) = 0
3. ถา P(a + bi) = 0 แลว P(a - bi) = 0 ดวย เมื่อสัมประสิทธิ์ทุกตัวของ P(x) เปนจํานวนจริง เรียก ทฤษฎีบทคูคอนจุเกต
4. สมการ P(x) = 0 จะมี ผลบวกคําตอบ = - an - 1
ผลคูณคําตอบ = (- 1)n (a ) เรียกสูตรของวีต
0
20

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


แนวขŒอ สอบป‚ ล‹ าสุ ด
1. ถาแมงมุมตัวหนึ่งเคลื่อนที่ในระนาบ XY โดยมีพิกัดตามสมการ x = 2t และ y = 1 เมื่อ t คือเวลาที่หนวยเปนวินาที และ x, y
คือพิกัดมีหนวยเปนเมตร และพิกัดการเคลื่อนที่ของแมงปองอีกตัวหนึ่งในระนาบเดียวกันเปน x = (1 + t) และ y = t2 + 2t - 2
จงหาวาเสนทางของแมงมุม และแมงปอง ตัดกันหรือไม และแมงมุมกับแมงปอง จะชนกันหรือไม
1. เสนทางตัดกัน และแมงมุมกับแมงปองจะชนกัน
2. เสนทางตัดกัน และแมงมุมกับแมงปองจะไมชนกัน
3. เสนทางไมตัดกัน แตแมงมุมกับแมงปองจะชนกัน
4. เสนทางไมตัดกัน และแมงมุมกับแมงปองจะไมชนกัน
5. ไมสามารถสรุปได
2. กําหนดใหกราฟความเรงตอเวลาเปนดังรูป
โดยความเรงมีหนวยเปนเมตรตอวินาที2 และเวลามีหนวย
a(t) เปนวินาที กําหนดใหความเร็วตนเปน 2 เมตรตอวินาทีจงหา
ระยะทางเมื่อเคลื่อนที่ ไป 6 วินาที
1. 20 เมตร
2. 40 เมตร
2 4 6 t 3. 52 เมตร
4. 72 เมตร
5. ไมมีขอใดถูกตอง
3. จงหาคาความเรงของมวล
กําหนดให
d F M = 24 กิโลกรัม
F = 20 นิวตัน
M  d = 1
3
 = 37 องศา

1. 2.50 เมตรตอวินาที2 2. 3.33 เมตรตอวินาที2


3. 5.00 เมตรตอวินาที2 4. 6.67 เมตรตอวินาที2
5. 10.00 เมตรตอวินาที2
4. ขอใดกลาวผิด
1. สนามไฟฟา ณ ตําแหนงตางๆ ในที่วางภายในตัวนํารูปทรงใดๆ มีคาเปนศูนย
2. สนามไฟฟา ณ ตําแหนงติดกับผิวของตัวนําจะมีทิศตั้งฉากกับผิวเสมอ
3. ประจุบนผิวตัวนําทรงกลมประพฤติตัวเสมือนวาประจุทั้งหมดรวมกันอยูที่ศูนยกลางของทรงกลม
4. งานที่ ใช ในการเคลื่อนประจุ + 1 C จากตําแหนงหนึ่งไปอีกตําแหนงหนึ่ง ภายใตสนามไฟฟา คือ ความตางศักยระหวาง
2 ตําแหนงนั้น
5. ถานําประจุชนิดเดียวกันมาวางไว ใกลกัน เสนแรงไฟฟาอาจจะตัดกันได
5. จากวงจรไฟฟากระแสตรงดังรูป จงหากระแส I
I=?
10 A 1. -2A
2. -1A
-5 A 3. 0A
4. 1A
1A 5. 2A
4A
2A
21

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


6. จากวงจรขางลางนี้ หากตัวตานทานทุกตัวมีคา 100  แลว กระแส I มีคาเทากับเทาใด
I R1 R2
1. -1A
R3 2. - 0.1 A
R4 R7 3. 0A
R5 R6
4. 0.1 A
15 V 5. 1A
+ -

7. ขอใดตอไปนี้กลาวผิด
1. สถานะ สี กลิ่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแนน เปนสมบัติทางกายภาพของสาร
2. นํ้ากลั่น ทองแดง เปนสารเนื้อเดียว
3. นํ้าโคลน เปนสารเนื้อผสม
4. สารบริสุทธิ์ หมายถึง สารที่ประกอบดวยสารเพียงชนิดเดียว และมีเพียงสถานะเดียว
5. สารประกอบ หมายถึง สารบริสุทธิ์เนื้อเดียวที่เกิดจากธาตุตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปเปนองคประกอบ
8. สารใดตอไปนี้เปนสารประกอบโคเวเลนซ
1. MgSO4 2. NaCl
3. NH4NO3 4. H2O
5. Na2CO3
9. จากรูปแสดงถึงการไหลของของเหลวในทอที่ ไมมีการสูญเสียเนื่องจากแรงเสียดทาน ขอใดอธิบายถึงความสัมพันธของการไหล
ระหวางตําแหนง 1 2 และ 3 ไมถูกตอง
1. P1 = P2 +  v2 - v1
2 2

2 2
2. P2 = P3 +  v3
2
- v2
3 2 1 2
3. P1 = P3 -  v1 - v3
2 2

2
4. v1 > v3
5. P1 < P 2
10. ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
ก. ถา y = (ln(x))x ดังนั้น dy = (ln(x))x - 1 (ln(x) ln(ln(x)) + 1)
dx
ข. ถา y = cos x sin x ดังนั้น dy = cos 2x
dx
ค. ถา y = e - e ดังนั้น d y2 = - y
x -x 2

2 dx
1. ขอ ก. ถูกเพียงขอเดียว
2. ขอ ข. ถูกเพียงขอเดียว
3. ขอ ค. ถูกเพียงขอเดียว
4. ขอ ก. และ ขอ ข. ถูกตอง
5. ขอ ก. และ ขอ ค. ถูกตอง

ëëëëë

22

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร (PAT 3)
อ.มงคล รัตนทอง

บทบัญญัติ 10 ประการ

เปดประตูสู‹การเรียนรูŒ ในมหาวิทยาลัย

การเรียนในมหาวิทยาลัย เปนแนวทางหนึ่งที่เยาวชนตนกลาใฝฝน และมุงหวังวาจะเปนกุญแจนําไปสูความสําเร็จในชีวิตได


จึงเพียรพยายามที่จะหาหนทางใหตนเองเขาไปเรียนในมหาวิทยาลัยที่ตนตองการ ผูรูบางทานเปรียบเสนทางที่จะเขาสูมหาวิทยาลัยวา
เหมือนลูว งิ่ ทีป่ ลายตีบตองพบทางทีข่ รุขระ เบียดเสียดแขงขันกัน หลายคนวิง่ จนหมดแรงเสียกอนทีจ่ ะถึงประตูทางเขา แตกม็ อี กี หลายคน
ที่สามารถผานเขาไปได โดยที่ยังเปยมไปดวยพลังสรางสรรค มีวิธี ใดบางเลาที่จะชวยทําใหเสนทางเขาสูการเรียนในมหาวิทยาลัยไมใช
เรื่องยากเย็นอีกตอไป และใหผูที่เขาสูเสนทางนี้เขาไปดวยความตั้งใจ รูตัว มีจุดหมายปลายทางที่ชัดเจน และเหมาะสมกับตนเอง
ถาเจาตัดสินใจแนแลวอยางสมเหตุสมผลวา จะพยายามเขาสูส นามการสอบเขามหาวิทยาลัยให ได ทัง้ นีจ้ ากการพิจารณาใครครวญ
อยางรอบคอบถึงองคประกอบตางๆ ที่สําคัญ ไมวาจะเปนเรื่องความพรอมในเรื่องความรู ความสามารถทางวิชาการ ความพรอมทาง
ดานเศรษฐกิจหรือแหลงสนับสนุนดานการเงิน แนวทางการประกอบอาชีพในอนาคต ถึงตรงนี้ เจาก็ยังยืนยันที่จะเขาสูเสนทางสายนี้
อาจารยขอเสนอเคล็ดลับ 10 ประการที่ชวยใหเจาเปดประตูสูการเรียนในมหาวิทยาลัย
1.สรางความมั่นใจใหกับตนเอง
ไมวาสิ่งใดในโลก ไมมีอะไรที่จะพนความพยายามของมนุษย ไปได เจาตองสรางทัศนะทางบวกใหกับสิ่งที่เจาตองการและตัดสินใจ
แลววาจะทํา เพราะอยางนอยสิ่งที่เจากําลังทํานั้นเจาไดประเมินสถานการณตางๆ เปนอยางดีแลว ทําไมเจาจะทําไมได ถาเจาตองการ
สรางความมั่นใจใหกับตนเอง สิ่งที่เจาจะตองทําก็คือ ทําทุกสิ่งที่ดีๆ ดวยตัวเจาเอง
2.เจาพิจารณาอยางรอบคอบแลววา เจาไม ไดตั้งเปาหมายในคณะวิชาที่สูงเกินความจริง
เจาคงรูถึงขอจํากัดในเรื่องที่นั่งสําหรับการเรียนในมหาวิทยาลัยวา แตละสาขาวิชามีที่วางใหผูสนใจเขาเรียนตางกัน คณะวิชา
ที่มีผูสนใจมาก ยอมหมายถึงการแขงขันที่สูง ความพรอมของผูแขงขัน จึงเปนปจจัยที่สําคัญ ที่เจาจะตองประเมินความสามารถของ
ตนเองอยางดีวา พื้นฐานความรู ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของเจาเขมแข็งพอไหม ถามีจุดออนบางประการเจามีเวลาเหลือเทาใด
สําหรับการแก ไขจุดออนนั้นๆ เจาจะพอแบงใหกับสิ่งที่เจายังขาดไดหรือไม
3.เวลาของเจา เรียกคืนกลับมาไม ไดอีกแลว
ทุกวันเวลาที่เหลืออยู เจาตองรูจักคัดสรร เห็นประโยชนของการใชเวลาที่มีอยูเพื่อใหเกิดการเริ่มตนที่ดี ที่เจาจะหาเหตุผลัดวัน
ประกันพรุง กับการดําเนินชีวติ แบบเรือ่ ยเปอ ยไมได เจาจะปลอยเวลาไปกับการเทีย่ วเตร หรือทําอะไรที่ ไมมผี ลตอการสอบเขามหาวิทยาลัย
ไมไดอีกแลว ไมเชนนั้นเจาจะพลาดโอกาสดีๆ และมีชีวิตอยูกับความเสียดาย ทั้งนี้ทั้งนั้น การแบงสัดสวนของการใชเวลาในกิจกรรม
ของเจา มีหลักการสําคัญที่ตองคํานึงถึงดวย คือ อยาใหสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเจาขาดความสมดุล เจาอาจจะตองผอนคลาย
ดวยการออกกําลังกาย หรือทํากิจกรรมที่เจาชอบทําโดยมีกิจกรรมการเตรียมตัวดูหนังสือสอบเปนกิจกรรมหลัก
4.วางแผนจัดการชีวิตของเจาใหลงตัว
เจาคงจะรูมาบางวา การใชชีวิตในมหาวิทยาลัย จะแตกตางจากการเรียนในระดับมัธยมที่ผานมาอยางมาก เพราะเจาจะตอง
จัดการกํากับตัวเองในหลายดานตั้งแตการวางแผนจัดตารางเรียน การจัดการกับการเดินทางไปเรียน ซึ่งจะไมใชตารางเรียนที่มีเวลา
แนนอนเหมือนเกา เวลาที่เจาอยู ในมหาวิทยาลัยจะไมมีระเบียบหรือกฎเกณฑที่กํากับเจาอีกตอไป เจามีอิสระมากขึ้น และเจาจะมี
ชีวิตแบบผู ใหญ กอนที่เจาจะเขาสูชีวิตเชนนี้ เจาควรเริ่มตนวางแผนจัดการตั้งแตวันนี้ เพราะเปาหมายที่จะประสบผลสําเร็จสําหรับ
ผูที่จะกาวเขาสูชีวิตความเปนผู ใหญมากขึ้นตองมีแผนการ และวางเปาหมายการใชชีวิตในแตละวัน แตละสัปดาห แตละเดือน แตละป
วันนี้เจาวางแผนหรือยัง ถายังเริ่มไดแลวถาเจาตองการความสําเร็จ

