Control in Concrete

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 71

การปฏิบตั ิงานทดสอบสาหรับฝ่ ายตรวจสอบ

และวิเคราะห์ดา้ นวิศวกรรม
“การควบคุมงานคอนกรีตในสนาม”
เศกสรรค์ ชูทบั ทิม
หัวหน้าฝ่ ายทดสอบและวิเคราะห์คอนกรีตและวัสดุ
สานักวิจยั และพัฒนา
คอนกรีต

• คอนกรีต คือหินเทียมทีม ้ เพือ


่ นุษย์สร้างขึน ้ ทนหินธรรมชาติ สามารถ
่ ใชแ
ทาให้เป็นรูปร่างต่างๆ ได้งา
่ ย มีความคงทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศ และไม่
ต้องการการบารุงร ักษามากน ัก

• คอนกรีต เป็นว ัสดุกอ


่ สร้างได้จากการผสมปูนซเี มนต์ ทราย หินย่อยหรือ
กรวด นา้ และ/หรือสารผสมเพิม ่ อืน
่ ๆ ผสมคลุกเคล้าเป็นเนือ ้ เดียวก ัน โดยมี
ปูนซเี มนต์เป็นต ัวประสาน แล้วรวมต ัวก ันกลายเป็นก้อนแข็งคล้ายหิน เมือ ่ มี
อายุ 24 ชว่ ั โมง และสามารถร ับแรงอ ัดเพิม ้ เรือ
่ ขึน ่ ยๆ ตามอายุ

• คอนกรีต ประกอบด้วย ปูนซเี มนต์ มวลรวม และนา้ หรือบางครงอาจมี


ั้
สารเคมีผสมเพิม
่ สาหร ับคอนกรีต (Chemical Admixture for Concrete)
และแร่ธาตุผสมเพิม
่ (Mineral Admixture) ผสมรวมอยูด่ ว้ ย
ประว ัติคอนกรีต

คอนกรีตเป็นว ัสดุกอ่ สร้างทีใ่ ชก้ ันมาเป็นเวลาชา้ นานจากหล ักฐานพบว่า


้ อนกรีตทาพืน
มีการใชค ้ กระท่อมของชาวประมงและพวกล่าสตว์ ั สม ัยยุคหิน
บริเวณริมฝั่งแม่นา้ ดานูป ตงแต่
ั้ 7,600 ปี ทีผ่ า
่ นมาหล ังจากนนได้
ั้ มกี าร
พ ัฒนาคอนกรีตอย่างต่อเนือ ่ งจนถึงปัจจุบ ัน

5100 ปี ก่อนพุทธกาล : ใชค ้ อนกรีตเท


พื้ น ก ร ะ ท่ อ ม บ ริ เ ว ณ แ ม่ น ้ า ด า นู ป
2500 ปี ก่อ นพุ ท ธกาล : ได้ม ก ี าร
พ ัฒนา lime มอร์ตา้ ร์ สาหร ับก่อสร้าง
ปิ รามิดในประเทศอียป ิ ต์
2000 ปี ก่อ นพุ ท ธกาล : มีก ารใช ้
คอนกรีต บางประเภทในประเทศแถบ
อเมริกาใต้
ประว ัติคอนกรีต (ต่อ)

500 ปี ก่อนพุทธกาล ถึงปี พ.ศ.1000 : ชาวกรีกได้พ ัฒนาคอนกรีตขึน ้


และพวกโรม น ั ได้พ ฒั นาคอนกรีต ต่อ ไปจนได้ค อนกรีต ทีม ่ ค
ี ุณ ภาพดี
ส าหร บ ั การก่ อ สร้า งต่ า งๆ เช่ น โคลิเ ซ ี่ย ม และห้อ งโถงขนาดใหญ่
(Dome of the Pantheon) ในประเทศอิตาลี เป็นต้น หล ังปี พ.ศ.1000
สนิ้ สุดยุคโรม ันก็สน
ิ้ สุดการใชค ้ อนกรีตเชน ่ ก ัน
ประว ัติคอนกรีต (ต่อ)

พ.ศ.2299 : John Smeaton ได้ใช ้


หิน ปู น ผสมก บ ั ดิน เหนีย วแล้ว น ามาเผา
จ า ก น ั้น น า ว ัส ดุ ที่ ไ ด้ น ี้ ไ ป ใ ช ้ ใ น ก า ร
ก่ อ สร้า งประภาคาร บริเ วณช่ อ งแคบ
อ ังกฤษ การค้นพบของ Smeaton นีท ้ า
ให้เ กิด การพ ฒ ั นาของปู น ซ ีเ มนต์ และ
คอนกรีตอย่างรวดเร็ว
ประว ัติคอนกรีต (ต่อ)

