Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 60

PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 1

เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................

B-PAT1 : ตุลาคม 2551


1. ขอมูลชุดหนึ่งเรียงลําดับจากนอยไปหามากเปนดังนี้ 1, a, a, 7, b, 12
ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตและมัธยฐานของขอมูลชุดนี้เทากับ 7 และ 6 ตามลําดับ
แลวสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของขอมูลชุดนี้มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ [B-PAT1 ต.ค. 2551 : 1 ]
1. 3.33
2. 2.33
3. 2
4. 3

2. กําหนดน้ําหนักของเด็กแรกเกิดโดยตามตารางขางลางนี้

น้ําหนัก(กิโลกรัม) จํานวนเด็ก(คน)
0–1 10
1–2 40
2–3 250
3–4 190
4–5 10

แลว เปอรเซ็นไทลที่ 60 ของน้ําหนักเทากับขอใดตอไปนี้ [B-PAT1 ต.ค. 2551 : 3 ]


1. 2.5 กิโลกรัม
2. 3.0 กิโลกรัม
3. 3.5 กิโลกรัม
4. 3.9 กิโลกรัม

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 2
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
3. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของโรงเรียนแหงหนึ่ง สมมติวาคะแนนสอบของนักเรียนมีการแจกแจงปกติ
และอาจารยมีเกณฑการใหเกรดตามคะแนนมาตรฐาน z ของนักเรียน ดังนี้

คะแนน
z < –1.5
1.5 –1.5  z < –1 –1  z < 1 1  z < 1.5 z  1.5
มาตรฐาน z
เกรด F D C B A

ถานายสมจิตรสอบไดคะแนนนอยกวาคามัธยฐานอยูครึ่งหนึ่งของสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แลวนายสมจิตร
จะไดเกรดใดในการสอบครั้งนี้ [B-PAT1 ต.ค. 2551 : 2]
1. B
2. C
3. D
4. F

4. จากโจทยขอ 3. ถามีจํานวนนักเรียนที่สอบไดคะแนนมากกวานายมนัสอยู 15.87%


แลวมนัสจะไดเกรดใด เมื่อกําหนดตารางพื้นที่ใตเสนโคงปกติ ใหดังนี้

z 0.50 0.75 1.00 1.25 1.50


พื้นที่ใตเสนโคงปกติจาก 0 ถึง z 0.1915 0.2734 0.3413 0.3944 0.4332

[B-PAT1 ต.ค. 2551 : 2 ]


1. A
2. B
3. C
4. ขอมูลไมเพียงพอ

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 3
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
5. กําหนดความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูล x และ y เปน y  x2  2x  5
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถา y = 4 แลว x = 1
ข. ถา x เพิ่มจาก 1 ไปเปน 2 แลว y จะเพิ่มขึ้น 1 หนวย
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [B-PAT1
PAT1 ต.ค. 2551 : 3]
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

PAT 1 : มีนาคม 2552


6. ขอมูลชุดหนึ่งมีจํานวน 99 จํานวน เรียงลําดับจากนอยไปหามากไดเปน x 1, x 2 ,..., x 99
ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้เทากับมัธยฐาน
แลวขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 มี.ค. 2552 : 3 ]
49 99
1.  x i   x i
i 1 i 51
49 99
2.  (x 50  x i )   (x 50  x i )
i 1 i 51
49 99
3.  | x 50  x i |   | x 50  x i |
i 1 i 51
49 2 99 2
4.  (x 50  x i )   (x 50  x i )
i 1 i 51

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 4
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
7. โรงเรียนอนุบาลแหงหนึ่งมีนักเรียน 80 คน โดยการแจกแจงของอายุนักเรียนเปนดังตาราง
อายุ(ป) 3.5 4 4.5 5 5.5 6
จํานวนนักเรียน(คน) a 15 10 20 b 5

ถาคาเฉลี่ยของอายุนักเรียนมีคา 4.5 ป แลวสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของอายุนักเรียนมีคาเทากับ


ขอใดตอไปนี้ [PAT1 มี.ค.. 2552 : 4 ]
5
1.
16
7
2.
16
9
3.
16
11
4.
16

8. ถาตารางแจกแจงความถี่แสดงน้ําหนักของเด็กจํานวน 40 คน เปนดังนี้

น้ําหนัก (กิโลกรัม) จํานวน


9 – 11 15
12 – 14 5
15 – 17 5
18 – 20 10
21 – 23 5

ถา x แทนคาเฉลี่ยของน้ําหนักเด็กกลุมนี้ แลวขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1 มี.ค. 2552 : 4 ]


1. x = 17.444 และมัธยฐานนอยกวาฐานนิยม
2. x = 14.875 และมัธยฐานนอยกวาฐานนิยม
3. x = 17.444 และมัธยฐานมากกวาฐานนิยม
4. x = 14.875 และมัธยฐานมากกวาฐานนิยม

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 5
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
9. ขอมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ ถาหยิบขอมูล a, b, c, d มาคํานวณคามาตรฐานปรากฏวาไดคา
ดังตาราง
ขอมูล a b c d
คามาตรฐาน(z) –3 –0.45 0.45 1

ขอใดตอไปนี้ถูก [PAT1 มี.ค. 2552 : 1 ]


1. –a + 2b + 2c – 3d = 0
2. –a + b + c – 3d = 0
3. a – 2b + 3c + 2d = 0
4. a – b + c – d = 0

10. ขอมูลความสูงของนักเรียนชั้น ม.
ม 6 โรงเรียนแหงหนึ่งมีการแจกแจงปกติ
ถาจํานวนนักเรียนที่มีความสูงนอยกวา 140.6 เซนติเมตร มีอยู 3.01%
และจํานวนนักเรียนที่มีความสู
วาม งมากกวาคามัธยฐานแตนอยกวา 159.4 เซนติเมตร มีอยู 46.99% แลว
จํานวนนักเรียนที่มีความสูงไมนอยกวา 155 เซนติเมตร แตไมเกิน 160 เซนติเมตร มีเปอรเซ็นตเทากับ
ขอใดตอไปนี้ เมื่อกําหนดตารางแสดงพื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐาน ระหวาง 0 ถึง z เปนดังนี้
z 1.00 1.12 1.88 2.00
พื้นที่ใตเสนโคง 0.3413 0.3686 0.4699 0.4772

[PAT1 มี.ค. 2552 : 4 ]


1. 12.86%
2. 13.14%
3. 15.87%
4. 13.59%

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 6
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
11. ในการหาความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร (x) และวิชาฟสิกส (y)
ของนักเรียน 100 คนของโรงเรียนแหงหนึ่ง ไดพจนตางๆที่ใชในการคํานวณหาคาคงตัวจากสมการปกติ
ของความสัมพันธเชิงฟงกชันที่มีรูปสมการเปน y = a + bx ดังนี้
100 100 100 100 2
 x i   y i  1000,  x i y i  2000,  x i  4000
i 1 i 1 i 1 i 1
ถาคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนายสมชายเทากับ 15 คะแนน แลวคะแนนสอบวิชาฟสิกส
(โดยประมาณ) ของนายสมชายเท
นายสมชายเทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1 มี.ค. 2552 : 2 ]
1. 16 คะแนน
2. 16.67 คะแนน
3. 17 คะแนน
4. 17.67 คะแนน

PAT 1 : กรกฎาคม 2552


12. ถาความยาวรัศมีของวงกลม 10 วงมีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 3 และมีความแปรผันเทากับ 5
แลวผลรวมของพื้นที่วงกลมทั้ง 10 วงนี้ มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1 ก.ค.. 2552 : 3 ]
1. 90
2. 95
3. 140
4. 340

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 7
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
13. กําหนดตารางแจกแจงความถี่แสดงความสูงของนักเรียนในโรงเรียนแหงหนึ่ง เปนดังนี้

ความสูง(เซนติเมตร) จํานวนนักเรียน(คน)
120  129 10
130  139 20
140  149 40
150  159 50
160  169 30

ขอใดตอไปนี้ถูก [PAT1 ก.ค.


ก 2552 : 3 ]
1. มัธยฐานของความสูงมีคานอยกวา 149 เซนติเมตร
2. ฐานนิยมของความสูงมีคานอยกวา 147 เซนติเมตร
3. ควอไทลที่ 3 ของความสูงมีคามากกวา 150 เซนติเมตร
4. เปอรเซ็นไทลที่ 20 ของความสูงมีคามากกวา 145 เซนติเมตร

14. จากการแจกแจงขอมูลเงินเดือนของพนักงานบริษัทแหงหนึ่งพบวา

เดไซลที่ 1 3 5 7 9
เงินเดือน(บาท) 10,000 15,000 20,000 25,000 40,000

ถานายเอกและนายยศมีเงินเดือนรวมกันเทากับ 40,000 บาท และมีจํานวนพนักงานที่ไดเงินเดือน


มากกวานายยศอยูประมาณ 30% ของพนักงานทั้งหมด แลวเปอรเซ็นตของจํานวนพนักงานที่ไดเงินเดือน
นอยกวานายเอกเทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1 ก.ค. 2552 : 2 ]
1. 10%
2. 30%
3. 50%
4. 70%

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 8
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
15. กําหนดใหขอมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงแบบปกติ ถาหยิบขอมูล x และ y จากขอมูลชุดนี้มาพิจารณา
พบวา 13.14% ของขอมูลมีคามากกวา x และ x มากกวา y อยู 2% ของสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แลว
จํานวนขอมูล(คิดเปนเปอรเซ็นต) ที่มีคานอยกกวา y เทากับขอใดตอไปนี้ เมื่อกําหนดตารางแสดงพื้นที่
ใตเสนโคงปกติมาตรฐานระหวาง 0 ถึง z เปนดังนี้

Z 1.00 1.10 1.12 1.14 1.16


พื้นที่ใตเสนโคง 0.3413 0.3643 0.3686 0.3729 0.3770

[PAT1 ก.ค. 2552 : 3 ]


1. 36.43%
2. 37.29%
3. 86.43%
4. 87.29%

16. คะแนนสอบวิชาความถนัดของนักเรียนกลุมหนึ่งมีการแจกแจงปกติ ถาผลรวมของคามาตรฐานของคะแนน