23

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


5.เอาชนะตัวเองให ได
หลายคนที่มีความรูความสามารถ มีสติปญญาเปนเยี่ยม แตเกียจครานกับการเอาชนะอุปสรรคที่เกิดขึ้น แมแตอุปสรรคเล็กๆ
นอยๆ อุปสรรคใหญหลวงที่เจาตองฝาฟน ไมเฉพาะในเรื่องการสอบเขามหาวิทยาลัย แม ในกิจกรรมอื่นๆ เจาตองอาศัยการเอา
ชนะตัวเองให ได เพื่อใหเจามีวินัยในการใชชีวิต สรางกําลังใจใหตัวเอง ไมหมดหวังหรือทอถอยงายๆ ขอใหเจาระลึกเสมอวา “ชนะใดๆ
ก็ ไมยิ่งใหญเทาชนะตัวเอง”
6.ตัดความกังวลออกไปใหหมด
กลยุทธอยางหนึ่งในการสรางความสําเร็จ คือ เมื่อเจาเริ่มตนใหเจาจินตนาการถึงความสําเร็จที่อยูตรงหนา อยาคิดถึงอุปสรรค
แตใหคิดถึงภาพความสําเร็จไวกอน ตัดความกังวลออกไปใหหมด เพื่อที่จะใชพลังที่เจามีอยูใหกับกิจกรรมหลักที่เจาจะตองทําตรงหนา
อยางเต็มที่ ผลงานของเจาจึงจะเปนผลงานที่เต็มรอยไมถูกความกังวล หวงหนาพะวงหลังมาบั่นทอนเจาไปเสียกอน
7.สนุกไปกับการเตรียมตัวไปสูเปาหมายที่ตั้งไว
บางคนเมื่อจะตองเริ่มตนทํางานหรือกิจกรรมใดที่มีความสําคัญมักจะมีความกดดัน ทั้งความกดดันที่เกิดจากความคาดหวังของ
ตนเองและคนรอบขาง สิ่งเหลานี้ ไมใชสิ่งเลวรายเสียเลยทีเดียว หากแตระดับของความกดดันเหลานี้ ไมมากจนทําใหเจาเครียด และ
เกร็งจนเกินพอดี มีเทคนิคที่จะชวยใหเจาผอนคลายกับสภาพการณนี้ คือ ใหเจาเปลี่ยนความคิดจากที่เคยคิดวา การเตรียมตัวสอบ
การดูหนังเหลานี้เปนยาขมมาเปนลูกอมรสใหมที่มีรสชาติ สนุกกับมันไปเลย ทําใหมันเปนกิจกรรมที่มีชีวิตชีวา ที่จะทําใหเจารอบรู
และคุยกับใครๆ ไดอยางมีภูมิและมีสาระขึ้น ใหความรูสึกเปนเพื่อนกับกิจกรรมเหลานี้ซะเลย จนกลายเปนนิสัยแลวผลดีที่เจาจะได ไป
ตลอดชีวิต คือ เจาจะสนุกกับการแสวงหาความรู ซึ่งเปนขอดีที่จะชวยใหเจาใชชีวิตอยางมีคุณภาพ
8.ใหอาหารกับตัวเองบาง
อาหารเปนสิ่งจําเปนสําหรับรางกาย สมอง และการสรางพลังงานในการดําเนินกิจกรรมตางๆ แตอาหารในที่นี้ คงไมไดจํากัด
เฉพาะตมยํากุง ปลานึ่งนํ้าบวย รวมมิตรทะเลจานรอน หรืออาหารใดๆ ที่เจาชอบเทานั้น แตรวมถึงอาหารใจที่ทําใหเจามีความ
ปลอดโปรงโลงใจ สิ่งที่ชวยใหเจาอิ่มเอม เพื่อเปนรางวัลสําหรับเจาในการทํากิจกรรมแตลัน ซึ่งอาจจะเปนการหยุดรองเพลงโปรด
อานหนังสือเบาๆ ที่คุณชอบ การฟงเพลง หรืออะไรก็ตามที่เจาทําแลวมีความสุข
9.จัดสิ่งแวดลอมที่สนับสนุนใหเจาไปสูความสําเร็จ
สิ่งแวดลอมมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของเจา ถาเจาอยูในสิ่งแวดลอมที่สนับสนุนใหเจาขวนขวายเอาใจใสตอการอานหนังสือ การ
ลองหาประสบการณ ในการทําขอสอบเกา โดยอาจจะเขากลุมกับเพื่อนที่เรียนเกงและขยัน หรือรวมกลุมเพื่อสนิทดูหนังสือดวยกัน
ผลัดกันถาม–ตอบ อธิบายใหกันฟง จะชวยบรรยากาศที่ดีได และเพื่อเจาเองก็อาจชวยประเมินความรูของเจาไดทางหนึ่ง ชวยให
เจาพัฒนาความรูของเจาตอไปอีก
10.ให โอกาสตัวเองเสมอไมวาผลลัพธจะเปนอยางไร
ในการสอบเขามหาวิทยาลัย มีชองทางหลายชองทางที่เจาจะเขาไปได
1. จากการรับสมัครสอบโดยตรงของมหาวิทยาลัย หรือสถาบันอุดมศึกษาตางๆ (โควตาตรง) เชน มช., มข., มอ., สอบตรงตางๆ
2. จากการสอบคัดเลือกรวมทาง ADMISSION (GAT, PAT, O-NET, สามัญ)
3. จากการสอบเขาสถาบันศึกษาอื่นๆ หลังการประกาศผลสอบเขามหาวิทยาลัย
4. มหาวิทยาลัยไมจํากัดจํานวนรับ หรือมหาวิทยาลัยเปด (มหาวิทยาลัยรามคําแหง, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช)
5. สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดอื่นๆ เชน สถาบันราชภัฏ, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ฯลฯ
ไมวาจะเปนชองทางใดก็ตาม เจายังมี โอกาสพัฒนาตนเองไดทุกเมื่อ ถาเจาเขาใจวา การศึกษาจะเกิดเมื่อผูเรียนพรอม และ
เกิดไดทุกหนทุกแหง ไมวาจะชองทางที่เจาเขาไปจะเปนชองทางที่เจาหวังที่สุด รองลงมาหรือไมคาดหวังมากอนก็ตาม ประสบการณ
ในการที่เจาไดจากการพยายามเปดประตูสูการเรียนในมหาวิทยาลัยนี้ จะเปนกาวหนึ่งที่ทําใหเจารูจักตัวเอง และจัดการกับชีวิต
ในอนาคตไดอยางรอบคอบขึน้ ผลลัพธของการทีเ่ จาทําดวยความตัง้ ใจและดีทสี่ ดุ แลวก็คอื สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ณ จังหวะเวลานัน้ ทางขางหนาที่
เจาจะตองเดินตอไปยังมีอยูอีกยาไกล กาวขางหนาจะเปนกาวที่เจามั่นใจขึ้นเสมอเพราะไมใชกาวแรกของผูขาดประสบการณ แตเปน
กาวของผู ใหญที่คิดเปน และรับผิดชอบเปน ขอใหเจาโชคดีและอาจารยขอจากเจาไปกับเคล็ดวิชาลึกลํ้าที่วา...........
“ถาเจารูธรรมชาติของตนเอง รูวิธีการของตนเอง ดําเนินชีวิตของตนเองโดยหลักเหตุและผล คือ เปดใจกวาง มีทัศนะที่
ยินดีตอนรับทุกอยางที่ผานเขามา ฝกตนเองใหมองหาดานบวกของทุกสิ่งที่พบเจอ อุปสรรคปญหาของเจายอมมีทางแก และแนนอน
ผลสุดทายที่เปนรางวัล คือ ความภูมิใจในความสําเร็จของตนเอง”

ขอใหเจาโชคดี..........ศิษยทั้งหลาย

24

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


ค‹าคงที่
ในคัมภีรเลมนี้หากโจทยมิไดกําหนดเปนอยางอื่น ............ ขอให ใชคาคงที่เหลานี้ ในการคํานวณนะครับ !!
g = 10 m/s2
C = 3 × 108 m/s
K = 9 × 109 N.m2/c2
R = 8.3 J/mol.K
KB = 1.38 × 10- 23 J/K
G = 6.67 × 10- 11 N.m2/Kg2
h = 6.6 × 10- 34 J.s
NA = 6.0 × 1023 mol
1u = 930 Mev
e = 1.6 × 10- 19 c
me = 9.0 × 10- 31 Kg
mp = 1.67 × 10- 27 Kg

“รอยราวในใจของจอมยุทธนักสู มิใชอยูที่เคยลมเหลว
แต.......หากอยูที่ ไมคิดจะเริ่มตนใหมตางหาก”

NEWCLEAR ENGINEERING SERIES

SERIES 1. วิศวกรรมพลังงาน และ เชื้อเพลิง


2. วิศวกรรมระบบเฟอง
3. วิศวกรรมยานยนต
4. วิศวกรรมไฟฟา
5. วิศวกรรมเครื่องมือวัด และเครื่องมือทางชาง
6. กลศาสตรวิศวกรรม
7. วิศวกรรมสังเคราะห
8. คณิตวิศวกรรม
9. เขียนแบบวิศวกรรม
10. ฟสิกส ระคน ปนกัน มันสมาก

“เพราะแสวงหา มิใชเพราะรอคอย
เพราะเชี่ยวชาญ มิใชเพราะโอกาส
เพราะสามารถ มิใชเพราะโชคชวย
ดังนั้น... ลิขิตฟา หรือ จะสูมานะตน”
ศรัทธา

25

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


SERIES 1 วิศวกรรมพลังงาน และเชื้อเพลิง
1. พลังงาน
สําหรับพลังงานจะแบงเปน 2ประเภท ไดแก
1. พลังงานสิ้นเปลือง (Nonrenewable Energy) คือ พลังงานจากธรรมชาติที่เมื่อใชแลวหมดไป เชน ถานหิน กาซธรรมชาติ
2. พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) คือ พลังงานจากธรรมชาติที่นํากลับมาใช ไดอีก เชน แสงอาทิตย ลม นํ้า ชีวมวล
ความรอนใตพิภพ(นํ้าพุรอน)
สวนพลังงานทดแทน (Alternative Energy) ซึ่งหมายถึง พลังงานที่นํามาใชแทนนํ้ามัน เชน พวกไบโอดีเซล หรือแกสโซฮอล
เปนตน

2. การกลั่นนํ้ามันดิบ
กลั่นแบบลําดับสวน สวนที่มีจุดเดือดตํ่า จะออกมากอน
กาซ  ของเหลว  ของแข็ง
JUM เรียงจุดเดือดจากตํ่าไปสูง

3. นํ้ามันเชื้อเพลิง
3.1 แกสโซฮอล คือ นํ้ามันเชื้อเพลิงที่ ไดจากการผสมระหวางเบนซินกับเอทานอล ใชเปนพลังงานทดแทน ชวยใหการนําเขา
นํ้ามันจากตางประเทศลดลง เพราะเอทานอล ผลิตจากวัตถุดิบที่เปนพืชผลทางการเกษตรภายในประเทศ
3.2 กาซหุงตม (Liquefied Petroleum Gas)
 LPG
 โพรเพน + บิวเทน
 หนักกวาอากาศ
 ความดันตํ่า 100 - 130 psi
3.3 กาซธรรมชาติ (Natural Gas Vehicles)
 NGV
 มีเทนเปนองคประกอบหลัก
 เบากวาอากาศ
 ความดันสูง สูงกวา LPG 23 เทา
3.4 ไบโอดีเซล คือ นํ้ามันเชื้อเพลิงที่ใชกับรถยนตดีเซล ไดจากการนํานํ้ามันมะพราว และนํ้ามันปาลม ผสมกับนํ้ามันกาด และ
นํ้ามันดีเซล

EXERCISE 1
1. (PAT3) ทานคิดวาพลังงานที่มนุษยนํามาใชเปนประโยชนครั้งแรกเปนพลังงานประเภทใด
1. พลังงานความรอนจากการเผาไหมของไม
2. พลังงานกลจากการใชแรงคน
3. พลังงานความรอนสําหรับเครื่องจักรไอนํ้า
4. พลังงานลมสําหรับแลนเรือ
5. พลังงานแสงอาทิตยสําหรับผลิตกระแสไฟฟา
2. (วิศวะ) ขอใดเปนแหลงพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy)
1. ถานหิน 2. นํ้ามันปโตรเลียม 3. กาซธรรมชาติ 4. แสงอาทิตย
26

