Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 11

ความรูเ้ บื้ องต้นเกีย่ วกับระบบนิเวศปะการัง

วิธีการศึกษาแบบ Reef Check


1. การเลือกจุดสำรวจ (site selection)
แนวปะการังในแต่ละแห่ง อาจมีสภาพความสมบูรณ์หรือความเสื่อมโทรมแตกต่างกัน ขึ้น
อยู่กบั ปัจจัยสิ่งแวดล้ อมและกิจกรรมของมนุษย์ที่เข้ ามากระทบ “Reef Check” เราต้ องการ
รวบรวมข้ อมูลจากแนวปะการังที่มีสภาพดีและมีการใช้ ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์
(โดยเฉพาะด้ านการประมง) น้ อยที่สดุ (best site) ทั้งนี้เพื่อให้ ได้ ข้อมูลสำหรับเป็ นตัวแทน และ
อ้ างอิงสภาพดั้งเดิมตามธรรมชาติของแนวปะการัง และทรัพยากรสิ่งมีชีวิตในแนวปะการัง
ผลพลอยได้ กเ็ พื่อจะได้ ตดิ ตามเฝ้ าระวังรักษาจุดนั้นไปด้ วย อย่างไรก็ตาม หากท่านมีโอกาสที่จะ
ทำได้ หลายจุด ก็ควรเลือกแนวปะการังที่มีการใช้ ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์อยู่ใน
ระดับปานกลาง (moderate human impact site) หรือที่ท่มี ีการใช้ ประโยชน์ในระดับสูงจนทำให้
แนวปะการังอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม (heavy human impact site) ทั้งนี้จะทำให้ ได้ ภาพรวมของ
สภาพแนวปะการังเป็ นบริเวณกว้ างขึ้น ถ้ าสามารถติดตามสำรวจในจุดเดิมอย่างต่อเนื่องเป็ นช่วง
เวลาระยะยาว ก็จะทำให้ ทราบแนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงในแนวปะการังนั้นๆ ได้

2. แบบแผนการศึกษา (Study desing)


แนวปะการังส่วนใหญ่ อาจจะแยกให้ เห็นเป็ นโซน คือ โซนพื้นราบ (reef flat) เป็ นโซนที่
อยู่ตดิ กับหาด/ชายฝั่ง ในหลายแห่งจะโผล่พ้ ืนน้ำเมื่อน้ำลงเต็มที่ มักเป็ นโซนที่ปะการังอยู่ในสภาพ
ที่เสื่อมโทรม เพราะได้ รับผลกระทบมากที่สดุ ถัดจากโซนนี้ออกไป ก็จะเป็ นโซนที่เรียกว่าไหล่หรือ
สันของแนวปะการัง (reef edge) เป็ นโซนที่ไม่โผล่พ้นน้ำ เมื่อน้ำลงเต็มที่ปะการังมักจะเป็ นก้ อน
โขดขนาดใหญ่ ทนแรงปะทะจากคลื่นได้ ถัดลงไปข้ างล่าง เป็ นโขนลาดชัน (reef slope) ซึ่งจะ
ลาดลึกลงไปที่ก้นทะเลจนสิ้นสุดที่พ้ ีนทราย อย่างไรก็ตาม แนวปะการังบางแห่ง อาจไม่เห็นการ
แบ่งแยกออกเป็ นโซนดังกล่าวที่ชัดเจนนัก
เรามักจะเลือกศึกษาที่โซนไหล่หรือโซนลาดชัน ซึ่งถือว่าเป็ นจุดที่ปะการังสมบูรณ์ และขึ้น
ได้ หนาแน่นกว่าที่โซนพื้นราบ ข้ อสำคัญที่ต้องคำนึงถึงคือ ในการติดตามศึกษาการเปลี่ยนแปลง
ของแนวปะการังเป็ น เป็ นช่วงเวลาระยะยาวนั้น ควรบันทึกตำแหน่งที่ศึกษาให้ แม่นยำ หากจุดที่
ศึกษาคลาดเคลื่อนไปจากเดิม จะทำให้ ไม่สามารถเปรียบเทียบกับข้ อมูลเดิมได้ ดีนัก ดังนั้นจึงต้ อง
จะบันทึกความลึก ณ ตำแหน่งที่เราศึกษา และเวลาที่ศึกษา และเวลาที่ศึกษา เพราะระดับน้ำใน
ทะเลเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แล้ วแปลงค่าให้ เป็ นความลึกเมื่อน้ำลงต่ำสุด โดยคำนวณหักลบ
เอาจากตารางน้ำ
(หมายเหตุ ในตารางน้ำ เป็ นค่าความสูงของน้ำเหนือระดับน้ำลงต่ำสุด-เรียกว่า chart
datum หรือ lowest low water ดังนั้น หากท่านวัดน้ำ ณ ที่ใด ณ เวลาใด ได้ เท่าไหร่ ก็ให้ น ำค่า
ความสูงของน้ำจากตารางไปลบออกจากค่าที่วัดได้ จริง ก็จะได้ เป็ นค่าความลึกของจุดนั้น เมื่อ
น้ำลงต่ำสุด แต่กม็ ีข้อสังเกตว่า คำว่า lowest low water นี้ เป็ นค่าระดับน้ำที่ต่ำสุดในรอบ
18.6 ปี )
ถ้ าจะให้ ง่ายในการเลือกจุดและกับมาหาจุดซ้ำในครั่งต่อไป อาจจะกำหนดลงไปเลยว่า
เลือกทำที่จุดลึก ณ กึ่งกลางของโซนลาดชัน ซึ่งโดยมากแล้ ว จะตกอยู่ในความลึกประมาณ 2-6
เมตร แต่ในบางเกาะ เช่น เกาะสุรินทร์ จุดกึ่งกลางโซนลาดชันอาจลึกที่ระดับ 6-12 เมตร