ของนายแดงและนายดําเทากับ 0 และผลรวมของคะแนนนายแดงและนายดําเปน 4 เทาของสวนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน แลวสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของคะแนนสอบของนักเรียนกลุมนี้เทากับขอใดตอไปนี้
[PAT1 ก.ค. 2552 : 1 ]
1. 0.5
2. 1
3. 1.5
4. 2

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 9
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
17. ในการหาความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางปริมาณสารปนเปอนชนิดที่ 1(x) และปริมาณสารปนเปอน
ชนิดที่ 2(y) จากตัวอยางอาหารจํานวน 100 ตัวอยาง พบวา ความแปรปรวนของปริมาณสารชนิดที่ 1 มี
100
คาเทากับ 1.75 คาเฉลี่ยเลขคณิตของปริมาณสารชนิดที่ 2 เทากับ 0.5,  x i yi  100 และ
i 1
100
2
 xi  200 ถาสมการปกติของความสัมพันธเชิงฟงกชันดังกลาวอยูในรูป y = a + bx
i 1
แลวเมื่อพบสารปนเปอนชนิดที่ 1 อยู 4 หนวย จะพบสารปนเปอนชนิดที่ 2 (โดยประมาณ)
เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1
PAT1 ก.ค. 2552 : 4 ]
1. 0.5 หนวย
2. 1 หนวย
3. 1.5 หนวย
4. 2 หนวย

PAT 1 : ตุลาคม 2552


18. กําหนดใหความสูงของคนกลุมหนึ่งมีการแจกแจงแบบปกติ
ถามีคนสูงกวา 145 เซนติเมตรและ 165 เซนติเมตร อยู 84.13% และ 18.57% ตามลําดับ
แลวสัมประสิทธิ์ของความแปรผันของความสูงของคนกลุมนี้เทากับขอใดตอไปนี้

z 1.00 1.12 1.14 1.16


พื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐานจาก 0 ถึง z 0.3413 0.3686 0.3729 0.3770

[PAT1 ต.ค. 2552 : 2 ]


1
1.
31
2
2.
31
3
3.
31
4
4.
31

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 10
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
19. กําหนดใหขอมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ
หยิบขอมูล x1, x2, x 3 มาคํานวณคามาตรฐานปรากฏวาไดคาเปน z1, z2, z3 ตามลําดับ
ถา z1  z2  z3 แลวคาเฉลี่ยเลขคณิตของข
ของ อมูลชุดนี้เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1
PAT1 ต.ค. 2552 : 1 ]
1. x1  x2  x3
2. x1  x2  x 3
3. x 3  x2  x1
4. x1  x2  x 3

20. ขอมูลชุดหนึ่งเรียงจากนอยไปมากเปนดังนี้ 1, 4, x, y, 9, 10 ถามัธยฐานของขอมูลชุดนี้เทากับคาเฉลี่ย


8
เลขคณิต และสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของขอมูลชุดนี้เทากับ แลว y–x มีคาเทาใด
3
[PAT1 ต.ค. 2552 : 2 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 11
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
21. ขอมูลชุดหนึ่งมี 5 จํานวนและมีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 12 ถาควอไทลที่ 1 และ 3 ของขอมูลชุดนี้
เทากับมีคาเทากับ 5 และ 20 ตามลําดับ แลวเดไซลที่ 5 ของขอมูลชุดนี้มีคาเทาใด
[PAT1 ต.ค. 2552 : 10 ]

22. กําหนดตารางแจกแจงความถี่แสดงอายุของคนในหมูบานแหงหนึ่งเปนดังนี้

อายุ(ป) 0–9 10 – 19 20 – 29 30 – 39 40 – 49 50 – 59
จํานวน(คน) 5 10 A 20 10 10

ถาอายุเฉลี่ยของคนในหมูบานนี้เทากับ 33.33 ป แลว จํานวนคนในหมูบานนี้เทากับเทาใด


[PAT1 ต.ค. 2552 : โจทยขัดแยง ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 12
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
23. กําหนดใหขอมูล x และ y มีความสัมพันธกันดังตารางตอไปนี้

x 1 2 3 3
y 1 3 4 6

ถาสมการปกติของความสัมพันธเชิงฟงกชันดังกลาวอยูในรูป y = a + bx
แลวเมื่อ X = 10 คาของ Y เทากับเทาใด [PAT1 ต.ค. 2552 : 19 ]

PAT 1 : มีนาคม 2553


24. นักเรียนหองหนึ่งสอบวิชาคณิตศาสตรไดคะแนนเฉลี่ยเลขคณิต เทากับ 40 คะแนน ถานักเรียนชายสอบได
คะแนนเฉลี่ยเลขคณิต 35 คะแนนและนักเรียนหญิงสอบไดคะแนนเฉลี่ยเลขคณิต 50 คะแนน อัตราสวน
ของนักเรียนชายตอนักเรียนหญิงตรงกับขอใดตอไปนี้ [PAT1 มี.ค. 2553 : 3 ]
1. 3 : 2
2. 2 : 3
3. 2 : 1
4. 1 : 2

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 13
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
25. คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนกลุมหนึ่งเทากับ 72 คะแนน
ความแปรปรวน(ประชากร) เทากับ 600 ถามีนักเรียนมาเพิ่มอีก 1 คน ซึ่งสอบได 60 คะแนน
ทําใหคาเฉลี่ยเปลี่ยนไปเปน 70 คะแนน ความแปรปรวนของขอมูลชุดใหมเทากับเทาใด
[PAT1 มี.ค. 2553 : 520 ]

26. จากการสํารวจน้ําหนักของนักเรียนกลุมหนึ่งจํานวน 4 คน มี 2 คน น้ําหนักเทากันและหนักนอยกวาอีก 2


คนที่เหลือ ถาฐานนิยม มัธยฐานและพิสัยของน้ําหนักของ นักเรียน 4 คนนี้คือ 45, 46 และ 6
กิโลกรัม ตามลําดับ แลวความแปรปรวนของน้ําหนักของนักเรียน 4 คนนี้เทากับเทาใด
[PAT1 มี.ค. 2553 : 6 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 14
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
27. ในการสอบคัดเลือกเขาศึกษาตอของโรงเรียนแหงหนึ่ง ถาสอบไดคะแนน 700 คะแนน แปลงคะแนนเปน
คามาตรฐานได 4 แตถาสอบได 400 คะแนน แปลงเปนคามาตรฐานได 2 แลวสัมประสิทธิ์การแปรผัน
เทากับรอยละเทาใด [PAT1
PAT1 มี.ค. 2553 : 10 ]

PAT 1 : กรกฎาคม 2553


28. ถาคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน 30 คน มีคะแนนเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 60 คะแนน
และมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 10 ถาผลรวมของคามาตรฐานของคะแนนของนักเรียนกลุมนี้เพียง
29 คน เทากับ 2.5 แลวนักเรียนอีก 1 คน ที่เหลือสอบไดคะแนนเทากับขอ
อใดต
ใดตอไปนี้
[PAT1 ก.ค. 2553 : 1 ]
1. 35
2. 58
3. 60
4. 85

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 15
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
29. มีนักเรียน 5 คน รวมกันบริจาคเงิน ไดเงินรวม 360 บาท ความแปรปรวน(ประชากร)เทากับ 660
ถามีนักเรียนเพิ่มมาอีก 1 คน มารวมบริจาคเปนเงิน 60 บาท ความแปรปรวน จะเพิ่มขึ้นหรือลดลง
ตรงกับขอใดตอไปนี้ [PAT1
PAT1 ก.ค. 2553 : 4 ]
1. เพิ่มขึ้น 80
2. เพิ่มขึ้น 90
3. ลดลง 80
4. ลดลง 90

30. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึ่ง ถานักเรียนคนหนึ่งในหองนี้สอบได 55 คะแนน


คิดเปนคะแนนมาตรฐาน ไดเทากับ 0.5 และสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน(coefficient of variation)
ของคะแนนนักเรียนหองนี้เทากับ 20% คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนหองนี้เทากับเทาใด
[PAT1 ก.ค. 2553 : 50 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 16
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
31. สรางตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนการสอบของนั
องคะ กเรียนกลุมหนึ่ง โดยใหความกวางของแตละ
อันตรภาคชั้นเปน 10 แลวปรากฏวามัธยฐานของคะแนนการสอบเทากับ 57 คะแนนซึ่งอยูในชวง
50  59 ถามีนักเรียนที่สอบไดคะแนนต่ํากวา 49.5 คะแนน อยูจํานวน 12 คน
และมีนักเรียนไดคะแนนตําวา 59.5 คะแนน อยูจํานวน 20 คน
จงหาวานักเรียนกลุมนี้มีทั้งหมดกี่คน [PAT1 ก.ค. 2553 : 36 ]

PAT 1 : ตุลาคม 2553


32. นักเรียนกลุมหนึ่ง จํานวน 50 คน มีสวนสูงแสดงตารางดังตอไปนี้

สวนสูง(เซนติเมตร) จํานวนนักเรียน(คน)
156  160 6
161  165 15
166  170 21
171  175 8

ให a เปนคาเฉลี่ยเลขคณิตของสวนสูง และ b เปนสวนสูง


โดยที่มีจํานวนนักเรียน 75% ของนักเรียนทั้งหมด ที่มีสวนสูงนอยกวา b
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 ต.ค. 2553 : 2 ]
1. a = 166.1 และ b = 168.73
2. a = 166.1 และ b = 169.43
3. a = 166.7 และ b = 168.73
4. a = 166.7 และ b = 169.43

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 17
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
33. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ในการสอบของนักเรียน 3 คน พบวาคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบเทากับ 80 คะแนน
คามัธยฐาน เทากับ 75 คะแนน และพิสัยเทากับ 25 คะแนน คะแนนสอบของนักเรียนที่ได
คะแนนต่ําสุดเทากับ 70 คะแนน
ข. ขอมูลชุดที่หนึ่งมี 5 จํานวน คือ x1, x2 , x 3, x 4 , x5 และ
ขอมูลชุดที่สองมี 4 จํานวนคือ x1, x2, x 3, x 4
โดยที่คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลทั้งสองชุดเทากัน
ถา a และ b เปนสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข
งเบนมาตรฐานของขอมูลชุดที่หนึ่งและขอมูลชุดที่สองตามลําดับ
แลว b 5
a 2
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 ต.ค. 2553 : 1 ]
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก แต ข. ผิด
3. ก. ผิด แต ข. ถูก
4. ก ผิด และ ข. ผิด

34. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน 2 หอง ซึ่งทําคะแนนเฉลี่ยได 60 คะแนน


โดยหองแรกมีนักเรียนจํานวน 40 คน และหองที่สองมีนักเรียนจํานวน 30 คน
ถาคะแนนสอบในหองแรก เปอรเซ็นไทลที่ 50 มีคา 64 คะแนน และฐานนิยมมีคาเทากับ 66 คะแนน
แลวคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนหองที่สองมีคาเทากับเทาใด [PAT1 ต.ค. 2553 : 56 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 18
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
35. ขอมูลชุดหนึ่งมี 6 จํานวน คือ 2, 3, 6, 11, a, b
ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้เทากับ 8 และคามัธยฐานเทากับ 7
แลว |a  b| เทากับเทาใด [PAT1 ต.ค. 2553 : 10 ]

PAT 1 : มีนาคม 2554


36. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรคะแนนเต็ม 60 คะแนน มีนักเรียนเขาสอบ 30 คน
นาย ก. เปนนักเรียนคนหนึ่งที่เขาสอบในครั้งนี้ นาย ก.
ก สอบได 53 คะแนน
และมีจํานวนนักเรียนที่มีคะแนนสอบนอยกวา 53 คะแนนอยู 27 คน
ถามีการจัดกลุมคะแนนสอบเปนชวงคะแนนโดยมีอัตรภาคชั้นกวางเทาๆกัน
คะแนนสอบของนาย ก. อยูในชวงคะแนน 51  60
จํานวนนักเรียนที่สอบไดคะแนนในชวงคะแนน 51  60 นี้มีทั้งหมดเทากับขอใดตอไปนี้
[PAT1 มี.ค. 2554 : 2 ]
1. 3
2. 4
3. 5
4. 9

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 19
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
37. กําหนดตารางแสดงพื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐาน ที่อยูระหวาง 0 ถึง z

z 1.14 1.24 1.34 1.44


พื้นที่ 0.373 0.392 0.410 0.425

ความสูงของนักเรียน 2 กลุม มีการแจกแจงปกติ ดังนี้

กลุม คาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


นักเรียนหญิง 158 เซนติเมตร 4 เซนติเมตร
นักเรียนชาย 169.06 เซนติเมตร 5 เซนติเมตร

ถานักเรียนหญิงคนหนึ่งมีความสูงตรงกับเปอรเซ็นตไทลที่ 91 ของกลุมนักเรียนหญิงนี้
แลวจํานวนนักเรียนชายที่มีความสูงนอยกวาความสูงของนักเรียนหญิงคนนี้ คิดเปนรอยละ
เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1
PAT1 มี.ค. 2554 : 1 ]
1. 12.7
2. 11.4
3. 10.7
4. 9.4

38. บริษัทผลิตหลอดไฟตองการรับประกันคุณภาพผลิตภัณฑของบริษัท
โดยจะเปลี่ยนเปนหลอดใหมถาหลอดเดิมชํารุด โดยบริษัทจะรับประกันไมเกิน 4.1% ของจํานวนที่ผลิต
หลอดไฟมีอายุใชงานเฉลี่ย 2500 ชั่วโมง มีสัมประสิทธิ์ของความแปรผันเทากับ 0.20
ถาคาดวาตามปกติคนจะใชหลอดไฟวันละ 5 ชั่วโมง บริษทั นี้ควรกําหนดเวลาประกันมากที่สุดกี่วัน
กําหนดตารางแสดงพื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐาน ที่อยูระหวาง 0 ถึง z

z 1.34 1.44
.44 1.54 1.74 1.84
พื้นที่ 0.410 0.425 0.438 0.459 0.467

[PAT1 มี.ค. 2554 : 4 ]


1. 362 วัน
2. 352 วัน
3. 346 วัน
4. 326 วัน

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 20
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
39. ขอมูลความสูง(เซนติเมตร) และน้ําหนัก(กิโลกรัม) ของนักเรียนหญิง 4 คน ดังนี้

นักเรียนหญิง คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4


ความสูง(เซนติเมตร) 150 152 154 156
น้ําหนัก(กิโลกรัม) 45 45 48 50

ถาสวนสูงและน้ําหนักของนักเรียนมีความสัมพันธเชิงฟงกชันเปนเสนตรง y = a + 0.9x
เมื่อ x เปนสวนสูง และ y เปนน้ําหนัก แลวนักเรียนที่มีสวนสูง 155 เซนติเมตร จะมีน้ําหนักกี่กิโลกรัม
[PAT1 มี.ค. 2554 : 48.8 ]

PAT 1 : ธันวาคม 2554


40. จากตารางแจกแจงความถี่ตอไปนี้

คะแนน ความถี่
10 – 14 2
15  19 5
20  24 8
25  29 6
30  34 4

ถา a เปนคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบ และ b เปน P88


แลวคาของ |a  b| เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1 ธ.ค. 2554 : 2 ]
1. 8.50
2. 7.75
3. 6.50
4. 5.25

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 21
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
41. กําหนดให x1, x 2 , x 3 , ..., x 45 เปนคะแนนสอบของนักเรียนหองหนึ่งที่มี 25 คน
45
โดยที่  xi  1125 และมีความแปรปรวนเทากับ 6.25
i 1
ถา A และ B เปนนักเรียนของหองนี้ โดย A สอบได 30 คะแนน
และ A มีคามาตรฐานของคะแนนมากกวาคามาตรฐานของคะแนนของ B อยู 0.8
แลว B สอบไดคะแนนเทาเทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1 ธ.ค. 2554 : 3 ]
1. 26
2. 27
3. 28
4. 30

42. กําหนดขอมูลชุดหนึ่งมี 5 จํานวน มีมัธยฐานเทากับฐานนิยมเทากับ 15 คาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 16


ควอไทลที่ 1 เทากับ 14 และ พิสัยเทากับ 7 แลวความแปรปรวนของขอมูลชุดนี้เทากับเทาใด
[PAT1 ธ.ค. 2554 : 5.6 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 22
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
43. คะแนนสอบของนักเรียน 500 คน กลุมหนึ่ง มีการแจกแจงปกติ
โดยมีคาเฉลี่ยเลขคณิต และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 60 และ 6 คะแนน ตามลําดับ
แลวจํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนมากกวา 51 คะแนน แตนอยกวา 66 คะแนน มีจํานวนเทากับเทาใด
กําหนดตารางแสดงพื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐาน

z 0.5 1.0 1.5 2.0


A 0.191 0.341 0.433 0.477

[PAT1 ธ.ค. 2554 : 387 ]

44. ถาขอมูลชุดหนึ่งมีการกระจายปกติ โดยมีมัธยฐานเทากับ 12 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 8


N
และ 2
 (x i  10) = 5440 เมื่อ xi เปนขอมูลตัวที่ i เมื่อ i =1, 2, 3, … , N
i 1
แลวคา N เทากับเทาใด PAT1
[PAT1 ธ.ค. 2554 : 80 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 23
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
PAT 1 : มีนาคม 2555
45. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร ของนักเรียนจํานวน 30 คน มีคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เทากับ 25 คะแนน และ 5 คะแนน ตามลําดับ ถานําคะแนนของนายสายชลและนางสาวฟาซึ่งสอบได 20
คะแนนและ 30 คะแนน ตามลําดับ มารวมดวยแลวสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจะเทากับ
ขอใดตอไปนี้ [PAT1 มี.ค.. 2555 : 2 ]
1. 4
2. 5
3. 6
4. 7

46. ตารางตอไปนี้เปนขอมูลเกี่ยวกับอายุของพนักงานจํานวน 50 คน
อายุไมเกิน(ป) จํานวน(คน)
25 9
30 17
35 24
40 37
45 43
50 50

ถาอายุต่ําสุดของพนักงาน คือ 21 ป
แลวคาเฉลี่ยของขอมูลชุดนี้เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1 มี.ค. 2555 : 1 ]
1. 35
2. 37.5
3. 41
4. 43

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 24
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
47. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 จํานวน 20 คน แบงเปน 2 กลุมๆละ 10 คน ทําแบบทดสอบวัดความถนัด
ฉบับหนึ่งมีคะแนนเต็ม 20 คะแนน ไดคะแนนของนักเรียนแตละคนดังนี้

กลุมที่ 1 7 6 5 8 3 6 9 7 6 10
กลุมที่ 2 6 9 15 12 1 8 7 7 5 6

พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ความสามารถของนักเรียนกลุมที่ 1 มีความแตกตางกันมากกวานักเรียนกลุมที่ 2
5 3
ข. สัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนควอไทลของกลุมที่ 1 และกลุมที่ 2 เทากับ และ
14 14
ตามลําดับ
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 มี.ค. 2555 : 4 ]
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

48. ขอมูลชุดหนึ่งประกอบดวยจํานวน 11, 3, 6, 3, 5, 3, x


ให S เปนเซตของ x ที่เปนไปไดทั้งหมด ซึ่งทําให คาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของขอมูลชุด
นี้ มีคาแตกตางกันทั้งหมด และในบรรดาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม เหลานี้นํามาจัดเรียงใหม
จากนอยไปหามากและเปนลําดับเลขคณิต จงหาผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต S
[PAT1 มี.ค. 2555 : 22 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 25
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
ขอมูลตอไปนี้ สําหรับตอบคําถามขอ 49 และ ขอ 50
ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึ่ง มีนักเรียน 30 คน ปรากฏวา
มีนักเรียน 17 คน สอบไดคะแนนในชวง 10  39 คะแนน
มีนักเรียน 10 คน สอบไดคะแนนในชวง 40  49 คะแนน
และ มีนักเรียน 3 คน สอบไดคะแนนในชวง 50  59 คะแนน