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


3. (วิศวะ) พิจารณาพลังงานตอไปนี้
A แสงอาทิตย B ลม C ถานหิน
D นํ้ามัน E นํ้า F ความรอนใตพิภพ
G ชีวมวล (Biomass) H กาซธรรมชาติ
ขอใดตอไปนี้เปนพลังงานทดแทน (Renewable Energy)
1. A, B, D และ H 2. B, E, F และ G
3. C, D, G และ H 4. A, B, G และ H
4. ขอใดเปนนํ้ามันสําเร็จรูปที่ใช ในการหุงตมและเปนกาซที่ใชกับรถยนต
1. กาซปโตรเลียมเหลว 2. นํ้ามันเตา
3. นํ้ามันเบนซิน 4. นํ้ามันดีเซล
5. (PAT3) ในการแยกนํ้ามันเบนซินและนํ้ามันดีเซลออกจากนํ้ามันดิบ อาศัยหลักการในขอใด
1. อาศัยนํ้าหนักของนํ้ามัน 2 ชนิด ไมเทากัน
2. อาศัยหลักการที่จุดเดือดของนํ้ามันทั้งสองไมเทากัน
3. อาศัยหลักการเดียวกับการแยกนํ้าดวยไฟฟา
4. อาศัยปริมาตรของนํ้ามัน 2 ชนิด ไมเทากัน
6. ในการกลั่นลําดับสวนนํ้ามันปโตรเลียม สวนตางๆ ที่ ไดจากการกลั่น เรียงลําดับจากสวนบนของหอกกลั่นนํ้ามันลงมาตามลําดับ
จะไดดงั นี้
1. นํ้ามันเตา นํ้ามันกาด นํ้ามันดีเซล นํ้ามันเบนซิน
2. นํ้ามันเบนซิน นํ้ามันดีเซล นํา้ มันกาด นํ้ามันเตา
3. นํ้ามันกาด นํ้ามันเบนซิน นํา้ มันเตา นํ้ามันดีเซล
4. นํ้ามันเบนซิน นํ้ามันกาด นํา้ มันดีเซล นํ้ามันเตา
7. (PAT3) ในการกลั่นนํ้ามันดิบ นิยมใชวิธีการกลั่นแบบลําดับสวน โดยอาศัยหลักการที่สารประกอบไฮโดรคารบอนชนิดตางๆ ใน
นํ้ามันดิบมีจุดเดือดตางกัน ซึ่งผลิตภัณฑที่ ไดมีดังนี้
ก. นํ้ามันหลอลื่น ข. นํ้ามันเบนซิน
ค. นํ้ามันดีเซล ง. แกสหุงตม
จ. นํ้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบินไอพน
จงเรียงลําดับจุดเดือดของผลิตภัณฑจากการกลั่นนํ้ามันดิบจากสูงไปหาตํ่า
1. ก. จ. ค. ง. และ ข. 2. ก. ค. จ. ข. และ ง.
3. ค. จ. ก. ข. และ ง. 4. ก. ข. ค. ง. และ จ.
5. ก. ค. ข. จ. และ ง.
8. แกสโซฮอล ไดจากการผสมแอลกอฮอลกับสารเชื้อเพลิงใด
1. นํ้ามันกาด 2. นํ้ามันเบนซิน 3. นํ้ามันโซลา 4. นํ้ามันเตา
9. (PAT3) ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับ NGV และ LPG ที่ถูกใชเปนเชื้อเพลิงทางเลือกแทนแกสโซลีน
1. NGV เบากวาอากาศ สวน LPG หนักกวาอากาศ
2. NGV ในถังมีความดันมากกวา LPG
3. NGV และ LPG ในถังที่ติดอยูทายรถยนตมีสถานะเปนของเหลว
4. NGV มีมีเทนเปนองคประกอบหลัก สวน LPG มี โพรเพน และบิวเทนเปนองคประกอบหลัก
10. (PAT3) จากขอความตางๆ ตอไปนี้ ขอใดกลาวถูกตอง
ก. พลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงานสะอาด
ข. กาซชีวภาพมีคุณสมบัติเผาไหม ไดดี กอใหเกิดมลพิษทางอากาศนอย
ค. แกสโซฮอลเปนสวนผสมระหวางนํ้ามันเบนซินกับเอทานอล
ง. กาซหุงตม หรือ LPG เปนกาซผสมระหวางโพรเพนกับบิวเทน
1. ก. ค. และ ง. 2. ก. และ ง.
3. ก. ข. และ ค. 4. ข. ค. และ ง.
5. ก. ข. ค. และ ง.
27

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


11. นํ้ามันที่ ไดจากเมล็ดตนสบูดํา นํามาผานขบวนการทางเคมีแลวนํามาใชเปนเชื้อเพลิงทดแทนกับเครื่องยนตประเภทใด
1. เครื่องยนตเบนซินสําหรับรถยนตนั่งทั่วๆ ไป 2. เครื่องยนตสําหรับรถมอเตอร ไซด
3. เครื่องยนตสําหรับเครื่องบินเล็กที่ใชวิทยุบังคับ 4. เครื่องยนตดีเซลสําหรับเครื่องสูบนํ้าในการเกษตร
12. ระบบนิวแมติกสคืออะไร
1. ระบบที่ใชนํ้าเปนตนกําลัง 2. ระบบที่ใชลมเปนตนกําลัง
3. ระบบที่ใชความรอนเปนตนกําลัง 4. ระบบที่ใชนํ้ามันเปนตนกําลัง
ëëëëë

SERIES 2 ระบบเฟ„อง
สําหรับเรื่องเฟองนั้นจุดที่นํามาออกขอสอบ จะมีจุดใหญอยู 3 จุด คือ
1. การหาทิศทางของเฟอง
2. การหาความเร็วรอบ
3. การหาทอรค
1. การหาทิศทางของเฟ„อง
ในการหาทิศทางการหมุนของเฟอง คงจะไมใชเรื่องยากสําหรับนองๆ ทุกคน จึงจะไมอธิบายมาก แตจะสรุปไวสั้นๆ ดังนี้
✏ ถาอยูคนละเพลา : เฟองที่ขบกันอยูจะมีทิศทางตรงขามกัน กลาวคือ หากตัวแรกหมุนทวนเข็มนาฬกา อีกตัวจะหมุน
ตามเข็มนาฬกา
✏ ถาอยูบนเพลาเดียวกัน : จะหมุนไปในทางเดียวกันเสมอ และมีความเร็วรอบเทากันเสมอดวย

2. การหาความเร็วรอบ
ความเร็วรอบของเฟองจะมีความสัมพันธกับจํานวนฟนของเฟอง และขนาดของเฟองโดยจะไดวา
✏ เฟองขนาดเล็ก (หรือมีจํานวนฟนนอย) จะหมุนเร็ว (ความเร็วรอบมาก)
✏ เฟองขนาดใหญ (หรือมีจํานวนฟนมาก) จะหมุนชา (ความเร็วรอบนอย)
สูตรที่ใชคือ
1R1 = 2R2 หรือ 1T1 = 2T2 หรือ 1D1 = 2D2
เมื่อ R เปนรัศมีเฟอง
T เปนจํานวนฟนเฟอง
D เปนเสนผานศูนยกลางของเฟอง
3. การหาทอรค
จากสูตรของทอรค (โมเมนต) 1 = FR จะไดอัตราสวนของทอรค และรัศมีเฟอง แตละตัวเปน
1 R1
2 = R2

NOTE  ขบกันหมุนตรงขาม
 เฟองเล็กหมุนไว เฟองใหมหมุนชา

28

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


EXERCISE 2
1
13. (วิศวะ) เฟอง A รัศมี 100 mm ขบกับเฟอง B รัศมี 200 mm ดังรูป O1 r1
ถาเฟอง A หมุนดวยความเร็ว, 1 = 10 rad/s, ตามเข็มนาฬกา A
จะทําใหเฟอง B หมุนดวยความเร็วเชิงมุม 2 = ? B r2
1. 20 rad/s ตามเข็มนาฬกา O2
2. 20 rad/s ทวนเข็มนาฬกา
3. 5 rad/s ตามเข็มนาฬกา
4. 5 rad/s ทวนเข็มนาฬกา
14. (วิศวะ) หากเฟอง A หมุนในทิศทางตามเข็มนาฬกาดังรูป
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง กําหนดใหมวลของเฟองทุกตัว
มีคาเทากันไมพิจารณาพลังสูญเสียระหวางฟนเฟอง A A
เทากับ รัศมีของเฟอง B, C และ D แตเล็กกวา B
รัศมีเฟอง E (rA, B, C, D < rE) E
1. เฟอง E หมุนทวนเข็มนาฬกา หมุนเร็วกวาเฟอง A
2. เฟอง E หมุนตามเข็มนาฬกา หมุนชากวาเฟอง A D
C
3. เฟอง E หมุนทวนเข็มนาฬกา หมุนชากวาเฟอง A
4. เฟอง E หมุนตามเข็มนาฬกา หมุนเร็วกวาเฟอง A
15. (PAT3) พิจารณาระบบเฟองตอกันดังรูป ถาเฟอง C หมุนดวยความเร็วคงที่ 2,000 รอบตอนาที ในทิศทางตามเข็มนาฬกา ขอใด
ตอไปนี้ถูกตอง

30 cm 1. เฟอง A หมุนดวยความเร็วคงที่
30 cm 2,000 รอบตอวินาที ในทิศทางทวนเข็มนาฬกา
20 cm 2. เฟอง B หมุนดวยความเร็วคงที่
D 2,000 รอบตอวินาที ในทิศทางทวนเข็มนาฬกา
A B 3. เฟอง D หมุนดวยความเร็วคงที่
20 cm 2,000 รอบตอวินาที ในทิศทางทวนเข็มนาฬกา
30 cm
4. เฟอง E หมุนดวยความเร็วคงที่
E 2,000 รอบตอวินาที ในทิศทางตามเข็มนาฬกา
C

16. ถาเฟอง A มี 120 ฟน เฟอง B มี 30 ฟน ถาเฟอง A หมุนไป 75 ฟน เฟอง B หมุนไปกี่รอบ

1. 1.5 รอบ
2. 2.5 รอบ
3. 3.5 รอบ
4. 4.5 รอบ

B
A

29

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


SERIES 3 วิศวกรรมยานยนต
ประเภทของเครื่องยนต
1. เครื่องยนตที่จุดระเบิดดŒวยประกายไฟ (Sparking Ignition)
 ใชหัวเทียน (Spark Plug) เปนตัวจุดประกายไฟในหองสูบ
 เรียกวา เครื่องยนตออตโต (Otto Engine)
 ใชเชื้อเพลิงหลายอยาง
เครื่องยนตเบนซิน (เบนซิน หรือ แกสโซลีน หรือ ปโตร)
เครื่องยนตแกส (NGV, LPG)
2. เครื่องยนตที่จุดระเบิดดŒวยอากาศอัด (Compression Ignition)
 ใชการจุดระเบิดดวยการอัดอากาศ
 เรียกวา เครื่องยนตดีเซล ตามชื่อผูประดิษฐ

JUM  เบนซิน มีหัวเทียน


 ดีเซล ไมมีหัวเทียน

**ปจจุบันมีการใช ไฟฟาเขารวมกับการใชนํ้ามันเราเรียกเครื่องยนตประเภท นี้วา ไฮบริดจ (Hybrid)

EXERCISE 3
17. (วิศวะ) การเผาไหมของอากาศและเชือ้ เพลิงในกระบอกลูกสูบของรถยนตจนทําใหรถยนตเคลือ่ นที่ ได มีการเปลีย่ นรูปของพลังงาน
ดังในขอใดตอไปนี้
1. พลังงานความรอน เปนพลังงานกล
2. พลังงานเคมี เปนพลังงานไฟฟา เปนพลังงานกล
3. พลังงานไฟฟา เปนพลังงานความรอน เปนพลังงานกล
4. พลังงานเคมี เปนพลังงานความรอน เปนพลังงานกล
18. (วิศวะ) หนาที่ของเกียรรถยนตคืออะไร
1. เพิ่มแรงบิดในขณะที่รถมีความเร็วตํ่าและลดแรงบิดในกรณีที่รถมีความเร็วสูง
2. เพิ่มกําลังใหรถยนตมีความเร็วตํ่าและสูง
3. เพิ่มประสิทธิภาพใหกับเครื่องยนตที่ความเร็วรถยนตตํ่าและสูง
4. เพิ่มแรงบิดใหกับรถยนตที่ความเร็วรถยนตตํ่าและสูง
19. (วิศวะ) การจุดระเบิดของเครื่องยนตดีเซลเกิดจากอะไร
1. ประกายไฟจากหัวเทียน 2. แบตเตอรี่
3. ไอเชื้อเพลิงที่ฉีดเขามา 4. ความดันทีส่ ูงขึ้น
20. (วิศวะ) จํานวนหัวเทียนในเครื่องยนตดีเซล 8 สูบ ระบายความรอนดวยนํ้า จัดเรียงเปนรูปตัว V เปนเทาใด
1. 4 2. 8
3. 16 4. ไมมีขอใดถูก
21. จังหวะใดที่ลูกสูบของเครื่องยนตแกสโซลีนเคลื่อนที่ขึ้น
1. ดูด อัด 2. ระเบิด คาย
3. อัด คาย 4. ดูด ระเบิด

30

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


22. (PAT3)
ก. เครื่องยนตตองการแรงมาสูงมักเปนเครื่องยนตดีเซล
ข. การเติมสารออกเทนมักใชกับนํ้ามันดีเซล
ค. เครื่องยนตดีเซลใชหลักการอัดอากาศใหมีความดันสูงแลวจุดระเบิดดวยการฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิง
ง. การใชหัวเทียนในการจุดระเบิดใชเฉพาะในเครื่องยนตเบนซิน
ถามวาขอความดังที่กลาวมา ขอใดถูกตอง
1. ก. ข. และ ค. 2. ข. ค. และ ง.
3. ก. ค. และ ง. 4. ค. และ ง.
23. คารบูเรเตอร ในเครื่องยนตเบนซินทําหนาที่อยางไร
1. จํากัดสวนผสมนํ้ามันกับอากาศ 2. ควบคุมระบบไอเสีย
3. ฉีดนํ้ามันใสอากาศ 4. ผสมนํา้ มันกับอากาศ
ëëëëë

SERIES 4 วิศวกรรมไฟฟ‡า
4.1 ไฟฟ‡าสถิต
1. ประจุ
 เหมือนกัน ผลักกัน
 ตางกัน ดูดกัน
 วัตถุที่มีประจุจะดูดวัตถุที่เปนกลางเสมอ !