ข้อมูลที่ตอ้ งบันทึกก่อนลงน้ำ/หรือบันทึกเพิม่ เติมหลังจากขึ้ นจากน้ำ


สิ่งแวดล้ อมที่อยู่รอบข้ างแนวปะการัง มีผลต่อสภาพของแนวปะการังทั้งทางตรงและทาง
อ้ อม ข้ อมูลในตารางข้ างล่างจะช่วยให้ เราสามารถเข้ าใจได้ มากขึ้น ว่าทำไมแนวปะการังจึงอยู่ใน
สภาพเช่นนั้น
ชื่อสถานที่
วันที่ส ำรวจ
เวลาเริ่มต้ นสำรวจ
เวลาสิ้นสุดการสำรวจ
ลองติจูด ณ จุดที่ส ำรวจ
ละติจูด ณ จุดที่ส ำรวจ
จาก 2 ข้ อ ข้ างบน กำหนดจุดพิกดั จากแผนที่ หรือ GPS? แผนที่____ ____
GPS
ทิศทางของเส้ นทรานเช็คท์ N-S___ NE-SW___E-W__ SE-NW____
ระยะห่างจากฝั่ง โดยประมาณ ____เมตร
ระยะห่างจากปากแม่น ้ำ (ถ้ ามีในละแวกนั้น) โดยประมาณ ____ก.ม.
ความกว้ างของปากแม่น ้ำ โดยประมาณ <10 ม.___ 11-50 ม.___ 51-100 ม.___ 101-500
ม.___
สภาพดินฟ้ าอากาศ แดดจัด___ มีเมฆมาก____ ฝนตก____
อุณหภูมิอากาศ ____ องศาเซลเชียส
อุณหภูมิท่ผี วิ น้ำ ____ องศาเซลเชียส
อุณหภูมิท่รี ะดับลึก 3 เมตร ____ องศาเซลเชียส
อุณหภูมิท่รี ะดับลึก 10 เมตร ____ องศาเซลเชียส
ระยะห่างจากจุดชุมชน โดยประมาณ ____ ก.ม.
ขนาดชุมชน โดยประมาณ ____x 1000 คน
ความใสของน้ำ (สังเกตในแนวนอน ใต้ น ้ำ) โดยประมาณ ____ ม.
ทำไมเลือกสำรวจที่น่ี ?
ที่น่ีเป็ นจุดที่ก ำบัง หรือ ปะทะคลื่นลมมรสุม กำบัง___ ปะทะ____
ที่น่ี เคยมีความเสียหายจากคลื่นลมพายุหรือไม่ เคย___ ไม่เคย___ ไม่ทราบ____
ที่น่ีเป็ นจุดที่ได้ รับผลกระทบจากมนุษย์ มากน้ อยเพียงไร? ไม่___ น้ อย___ ปานกลาง____ รุนแรง_____
คิดว่าที่น่ี มีกจิ กรรมที่ก่อให้ เกิดความเสียหาย ดังต่อไปนี้ มาก
น้ อยเพียงไร ?
ระเบิดปลา ไม่___ น้ อย___ ปานกลาง____ รุนแรง_____
ใช้ ยาเบื่อเมา ไม่___ น้ อย___ ปานกลาง____ รุนแรง_____
จับปลาสวยงาม ไม่___ น้ อย___ ปานกลาง____ รุนแรง_____
จับสัตว์น้ำประเภทไม่มีกระดูกสันหลัง (เช่น หอย หมึกยักษ์) ไม่___ น้ อย___ ปานกลาง____ รุนแรง_____
การดำน้ำ (snorkeling & scuba diving) ไม่___ น้ อย___ ปานกลาง____ รุนแรง_____