49. ถาแบงคะแนนเปนเกรด 3 ระดับ คือ เกรด A เกรด B และ เกรด C


โดยที่ 10% ของนักเรียนไดเกรด A และ 20% ของนักเรียนไดเกรด B
แลวคะแนนสูงสุดของเกรด C เทากับกี่คะแนน [PAT1 มี.ค. 2555 : 43.5 ]

1
50. จากขอมูลขางตน สมมติวาคะแนนมีการแจกแจงปกติ มีสัมประสิทธิ์การแปรผันเปน
3
ถาคะแนนสูงสุดของเกรด B มีคะแนนมาตรฐานเปน 1.5
แลวคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนหองนี้เทากับกี่คะแนน [PAT1 มี.ค. 2555 : 33 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 26
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
PAT 1 : ตุลาคม 2555
51. กําหนดใหความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูลที่กําหนดใหตอไปนี้เปนเสนตรง

x 1 2 3 4 5
y 3 4 6 7 10

พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถาสมการของความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล คือ y = mx + c
แลว m + c = 2.6
ข. ถา x = 15 แลว y = 26.4
ขอใดตอไปนี้สรุปไดถูกตอง [PAT1
[ ต.ค. 2555 : 1 ]
1. ขอ ก. ถูก และขอ ข. ถูก
2. ขอ ก. ถูก แตขอ ข. ผิด
3. ขอ ก. ผิด แตขอ ข. ถูก
4. ขอ ก. ผิด และขอ ข. ผิด

52. จากการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึ่ง ปรากฏวาคะแนนสอบของนักเรียนมรการแจกแจงปกติ


และกําหนดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง 0 ถึง z ดังตารางตอไปนี้
z 0.5 1.0 1.5 2.0
พื้นที่ 0.192 0.341 0.433 0.477

พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถานักเรียนคนหนึ่งในหองนี้สอบไดคะแนนนอยกวาคาฐานนิยมอยูสองเทาของสวนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน แลวคามาตรฐานของคะแนนสอบของนักเรียนคนนี้เทากับ 2
ข. ถาคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองนี้มีคามัธยฐานเทากับ 60 คะแนน
และมีนักเรียนในห
ในหองนี้สอบไดคะแนนนอยกวา 54 คะแนน คิดเปนรอยละ 15.9 ของนักเรียน
หองนี้ แลวสัมประสิทธิข์ องการแปรผันของคะแนนสอบนี้เทากับ 0.1
ขอใดตอไปนี้สรุปไดถูกตอง [PAT1 ต.ค. 2555 : 1 ]
1. ขอ ก. ถูก และขอ ข. ถูก
2. ขอ ก. ถูก แตขอ ข. ผิด
3. ขอ ก. ผิด แตขอ ข. ถูก
4. ขอ ก. ผิด และขอ ข. ผิด

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 27
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
53. นําขอมูล 3 จํานวนที่แตกตางกันมารวมกัน มีผลรวมเทากับ 195 ถาขอมูลชุดนี้มีคามัธยฐาน และ
สัมประสิทธิ์ของพิสัยเทากับ 60 และ 0.2 ตามลําดับ แลวความแปรปรวนของขอมูลชุดนี้มีคาเทากับ
เทาใด [PAT1 ต.ค. 2555 : 134 ]

54. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนสองหอง ปรากฏวา


คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบเทากับ 65 คะแนน นักเรียนหองแรกมี 40 คน หองที่สองมี 30 คน
ถาคะแนนสอบของนักเรียนหองแรกมีสัมประสิทธิ์การแปรผันเทากับ 0.2
นาย ก.เปเปนนักเรียนในหองแรกสอบได 65 คะแนนคิดเปนคามาตรฐานเทากับ 1.5
คะแนนสอบของนักเรียนหองที่สองมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 12 คะแนน
และนาย ข. เปนนักเรียนหองที่สองสอบไดคะแนนคิดเปนคามาตรฐานเทากับ 22
แลวนาย ข. สอบไดกี่คะแนน [PAT1 ต.ค. 2555 : 61 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 28
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
55. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 6 มีการแจกแจง ดังนี้
คะแนนสอบ จํานวน(คน)
59 40
10  14 50
15  19 30
20  24 20
ถาคะแนนเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบนี้เขียนอยูในรูปของ ka เมื่อ k, a, b เปนจํานวนเต็มบวก
b
โดยที่ a<b และ ห.ร.ม.. ของ a และ b เทากับ 1 แลวคาของ k + a + b เทากับเทาใด
[PAT1 ต.ค. 2555 : 28 ]

PAT 1 : มีนาคม 2556


56. ครอบครัวหนึ่งมีสมาชิก 6 คน มีอายุเฉลี่ย 34 ป สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุเทากับ 8 ป
อีก 6 ปตอมาญาติสองคนมาขออยูดวย โดยที่ญาติทั้งสองคนนี้มีอายุเทากัน เทากับอายุเฉลี่ยของคน
ทั้ง 6 คน ในครอบครัวนี้พอดี สัมประสิทธิ์การแปรผันของอายุของคนทั้ง 8 คนนี้
เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1
PAT1 มี.ค. 2556 : 1 ]

1. 3
10
10
2.
3
3. 3
20
20
4.
3

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 29
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
57. กําหนดใหขอมูลชุดหนึ่งมีดังนี้ 2 , 4 , 3 , 5 , 12 , 5 , 18 , 6 , 4 , 2 , 9 , 4
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 มี.ค. 2556 : 2 ]
1. มัธยฐานนอยกวาฐานนิยม
2. คาเฉลี่ยเลขคณิตมากกวามัธยฐาน
3. คาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับมัธยฐาน
4. ฐานนิยมมากกวาคาเฉลี่ยเลขคณิต

58. ถาคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึ่งมีการแจกแจงปกติ นาย ก. ก และ นาย ขข. เปนนักเรียน


ในหองนี้ ถามีนักเรียนในหองนี้รอยละ 9.48 สอบไดคะแนนมากกวาคะแนนสอบของนาย กก.
มีนักเรียนรอยละ 10.64 สอบไดคะแนนนอยกวาคะแนนสอบของ นาย ข. ข และ นาย ขข. สอบไดคะแนนนอย
กวาคะแนนสอบของ นาย ก.. อยู 51 คะแนน แลวสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบครั้งนี้เทากับ
เทาใด เมื่อกําหนดพื้นที่ใตเสนโคงปกติ ระหวาง 0 ถึง z ดังตารางตอไปนี้

z 0.24 0.27 1.24 1.31


พื้นที่ 0.0948 0.1064 0.3936 0.4052

[PAT1 มี.ค. 2556 : 20 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 30
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
59. จากการสํารวจคะแนนสอบของนักเรียน 6 คน
ที่มีคะแนนสอบวิชาฟสิกส ((xx i ) และคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร (y i ) ปรากฏวา
คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาฟสิกสเทากับ 9 คะแนน
คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรเทากับ 6 คะแนน
6 6 6
และ  xiyi  428 ,  x2i  694 และ  y2i  268
i 1 i 1 i 1
ถาคะแนนสอบวิชาทั้งสองมีความสัมพันธเชิงฟงกชันแบบเสนตรง และนักเรียนคนหนึ่งที่มีคะแนนวิชา
คณิตศาสตรเทากับ 7.5 คะแนนแลวคะแนนสอบวิชชาฟ าฟสิกสโดยประมาณควรจะมีคาเทากับเทาใด
[PAT1 มี.ค. 2556 : 12 ]

PAT 1 : ธันวาคม 2556


60. จํานวนประชากรในจังหวัดหนึ่ง ตั้งแต พ.ศ.
พ 2550 ถึง พ.ศ. 2554 มีดังนี้

พ.ศ. 2550 2551 2552 2553 2554


จํานวนประชากร(แสนคน) 1.2 2.6 a 5.4 6.3

ถาจํานวนประชากรสัมพันธเชิงฟงกชันกับเวลา(พ.ศ.) เปนเสนตรง และทํานายวาในป พพ.ศ. 2557


จะมีประชากร 1,028,000 คน แลวใน พ.ศ. 2552 จะมีประชากรกี่คน [PAT1 PAT1 ธ.ค. 2556 : 3 ]
1. 204,000 คน
2. 272,000 คน
3. 340,000 คน
4. 408,000 คน

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 31
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
61. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถาขอมูลชุดหนึ่งมี
งมีสวนเบี่ยงเบนควอไทลเทากับ 20 และสัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนควอไทล
2
เทากับ แลวสรุปไดวารอยละ 50 ของขอมูลชุดนี้มีคาระหวาง 10 กับ 50
3
ข. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึ่ง มีนักเรียนชาย 20 คน และนักเรียนหญิง
40 คน นักเรียนชายไดคะแนนสอบคนละ 32 คะแนน สวนคะแนนสอบของนักเรียนหญิง
มีคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบเทากับ 20 คะแนน และความแปรปรวนของคะแนนสอบ
เทากับ 90 สรุปวาความแปรปรวนของคะแนนสอบของนักเรียนหองนี้เทากับ 36 คะแนน
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 ธ.ค. 2556 : 2 ]
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

62. เงินเดือนของพนักงานจํานวน 50 คนของบริษัทแหงหนึ่งมรการแจกแจงความถี่ ดังนี้

เงินเดือน(บาท) จํานวนพนักงาน(คน)
10,000 – 19,999 5
20,000 – 29,999 10
30,000 – 49,999 25
50,000 – 59,999 10

พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ฐานนิยมของเงินเดือนเทากับ 39,999.50 บาท
ข. มัธยฐานของเงินเดือนเทากับ 37,999.50 บาท
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 ธ.ค. 2556 : 1 ]
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 32
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
63. ขอมูลชุดหนึ่งเรียงจากนอยไปหามาก ดังนี้ a, 3, 5, 7, b
ถาขอมูลชุดนี้มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 7 และ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 2 10
แลวคาของ 2a + b เทากับเทาใด [PAT1 ธ.ค. 2556 : 21 ]

64. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรและวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนกลุมหนึ่งมีการแจกแจงปกติ
คาเฉลี่ยเลขคณิตและความแปรปรวนของคะแนนแตละวิชามีดังนี้