Ex1
A B

สรุปวา A มีประจุ
B มีประจุ
4.2 ไฟฟ‡ากระแสตรง
1. สามเหลีย่ มของโอหม
V  ความตางศักย (V)
I  กระแสไฟฟา (A)
R  ตัวตานทานไฟฟา ()

31

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


EXERCISE 4.2
24. (PAT2) ถาเปรียบเทียบความรอนกับกระแสไฟฟา อุณหภูมิจะเทียบไดกับปริมาณใด
1. ความตานทานไฟฟา 2. ศักย ไฟฟา 3. กําลังไฟฟา 4. พลังงานไฟฟา
25. (วิศวะ) เมื่อเกิดฟาผาลงบนพื้นดิน จะเกิดความกระจายของความตางศักย โดยมีคาสูงสุดที่ตําแหนงฟาผาและคอยๆ ลดลง
ตามระยะหางจากจุดที่ฟาผา ถาเกิดเหตุการณฟาผาลงบนตนไม พรอมมีเด็ก และยืนหันหนาเขาหาตนไมดังรูป เหตุการณ ใด
ในขอตอไปนี้มี โอกาสเกิดมากที่สุด

1. เด็ก และควายตาย 2. เด็กตาย ควายไมตาย


3. เด็กไมตาย ควายตาย 4. เด็ก และควายไมตาย
26. (ENT.) ลวดโลหะสมํ่าเสมอยาว 50 เซนติเมตร วัดความตานทานได 0.4 โอหม ถาลวดถูกรีดใหเปนเสนเล็กลงขนาดสมํ่าเสมอ
และมีความยาวเปน 4 เทาของความยาวเดิมแลว ความตานทานไฟฟาของลวดโลหะเสนเล็กจะมีคาเทาใด
1. 0.8  2. 1.6  3. 3.2  4. 6.4 
27. (วิศวะตุลา’44) A จะอานคาไดเทาใด

1. - 2 A 2. 0 A 3. 2 A 4. 5 A
28. (PAT3) แผงวงจรหนึ่งมีการไหลของกระแสไฟฟาเขาและออกจากแผงวงจรดังรูป อยากทราบวา กระแสไฟฟา I มีคาเทากับ
กี่แอมแปร
3A
3A

7A

32

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


29. (พื้นฐานวิศวะ) จากรูปจงหาวากระแส I มีคาเทาใด

3 1 3 4 3 4 4 4 2 2

1. 1 A 2. 3 A 3. 6 A 4. 12 A

30. (พื้นฐานวิศวะ) จงหากระแสไฟฟา I ที่ ไหลผานแอมมิเตอร A ในวงจรไฟฟาดังรูป


(โดยไมคิดคาความตานทานภายในของแบตเตอรี่ และแอมมิเตอร)

6V 6V
6 6 4 4

4V
A 3 4
2V 2V

1. 4 แอมแปร 2. 4 แอมแปร 3. 2 แอมแปร 4. 4 แอมแปร


7 3

31. (Entrance) วงจรตามรูป ถา R1 = R2 = R3 = 5 โอหม กระแสไฟฟาที่ ไหลผานตัวตานทาน R3 มีคาเทาไร

R3 1. 0.3 แอมแปร
2. 0.4 แอมแปร
R1 R2 3. 0.7 แอมแปร
4. 0.9 แอมแปร
2V
5V 5V

33

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


32. (โควตา มอ) ตัวตานทานสี่ตัวมีคาความตานทานตัวละ 30 โอหม ตอเปนวงจรกับไดโอดสี่ตัว และเซลล ไฟฟาสองตัวดังรูป
ถาเซลล ไฟฟาแตละตัวมีแรงเคลื่อนไฟฟา 6 โวลต และไมมีความตานทานภายใน แอมมิเตอร A จะอานคาไดกี่แอมแปร

A
33. (Entrance) ความตานทาน 20 และ 30 โอหม กับเซลล ไฟฟาสองตัวที่มีแรงเคลื่อนไฟฟา 12 โวลต และความตานทานภายใน
10 โอหมเทากันตอเปนวงจรดังรูป กระแสไฟฟาที่ผานความตานทาน 20 โอหม มีคากี่แอมแปร
20 
30 

34. (พื้นฐานวิศวะ) จากวงจรไฟฟาในรูป ความตานทาน 10, 20 และ 30  ตอกับเซลล ไฟฟา 2 ตัว ที่มีแรงเคลื่อนไฟฟา 12 โวลต
และความตานทานภายใน 5  จงหาวากระแสไฟฟาที่ ไหลผานความตานทาน 10  มีคากี่แอมแปร

20 

10 

30 

12 V, 5 

12 V, 5 
1. 0.45 2. 0.66 3. 0.87 4. 0.96

34

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


SERIES 5 เครื่องมือวัด และเครื่องมือทางช‹าง
 ศรลม ทิศทางลม
 เทอร โมมิเตอร อุณหภูมิ
JUM
°C = °R = °F - 32 = k - 273
5 4 9 5

 บารอมิเตอร ความดันอากาศ
 มานอมิเตอร ความดันในของเหลว
 อัลติมิเตอร ความสูง
 ไฮโกรมิเตอร ความชื้นอากาศ
 เครื่องวัดบูรดอน ความดันของไหลที่มีความดันสูง เชน ถังเก็บลม, ถังแกส, ยางรถยนต
 ไฮโดรมิเตอร ความหนาแนน และ ความถวงจาเพาะของของเหลว
 อะนิโมมิเตอร ความเร็วลม
 ลักซมิเตอร ความสวาง
 มิเตอร ไฟฟา พลังงานไฟฟา
 แอมมิเตอร กระแสไฟฟา
 โวลตมิเตอร ความตางศักย ไฟฟา

แอมมิเตอร และโวลตมิเตอร
กัลวานอมิเตอร
ตองการวัด I > Ig ดัดแปลง A
V > Vg ดัดแปลง V
โดยนําตัวตานทานมาตอกับเครื่อง (S)

แอมมิเตอร A โวลดมิเตอร V
I Ig G
Is I Ig G Is R
S

I = I g + Is I = I g = Is
ขนาน V เทา V = Ig (G + S)
Vบน = Vลาง
โวลดมิเตอรที่ดีตองมีความตานทานมากๆ ทําได
Ig . G = Is . S โดยนํา Shunt มาตอ อนุกรม กับเครื่อง
แตถาใช V ในวงจรตองใชแบบ ขนาน
แอมมิเตอรที่ดีตองมีความตานทานนอยๆ ทําได V
โดยนํา Shunt มาตอ ขนาน กับเครื่อง แตถาใช
A ในวงจรตองใชแบบ อนุกรม R
R
A
JUM ถาโจทย ไมให Ig มา ตองหาจากเครื่อง
35

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


Ex1 (ENT.) กัลแวนอมิเตอรเครื่องหนึ่งมีความตานทาน 1 กิโลโอหม อานกระแสไฟฟาสูงสุดได 200 ไมโครแอมแปร ถาจะเปลี่ยน
กัลปแวนอมิเตอร ใหเปนแอมมิเตอรที่สามารถวัดกระแสสูงสุดได 200 มิลลิแอมแปร จะตองใชชันตที่มีความตานทานเทาใด
1. 5 โอหม 2. 1 โอหม 3. 0.5 โอหม 4. 0.1 โอหม
วิธี P.P I = Ig + Is วิธธีี E.S
200  10- 3 = 200  10- 6 + Is
Is = 200  10- 3 - 200  10- 6 = 200  10- 3 (1 - 10- 3)
ขนาน V เทา  200  10- 3
Ig . G = Is . S
.
S = Ig G = 200 200  10- 6  1,000
 10- 3
Is
= 1
Ex2 (ENT.) กัลปวานอมิเตอรตัวหนึ่งมีความตานทาน 4 โอหม เข็มเบนเต็มสเกลเมื่อมีกระแสไฟฟาผาน 1 มิลลิแอมป ถาตองการ
ใชงานเปนโวลตมิเตอรซึ่งวัดคาเต็มสเกลได 10 โวลต จะตองใชความตานทานขนาดกี่ โอหมมาตอลักษณะใดกับกัลปวานอมิเตอรตัวนี้
1. 4  10- 4 , ขนาน 2. 0.44 , ขนาน
3. 6 , ตออนุกรม 4. 9996 , ตออนุกรม
วิธี E.S V ตองตอ Shunt แบบอนุกรม
V ที่ดีตองมี R มากๆ

EXERCISE 5
35. (วิศวะ) เครื่องมือวัดอันหนึ่งที่สามารถใชวัดทั้งขนาดภายนอก ขนาดภายในและขนาดความลึกไดอยางแมนยํา คือ เครื่องมือวัด
ชนิดใด
1. ฉาก 2. ฟุตเหล็ก
3. เวอรเนียรคาลิปเปอร 4. ไมโครมิเตอร
36. (วิศวะ) วิวัฒนาการของเครื่องคอมพิวเตอรมีแนวคิดเริ่มตนครั้งแรกมาจากอะไร
1. ลูกประคํา 2. ลูกคิดของจีน
3. บรรทัดเลื่อนคํานวณ 4. เครื่องคิดเลขมือหมุน
37. (วิศวะ) สายไฟฟาแรงสูง ทําจากวัสดุชนิดใด
1. เหล็ก 2. ทองแดง 3. อะลูมิเนียม 4. ทองเหลือง
38. (วิศวะ) เครื่องมือที่ใชวัดกําลังไฟฟาเรียกวา
1. โวลตมิเตอร 2. แอมมิเตอร
3. วัตตมิเตอร 4. มาตรไฟฟา
39. (วิศวะ) ความจุแบตเตอรี่คิดเปน
1. แอมแปร-ชั่วโมง 2. กิโลวัตต-ชั่วโมง
3. โวลต-ชั่วโมง 4. ตัวอินเตอรเฟส
40. (วิศวะ) เครื่องมือวัดที่การไฟฟาใชวัดพลังงานไฟฟาของผู ใช ไฟฟาโดยติดตั้งไวที่เสาไฟหนาบานเรียกวาอะไร
1. โวลตมิเตอร 2. แอมมิเตอร
3. กิโลวัตตมิเตอร 4. กิโลวัตต-ชั่วโมงมิเตอร
41. (วิศวะ) มิเตอรที่ติดตามบานเรือนเพื่อใชวัดปริมาณการใช ไฟฟา และนํามาคิดคาไฟฟา ปริมาณที่วัดดังกลาว คืออะไร
1. กําลังไฟฟา 2. กระแสไฟฟา
3. พลังงานไฟฟา 4. แรงดันไฟฟา
36

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


42. (วิศวะ) ความหนาแนนของอากาศสามารถหาไดจากเครื่องมือใดตอไปนี้
ก. ตาชั่งสปริง ข. กระบอกวัดปริมาตร
ค. ไฮโดรมิเตอร ง. บารอมิเตอร
จ. เทอร โมมิเตอร
1. ใชทั้ง ก. และ ข. 2. ใช ค.
3. ใช ง. 4. ใช ง. และ จ.
43. (วิศวะ) ขอใดเปนการใชเครื่องมือวัดไมเหมาะสมกับงาน
1. เครื่องวัดบูรดอนกับการวัดความดันในยางรถยนต
2. เวอรเนียกับการวัดระดับขึ้นลงของนํ้าในหลอดแกว
3. นาฬกาจับเวลากับการวัดความเร็วรถยนต ในสนามแขง
4. กระบอกตรงกับการวัดปริมาณนํ้าฝน
44. (วิศวะ) เครื่องจักรใดไมใชหลักการคอยๆ กัดเซาะเนื้อวัสดุออกจนไดชิ้นงานตามตองการ
1. เครื่องเพรส 2. เครื่องกลึง
3. เครื่องไส 4. เครื่องเจียระไน
45. (วิศวะ)
วิศวกร A เลือกใช บารอมิเตอร (Barometer) ในการวัดความดันภายในทอนํ้า
วิศวกร B เลือกใช มานออมิเตอร (Manometer) ในการวัดความดันบรรยากาศ
วิศวกร C เลือกใช ไฮโกรมิเตอร (Hygrometer) ในการวัดความชื้นของอากาศ
วิศวกรคนไหนเลือกใชเครื่องมือไดถูกตอง
1. วิศวกร A
2. วิศวกร C
3. วิศวกร Aและวิศวกร C
4. วิศวกร B และวิศวกร C
46. (วิศวะ) ในการสรางสกรู ควรใชเครื่องมือใดในการสราง
1. เครื่องกลึง
2. เครื่องไส
3. เครื่องกัด
4. เครื่องเจีย
47. (วิศวะ) เครื่องมือดังรูป เปนเครื่องมือชนิดใด

1. เลื่อยฉลุ
2. เครื่องปาดขอบไม
3. สวานชนิดกระแทก
4. เครื่องไสไม

48. (PAT3) อุปกรณ ใดเปนอุปกรณรับหรือสงขอมูลโดยใชสาย


1. Bluetooth 2. Wifi
3. GPRS 4. ADSL
5. GPS

37

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


49. ลักซมิเตอร (Lux meter) ตามรูปขางลางนี้ ใช ในการวัดคาใด

1. ความเขมกัมมันตรังสี
2. ความเขมของรังสีแสงอาทิตย
3. ความสวาง
4. สเปคตรัมรังสีแสงอาทิตย
5. ความไวแสงอาทิตย