ชุมชนปล่อยน้ำเสียลงทะเล ไม่___ น้ อย___ ปานกลาง____ รุนแรง_____
โรงงานอุตสาหกรรมปล่อยน้ำเสียลงทะเล ไม่___ น้ อย___ ปานกลาง____ รุนแรง_____
การทำประมง (ระบุ)………………………. ไม่___ น้ อย___ ปานกลาง____ รุนแรง_____
ผลกระทบอื่นๆ (ระบุ)……………………... ไม่___ น้ อย___ ปานกลาง____ รุนแรง_____
ที่น่ีมีการป้ องกันความเสียหายต่อแนวปะการังหรือไม่ ? มี____ ไม่มี____
ถ้ ามี เป็ นการป้ องกันแบบไหน ? (เช่น มีทุ่นผูกเรือ) ...........................................
คิดว่า การป้ องกัน เพียงพอไหม ? (เช่น มีทุ่นผูกเรือเพียงพอไหม?) เพียงพอ_______ ไม่เพียงพอ________
ที่มีปะการังที่เป็ นโขดขนาดใหญ่ (เส้ นผ่า ศ.ก. มากกว่า 3 ไม่พบ_____ พบได้ บ้าง______ พบมาก______
ม)
ชื่อ ผู้รายงาน .....................................................
(หมายเหตุ ท่านสามารถเพิ่มข้ อแนะนำอื่นๆ ได้ )

3. การปฏิบตั ิงานใต้น้ำ
เราใช้ เส้ นเทปวัดระยะขนาด 50 เมตร 2 เส้ นในการทำงาน (เรียกเส้ นเทปนี้ว่า
“transect line” โดยลากไปบนพื้นแนวปะการังในทิศทางที่ขนาดกับชายฝั่ง (หรือขอบแนว
ปะการัง) เป็ นเส้นตรงต่อเนื่องกันไปเป็ น 100 เมตร (แต่ถ้าพบว่า ลากไปแล้ ว ความสึกของพื้น
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ก็สามารถเบนทิศทางได้ เพื่อรักษาความลึกให้ ค่อนข้ างคงที่มากที่สดุ )
พยายามให้ เส้ นเทปอยู่ชิดพื้นปะกากรังให้ มากที่สดุ ไม่ควรให้ เส้ นเทปแกว่งไปมาตามกระแสน้ำ
หรือคลื่น อาจจะให้ เส้ นเทปเหน็บผ่านกิ่งปะการังเป็ นช่วงๆ แต่ต้องระวังไม่ให้ ปะการังเสียหาย
จากนั้นจึงเริ่มบันทึกข้ อมูล
ข้ อมูลจากทรานเช็คท์ท่ีบนั ทึกใต้ น้ำ มี 3 ประการ คือ
1.ทรานเช็คท์พ้ ืนแนวปะการัง (Substralum transect)
2.ทรานเช็คท์ประชากรปลาในแนวปะการัง (Reef fish belt transect)
3.ทรานเช็คท์สตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่นๆ ที่น่าสนใจ (นอกเหนือจากข้ อ 1)
(Invertebrate belt transect)