วิชา คาเฉลี่ยเลขคณิต(คะแนน) ความแปรปรวน(คะแนน)


วิชาคณิตศาสตร 63 25
วิชาภาษาอังกฤษ 72 9

ถานักเรียนคนหนึ่งในกลุมนี้สอบทั้งสองวิชาไดคะแนนเทากัน พบวาคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของเขา
เปนตําแหนงเปอรเซ็นไทลที่ 88.49 คะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษเปนตําแหนงเปอรเซ็นไทลเทากับเทาใด
เมื่อกําหนดพื้นที่ใตเสนโคงปกติ ระหวาง 0 ถึง z ดังตารางตอไปนี้

Z 0.9 1.0 1.1 1.2 1.3


พื้นที่ 0.3159 0.3413 0.3643 0.3849 0.4032

[PAT1 ธ.ค. 2556 : 15.87 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 33
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
PAT 1 : เมษายน 2557
65. ตารางตอไปนี้ เปนความสัมพันธระหวาง x กับ y

x 0 1 2 3
y 1 0.8 0.8 0.6

ให y  ax  b เปนสมการที่แสดงความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวาง x กับ y โดย x เปนตัวแปรอิสระ


พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. b = a + 1.1
ข. ถา x = 8 แลว y = 0.02
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 เม.ย. 2557 : 1 ]
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

66. คะแนนสอบของนักเรียนหองหนึ่งมีการแจกแจงปกติ คะแนนเต็ม 100 คะแนน


มัธยฐานเทากับ 45 คะแนน และมีนักเรียนรอยละ 34.13 ที่สอบไดคะแนนระหวางมัธยฐานเทากับ
5
54 คะแนน ถานักเรียนคนหนึ่งมีคะแนนสอบเปน เทาของคะแนนเปอรเซ็นไทลที่ 33
3
แลวนักเรียนคนนี้สอบไดคะแนนเทากับขอใดตอไปนี้
เมื่อกําหนดพื้นที่ใตเสนโคงปกติ ระหวาง 0 ถึง z ดังตารางตอไปนี้

Z 0.33 0.36 0.41 0.44 0.50 1.0


พื้นที่ 0.1293 0.1406 0.1591 0.1700 0.1915 0.3413

[PAT1 เม.ย. 2557 : 3 ]


1. 41.04%
2. 48.96%
3. 68.40%
4. 81.60%

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 34
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
67. กําหนดขอมูล 10 จํานวน ดังนี้
30 32 28 35 42 45 40 48 50 65

พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถา D7 แทนขอมูลที่เปนเดไซลที่ 7 และ M แทนคามัธยฐานของขอมูล
แลว D7  M เทากับ 6.5
ข. สวนเบี่ยงเบนควอไทล เทากับ 8.6
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 เม.ย. 2557 : 4 ]
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

68. กําหนดให x1, x2, x3,..., xn เปนขอมูลชุดที่ 1


ซึ่งมีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 6 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 2
ให y1, y2, y3,..., yn เปนขอมูลชุดที่ 2
โดยที่ yi  axi  b เมื่อ i = 1, 2, 3, ..., n และ a, b เปนจํานวนจริง และ a>0
ถานําขอมูลทั้งสองชุดมารวมกัน x1, x2,..., xn, y1, y2,..., yn
พบวาคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 7 และความแปรปรวนเทากับ 21
แลวคาของ a2  b2 เทากับเทาใด [PAT1 เม.ย. 2557 : 109 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 35
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
69. ขอมูลชุดหนึ่งมีคาสังเกต (x) และรอยละของความถี่สะสมสัมพัทธ แสดงดังตารางตอไปนี้

คาสังเกต (x) รอยละของความถี่สะสมสัมพัทธ


1 20
2 40
a 70
6 90
10 100

เมื่อ a เปนจํานวนจริง ถาขอมูลชุดนี้มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 4


แลวความแปรปรวนของขอมูลชุดนี้เทากับเทาใด [PAT1 เม.ย. 2557 : 7 ]

PAT 1 : พฤศจิกายน 2557


70. ให S เปนเซตของขอมูลชุดหนึ่งประกอบดวยจํานวนเต็ม n จํานวนที่แตกตางกัน
คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลใน S เทากับ 22
ถานําคาต่ําสุดของขอมูลออกจาก S จะไดคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 24
ถานําคาสูงสุดของขอมูลออกจาก S จะไดคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 15
แตถานําทั้งคาต่ําสุดและคาสูงสุดออกจาก S จะไดคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 16
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. พิสัยของขอมูลเทากับ 96
ข. n = 9
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 พ.ย. 2557 : 4 ]
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 36
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
71. กําหนดใหเสนตรง L เปนความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวาง x และ y ที่กําหนด ในตารางตอไปนี้
โดยที่ x เปนตัวแปรอิสระ

x 1 2 3 4 5
y 9 11 b 17 19

และให (3, b) เปนจุดบนเสนตรง L เมื่อ b เปนจํานวนจริง


พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. b = 13
ข. ถาคาของ x เพิ่มขึ้น 0.5 แลวคาของ y จะเพิ่มขึ้น 1.3
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 พ.ย. 2557 : 3 ]
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

72. กําหนดให x1, x2,..., xn เปนจํานวนจริงบวก


ขอมูลชุดที่ 1 คือ x1 , x2 , ..., x n และ
ขอมูลชุดที่ 2 คือ 2x1  1 , 2x2  1 ,,...,
..., 2x n  1

พิจารณาขอความตอไปนี้
(ก) สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของขอมูลชุดที่ 1 มากกวา
สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของขอมูลชุดที่ 2
(ข) สัมประสิทธิ์พิสัยของขอมูลชุดที่ 1 นอยกวา สัมประสิทธิ์พิสัยของขอมูลชุดที่ 2
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 พ.ย. 2557 : 4 ]
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 37
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
73. คะแนนสอบของนักเรียน 160 คน มีการแจกแจงปกติ โดยมีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 60 คะแนน
มีนักเรียนเพียง 4 คนที่สอบไดคะแนนมากกวา 84.5 คะแนน นักเรียนที่สอบได 55 คะแนนจะอยู
ตําแหนงเปอรเซนไทลเท
เทากับขอใดตอไปนี้ เมื่อกําหนดพื้นที่ใตเสนโคงปกติ ระหวาง 0 ถึง z
ดังตารางตอไปนี้

Z 0.3 0.4 0.5 1.0 1.1 1.96 2.0


พื้นที่ 0.1179 0.1554 0.1915 0.3413 0.3643 0.4750 0.4773

[PAT1 พ.ย. 2557 : 3 ]


1. 19.15
2. 15.54
3. 34.46
4. 30.85

74. ขอมูลชุดหนึ่งมี 5 จํานวนที่แตกตางกัน โดยที่คาเฉลี่ยของควอรไทลที่หนึ่ง และควอรไทลที่สาม


เทากับมัธยฐาน ถาสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเทากับ 2.8 และมัธยฐานเทากับ 15 แลวสวนเบี่ยงเบนควอไทล
เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1
PAT1 พ.ย. 2557 : 1 ]
1. 3.5
2. 5.25
3. 7.5
4. 11.25

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 38
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
PAT 1 : มีนาคม 2558
75. กําหนดให (x1, y1),(x2, y2 ),....,(x5, y5 ) เปนจุด 5 จุดบนระนาบ โดยที่
5 5 5 5 5
 x i  20 ,  y i  45 ,  x2i  100 ,  y2i  485 ,  x i y i  220
i 1 i 1 i 1 i 1 i 1

และความสัมพันธระหวาง x i กับ yi เปนความสัมพันธเชิงฟงกชันแบบเสนตรงคือ y = ax + b


เมื่อ x เปนตัวแปรอิสระ และ a, b เปนจํานวนจริง พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. a2  b2  5
ข. ถา x เปนจํานวนเต็ม แลว y เปนจํานวนคี่
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 มี.ค. 2558 : 1 ]
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4 ก. ผิด และ ข. ผิด

76. ขอมูลชุดหนึ่งมี 60 จํานวน มีคาเฉลี่ยเลขคณิตและสัมประสิทธิ์ของการแปรผันเทากับ 40 และ


0.125 ตามลําดับ ถา นาย ก. คํานวณคาเฉลี่ยเลขคณิตไดนอยกวา 40 และคํานวณความแปรปรวน
เทากับ 34 แลวคาเฉลี่ยเลขคณิตที่นาย ก.ก คํานวณไดเทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1
PAT1 มี.ค. 2558 : 3 ]
1. 30
2. 33
3. 37
4. 39

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 39
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
77. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึ่ง มีการแจกแจงปกติ โดยมีคามัธยฐานเทากับ 60 คะแนน
ถานักเรียนที่สอบไดคะแนนนอยกวา 55.5 คะแนน มีอยูรอยละ 18.41
แลว นักเรียนที่สอบไดคะแนนสูง กวา 64 คะแนน มีจํานวนคิดเปนรอยละเทากับขอใดตอไปนี้
เมื่อกําหนดพื้นที่ใตเสนโคงปกติ ระหวาง 0 ถึง z ดังนี้

z 0.7 0.8 0.9 1.0


พื้นที่ 0.2580 0.2881 0.3159 0.3413

[PAT1 มี.ค. 2558 : 1 ]


1. 21.19
2. 24.20
3. 25.80
4. 28.81

78. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน 3 คน มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 45 คะแนน


และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคาเทากับศูนย มีนักเรียนอีก 2 คน ไดคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรนี้
เทากับ a และ b คะแนน
ะแนน โดยอัตราสวนของ a ตอ b เทากับ 2 : 3
ถานําคะแนนของนักเรียนทั้งสองคนนี้มารวมกับคะแนนสอบของนักเรียน 3 คน ไดคาเฉลี่ยเลขคณิต
เทากับ 50 คะแนน แลวความแปรปรวนของนักเรียนทั้ง 5 คนนี้ เทากับขอใดตอไปนี้
[PAT1 มี.ค. 2558 : 2 ]
1. 90
2. 90.4
3. 90.6
4. 92