50. (PAT 3) เครื่องมือในรูปดานลาง คือ อะไร

1. GT 200
2. เลื่อยไฟฟา
3. สวานไฟฟา
4. เครื่องวัด pH
5. เลื่อยฉลุ

51. (วิศวะ) ในงานเจาะไมดวยสวานไฟฟา เมื่อเจาะไมลึกๆ จะตองยกสวานขึ้น-ลง ในแตละชวงระยะความลึกของการเจาะเพื่ออะไร


1. เพื่อใหเศษไม ไหลออกมา 2. ไมใหดอกสวานรอนมากเกินไป
3. ไมให ไม ไหมดํา 4. ทํางานไดรวดเร็วขึ้น
52. (ENT.) แกลแวนอมิเตอรมีความตานทาน 1 กิโลโอหม ทนกระแสสูงสุด 0.1 มิลลิแอมแปร ตองใชชันตที่มีความตานทานเทาใด
จึงจะวัดกระแสไฟฟาไดสูงสุด 20 มิลลิแอมแปร
1. 0.5  2. 5.0  3. 50.0  4. 500.0 
53. (PAT3) แอมมิเตอรเครื่องหนึ่งมีความตานทานภายใน 100 โอหม ใชวัดกระแสเต็มสเกลไดสูงสุด 1 แอมแปร ถาตองการ
ใหแอมมิเตอรเครื่องนี้วัดกระแสไดสูงสุด 10 แอมแปร จะตองใชตัวตานทานมาตอขนานกี่ โอหม
1. 1.11  2. 11.11  3. 2.22  4. 22.22 
54. (วิศวะ) คาความตานทานภายในของโวลตมิเตอร และแอมมิเตอรควรเปนอยางไร
1. โวลตมิเตอรมีคาความตานทานภายในสูง แอมมิเตอรมีคาความตานทานภายในสูง
2. โวลตมิเตอรมีคาความตานทานภายในสูง แอมมิเตอรมีคาความตานทานภายในตํ่า
3. โวลตมิเตอรมีคาความตานทานภายในตํ่า แอมมิเตอรมีคาความตานทานภายในสูง
4. โวลตมิเตอรมีคาความตานทานภายในตํ่า แอมมิเตอรมีคาความตานทานภายในตํ่า
55. (PAT3) ในการนําแอมมิเตอร ไปวัดกระแสไฟฟาที่ ไหลผานอุปกรณ ตัวเลือกใดตอไปนี้กลาวถูกตอง
ก. แอมมิเตอรที่ใชจะตองมีความตานทานภายในตํ่ามาก
ข. แอมมิเตอรที่ใชจะตองมีความตานทานภายในสูงมาก
ค. ตองตอแอมมิเตอรขนานกับอุปกรณที่ตองการวัด
ง. ตองตอแอมมิเตอรอนุกรมกับอุปกรณที่ตองการวัด
1. ก. และ ค. 2. ข. และ ง.
3. ก. และ ง. 4. ข. และ ค.
5. ไมมีขอใดถูกตอง

38

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


56. (วิศวะ) ขอใดตอไปนี้ที่ทําใหเครื่องมือวัดเสียหาย
1. นํา Voltmeter ไปวัดคากระแสไฟฟา
2. นํา Ammeter ไปวัดคาแรงดันไฟฟา
3. นํา Voltmeter ไปวัดคาความตานทาน
4. ไมมีคําตอบที่เหมาะสม
57. (วิศวะ) ถาโวลตมิเตอร และแอมมิเตอรที่ใช เปนเครื่องวัดในอุดมคติขอใดกลาวถูกตอง

V A
1. แอมมิเตอรอานคาได 0 A
2. แอมมิเตอรอานคาได 0.5 A
3. โวลตมิเตอรอานคาได 50 V
100  100  4. โวลตมิเตอรอานคาได 100 V

100 V
58. (PAT 3) จากวงจรที่กําหนดให จงหาคาแรงดันที่ โวลตมิเตอรอานได
40 
V 1. 0 โวลต
2. 1 โวลต
100 V + 60  3. 10 โวลต
- 4. 100 โวลต

ëëëëë

SERIES 6 กลศาสตรวิศวกรรม
6.1 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กฎของการเคลือ่ นทีซ่ งึ่ เสนอโดยทานเซอร ไอแซคนิวตัน เปนหัวใจของวิชากลศาสตร เราอาจกลาวไดวา หลักการ (principles)
ทุกหลักการในวิชานี้งอกเงยมาจากกฎ(ของ)การเคลื่อนที่นี้ กฎเหลานี้ ไมไดมาจากการทําการทดลองโดยตรง แตมาจากการสังเกต
ปรากฏการณธรรมชาติและจากสมองสุดลํา้ เลิศของนักฟสกิ สสดุ สําคัญคนหนึง่ ที่มนุษยชาติเคยมีทา นนัน้ คือ เซอร ไอแซคนิวตัน กฎการ
เคลื่อนที่นี้มีอยูสามขอ ดังนี้
1. กฎการเคลื่อนที่ขอที่หนึ่ง : กฎของความเฉื่อย (Law of Inertia)
กฎขอนีก้ ลาววา วัตถุจะคงสภาวะอยูน งิ่ หรือเคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็วคงที่ในแนวเสนตรง หากไมมแี รงมากระทําใหเปลีย่ น
สภาวะนั้นๆ ไป (ภาษาอังกฤษที่คัดลอกมาจากหนังสือ Principia ของนิวตันมี ใจความดังนี้ :Every Body continues in its
state of rest, or of uniform motion in a right line, unless it is compelled to change that state by forces
impressed upon it)
2. กฎการเคลื่อนที่ขอที่สอง : กฎของความแรง (Law of Force)
กฎขอนีก้ ลาววาอัตราการเปลีย่ นแปลงของโมเมนตัมแปรผันโดยตรงกับแรงทีก่ ระทําตอวัตถุและเกิดขึน้ ในทิศทีแ่ รงนัน้
กระทํา (ภาษาอังกฤษทีค่ ดั ลอกมาจากหนังสือ Principia ของนิวตันมี ใจความดังนี้ :The change of motion is propotional
to the motive force impressed ; and is made in the direction of the right line in which that force is
impressed.) ซึ่งในรูปประโยคสัญลักษณเราอาจเขียนกฎขอที่สองตามสมัยนิยมปจจุบันไดวา
ma = f

39

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


3. กฎการเคลื่อนที่ขอที่สอง : กฎของแรงกิริยา-ปฏิกิริยา (Law of Action-Reaction)
กฎขอนีก้ ลาววา ทุกๆ แรงกิรยิ าจะมีแรงปฏิกริ ยิ าขนาดเทากันทิศตรงขาม (ภาษาอังกฤษทีค่ ดั ลอกมาจากหนังสือ Principia
ของนิวตันมี ใจความดังนี้ :to every action there is always opposed and equal reaction: or mutual action of two
bodies upon each other are always equal, and directed to contrary parts.)
กฎขอที่สามนี้เขามาทันทีเราตองบรรยายระบบที่มีวัตถุตั้งแตสองวัตถุขึ้นไปซึ่งอาจมีการดึงดูดกันหรือผลักกัน หรือ
เสียดสีกันหรือกระทบกัน เปนตน แรง fBA ที่วัตถุ A กระทําตอวัตถุ B กับแรง fAB ที่วัตถุ B กระทําตอ A นั้น กฎขอที่สาม
บอกวาตองมีขนาดเทากันและกระทําในทิศตรงขามกัน

NOTE ลักษณะของแรงคูกริยา
 มีขนาดเทากัน ทิศทางตรงกันขาม
 ถือวาเกิดขึ้นกับวัตถุคนละกอนจึงหักลางกันไมได
 เกิดขึ้นขณะวัตถุจะสัมผัสหรือไมสัมผัสกันก็ ได
 เกิดขึ้นขณะวัตถุหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่ดวยความเรงก็ ได
 Action = Reaction

แบบทดสอบพลัง
หา T หรือ F โดยวิธี Engineering Sense
F = 20 N T = 10 N F
1. 3 Kg 2 Kg 2. 2 Kg 3 Kg
T
F>T

T1 T2 T
F = 30 N F = 12 N
3. 3 Kg 2 Kg 1 Kg 4. 1 Kg 2 Kg

T2 T1
5. F = 30 N
3 Kg 2 Kg 1 Kg 6. k g 2 kg
3
F = 40
30°

40

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


T2 T1
7. 2 Kg 8. 1 Kg 2 Kg

3 Kg 3 Kg

9. F = 15 N 10. F = 99 N
1 Kg 2 Kg
T T1
2 Kg 3 Kg
T2
4 Kg

EXERCISE 6.1
59. (โควตา มอ.) “แรงคูกิริยา-ปฏิกิริยา” ตามกฎการเคลื่อนที่ขอที่สามของนิวตัน ผลสรุปตอไปนี้ขอใดผิด
1. กระทําที่วัตถุคนละกอนที่เกี่ยวของกัน
2. มีขนาดเทากันแตทิศทางตรงกันขาม
3. เกิดขึ้นเมื่อวัตถุหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ โดยมีความเรงก็ ได
4. เกิดขึ้นไดเมื่อวัตถุทั้งสองตองสัมผัสกัน
60. (มช.) แทงไม A มวล 10 กิโลกรัมและแทงไม B มวล 5 กิโลกรัม วางติดกันบนพื้นเกลี้ยง ถาออกแรงผลัก 20 นิวตัน ดังรูป
ขอใดถูกตอง

A F
B
1. แรงลัพทที่กระทํากับกลอง A มีขนาด เทากับแรงลัพทที่กระทํากับกลอง B
2. แรงที่กลอง A กระทํากับกลอง B มีขนาด เทากับ แรงที่กลอง B กระทํากับกลอง A
3. แรงที่กลอง A กระทําตอกลอง B มีขนาด มากกวา แรงที่กลอง B กระทําตอกลอง A
4. แรงที่กลอง A กระทําตอกลอง B มีขนาด นอยกวา แรงที่กลอง B กระทําตอกลอง A

41

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343



61. (PAT 2) ออกแรง F ขนานกับพื้นราบลื่นกระทํากลอง A และ B ที่วางติดกันดังรูป

F A B
ขอใดถูกตอง
1. ถา mA > mB แรงที่กลอง A กระทํากับกลอง B มีขนาดมากกวาแรงที่กลอง B กระทํากับกลอง A
2. ถา mA > mB แรงที่กลอง A กระทํากับกลอง B มีขนาดนอยกวาแรงที่กลอง B กระทํากับกลอง A
3. แรงที่กลอง A กระทํากับกลอง B มีขนาดเทากับแรงที่กลอง B กระทํากับกลอง A โดยไมขึ้นกับมวลกลองทั้งสอง
4. แรงลัพธที่กระทํากับกลอง A มีขนาดเทากับแรงลัพธที่กระทํากับกลอง
62. (วิศวะ) จากรูป เมื่อไมคิดแรงเสียดทานระหวางมวลกับพื้น ขอใดถูกตอง
F = 10 N
m1 m2

1. แรงดึงในเสนเชือกระหวางมวล m1 และมวล m2 มีคานอยกวาแรง F


2. เมื่อมวล m1 มากกวามวล m2 แรงดึงในเสนเชือกระหวางมวลมีคามากกวาแรง F
3. เมื่อมวล m1 นอยกวามวล m2 แรงดึงในเสนเชือกระหวางมวลมีคามากกวาแรง F
4. แรงดึงในเสนเชือกระหวางมวล m1 และมวล m2 มีคามากกวาแรง F
63. (พื้นฐานวิศวะ) รถ 2 คัน ผูกติดกันดวยเชือกที่รับแรงไดสูงสุด 10 นิวตัน โดยไมขาด รถแตละคันมีมวล 1 กิโลกรัม คาสูงสุดของ
แรง F ที่จะดึงใหรถทั้งสองคันเคลื่อนที่ ไปดวยกันโดยเชือกไมขาดมีคาเทากับ
เชือก
1 kg 1 kg F

1. 10 นิวตัน 2. 15 นิวตัน 3. 20 นิวตัน 4. 25 นิวตัน


64. (มอ.) มวล 5 กิโลกรัม และ 3 กิโลกรัม ผูกติดกันดวยตาชั่งสปริงและวางบนพื้นราบที่ ไมมีความฝด ออกแรง F ในแนวขนาน
กับพื้นกระทําแกมวล 3 กิโลกรัม ดังรูป ทําใหมวลทั้งสองเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง ถาตาชั่งสปริงอานคาได 20 นิวตัน แรง F มีขนาด
กี่นิวตัน
5 3 F