ทรานเช็คท์พนแนวปะการั
ื้ ง (Substralum transect)
เราจะบันทึกสิ่งต่างๆ ที่เป็ นองค์ประกอบของพื้นแนวปะการัง โดยจะบันทึกสิ่งที่อยู่ ณ
ตำแหน่งใต้ เส้ นเทปทุกๆ ระยะทาง 0.5 เมตร พอดี (เป็ นลักษณะการสุ่มแบบจุด- “point
sampling” โดยเริ่มบันทึกที่จุด 0 และต่อไปที่จุด 0.5,1,1.5,2,2.5,........ฯลฯ แล้ วไป
หยุดที่ 19.5 ซึ่งเป็ นจุดสิ้นสุดของช่วงที่ 1 แล้ วเว้ นช่วงบันทึกไป 5 เมตร แล้ วจึงไปเริ่มบันทึก
ช่วงที่ 2 ณ จุดเมตรที่ 25 แล้ วต่อไปที่ 25.5,26,26.5,..........ไปหยุดที่ 44.5 เป็ นจุด
สิ้นสุดของช่วงที่ 2 แล้ วเว้ นไป 5 เมตร ไปเริ่มใหม่ในช่วงที่ 3 คือ เมตรที่
50,50.5,51,..........หยุดที่ 69.5 แล้ วเว้ นช่วง 5 เมตร ไปเริ่มใหม่ท่ี
75,75.5,76,...........และสิ้นสุดที่ 94.5 ซึ่งเป็ นจุดสุดท้ ายของช่วงที่ 4

ดังนั้น จะเห็นว่าใน 1 ทรานเช็คท์ แบ่งย่อยเป็ นออกเป็ น 4 เส้ น (segment) ยาวเส้ นละ


20 เมตร แต่ละเส้นมีข้อมูลที่ต้องจดบันทึก 40 ข้ อมูล สิ่งต่างๆ บนพื้นแนวปะการัง มีอยู่หลาย
อย่างที่ต้องจดบันทึก ดังตารางข้ างล่าง (หมายเหตุ โดยปกติแล้ ว ปะการังแต่ละโคโลนีท่ยี ังมีชีวิต
อยู่ มักพบว่ามีบางส่วนของโคโลนีตายไปจากสาเหตุต่างๆ ดังนั้นถ้ าเส้ นเทปตรงตำแหน่งเมตรที่
0,0.5,1,1.5,.........อยู่เหนือปะการังตรงส่วนที่ตาย ก็ต้องบันทึกว่าเป็ นปะการังตาย ไม่ใช่
ปะการังเป็ น ถึงแม้ ว่าส่วนที่ตายนั้นจะเป็ นพื้นที่เล็กๆ ก็ตาม หรือถ้ ามีสาหร่ายขึ้นอยู่บนส่วนของ
ปะการังตาย ก็ต้องบันทึกว่าเป็ นสาหร่าย)

(เทคนิคเสริม ในบางครั้ง ถ้ าหากเส้ นเทปลอยอยู่เหนือพื้น ห่างขึ้นมามากเกินไป อาจจะมองจุด


ตัดที่อยู่บนพื้นข้ างล่างได้ ยาก อาจจะต้ องใช้ ลูกดิ่งหยั่ง โดยใช้ นอ็ ตตัวเล็กๆ ผูกเอ็น ยาว 1-2
เมตร

ประเภทของสิง่ ต่างๆ บนพื้ น (substratum)