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 40
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
79. ขอมูลชุดที่ 1 มี 4 จํานวน คือ x1, x2, x 3, x 4
มีคาเฉลี่ยเลขคณิตของควอไทลที่ 1 และควอไทลที่ 3 เทากับ 18 และมัธยฐานเทากับ 15
ขอมูลชุดที่ 2 มี 5 จํานวน คือ y1, y2, y3, y4 , y5
มีควอไทลที่ 3 มัธยฐาน ฐานนิยม และพิสัย เทากับ 18.5 , 15 , 12 และ 8 ตามลําดับ
คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูล 9 จํานวน คือ x1, x2, x 3, x 4 , y1, y2, y3, y4 , y5 เทากับเทาใด
[PAT1 มี.ค. 2558 : 16 ]

PAT 1 : ตุลาคม 2558


80. กําหนดใหขอมูลชุดที่ 1 คือ x1  4, x2  4,..., x20  4
และขอมูลชุดที่ 2 คือ 2x1  4, 2x2  4,..., 2x20  4
เมื่อ x1, x2,..., x20 เปนจํานวนจริง
ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดที่ 1 เทากับ 50
และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดที่ 1 เทากับ 10
แลวขอมูลชุดที่ 2 มีคาเฉลี่ยเลขคณิต และ ความแปรปรวนเทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1
PAT1 ต.ค. 2558 : 1 ]
1. คาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 96 และ ความแปรปรวนเทากับ 400
2. คาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 96 และ ความแปรปรวนเทากับ 576
3. คาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 100 และ ความแปรปรวนเทากับ 400
4. คาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 104 และ ความแปรปรวนเทากับ 400
5 คาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 104 และ ความแปรปรวนเทากับ 576

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 41
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
81. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึ่งมีการแจกแจงปกติ
โดยมี
ดยมีสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของคะแนนสอบวิ
ของ ชานี้ เทากับ 25% และมีนักเรียนรอยละ 15.87
ที่สอบไดคะแนนมากกวา 85 คะแนน ถานาย ก เปนนักเรียนคนหนึ่งในหองนี้ สอบไดคะแนน 47.6
คะแนน จะอยูในตําแหนงเปอรเซ็นไทลตรงกับขอใดตอไปนี้
เมื่อกําหนดพื้นที่ใตเสนโคงปกติ ระหวาง 0 ถึง z ดังนี้

z 0.4 0.9 1.0 1.1 1.2 1.3


พื้นที่ 0.1554 0.3159 0.3413 0.3643 0.3849 0.4032

[PAT1 ต.ค. 2558 : 4 ]


1. 34.46
2. 18.41
3. 13.57
4. 11.51
5. 9.68

82. กําหนดขอมูลชุดหนึ่ง ดังตารางตอไปนี้

คะแนน จํานวน
0–2 3
3–5 5
6–8 a
9 – 11 3

เมื่อ a เปนจํานวนเต็มบวก
ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้เทากับ 5 แลวมัธยฐานของขอมูลชุดนี้ เทากับเทาใด
[PAT1 ต.ค. 2558 : 2 ]
1. 3.8
2. 4.3
3. 4.8
4. 4.9
5. ไมมีคําตอบ

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 42
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
83. จากการสํารวจปริมาณอาหารเสริมที่ใชเลี้ยงสัตวชนิดหนึ่ง จํานวน 8 ตัว ไดดขอมูลซึ่งแสดงความสัมพันธ
ระหวางอายุ(ป) ของสัตวชนิดนี้ และปริมาณอาหารเสริม(กิโลกรัม)ที่ใชเเลีลี้ยงสัตวดังกลาวตอสัปดาห
ปรากฏผลดังนี้

อายุ(ป) : x x1 x2 x3 x4 x5 x6 x7 x8

ปริมาณอาหารเสริมตอสัปดาห(กิโลกรัม) : y y1 y2 y3 y4 y5 y6 y7 y8

8 8 8 8 8
โดยที่  x i  40 ,  y i  48 ,  x2i  210 ,  y2i  380  x i yi  270
i 1 i 1 i 1 i 1 i 1
และ 3 = x1  x2  ...  x 8  10
สมมติวากราฟแผนภาพการกระจายที่แสดงความสัมพันธระหวางปริมาณอาหารเสริมที่ใชเลี้ยงสัตวตอ
สัปดาห และอายุของสัตวดังกลาว อยูในรูปแบบเสนตรง
ถาสัตวชนิดนี้มีอายุ 4 ป จะตองใชปริมาณอาหารเสริ
าณอาหารเสริมที่ใชเลี้ยงสัตวตอสัปดาหประมาณกี่กิโลกรัม
[PAT1 ต.ค. 2558 : 3 ]

84. กําหนดขอมูลกลุมตัวอยาง 5 จํานวนคือ x1, x 2 , x 3 , x 4 , x 5


5 5
โดยที่  x2i  214 และ  (x i  x)2  34
i 1 i 1
เมื่อ x คือคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลกลุมตัวอยางนี้ และ x  0
ถาขอมูลกลุมตัวอยางใหม 5 จํานวนคือ x1  2x2, x2  2x3, x3  2x4, x4  2x5, x5  2x1
มีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 16
แลว คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูล x1x2, x2x3, x3x4, x4x5, x5x1 เทากับเทาใด
[PAT1 ต.ค. 2558 : 78.7 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 43
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
PAT 1 : มีนาคม 2559
85. ถาขอมูล 10 จํานวน คือ x1, x2 ,..., x10 เมื่อ x1, x2 ,..., x10 เปนจํานวนจริง
10
โดยที่คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูล x12 , x22 , x23 , ... , x10
2
เทากับ 70 และ  (xi  3)2  310
i 1
แลวคาความแปรปรวนของขอมูล 3x1  1 , 3x2  1 , ... , 3x10  1 ตรงกับขอใดตอไปนี้
[PAT1 มี.ค. 2559 : 4 ]
1. 6
2. 18
3. 45
4. 54
5. 63

86. ให x1, x2,..., x20 เปนขอมูลที่เรียงคาจากนอยไปหามากและเปนลําดับเลขคณิตของจํานวนจริง


ถาควอรไทลที่ 1 และเดไซลที่ 6 ของขอมูลชุดนี้เทากับ 23.5 และ 38.2 ตามลําดับ
แลว สวนเบี่ยงเบนควอไทล เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1 มี.ค. 2559 : 3 ]
1. 9.75
2. 10.25
3. 10.50
4. 11.50
5. 11.75

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 44
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
87. กําหนดขอมูล x และ y มีความสัมพันธ ดังนี้

x 1 3 4 5 7
y 0 3 6 7 9

โดยที่ x และ y มีความสัมพันธเชิงฟงกชันแบบเสนตรง


ถา y = 8 แลวคาของ x เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1 มี.ค. 2559 : 2 ]
1. 5.94
2. 5.86
3. 7.1
4. 7.23
5. 8

88. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึ่ง จํานวน 30 คน มีการแจกแจงปกติ


และมีคาเฉลี่ยเลขคณิ
คณิตเทากับ 64 คะแนน นักเรียนชายหองนี้มี 18 คน คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของ
นักเรียนชายหองนี้ มีคาฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 64 คะแนน และความแปรปรวนเทากับ 10
สวนคะแนนสอบของนักเรียนหญิงมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 5 คะแนน
ถานางสาว ก. เปนนักเรียนคนหนึ่งในองนี้ สอบไดเปอรเซ็นไทลที่ 22.66 ของนักเรียนทั้งหอง
แลวคะแนนสอบของนางสาว ก. ก เทากับเทาใด เมื่อกําหนดพื้นที่ใตเสนโคงปกติ ระหวาง 0 ถึง z ดังนี้

z 0.5 0.6 0.75 1.0 1.25


พื้นที่ 0.1915 0.2257 0.2734 0.3413 0.3944

[PAT1 มี.ค. 2559 : 61 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 45
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
89. ให n เปนจํานวนเต็มบวก
ถา A เปนเซตของขอมูล 2n จํานวน คือ 1, 2, 3, ..., n, –1, –2, -3, ... , ––n
โดยที่คาความแปรปรวนของขอมูลในเซต A เทากับ 46
แลวคาเฉลี่ยเลขคณิตของ 13 , 23 , 33 , ... , n3 เทากับเทาใด [PAT1 มี.ค. 2559 : 396 ]

PAT 1 : ตุลาคม 2559


90. ถา x 1 , x 2 , x 3 , x 4 เปนขอมูลของจํานวนจริงที่เรียงลําดับจากนอยไปมาก
โดยมีมัธยฐานเทากับ 14 คาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 15 และพิสัยเทากับ 8
แลวสัมประสิทธิ์ของพิสัยของขอมูล 2x 1  4 , 2x 2  3 , 2x 3  2 , 2x 4  1
มีคาตรงกับขอใดตอไปนี้ [PAT1
PAT1 ต.ค. 2559 : 4 ]
1
1.
4
8
2.
27
8
3.
11
19
4.
59
19
5.
69

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 46
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
91. ขอมูลประชากรชุดหนึ่งประกอบดวย x 1 , x 2 , ... , x 10
โดยมีสัมประสิทธิ์ของการแปรผันเทากับ 62.5% และมีความแปรปรวนเทากับ 25
พิจารณาขอความตอไปนี้
(ก) คาเฉลี่ยเลขคณิตของ x 12 , x 22 , ... , x 10
2
เทากับ 89
(ข) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ x 1 , x 2 , ... ,  x 10 เทากับ 5
10
(ค)  (x i  5)2 มีคานอยที่สุด
i 1
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 ต.ค. 2559 : 1 ]
1. ขอ (ก) และ ขอ (ข) ถูก แต ขอ (ค) ผิด
2. ขอ (ก) และ ขอ (ค) ถูก แต ขอ (ข) ผิด
3. ขอ (ข) และ ขอ (ค) ถูก แต ขอ (ก) ผิด
4. ขอ (ก) ขอ (ข) และ ขอ (ค) ถูกทั้งสามขอ
5. ขอ (ก) ขอ (ข) และ ขอ (ค) ผิดทั้งสามขอ

92. จากการสํารวจคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร ( x i ) และคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ (y i ) ของ นักเรียน