1. 27.5 2. 32.0 3. 52.0 4. 60.0


65. (วิศวะ) จากรูป ถาตองการให F = 4T ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตอง มวล m2 ตองเปนกี่เทาของ m1

m1 T m2 F

1. m1 = 3m2 2. m2 = 3m1 3. m1 = 5m2 4. m2 = 5m1


66. (ENT.) จากรูป จงหาความตึง T ในเชือกเสนขวาสุด
T
F M M M M

1. F 2. F 3. F 4. F
2 3 4

42

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


67. (ENT) ใชแรง P ดึงรถทดลอง 3 คัน มีมวล 1, 2 และ 3 กิโลกรัม รถทั้งสามตอกันดวยเชือก x และ y ดังรูป โดยคิดวาไมมี
แรงเสียดทานระหวางรถกับพื้นเลย ถาเสนเชือก x มีความตึง 20 นิวตัน แรงดึง P และความตึงของเสนเชือก y จะเปนกี่นิวตัน
ตามลําดับ
y x
P

1. 12 และ 4 2. 16 และ 12 3. 24 และ 4 4. 24 และ 12


68. (มอ.) วัตถุมวล 2, 3 และ 5 กิโลกรัม ผูกติดกันดวยเชือกเบาวางบนพื้นที่ ไมมีความฝด เมื่อออกแรง 50 นิวตัน กระทําตอมวล
2 กิโลกรัม ดังรูป ผลตางของแรงดึงในเสนเชือก (T1 - T2) มีขนาดกี่นิวตัน
T2 T1 F = 50 N
5 kg 3 kg 2 kg 37

69. (มข.)มีกลอง 4 ใบ ผูกติดกันดวยเชือกมวลเบาและพื้นไมมีแรงเสียดทาน มีแรงตึงเชือก T1 = 222 นิวตัน และ T2 = 111 นิวตัน


(ดังรูป) มวล m มีคาเทาใด
T2 = 111 T1 = 222
12 kg M 15 kg 20 kg F

1. 3 กิโลกรัม 2. 13 กิโลกรัม 3. 23 กิโลกรัม 4. 33 กิโลกรัม


70. (ENT.) แทงไมมวล 5 กิโลกรัม, 3 กิโลกรัม และ 2 กิโลกรัม วางติดกันบนพื้นเกลี้ยง ถาออกแรงผลัก 10 นิวตัน ดังรูป จงหา
ขนาดของแรงที่แทงไม 2 กิโลกรัม กระทําตอแทงไม 3 กิโลกรัม
10 N 5 Kg 3 Kg 1. 2.0 N 2. 5.0 N
2 Kg
3. 8.0 N 4. 10.0 N
71. (โอลิมปก) วัตถุ 10 กอน มีมวลขนาดเทากันดังรูป จงหา แรงกระทําระหวาง D และ E
F = 100 N
A B C D E F G H I J

72. (PAT 2) กลอง A กลอง B วางติดกันบนพื้นราบลื่น และแรงขนาด F กระทํากับกลอง A หรือกลอง B ดังรูป กําหนดให mA > mB
F A B A B F
กรณีที่ 1 กรณีที่ 2
ขอใดถูกตอง
1. แรงปฏิกิริยาระหวางกลองในกรณีที่ 1 มากกวาแรงปฏิกิริยาระหวางกลองในกรณีที่ 2
2. แรงปฏิกิริยาระหวางกลองในกรณีที่ 1 นอยกวาแรงปฏิกิริยาระหวางกลองในกรณีที่ 2
3. แรงปฏิกิริยาระหวางกลองในกรณีที่ 1 เทากับแรงปฏิกิริยาระหวางกลองในกรณีที่ 2
4. ทั้งสองกรณี แรงที่กลอง A กระทํากับกลอง B มีคาเทากับแรงที่กลอง B กระทํากับกลอง A และมีขนาดเทากับ F
73. (โควตา มข) วัตถุ m1 = 1 กิโลกรัม และ m2 = 4 กิโลกรัม
วางติดกันอยูบนพื้นเอียงที่ ไมมีความเสียดทาน m2
มีแรง F ขนาด 20 นิวตัน กระทําดังรูป m1
ขนาดของแรงที่มวลทั้งสองกระทําตอกันมีคากี่นิวตัน F
30°

43

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


74. (PAT 3) จงหาแรงตึงเชือกของระบบตอไปนี้ กําหนดทุกผิวสัมผัสลื่นไมมีแรงเสียดทาน
กําหนดให g = 10 เมตรตอวินาที2
1. 50 นิวตัน
g 2. 25 นิวตัน
20 k
3. 5 นิวตัน
30° 4. 10 นิวตัน
5 kg
5. 20 นิวตัน
75. (ENT.) จากรูป วัตถุมวล M ถูกผูกติดกับวัตถุมวล 2 กิโลกรัม
P ดวยเชือกเสนลาง ขณะที่วัตถุทั้งสองถูกดึงขึ้น จากเชือกเสนบนดวย
ความเรง a เมตร/วินาที2 ขนาดแรงตึงของเชือกเสนลาง (T) มีคา
28 นิวตัน ถาในขณะนั้นขนาดแรงตึงเชือกของเชือกเสนบน (P) มีคา
M 98 นิวตัน M มีคาเทาใด
1. 4.0 กิโลกรัม
T 2. 5.0 กิโลกรัม
3. 6.0 กิโลกรัม
4. 10 กิโลกรัม
2 kg
ëëëëë

6.2 แรงลอยตัว
 กําหนด นํ้า = 1 g/cm3
ถ.พ. = วัตถุ
นํ้า = 1,000 kg/m3
< 1 , วัตถุ นํ้า

ถ.พ. = = 1 , วัตถุ นํ้า

> 1 , วัตถุ นํ้า

 ถ.พ. = 0.5
แสดงวา วัตถุ เปน
 วัตถุ = kg/m3
วัตถุจะ นํ้า
 ถ.พ. = 1
แสดงวา วัตถุ เปน
 วัตถุ = kg/m3
วัตถุจะ นํ้า
 ถ.พ. = 2
แสดงวา วัตถุ เปน
 วัตถุ = kg/m3
วัตถุจะ นํ้า
44

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


Example
  

จม = 70% จม = 75% จม = 3 (60%)


5
ถ.พ. = 0.7 ถ.พ. = 0.75 ถ.พ. = 0.6
วัตถุ = 700 kg/m3 วัตถุ = 750 kg/m3 วัตถุ = 600 kg/m3

 

วัตถุ = 400 kg/m3 จม = 100%


ถ.พ. = 0.4 ถ.พ. = 1
จม = 40% วัตถุ = 1,000 kg/m3
= 40 = 2
100 5 JUM

Ex 1. วัตถุรูปลูกบาศก มี  = 600 kg/m3 ลอยนํ้าอยู จงหา...


ก. จะจมนํ้า = 60 cm
ข. ถาญาญามวล 60 kg ไปยืน จะจมลงอีก 6 cm
ค. หลังจากญาญายืนแลว วัตถุจะจมในนํ้าทั้งหมด 66 cm
Ex 2. วัตถุรูปลูกบาศก มี  = 800 kg/m3 ลอยนํ้าอยู จงหา...
ก. จะจมนํ้า = 80 cm
ข. ถากอหญาขึ้นไปยืน วัตถุจะจมลงอีก 4 cm แสดงวา กอหญามีมวล 40 Kg

EXERCISE 6.2
76. (วิศวะ) ที่อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี มีสถานที่ทองเที่ยวแหงหนึ่งชื่อวา “แมนํ้าสองสี” ซึ่งเกิดจากการที่แมนํ้ามูล และ
แมนํ้าโขงไหลมารวมกัน แตพบวานํ้าจากแมนํ้าทั้งสองไมรวมเปนเนื้อเดียวกัน ทําใหเกิดคําพูดที่วา “โขงขุน มูลใส” เปนสาเหตุ
ของการเกิดปรากฏการณ
1. ความเร็วของกระแสนํ้าที่ตางกัน 2. อัตราการไหลของกระแสนํ้าที่ตางกัน
3. ความลึกของแมนํ้าทั้งสองตางกัน 4. ความถวงจําเพาะของนํ้าจากแมนํ้าทั้งสองตางกัน
77. (A-net) กลองขนาด 10 × 10 × 10 ลูกบาศกเซนติเมตร เมื่อลอยในนํ้าทะเล (ความหนาแนน 1025 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร)
จะลอยปริ่มนํ้าพอดี ถานําไปลอยในนํ้าจืด (ความหนาแนน 1000 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร) จะเปนตามขอใด
1. ลอยปริ่มนํ้าเหมือนเดิม 2. ลอยพนนํ้า 0.25 cm
3. ลอยพนนํ้า 1.025 cm 4. จมนํ้า
45

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


78. (วิศวะ) นําทอนไมทอนหนึ่งมีขนาดเทากับ 1,000 ลูกบาศกเซนติเมตร และมีนํ้าหนัก 5 กิโลกรัม ปลอยลงในนํ้าที่มีความหนาแนน
เทากับ 1,000 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร รูปใดตอไปนี้ถูกตอง

1. 2. 3. 4.
79. (ENT.) ทอนไมลอยในนํ้าที่มีความหนาแนน 1000 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร พบวามีสวนลอยนํ้า 1 สวน และจมนํ้า 4 สวน
โดยปริมาตร ความหนาแนนของทอนไมนั้นเทาใด ในหนวยกิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร
80. (ENT.) วัตถุตันชิ้นหนึ่งลอยนํ้าโดยมีปริมาตร 12% โผลพนนํ้า จงหาความหนาแนนของวัตถุนี้ ในหนวยกิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร
81. (PAT 3) วัตถุรูปลูกบาศกมีขนาดความยาวดานละ 1 เมตร มีความหนาแนน 800 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร ลอยตัวอยูในของเหลว
ที่มีความหนาแนน 1000 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร ถาณเดชมีมวล 50 กิโลกรัม ไปยืนบนวัตถุรูปลูกบาศกนั้น จงหาวาวัตถุนั้น
จะจมลงไปกวาเดิมอีกกี่เซนติเมตร
82. (PAT 3) วัตถุรูปทรงลูกบาศกมีขนาดความยาวดานละ 1 เมตร มีความหนาแนน 500 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร ลอยตัวอยูใน
ของเหลวที่มีความหนาแนน 1000 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร ถาปุกกี้ยืนบนวัตถุรูปทรงลูกบาศกนั้นแลว วัตถุนั้นจมลงไปจากเดิม
อีก 8 เซนติเมตร อยากทราบวาปุกกี้มีมวลกี่กิโลกรัม
1. 40 กิโลกรัม 2. 50 กิโลกรัม
3. 60 กิโลกรัม 4. 80 กิโลกรัม
5. 100 กิโลกรัม
83. (วิศวะ) ทอนไมรูปลูกบาศกมีปริมาตร 1 m3 นําไปลอยในนํ้า เมื่อออกแรงกด 2 kN ปรากฏวาผิวบนอยูสูงจากระดับนํ้า 20 cm
จงหาความถวงจําเพาะของทอนไม (กําหนดใหความหนาแนนของนํ้าเทากับ 1,000 kg/m3 และ g = 10 m/s2)
F = 2 kN
1. 0.8
20 cm 2. 0.7
3. 0.6
4. 0.5

84. (PAT 3) นํ้าแข็งมีความหนาแนน 920 kg/m3 ลอยอยูในนํ้า และมีสวนของกอนนํ้าแข็งที่ โผลพนนํ้า โดยที่สวนที่ โผลพนนํ้านี้
มีปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร อยากทราบวากอนนํ้าแข็งสวนที่จมอยู ใตระดับนํ้ามีปริมาตรกี่ลูกบาศกเมตร สมมติใหนํ้าแข็งไมมี
การละลาย และนํ้ามีความหนาแนน 1000 kg/m
85. (มีนา’43) พลาสติกสองชิ้น A และ B พลาสติก B มีความหนาแนนเปน 1.5 เทาของพลาสติก A ทั้งสองชิ้นมีรูปทรงเปน
ทรงกระบอกกลม ถาชิ้น A มีพื้นที่ฐานเปนสองเทาของชิ้น B เมื่อนําชิ้น A มาลอยนํ้าจะจมนํ้าครึ่งหนึ่งของความสูงทรงกระบอก
พอดี จงวิเคราะหวาถานําพลาสติกชิ้น B มาลอยนํ้า ชิ้น B จะจมกี่สวนของความสูงทรงกระบอก
1. จม 1 ของความสูงทรงกระบอก
4
2. จม 1 ของความสูงทรงกระบอก
4
3. จม 3 ของความสูงทรงกระบอก
2

4. จมทั้งชิ้น
ëëëëë

46

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


SERIES 7 วิศวกรรมสังเคราะห
พลาสติกแบ‹งเปšน 2 ประเภท คือ
1. เทอร โมพลาสติก (Thermoplastic)
2. เทอร โมเซตติงพลาสติก (Thermosetting plastic)
1. ชนิดของเทอร โมพลาสติก ไดแก
1. โพลิเอทิลีน (Polyethylene; PE)
2. โพลิโพนพิลีน (Polypropylene; PP)
3. โพลิสไตรีน (Polystyrene; PS)
4. โพลิไวนิลคลอไรด (Polyvinylchloride; PVC)
5. โพลิคารบอเนต (Polycarbonate; PC)
6. โพลิเอไมด (Polyamide; PA) หรือ ไนลอน (Nylon)
7. โพลิเมทิลเมตาไซเลต (Poly methyl methacrylate; PMMA) หรือ v อะครีลิค (Acrylic)
8. ฟลูออโรคารบอน (Fluorocarbon) หรือ เทฟลอน(Teflon)