คำย่อ คำเต็ม
HC Hard coral ปะการังแข็งมีชีวิต
SC Soft coral ปะการังอ่อน
DC Dead coral ปะการังตาย
FS Fleshy seaweed สาหร่าย
SP Sponge ฟองน้ำ
CR Coral rock ซากหินปะการัง
RK Rock หิน (ที่ไม่ใช่หินปะการัง)
RB Coral Rubble เศษปะการัง
SD Sand ทราย
SI Silt/clay โคลนตม
OT Other อื่นๆ

คำอธิบายศัพท์
Herd coral: ปะการังแข็ง หมายถึงปะการังที่สร้ างหินปูนเป็ นโครงแข็ง ได้ แก่ ปะการังแท้ รวมถึง
ปะการังสีน ้ำเงิน ปะการังไปป์ ออแกน และปะการังไฟด้ วย (หมายเหตุ ที่จริงแล้ ว ปะการังสีน ้ำเงิน
และ ปะการังไปป์ ออแกน มีสายพันธ์เป็ นพวกใกล้ ชิดกับปะการังอ่อน แต่ในที่น้ ี จัดให้ อยู่ในกลุ่ม
ปะการังแข็ง เพราะเป็ นพวกที่สร้ างหินปูนเป็ นโครงร่างได้ )
Soft coral: ปะการังอ่อน มีโครงสร้ างอ่อนนุ่ม
Dead coral: ปะการังตาย ส่วนใหญ่ยังคงเห็นเนื้อหินปูนเป็ นสีขาวๆ เนื้อหินปูนยังไม่สก ึ กร่อน
มากนัก มีสาหร่ายแบบตะไคร่น ้ำปกคลุมบางๆ หรืออาจมีสาหร่ายหินปูนเริ่มขึ้นเป็ นบางส่วน
Fleshy seaweed: สาหร่ ายเป็ นใบ เป็ นเส้ นสาย เป็ นแผ่น
Sponge: ฟองน้ำ
Coral rock: เป็ นก้ อนซากหินปะการังที่ตาไปนานแล้ ว ช่องที่อยู่ของตัวปะการังสึกกร่อน (คือมอง
ไม่เห็นลวดลายบนผิวหินปูน) ก้ อนหินปูนอาจจะถูกขึ้นเคลือบด้ วยสิ่งต่างๆ เช่น สาหร่ายแบบ
ตะไคร่น ้ำ สาหร่ายหินปูนแบบแผ่นบางๆ (มองดูคล้ อยไลเค่น สีม่วงๆ) เพรียง หอยนางรม ฯลฯ
Rock: หิน เช่นหินแกรนิต หินทราย หินปูน (ที่ไม่ใช่หินปะการัง)
Rubble: เศษหินปะการังที่แตกกระจายบนชิ้นเล็กๆ บนพื้นทราย ในที่น้ จี ำกัดในขนาดประมาณ
0.5-15 ซม. ถ้ าใหญ่กว่านี้ ก็อาจจะเป็ น coral rock หรือ dead coral (หมายเหตุ ถ้ าพบเป็ น
ก้ อนเล็กกว่า 15 ซม. แต่ยึดติดพื้น ก็ไม่ควรเรียกว่า rubble ควรจะถือว่าเป็ น coral rock ถ้ า
ตายนานแล้ ว/หรือ dead coral ถ้ าเพิ่งตาย)
Sand: พื้นทราย
Silt/Clay: พื้นโคลน ตม
Other: อื่นๆ ในที่น้ ห ี มายถึง สัตว์ท่ยี ดึ ติดอยู่บนพื้น เช่น ดอกไม้ ทะเล (sea anemone,
corallimorph) เพรียงหัวหอม (tunicate) พรมทะเล (zoanthid) กัลปังหา (gorgonian) (ถ้ า
เป็ นสัตว์ท่เี ดิน คืบคลานอยู่บนพื้น เช่น ปลาดาว หอยเม่น หอย ฯลฯ ให้ บนทึกพื้น ซึ่งสัตว์น้นั
เกาะอยู่) นอกจากนี้ยังรวมถึงสาหร่ายบางประเภท เช่น สาหร่าย Sargasssum, Halimeda (สาห
ร่ายใบมะกรูด) ซึ่งสาหร่ายพวกนี้ เป็ นพวกที่พบได้ เป็ นปกติในแนวการังที่สมบูรณ์
ทรานเช็คท์ประชากรปลาในแนวปะการัง (Reef fish belt transect)
กำหนดให้ ใช้ แนวสำรวจแบบแถบ (Belt-transect) โดยมีขอบเขตของพื้นที่ท่ตี ้ องเก็บ
ข้ อมูลขยายออกไปด้ านข้ างทั้งสองด้ านของเส้ นเทป และมีรายละเอียดและข้ อกำหนดการวางแนว
สำรวจดังนี้
-กำหนดให้ ใช้ แนวสำรวจแบ่งเป็ น 4 ส่วน โดยแต่ละส่วนมีความยาว 20 เมตร
รูปแสดงขอบเขตการสำรวจบนแนวสำรวจแบบแถบ (Belt-transect)