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 จํานวน 8 คน พบวา มีความสัมพันธเปนสมการ
y i  10  2.5x i เมื่อ i = 1, 2, 3,..., 8
ถานักเรียนทั้ง 8 คนสอบวิชาคณิตศาสตรไดคะแนนเรียงลําดับจากนอยไปมากดังนี้
25 , 32 , 48 , 50 , a , a + 3 , a + 4 , a + 6 คะแนน ตามลําดับ
เมื่อ a เปนจํานวนเต็มบวกและมัธยฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรชุดนี้เทากับ 51 คะแนน แลว
ผลบวกของคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรและคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบ
วิชาภาษาอังกฤษ เทากับเทาใด [PAT1 ต.ค. 2559 : 174.5 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 47
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
93. กําหนดขอมูล 2 ชุด คือ ขอมูล (x) และ ขอมูล (y) ดังนี้

x x1 x2 x3 x4 x5
y y1 y2 y3 y4 y5

โดยที่ 1  x i  25 สําหรับ i = 1, 2, 3, 4, 5
5 5 5 5
 x2i  175 ,  x i yi  1575 ,  (x i  yi )  275 ,  (20xi  yi )  250
i 1 i 1 i 1 i 1
และ ขอมูลทั้งสองชุดมีความสัมพันธเชิงฟงกชันแบบเสนตรงคือ y = mx + c
เมื่อ m, c เปนจํานวนจริง
ถา x = 4 แลวคาประมาณของ y จะเทากับเทาใด [PAT1 ต.ค. 2559 : 43.5 ]

94. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึ่ง คะแนนสอบมีคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบน


มาตรฐานเทากับ a และ b คะแนน ตามลําดับ นาย ก. ก และนาย ข. เปนนักเรียนในหองนี้
นาย ก. สอบวิชาคณิตศาสตรครั้งนี้ไดคะแนน 68 คะแนน คิดเปนคามาตรฐานเทากับ 1.5
ถาครูผูสอนวิชานี้ ปรับคะแนนใหม โดยเพิ่มคะแนนของนั
คะแนนของนักเรียนทุกคนเปนสองเทาของคะแนนเดิม
คะแนนใหมของนาย ข. มากกวาคะแนนใหมของนาย ก. ก อยู 6 คะแนน และคะแนนใหมของนาย ขข.
คิดเปนคามาตรฐานเทากับ 1.9 แลวคาของ a + b เทากับเทาใด [PAT1 ต.คค. 2559 : 64.25 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 48
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
PAT 1 : มีนาคม 2560
95. ให x1 , x2 , x 3 , ... , x10 เปนขอมูลที่เรียงจากนอยไปหามาก โดยมีคากึ่งกลางพิสัยเทากับ 15
1
และให yi  (x  x i 1 ) สําหรับ i = 1, 2, ..., 9
2 i
55
ถา y1 , y2 , ... , y9 มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ
3
แลวคาเฉลี่ยเลขคณิตของ x1  1 , x2  2 , x3  3 , ... , x10  10 เทากับขอใดตอไปนี้
[PAT1 มี.ค. 2560 : 1 ]
1. 23.5
2. 28
3. 29
88
4.
3
100
5.
3

96. กําหนดใหขอมูลชุดที่ 1 คือ x1 , x2 , x3 , ... , x10 และ


ขอมูลชุดที่ 2 คือ y1 , y2 , y3 , ... , y10
โดยที่ x1 , x2 , x 3 , ... , x10 เปนจํานวนจริงบวก
และ y i  2x i  1 สําหรับ i = 1, 2, 3, ... , 10
พิจารณาขอความตอไปนี้
(ก) สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของขอมูลชุดที่ 2 มีคามากกวาสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของขอมูลชุดที่ 1
(ข) สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของขอมูลชุดที่ 2 มีคานอยกวาสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน
ของขอมูลชุดที่ 1
(ค) ถาแตละ x i มีคาเพิ่มขึ้น 1 หนวย แลวสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดที่ 2
มีคาเพิ่มขึ้น
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1
PAT1 มี.ค. 2560 : 5 ]
1. ขอ (ก) และ ขอ (ข) ถูก แต ขอ (ค) ผิด
2. ขอ (ก) และ ขอ (ค) ถูก แต ขอ (ข) ผิด
3. ขอ (ข) และ ขอ (ค) ถูก แต ขอ (ก) ผิด
4. ขอ (ก) ขอ (ข) และ ขอ (ค) ถูกทั้งสามขอ
5. ขอ (ก) ขอ (ข) และ ขอ (ค) ผิดทั้งสามขอ

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 49
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
97. ถาคะแนนสอบวิชาหนึ่งของนักเรียนจํานวน 80 คน มีการแจกแจงปกติ
1
และมีสัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนควอไทลเทากับ
3
มีนักเรียนคนหนึ่งในหองนี้สอบไดคะแนน 39 คะแนน คิดเปนคามาตรฐานเทากับ 1.5
และมีนักเรียนจํานวน 60 คน ที่มคี ะแนนสอบมากกวา 15 คะแนน
แลวสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบเทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1 มี.ค. 2560 : 4 ]
1. 9.5 คะแนน
2. 10 คะแนน
3. 10.5 คะแนน
4. 11 คะแนน
5. 11.5 คะแนน

98. ให R1 , R2 , R3 , R4 , R5 เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 5 รูป มีขอมูล ดังนี้

R1 R2 R3 R4 R5

ความกวาง(x) x1 x2 x3 x4 x5

ความยาว (y) y1 y2 y3 y4 y5

โดยที่ 0  xi  10 สําหรับ i = 1, 2, 3, 4, 5
คาเฉลี่ยเลขคณิตของความกวางของรูปสี่เหลี่ยม 5 รูป เทากับ 5 หนวย
คาเฉลี่ยเลขคณิตของความยาวของรูปสี่เหลี่ยม 5 รูป เทากับ 8 หนวย
คาเฉลี่ยเลขคณิตของพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม 5 รูป เทากับ 51.8 ตารางหนวย
และความแปรปรวนของความกวาง เทากับ 12
สมมติวากราฟแผนภาพการกระจายที่แสดงความสัมพันธความกวางและความยาว อยูในรูปแบบเสนตรง
ถาสรางรูปสี่เหลี่ยมมีความกวาง 2 หนวย แลวความยาว(โดยประมาณ) ของรูปสี่เหลี่ยมนี้
เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT1
PAT1 มี.ค. 2560 : 1 ]
1. 5.05 หนวย
2. 5.55 หนวย
3. 5.75 หนวย
4. 6.05 หนวย
5. 6.55 หนวย

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 50
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
99. คะแนนสอบของนักเรียนกลุมหนึ่งมีการแจกแจงความถี่ ดังนี้

ชวงคะแนน จํานวนนักเรียน
66 – 70 2
71 – 75 3
76 – 80 a
81 – 85 5
86 – 90 7
91 – 95 b
96 – 100 8

เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็มบวก


ถาเปอรเซ็นไทลที่ 25 ของคะแนนสอบนี้เทากับ 80.5 คะแนน และสวนเบี่ยงเบนควอไทลเทากับ 7.5
แลวจํานวนนักเรียนที่สอบไดคะแนนมากกวา 80 คะแนนเทากับเทาใด [PAT1 มี.ค. 2560 : 24 ]

100. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนกลุมหนึ่งมีการแจกแจงปกติ
ถานักเรียนที่สอบไดคะแนนนอยกวา 74 คะแนน มีจํานวนคิดเปนรอยละ 97.73
และนักเรียนที่สอบไดคะแนน 53 คะแนน จะตรงกับเปอรเซ็นไทลที่ 6.68
แลวคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนกลุมนี้เทากับเทาใด
กําหนดตารางแสดงพื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐานระหวาง 0 ถึง z ดังนี้

Z 0.5 1 1.5 2 2.5


A 0.1915 0.3413 0.4332 0.4773 0.4938

[PAT1 มี.ค. 2560 : 62 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 51
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
PAT 1 : กุมภาพันธ 2561
101. จากการสํารวจรายไดและรายจายของพนักงานบริษัทแหงหนึ่ง จํานวน 8 คน ดังนี้

พนักงานคนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8
รายได (x)
x1 x2 x3 x4 x5 x6 x7 x8
(หนวยหมื่นบาท)
รายจาย (y)
y1 y2 y3 y4 y5 y6 y7 y8
(หนวยหมื่นบาท)

ปรากฎวารายได(x) และ รายจาย(y) มีความสัมพันธเชิงฟงกชันแบบเสนตรงเปน y = 8x + 13.5


8 8
ถา  yi  492 และ  x i y i  3432
i 1 i 1
แลวความแปรปรวนของรายไดของพนักงาน 8 คนนี้ เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT 1 ก.พ. 2561 : 2 ]
1. 6.5
2. 7.5
3. 8.5
4. 9.5
5. 10.5

102. กําหนดตารางแสดงพื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐานระหวาง 0 ถึง z ดังนี้

z 0.35 0.5 0.85 1.00 1.20


พื้นที่ใตเสนโคง 0.1368 0.1915 0.3023 0.3413 0.3849

จากการสอบถามอายุของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนหนึ่ง
พบวาอายุของนักเรียนมีการแจกแจงปกติ มีนักเรียนรอยละ 30.85 ที่มีอายุมากกวา 17 ป
และมีนักเรียนรอยละ 53.28 ที่มีอายุตั้งแต 14 ป แตไมเกิน 17 ป
แลวสัมประสิทธิ์การแปรผันของอายุนักเรียนกลุมนี้เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT 1 ก.พ. 2561 : 1 ]
1. 0.125
2. 1.25
3. 4.0
4. 8.0
5. 12.5

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 52
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
103. กําหนดขอมูล x1 , x2 , x 3 , x 4 โดยที่ 0  x1  x2  x3  x4
ถาขอมูลชุดนี้มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 7 พิสัยเทากับ 9
และ มัธยฐานและฐานนิยมมีคาเทากัน และมีคาเทากับ 6
แลวสัมประสิทธิ์สวนเบี่ยงเบนควอไทลเของขอมูลชุดนี้ ทากับขอใดตอไปนี้ [PAT 1 ก.พ. 2561 : 5 ]