ชนิด คุณสมบัติเดน ประโยชน


1. โพลิเอทิลีน (PE) เบา, พับงอได เมื่อบางจะขุน ถุงเย็น, ถุงหูหิ้ว, ถุงขยะ,
โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเรต (PET) โดยทั่วไปจะใส ฉนวนหุมสายไฟ, ขวดนํ้าเกลือ,
หลอดยาสีฟน, นํ้าดื่มใส, ขวดเพท
2. โพลิโพพิลีน (PP) เบาที่สุด เหนียว ไอนํ้า ถุงรอน, ฟลมใสหุมอาหาร ภาชนะ
และ O2 ซึมผานไดนอย บรรจุอาหารที่กันอากาศ
3. โพลิสไตรีน (PS) เปนพลาสติกแข็งที่เบาที่สุด แข็งแตเปราะ กลองบรรจุอาหารชนิดใด, กลองใสเทป,
โปรงใส คงรูปดี ทนกรดและดาง ไมบรรทัด, โฟมแผน, กลองโฟม
ถาเปนสไตโรโฟม (Styrofoam)
4. โพลิไวนิลคลอไรด(PVC) ทนกรดดางและสารเคมี ติดไฟงาย ทอนํ้า PVC, กระเบื้องยางปูพื้น,
ปานกลางแตดับเอง สายยาง, ผายาง, หนังเทียม
5. โพลิคารบอเนต (PC) เปนพลาสติกใสที่แข็งแรงที่สุด ขวดนมเด็ก, ถวย, จาน, ชาม
ทนแรงกระแทก และความรอนดี
ทนกรด ไมทนดาง
6. โพลิเอไมด(PA) หรือไนออน นํ้าหนักเบา แข็งแรงทนทาน ทําเสื้อผาไนลอน, เชือกไนลอน,
คิดคนโดยบริษัทดูปอง (Du Pont) เอ็นตกปลา, ขนแปรงสีฟน
7. PMMA หรือ อะคริลิค ใสที่สุดชนิดหนึ่ง, ทนแดดทําเปนสีตางๆ ได แผนปายอะครีลิค, กรอบพระ,
ทั้งใส ฝา และทึบแสง เปนรอยขีดขวนงาย เฟอรนิเจอร
8. เทฟลอน ทนรอนไดดี พลาสติกเคลือบกระทะ
เทปทนความรอน

47

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


2. ชนิดของเทอร โมเซตติงพลาสติกที่สําคัญ ไดแก
1. โพลิเอทิลีน (Polyethylene; PE)
2. โพลิยูรีเทน (Polypropylene; PP)
3. อีพอกซี (Epoxy)
4. เมลานีน ฟอรมาลดีไฮด (Melaminefomaldehyde)
5. ฟนอลฟอรมาดีไฮด (Phenol-formadehyde)
6. ยูเรียฟอรมาดีไฮด (Urea - Formaldehyde)
7. ซิลิโคน (Silicone)
ชนิด คุณสมบัติเดน
1. โพลิเอสเตอร (รูจักดี ในรูปของไฟเบอรกลาส) เสนใยโพลิเอสเตอร ผลิตภัณฑ ไฟเบอรกลาส เชน
ถังรถยนต, ชิ้นสวนของเครื่องบิน, ไมอัดเคลือบโพลิเอสเตอร
2. โพลิยูรีเทน ใชเปนกาว และนํ้ามันขัดเงา
3. อีพ็อกซี ใชเปนกาวอีพ็อกซี ใชเคลือบผิวอุปกรณ ในบานเรือน ใชเคลือบผิวถนนกันลื่น
ใชเปนสารในการทําสีของแกว
4. เมลานิน ฟอรมมาลดีไฮด ทนแรงอัด แรงกระแทก ทนความรอนและปฏิกิริยาเคมี เกิดคราบ และ
รอยเปอนยาก จึงนิยมทําภาชนะบรรจุอาหารมากที่สุด เชน จาน ชาม
เมลามีน ชามซุปเปอรแวร ใชทาํ วัสดุปด ผิวโตะ ทีร่ จู กั ในชือ่ โฟไมกา (Formica)
5. ฟนอลฟอรมาดีไฮด (รูจักดี ในชื่อ Beke; lite) มีความตานทานตอตัวทําละลาย สารละลายเกลือและนํ้ามัน จึงนํามาใชทํา
จุกขวด และหมอ, หูหมอ หูกระทะ ดามกระทะ มีปริมาณการใชสูงสุดใน
ประเภทเทอร โมเซตติ้ง
6. ยูเรียฟอรมาลดีไฮด คุณสมบัติ ตกไมแตก ทนตอนํ้ายาเคมี ไขมันและนํ้ามัน ยูเรียชนิดเหลวใชทํา
กาวไมอัด และชิปบอรดแบบแข็งใชทําตัวถังรถยนต, เตาเสียบไฟฟา และวัสดุ
เชิงวิศวกรรม
7. ซิลิโคน ใชทํากาวซิลิโคน หุนและแบบจําลอง

EXERCISE 7
86. (วิศวะ) อยากทราบวาขวดพลาสติกใสสําหรับบรรจุนํ้าดื่ม ผลิตมาจากพลาสติกชนิดใด
1. Polystyrene 2. Polypropylene
3. Polyvinylchloride 4. Poly Ethylene Terephthalate
87. (PAT 3) ระบบกําจัดมูลฝอยชุมชน สวนใหญนิยมใชระบบฝงกลบมูลฝอยแบบถูกหลักสุขาภิบาล ซึ่งจําเปนตองมีการปูพลาสติก
รองพื้น เพื่อปองกันชะมูลฝอยไหลซึมลงแหลงสูนํ้าใตดิน ซึ่งพลาสติกดังกลาวมีความหนาแนนสูง คอนขางนิ่ม และมีความเหนียว
ไมแตกงาย อยากทราบวาควรใชพลาสติกชนิดใด
1. PP 2. PET
3. LDPE 4. PS
5. HDPE
88. (วิศวะ) กลองโฟมบรรจุอาหาร ทําจากพลาสติกชนิดใด
1. โพลีสไตรีน 2. โพลียูรีเทน
3. โพลีเอทีลีน 4. ซิลิโคน

48

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


89. (PAT3) เกาอี้พลาสติกและบรรจุภัณฑอาหาร สวนใหญทํามาจากพลาสติกชนิดใด
1. พอลิยูเรียฟอรมาลดีไฮด 2. พอลิโพรพิลีน
3. พอลิไวนิลคลอไรด 4. พอลิสไตรีน
5. พอลิเอทิลีน
90. พลาสติกที่ใชเคลือบตะแกรงใสของหนารถจักรยานหรือชั้นวางของ เปนพลาสติกชนิดใด
1. LDPE 2. CAB 3. PVD 4. Epoxy Resin
91. (PAT 3) พลาสติกชนิดใดตอไปนี้หากนํามาเผาแลวจะทําใหสภาพแวดลอมเปนพิษมากที่สุด
1. พอลิเอทีลีน(PE) 2. พอลิโพรพิลีน(PP)
3. พอลิเอสเตอร 4. พอลิไวนิลคลอไรด(PVC)
5. พอลิเอสเตอร (PS)
92. (PAT 3) ตัวถังของรถยนตที่ทํามาจากพลาสติกนั้นเปนพลาสติกชนิดใด
1. พอลิโพรพิลีน 2. พอลิเอทิลีน
3. พอลิเอสเทอร 4. พอลิไวนิลคลอไรด
5. พอลิเอไมด
ëëëëë

SERIES 8 คณิตวิศวกรรม
คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรม เตรียมตัวหัวขอเหลานี้ ไปจะไมผิดหวัง ชัวร !
 ความสัมพันธ และ ฟงกชัน
 EXPO AND LOG
 ลําดับและอนุกรม
 เรียงสับเปลี่ยน จัดหมู และความนาจะเปน
 เมตริกซ เวกเตอร และเชิงซอน
 สถิติ
 แคลคูลัส
 การหาพื้นที่ และ มิติสัมพันธ

EXERCISE 8
93. ผลบวกของคําตอบของสมการ log2 (4x - 1 + 2x - 1 + 6) = 2 + log2 (2x - 1 + 1) มีคาเทาใด
94. ผลบวกของคําตอบทั้งหมดของสมการ log3 x = 1 + logx 9 อยูในชวงใด
1. [0, 4) 2. [4, 8) 3. [8, 12) 4. [12, 16)
95. จํานวนสมาชิกในเซต {100, 101, 102, …, 600} ซึ่งหารดวย 8 หรือ 12 ลงตัวเทากับขอใดตอไปนี้
1. 84 2. 92 3. 100 4. 125
96. จงคํานวณหาคา 1 + 1 + 1 + 1 + 1 + 1 + 1 + ...
2 7 14 49 98 343
1. 7 2. 7 3. 7
12 4 6
4. 12 5. 6
7 7
49

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


97. มีลูกแกว 7 ลูกซึ่งมีสีตางกันหมดโดยมีสีแดง สีขาว สีนํ้าเงิน และอื่นๆ จํานวนวิธีที่จะวางเรียงลูกแกวเปนวงกลม ใหสีนํ้าเงิน
เรียงอยูติดกับสีขาว และติดกับสีแดงเทากับขอใด
1. 24 2. 48 3. 120 4. 240
98. ขอมูลชุดหนึ่งมี 5 จํานวน มีฐานนิยม มัธยฐาน และคาเฉลีย่ เลขคณิตเปน 15, 16, 17 ตามลําดับ และพิสยั ของขอมูลชุดนีเ้ ทากับ 5
ความแปรปรวนของขอมูลชุดนี้มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1. 31 2. 24 3. 22 4. 19
5 5 5 5

99. คะแนนสอบของนักเรียนกลุมหนึ่งมีการแจกแจงปกติโดยมีสัมประสิทธิ์ของการแปรผันเปน 24% และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


เทากับ 12 คะแนน ถากําหนดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.2 และถึง z = 1.25 เปน 0.3849 และ 0.3944
ตามลําดับ แลวขอใดตอไปนี้เปนตําแหนงเปอรเซ็นไทลของนักเรียนที่สอบได 65 คะแนน
1. 38.49 2. 39.44 3. 88.49 4. 89.44
100. จงหาคาของ lim x2 + 3 - 2 มีคาเทากับเทาใด
x 1 x-1

101. lim 3n + 12n + 27n + ... + 33n มีคาเทาใด


4
n  1 + 8 + 27 + ... + n

102. จงหาคาของ lim 5n + 1 + 3n - 1


n+1 n-1
n  2 +5
1
103. ถา  R และ ∫sin (4x - 3) dx = 0 แลว cos 2 เทากับขอใดตอไปนี้

1. 0 หรือ 3 2. 0 หรือ - 3 3. - 1 หรือ 1 4. - 1 หรือ 1


2 2 2

104. กําหนดใหวงกลมทั้ง 4 วงมีรัศมีเทากัน และเสนรอบวงจรด


รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสพอดี กําหนดใหพื้นที่สวนสีดําตรงกลางมีคาเทากับ
4 -  ใหหาพื้นที่สวนสีเทา
1. 16 - 4 
2. 16 - 3 
3. 14 - 3 
4. 12 - 3 

105. จากชุดตัวเลขจํานวนเต็มสี่บรรทัดตอไปนี้
5 6 33
2 3 15
1 6 21
2 6 X
ใหหาวาเครื่องหมาย X ควรแทนดวยเลขจํานวนเต็มเทาไร
1. จํานวน 24 2. จํานวน 33
3. จํานวน 42 4. จํานวน 65
ëëëëë

50

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


SERIES 9 เขียนแบบวิศวกรรม
ประเภทของภาพในงานเขียนแบบ
1. ภาพไอโซเมตริก (Isometric) เปนภาพ 3 มิติ ทํามุม 30 องศา ทั้งดานซาย และดานขวา ภาพลักษณะนี้นิยมใชกันมาก
2. ภาพพออพลิก (Olique) เปนภาพ 3 มิติ ทํามุม 45 องศา
3. ภาพฉาย (Orthographic) ฉายภาพ 3 มิติ ลงบนระนาบ 2 มต มิติ โดยระนาบรบภาพจะมอยู
โดยระนาบรับภาพจะมีอยู 3 มุมมองคื
มอ อ
ë ภาพดานบน (TOP VIEW)
ë ดานหนา (FRONT VIEW) F S
ë และดานขาง (SIDE VIEW)
T
JUM หลักการเขียนภาพฉาย
 มองเห็นเสนทึบ มองไมเห็นเสนประ
 วงกลม ครึ่งวงกลม วงรี ทรงกระบอก ทรงกรวย
จะตองแสดงเสนผานศูนยกลาง และเสนแนวแกนกลาง

4. ภาพตัด (Sectional View) เปนภาพฉายของวัตถุที่ถูกตัด


5. ภาพชวย (Auxiliary View) เปนภาพฉายของวัตถุลาดเอีย
6. ภาพคลี่ เปนภาพจากการคลี่กลองจาก 3 มิติ เปน 2 มิติ
7. ภาพตอ เปนภาพตอเชื่อมงานในลักษณะตางๆ กัน

EXERCISE 9
106. (วิศวะ) ภาพฉายในดานหนาในทิศ A ตรงกับขอใด

1. 2.