-ทิ้งระยะระหว่างแนวสำรวจแต่ละส่วนให้ ห่างกัน 5 เมตร


-ผู้ส ำรวจจดบันทึกข้ อมูลสำรวจที่ก ำหนด ภายในขอบเขตระยะ 2.5 เมตร ของทั้งสอง
ด้ านของเส้ นเทป ซึ่งจะครอบคลุมพ้ นที่ส ำรวจ 100 ตารางเมตร (ดังนั้น เส้ นเทป 4 ส่วน จะ
ครอบคลุมพื้นที่รวม 400 ตารางเมตร) (ดูรูปที่แสดงประกอบ)

2.3 การประเมินข้อมูล (Assessment)


รายชื่อชนิดหรือกลุ่มของสัตว์ท่ีต้องทำการเก็บข้ อมูลความชุกชุมได้ ก ำหนดไว้ ในตารางที่
แสดงแผ่นบันทึกข้ อมูลด้ านล่าง โดยกำหนดให้ จดบันทึก (นับ) จำนวนตัวของชนิดสัตว์ท่พี บเห็น
ภายในขอบเขตสำรวจของแนวสำรวจแต่ละแนว
ในการนี้ จำเป็ นที่ผ้ ูส ำรวจต้ องเรียนรู้และจดจำชนิด หรือกลุ่มสัตว์ตามที่ก ำหนดไว้ ให้ ได้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือที่แนะนำชนิดสัตว์ในแนวปะการัง (Field
Guide) ต่างๆ โดยกลุ่มสัตว์ท่ต ี ้ องเรียนรู้เพื่อจำแนกชนิด (หรือกลุ่ม) ให้ ได้ มีดังนี้
ปลา: ประกอบด้ วย
1. กลุ่มปลาผีเสื้อ (Butterflyfishes) ได้ แก่ปลาในสกุล (genus) ต่างๆ ดังนี้ Chaetodon,
Chelmon, Coradion, Forcipiger, Heniochus และ Hemitaurichthys เป็ นต้ น
2. กลุ่มปลาสร้ อยนกเขา (Sweetlips) ได้ แก่ปลาในสกุล Diagramma และ Plectorhinchus
3. ปลากะรังหน้ างอน (Barramundi cod) มีช่ ือวิทยาศาสตร์ (ชนิด) คือ Cromileptes
altivelis

4. กลุ่มปลากะรัง หรือ ปลาเก๋า (Groupers) ได้ แก่ปลาในสกุลต่างๆ ดังนี้ Aethaloperca,


Anyperodon, Cephalopholis, Epinephelus, Plectropomus และ Variola เป็ นต้ น
(หมายเหตุ: บันทึกเฉพาะที่มีขนาดตัวยาวกว่า 30 ซม.)
5. ปลานกขุนทองหัวโหนก (Pumphead wrasse หรือ Napoleon wrasse) ชนิด Cheilinus
undulates
6. ปลานกแก้ วหัวโหนก (Bumphead parrotfish) ชนิด Bolbometopon muricatum
ตัวอย่างตารางบันทึกข้อมูล
Indo-Pacific Belt Transeet Data Sheet