3
1.
19
5
2.
19
6
3.
19
7
4.
20
9
5.
20

104. ขอมูลประชากรชุดหนึ่งมี 10 จํานวน


ดังนี้ x1 , x2 , x 3 , ... , x10 โดยที่ xi  0 สําหรับ i = 1, 2, 3, ..., 10
10 10
ถา  (x i  4)  40 และ  (x i  4)2  170
i 1 i 1
แลว ความแปรปรวนของขอมูล 2(x1  3) , 2(x2  3) , 2(x 3  3) , ... , 2(x10  3) เทากับเทาใด
[PAT 1 ก.พ. 2561 : 4 ]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 53
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
105. กําหนดขอมูลชุดหนึ่ง ดังนี้

คะแนน ความถี่
0–4 4
5–9 3
10 – 14 5
15 – 19 a
20 – 24 b

เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็มบวก


ถาขอมูลชุดนี้ มีตําแหนงที่ของควอไทลที่ 3 (Q3 ) เทากับ 13.5
แลวมัธยฐานของขอมูลชุดนี้เทากับเทาใด [PAT 1 ก.พ. 2561 : 11.5 ]

PAT 1 : กุมภาพันธ 2562


106. ผลการสอบของนักเรียนหองหนึ่ง มีการแจกแจงความถี่ ดังนี้

คะแนน ความถี่
30 – 39 2
40 – 49 5
50 – 59 8
60 – 69 7
70 – 79 a
80 – 89 b
90 – 99 c

เมื่อ a , b และ c เปนจํานวนเต็มบวก


ถาควอรไทลที่ 1 ( Q1 ) ของขอมูลชุดนี้เทากับ 54.5 แลวนักเรียนทั้งหมดในหองนี้ มีจํานวนเทากับ
ขอใดตอไปนี้ [PAT 1 : ก.พพ. 2562 : 3]
1. 36 คน 2. 40 คน
3. 44 คน 4. 48 คน
5. 52 คน

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 54
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
107. กําหนดขขอมูลของประชากรชุดหนึ่ง ดังนี้
2 , 2 + d , 2 + 2d , 2 + 3d , ... , 2 + 30d
เมื่อ d เปนจํานวนจริงบวก
ถาความแปรปรวนของขอมูลชุดนี้ เทากับ 320 แลวคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้เทากับขอใดตอไปนี้
[PAT 1 : ก.พ. 2562 : 2]]
1. 24.5 2. 32
3. 39.5 4. 47
5. 54.5

108. กําหนดตารางแสดงพื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐานระหวาง 0 ถึง z ดังนี้

z 1.30 1.40 1.50 1.60 1.70


พื้นที่ใตเสนโคง 0.4032 0.4192 0.4332 0.4452 0.4545

ความสูงของนักเรียนกลุมหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 162 เซนติเมตร


ถานักเรียนที่มีความสูงนอยกวา 155 เซนติเมตรมีอยู 8.08% แลวนักเรียนที่มีความสูง
ในชวง 155 – 170 เซนติเมตร มีจํานวนคิดเปนรอยละเทากับขอใดตอไปนี้ [PAT 1 : ก.พ. 2562 : 4]
1. 82.24 2. 83.84
3. 85.24 4. 86.44
5. 87.46

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 55
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
109. จากการสอบถามพนักงานบริษัทแหงหนึ่งจํานวน n คน
ที่มีเงินเดือนตั้งแต 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท เกี่ยวกับเงินออมตอเดือน ดังนี้

พนักงาน เงินเดือน(หมื
น ่นบาท) เงินออม(พันบาท)
คนที่ (a) (b)
1 a1 b1
2 a2 b2
3 a3 b3

  
n an bn

โดยมีคาเฉลี่ยเลขคณิตของเงินเดือนเทากับ 64,000 บาท คาเฉลี่ยเลขคณิตของเงินออมเทากับ2,000 บาท


และความสัมพันธระหวางเงินเดือนและเงินออมเปนความสัมพันธเชิงฟงกชันแบบเสนตรง
ถาพนักงานมีเงินออม เดือนละ 1,000 บาท ประมาณไดวาพนักงานคนนี้มีเงินเดือน 26,000 บาท
แลวถาพนักงานมีเงินออม เดือนละ 1,500 บาท
จะประมาณไดวาเขามีเงินเดือนเท
อนเทากับขอใดตอไปนี้ [PAT 1 : ก.พ. 2562 : 2]
1. 39,000 บาท 2. 45,000 บาท
3. 52,000 บาท 4. 58,000 บาท
5. 65,000 บาท

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 56
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
110. กําหนดตารางแจกแจงความถี่แสดงผลทดสอบของนักเรียนหองหนึ่ง ดังนี้

คะแนน จํานวนนักเรียน(คน)
0 a–2
1 a
2 a2
3 (a  1)2
4 2a
5 a+1

เมื่อ a เปนจํานวนเต็มบวก
ถาคะแนนเฉลี่ยเลขคณิตของผลทดสอบเทากับ 2.8 แลวจํานวนนักเรียนหองนี้เทากับเทาใด
[PAT 1 : ก.พ. 2562 : 60

PAT 1 : กุมภาพันธ 2563


111. ขอมูลชุดหนึ่งมี 6 จํานวน จัดเรียงขอมูลจากนอยไปมาก ดังนี้
a , 5 , 7 , b , 11 , c เมื่อ a, b และ c เปนจํานวนจริงบวก
ขอมูลชุดนี้มีพิสัยเทากับคาเฉลี่ยเลขคณิต ซึ่งเทากับ 8 และเดไซลที่ 7 ของขอมูลเทากับ 10.8
คาของ a2  b2  c2 เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT 1 : ก.พ. 2563 : 3]
1. 234 2. 237
3. 241 4. 269
5. 283

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 57
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
112. จากการสํารวจจํานวนสมาชิกในครัวเรือนของ 30 ครัวเรือน มีตารางแสดงความถี่สะสมสัมพัทธ ดังนี้

จํานวนสมาชิกในครัวเรือน (คน) ความถี่สะสมสัมพัทธ


1 0.2
2 0.3
3 0.7
4 0.9
5 1.0

จากขอมูลขางตน ขอใดตอไปนี้ผิด [PAT 1 : ก.พ. 2563 : 3]


1. มัธยฐานของจํานวนสมาชิกในครัวเรือน เทากับ 3 คน
2. ฐานนิยมของจํานวนสมาชิในครัวเรือน เทากับ 3 คน
3. มี 24 ครัวเรือนที่มีจํานวนสมาชิกในครัวเรือน นอยกวา 4 คน
4. มี 9 ครัวเรือนที่มีจํานวนสมาชิกในครัวเรือน อยางนอย 4 คน
5. มี 9 ครัวเรือนที่มีจํานวนสมาชิกในครัวเรือน อยางมาก 2 คน

113. หองเรียนหองหนึ่งมีนักเรียน 40 คน ผลการสํารวจน้ําหนักของนักเรียนหองนี้ พบวา


คาเฉลี่ยเลขคณิตของน้ําหนักของนักเรียนหองนี้เทากับ 50 กิโลกรัม
และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5 กิโลกรัม ถาหองเรียนนี้ มีนักเรียนชาย 22 คน โดยที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต
และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของน้ําหนักของนักเรียนชายเทากับ 50 กิโลกรัม และ 4 กิโลกรัม ตามลําดับ
แลวน้ําหนักของนักเรียนหญิงมีสัมประสิทธิ์ของการแปรผันเทากับขอใดตอไปนี้
[PAT 1 : ก.พ. 2563 : 2]
1. 0.10 2. 0.12
3. 0.14 4. 0.15
5. 0.16

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 58
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
114. โรงงานผลิตสินคาแหงหนึ่งไดสํารวจยอดขายสินคาและจํานวนสินคาที่ผลิตในแตละเดือนของปหนึ่ง
มีขอมูล ดังนี้

เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. ... พ.ย. ธ.ค.


จํานวนสินคาที่ผลิต (x)
x1 x2 x3 ... x11 x12
(หนวยเปนชิ้น)
ยอดขายสินคา(y)
y1 y2 y3 ... y11 y12
(หนวยเปนบาท)

จากการสํารวจพบวา
คาเฉลี่ยเลขคณิตของจํานวนสินคาที่ผลิต เทากับ 6,000 ชิ้น
คาเฉลี่ยเลขคณิตของยอดขายสินคา เทากับ 380,000 บาท
ยอดขายสินคาและจํานวนสินคาที่ผลิตมีความสัมพันธเชิงฟงกชันแบบเสนตรง
และถาจํานวนสินคาผลิตเพิ่มขึ้น 1,000 ชิ้น แลวยอดขายสินนคคาโดยประมาณเพิ่มขึ้น 60,000 บาท
ถาจํานวนสินคาผลิต 10,000 ชิ้น แลวยอดขายสินคาโดยประมาณเทากับขอใดตอไปนี้
[PAT 1 : ก.พ. 2563 : 2]
1. 600,000 บาท 2. 620,000 บาท
3. 660,000 บาท 4. 720,000 บาท
5. 760,000 บาท

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552 – 2563 หนา | 59
เรื อง สถิติเบืองต้ น.........................................................................................................................
115. กําหนดตารางแสดงพื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐานระหวาง 0 ถึง z ดังตาราง

z 0.7 1.3 2.42


พื้นที่ใตเสนโคง 0.2580 0.4032 0.4922

คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึ่ง มีการแจกแจงปกติ
และมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 20 คะแนน นาย ก. และนาย ข. เปนนักเรียนในหองนี้
นาย ก. สอบไดคะแนนเปนสองเทาของคะแนนสอบของนาย ข. ข และคะแนนสอบของนาย กก.
คิดเปนคะแนนมาตรฐานเทากับ 1.3 ถามีนักเรียนรอยละ 24.2 ที่สอบไดคะแนนนอยกวา
คะแนนสอบของนาย ข. แลวคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบครั้งนี้ เทากับเทาใด
[PAT 1 : ก.พ. 2563 : 54]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก

You might also like