3. 4.

51

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


107. (วิศวะ) จากภาพสามมิติที่กําหนดให ขอใดแสดงภาพตามทิศทางการมองตามลูกศรไดถูกตอง

5
1. 2.

3. 4.

108. (วิศวะ) จากภาพสามมิติที่กําหนดให ภาพฉายตามทิศทางใดที่ ไมถูกตอง

3
4

2
1

1. 2.

ทิศทาง 1 ทิศทาง 2

3. 4.

ทิศทาง 3 ทิศทาง 4

52

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


109. (วิศวะ) จากภาพฉายที่กําหนดจะเปนภาพสามมิติในรูปใด

1. 2.

3. 4.

53

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


110. (PAT3)

รูปใดเปนภาพฉายของวัตถุขางตน

1. 2.

3. 4.

5.

ëëëëë

54

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


SERIES 10 ฟสิกส ระคน ปนกัน มันสมาก
 แนวดิ่งเสรี
 โพรเจคไทล
 สมดุลกล
 โมเมนตัม
 แกส
 อะตอม และอิเล็กตรอน
 นิวเคลียร และรังสี

EXERCISE 10
111. (ENT.) โยนกอนหินขึ้นในแนวดิ่งจากพื้นดินดวยความเร็วตน 20.0 เมตรตอวินาที หลังจากถึงจุดสูงสุดแลว แลวกอนหินก็ตกลง
มาถึงจุดที่มีความเร็ว 10.0 เมตรตอวินาที การกระจัด และระยะทางทั้งหมดที่กองหินเคลื่อนที่ ไดถึงจุดนั้นเปนเทาใด (ตอบตาม
ลําดับ)
1. 20.0 m , 15.0 m 2. 15.0 m , 15.0 m
3. 25.0 m , 15.0 m 4. 15.0 m , 25.0 m
112. (ENT.) ชายคนหนึง่ โยนเหรียญขึน้ ในแนวดิง่ ดวยความเร็วตน 10 เมตร/วินาที เปนเวลานานเทาใดเหรียญจึงจะตกลงมาถึงตําแหนง
เริ่มตน
1. 1 s 2. 2 s 3. 3 s 4. 4 s
113. (ENT.) นาย ก. ยืนอยูบนดาดฟาตึกซึ่งสูงจากพื้นดิน 20 เมตร ปลอยกอนหินลงไปในแนวดิ่ง ในขณะเดียวกัน นาย ข. ซึ่งยืนอยู
ที่พื้นดิน โยนกอนหินขึ้นไปตรงๆ ดวยความเร็ว 20 เมตร/วินาที กอนหินทั้งสองจะพบกันที่สูงจากพื้นดินกี่เมตร
114. (ENT.) ยิงกระสุนขึ้นฟาในแนวดิ่ง 3 ลูกติดตอกัน จากตําแหนงเดียวกันดวยอัตราเร็วตน 10 เมตร/วินาทีเทากัน และเวน
ชวงเวลาระหวางลูกที่ถัดกัน 1 วินาที ถามวา กระสุนลูกที่สองและสาม จะสวนกันที่ระยะสูงจากฐานยิงกี่เมตร
1. 1.25 เมตร 2. 3.75 เมตร 3. 5.00 เมตร 4. 6.50 เมตร
115. (ENT.) เด็ก 4 คน นั่งอยูริมตลิ่งและขวางกอนหินพรอมกันลงในนํ้าคนละกอน ถาแตละกอนตกที่ตําแหนงตางกันคือ A B C D
โดยมีทางเดินของกอนหินดังรูป จงพิจารณาวา กอนหินที่ตกตรงตกตําแหนงใดเปนกอนที่ถึงพื้นนํ้ากอน
1. A
2. B
3. C
A B C D 4. D
116. (วิศวะ) ลูกบอลมวล 1 กิโลกรัม ถูกเตะโดยเดวิด เบ็คแฮม
y ดังแสดงในรูป ถาในขณะนั้นมีกระแสลมพัดตานลูกบอลใน
กระแสลมตาน แนวระนาบอยางสมํ่าเสมอเปนแรงขนาดคงที่ 5 นิวตัน
F=5N อยากทราบวาลูกบอลจะเคลือ่ นที่ ได ไกลสุดเทาใดในแนวระนาบ
(กําหนดให g = 10 m/s2)
10
1. 2.5 เมตร
45 2. 5 เมตร
x 3. 10 เมตร
S=? 4. 20 เมตร

55

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


117. C
(มข.) คานสมํ่าเสมอ AB มวล 10 กิโลกรัม ยาว 5 เมตร
ปลาย A ตรึงติดกําแพง ปลาย B ผูกดวยเชือก BC ยาว 5 เมตร
คานอยูในสมดุลตามรูป แรงในแนวดิ่งที่กระทําตอปลาย
6m B คานที่ A เทากับกี่นิวตัน

20 kg
A
118. (โควตา มช.) ลูกบิลเลียดสีฟาและสีชมพู มีมวล 0.5 กิโลกรัมเทากัน ลูกสีฟาเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 2 เมตร/วินาที เขาชน
ลูกสีชมพูซึ่งอยูนิ่ง ถาการชนนี้เปนการชนในสองมิติ และเปนการชนแบบยืดหยุน จงหาวาภายหลังการชนกันแลวลูกบิลเลียด
ทั้งสองจะเคลื่อนที่อยางไร
1. แยกออกจากกันเปนมุม 60 2. แยกออกจากกันเปนมุม 90
3. เคลื่อนที่ตามกันไปในทิศทางเดียวกัน 4. เคลื่อนที่ ไปในทิศทางตรงกันขาม
119. (ตุลา’43 ) ลูกบิลเลียด A วิ่งดวยอัตราเร็ว 10 เมตร/วินาที เขาชนกับลูกบิลเลียด B ที่อยูนิ่ง และมีมวลเทากับ A หลักจาก
ชนกันแลว ลูกบิลเลียดทั้งสองเคลื่อนที่แยกออกจากกัน โดย A ทํามุม 37 กับแนวเดิม ดังรูป ถาการชนเปนแบบยืดหยุน และ
ไมคิดผลจากการหมุน และความฝดของพื้นกับลูกบิลเลียด อัตราเร็วของลูกบิลเลียดทั้งสองจะเปนเทาใด
VA
10 m/s
A B 37

กอนการชน VB
หลังการชน
1. VA = 4 m/s , VB = 3 m/s 2. VA = 3 m/s , VB = 4 m/s
3. VA = 8 m/s , VB = 6 m/s 4. VA = 6 m/s , VB = 8 m/s
120. (ENT.)มวล A วิ่งดวยอัตราเร็ว 1.0 เมตร/วินาที เขาชนมวล B ซึ่งอยูนิ่ง หลังการชน มวล B วิ่งไปในทิศ 30 องศากับแนวเดิม
ของ A หลังการชนมวล A จะวิ่งดวยอัตราเร็วเทาใด และในทิศทํามุมเทาใดกับแนวเดิม
1. 0.86 m/s และ 30 2. 0.86 m/s และ 60
3. 0.50 m/s และ 30  4. 0.50 m/s และ 60
121. (ENT.) วัตถุ A มีมวลเทากับวัตถุ B เทากับ m วัตถุทั้งสองวางบนพื้นราบไมมีความฝด เมื่อให A เขามาชนวัตถุ B แลวทําให B
เคลื่อนที่ดวยความเร็ว 1 m/s ในทิศทางทํามุม 30 องศา กับแนวการเคลื่อนที่เขาชนตามรูป ความเร็วของวัตถุ A กอนชนมีคา
เทาใด ถาการชนเปนแบบยืดหยุน
VB = 1 m/s
30
V B
A B
A
VA
กอนการชน หลังการชน

1. 1 m/s 2. 2 m/s 3. 3 m/s 4. 3 m/s


3 3 2
56

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


122. (วิศวะ) กาซในธรรมชาติจะมีสมบัติเปนกาซอุดมคติ (Ideal gas) หรือเปนไปตามแบบจําลองของกาซเมื่อใด
1. มีอุณหภูมิและความดันสูงพอสมควร 2. มีความดันสูง
3. มีความหนาแนนนอยมาก 4. มีปริมาตรเล็ก
123. (มีนา’44) ถังแกสใบหนึ่งมีปริมาตร 30 ลิตร บรรจุแกสออกซิเจนจํานวน 4.0 โมล ตออยูกับถังอีกใบหนึ่งภายในเปนสุญญากาศ
ปริมาตร 20 ลิตร ดังรูป จงหาวาเมื่อเปดวาลวจะมีแกสออกซิเจนไหลไปสูถังเปลาไดอยางมากที่สุดกี่ โมล ถาการถายเทแกสนี้
เกิดที่อุณหภูมิคงที่

วาลว
1. 2.4
O2 2. 1.8
3. 1.6
4. 1.2

124. (มีนา’46) จากปฏิกิริยานิวเคลียร 21H + X  42He + n X ควรเปนอนุภาคใด


1. อิเล็กตรอน 2. โปรตอน 3. ดิวเทอรอน 4. ทริรอน
125. วัตถุมีนํ้าหนัก W1 และ W2 แขวนไวดวยเชือกและอยูในสมดุลดังรูป จงหาอัตราสวน W2
T1
1. 3
T1 2
T3
2. 2
3
30° 30° 3. 1
T2 23
4. 2 3
W1 W2

126. (วิศวะ) มวล m แขวนไวดังรูป และถูกตรึงไวดวยแรง F ในแนวระดับเมื่อ  = 60 ความตึงของเสนเชือกจะเปนเทาใด


1. 1 mg
2
60° 2. 3 mg
2
F 3. 3 mg
4. 2 mg

127. (ENT.) แขวนวัตถุมวล m ดวยเชือกเบาดังรูป ถาแรงตึงในเสนเชือกตามแนวระดับมีขนาด 60 นิวตัน จงหานํ้าหนักของวัตถุนั้น

60° 1. 30 N
2. 60 N
60 N 3
3. 60 3 N
4. 120 N
m

57

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


128. (PAT 3) กลองมีนํ้าหนัก 100 N ถูกแขวนดวยเคเบิล AB และ AC ที่จุด A ดังรูป ถาระบบอยูในสภาวะสมดุล จงคํานวณหา
ขนาดแรงตึงในเคเบิล AB และแรงตึงในเคเบิล AC
C
B
1. AB = 50 N และ AC = 50 3 N
2. AB = 50 3 kN และ AC = 50 N
30° 60° 3. AB = 50 N และ AC = 25 3 N
x
A 4. AB = 25 N และ AC = 25 3 N
5. AB = 25 N และ AC = 50 3 N

100 N

129. (มข.)วัตถุหนัก 40 นิวตันและ W ผูกไวดวยเชือกและอยูในสมดุลในลักษณะดังรูป ถาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหวางวัตถุ


กับพื้นเทากับ 0.4 จงหา W ที่มากที่สุดที่ทําใหวัตถุทั้งสองยังคงอยูนิ่งเชนเดิม

37° T3
1. 10 นิวตัน
T1 2. 12 นิวตัน
40 N T2 3. 14 นิวตัน
4. 16 นิวตัน
W

130. (Text Book) ถาเชือกทนแรงดึงไดเพียง 80 N


จงหาวา W จะตองหนักไดมากที่สุดเทาไร
เชือกจึงจะขาดพอดี เมื่อเชือกเบามาก
T1 T2
1. W = 36 N
2. W = 64 N 37° 53°
3. W = 100 N
4. W = 112 N

ëëëëë

58

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343


PERFECT SOLUTION
ขอ ตอบ ขอ ตอบ ขอ ตอบ ขอ ตอบ ขอ ตอบ
Exerecise 1 27. 56. 85. 111.
1. 28. 57. Exerecise 7 112.
2. 29. 58. 86. 113.
3. 30. Exerecise 6 87. 114.
4. 31. 59. 88. 115.
5. 32. 60. 89. 116.
6. 33. 61. 90. 117.
7. 34. 62. 91. 118.
8. Exerecise 5 63. 92. 119.
9. 35. 64. Exerecise 8 120.
10. 36. 65. 93. 121.
11. 37. 66. 94. 122.
12. 38. 67. 95. 123.
Exerecise 2 39. 68. 96. 124.
13. 40. 69. 97. 125.
14. 41. 70. 98. 126.
15. 42. 71. 99. 127.
16. 43. 72. 100. 128.
Exerecise 3 44. 73. 101. 129.
17. 45. 74. 102. 130.
18. 46. 75. 103.
19. 47. 76. 104.
20. 48. 77. 105.
21. 49. 78. Exerecise 9
22. 50. 79. 106.
23. 51. 80. 107.
SOLUTION 4 52. 81. 108.
24. 53. 82. 109.
25. 54. 83. 110.
26. 55. 84. Exerecise 10

59

Line : @tutorferry www.tutorferry.com Tel : 099 823 0343

You might also like