Indo-Pacific Belt Transect: Fish


Segment 0-20m 25-45m 50-70m 75-
95m
Butterflyfish
Sweetlips (Haemulidae)
Barramundi cod (Cromileptes altivelis)
Grouper>30 cm (given siaes in
comments)
Humphead wrasse (Cheilinus undulates)
Bumphead parrotfish (Bolpometopon
muricatum)

ทรานเช็คท์สตั ว์ไม่มกี ระดูกสันหลังอื่นๆ (Invertebrate belt transect)


กำหนดให้ ใช้ แนวสำรวจแบบแถบ (Belt-transect) ในรูปแบบเดียวกันกับสำรวจประชากรปลา
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ที่เรามุ่งสนใจในที่น้ ี ประกอบด้ วย
1. กุ้งพยาบาล (Banded coral shrimp) ชนิด Stenopus hispidus
2. กลุ่มเม่นทะเลหนามยาว (Long-spined black sea-urchin) สกุล Diadema
3. เม่นหนามดินสอ (Pencil urchin) ชนิด Helerocentrotus mammilatus
4. กลุ่มปลิงทะเลชนิดต่างๆ ที่นำมาบริโภคได้ (Sea cucumber edible species) ได้ แก่ปลิง
ชนิดต่างๆ ดังนี้ Actinopyga echinites, A. lecanora, A. miliaris, Bohadschia argus, B.
marmorata, Holothuris atra, H. fuscogilva, H. nobilis, H. scabra, H. spinifera,
Pentacla minuta, Stichopus chloronotus, S. variegates, และ Thelenota ananus
5. ตาวมงกุฎหนาม (Crown-of-thorns star) ชนิด Acanthaster planci
6. กลุ่มหอยมือเสือ (Giant clam) ในสกุล Tridacna
7. หอยสังข์แตร (Triton shell) ชนิด Charonia tritonis
8. กลุ่มกุ้งมังกร (Lobsters) ในสกุล Panulirus

ตาราง Indo-Pacific Belt Transect: Invertebrates

Segment 0-20m 25-45m 50- 75-


70m 95m
Banded coral shrimp (Stenopus hispidus)
Long-spined black sea-urchin (Diadema)
Pencil urchin (Heterocentrotus
mammilatus)
Sea cucumber (edible only)
Crown-of-thorns star (Acanthaster planci)
Giant clam (Tridacna)
Triton shell (Charonia tritonis)
Lobster (Panulirus)
Coral damang: Anchor
Coral damang: Dynamite
Coral damage: Other
Trash: Fish nets
Trash: Other

การบันทึกข้อมูลเพิม่ เติม
บันทึกภาพ (ภาพนิ่ง หรือวีดีโอ) สถานที่ท่สี ำรวจ
- บนบก ควรจะถ่ายเล็งตามมุมเกาะ เพื่อจะได้ เป็ นจุด bearing ที่ท ำให้ ง่ายต่อการ
เข้ าไปสำรวจซ้ำในครั้งต่อไป
- ใต้ น ้ำ ควรถ่ายภาพเป็ นมุมกว้ าง ให้ เห็นจุดที่วางเส้ นทรานเช็คท์ ควรจะให้ เห็น
ปะการังก้อนที่เป็ นจุด “0” และจุดปลาย 100 เมตร ที่จุดทั้งสองนี้ อาจใช้ ทุ่นเล็กๆ
ผูกแจวนไว้ ใต้ น ้ำเป็ นเครื่องหมายไว้ กไ็ ด้ จะได้ ง่ายต่อการค้ นหาจุด เมื่อจะสำรวจซ้ำ
นอกจากนี้ อาจจะกำหนดถ่ายภาพมุมใดๆ โดยเฉพาะ (fixed position) ทุกๆ ทริป
ที่ไปดำน้ำ เพื่อนำมาเป็ นหลักฐาน เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงในระยะยาวที่อาจ
เกิดขึ้น ง่ายต่อการนำเสนอเป็ นข่าวสารเผยแพร่
- บันทึกภาพสิ่งที่ท่านไม่สามารถจำแนกประเภทได้ แล้ วส่งมาปรึกษากับนักวิจยั

You might also like