พ.ศ.2367 : Jose Aspdin ชาวอ ังกฤษได้ขอจดลิขสท ิ ธิข


์ บวนการผลิต
ปูนซเี มนต์ โดยให้ความร้อนแก่หน ิ ปูนดินเหนียว และ นามาบดให้ละเอียด
ปูนซเี มนต์ทไี่ ด้ชอ
ื่ ว่า ปอร์ตแลนด์ซเี มนต์ (Portland Cement) เพราะมี
สเี หมือนหินบนเกาะปอร์ตแลนด์ในประเทศอ ังกฤษ Jose Aspdin ได้
จ ัดตงหม้
ั้ อเผาปูนซเี มนต์ท ี่ Wakefield และซเี มนต์ทผ ี่ ลิตถูกนามาใชใ้ น
โครงการอุโมงค์ลอดแม่นา้ เทมส ์ ในปี พ.ศ.2371 “Aspdin ได้ร ับการยก
ย่องว่าเป็นบิดาแห่งปูนซเี มนต์ปอร์ตแลนด์สม ัยใหม่”
ประว ัติคอนกรีต (ต่อ)

พ.ศ.2378 : บ้านคอนกรีตหล ังแรกของโลกได้ถก ้ ในเมือง Kent


ู สร้างขึน
ั้
ประเทศอ ังกฤษ ล ักษณะเป็นบ้าน 2 ชน

พ.ศ.2397 : William Wilkinson ชา ่ งก่อสร้างชาวเมือง Newcastle


ิ ธิร์ ะบบคอนกรีตเสริมเหล็ก
ได้จดลิขสท

พ.ศ.2398 : Jean Loius Lambot ได้สร้างเรือคอนกรีต (Ferro


้ อนกรีตหุม
Cement) ลาแรกของโลก โดยใชค ้ บนเหล็กเสริมทีข ึ้ รูปไว้
่ น

พ.ศ. 2410 : Joseph Monier วิศวกรชาวฝรง่ ั เศสได้ทาท่อคอนกรีต


เสริมเหล็ก

้ พบวิธเี ผาซเี มนต์โดย Rotary Kiln


พ.ศ.2423 : ได้คน
ประว ัติคอนกรีต (ต่อ)

พ.ศ.2456 : ได้มก
ี ารจ ัดตงโรงงานคอนกรี
ั้ ตผสมเสร็จแห่งแรก

้ ก ับ
พ.ศ.2460 : D. Abrahms ได้พบว่ากาล ังอ ัดของคอนกรีตขึน
อ ัตราสว่ นนา้ ต่อซเี มนต์ หรือ "W/C Ratio Law”

พ.ศ.2463 – 2493 : พ ัฒนาข้อกาหนดของปูนซเี มนต์ปอร์ตแลนด์



ประเภทต่าง ๆ เชน

-ปูนซเี มนต์แข็งต ัวเร็ว -ปูนซเี มนต์ทนซลเฟต
-ปูนซเี มนต์ลดความร้อน -ปูนซเี มนต์ผสม

พ.ศ.2468 : ได้พบวิธก ่ งจีเ้ ขย่า


ี ารอ ัดคอนกรีตให้แน่นด้วยเครือ
้ อนกรีตก ับงานก่อสร้างทุกประเภท
(Vibrator) และมีการใชค

้ อนกรีตเบา (Lightweight Concrete)


พ.ศ.2471 : ค้นพบการใชค
ประว ัติคอนกรีต (ต่อ)

พ.ศ.2473 : Eugene Freysinnet ได้คน


้ พบโครงสร้างคอนกรีตอ ัด
แรง (Prestressed Concrete)

้ พบ Air Entraining Admixture ซงึ่ เหมาะสาหร ับ


พ.ศ.2481 : ได้คน
คอนกรีตในทีอ
่ ณ
ุ หภูมต
ิ า
่ มากๆ

้ อนกรีตสาเร็จรูปมากยิง่ ขึน
พ.ศ.2488 : ขยายการใชค ้

้ า้ ยาผสมคอนกรีต
พ.ศ.2496 : มีการใชน

พ.ศ.2503 : เริม ้ อนกรีตปั๊ม


่ ใชค

พ.ศ.2525 : ได้เกิดปัญหาเรือ ่ งความทนทานของคอนกรีต และเริม


่ มี
การศกึ ษาในเรือ ้ ย่างจริงจ ัง
่ งนีอ
ล ักษณะของคอนกรีตทีด
่ ี

• ความสะดวกในการทางาน (Workability)
• ความคงทนต่อสภาวะแวดล้อม (Durability)
• ความสามารถในการร ับแรง (Strength)
• ความทึบนา้ (Water Tightness)
• ความประหย ัด (Economy)

 แข็งแรง
 ทนทาน
 ประหยัด
การควบคุมคุณภาพและปริมาณงาน

• คุณภาพของคอนกรีตขึน้ อยูก
่ ับฝี มือในการก่อสร้าง จึงจาเป็นต้อง
มีการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ เพือ ่ ให้ผลงานทีน
่ า่ พอใจ
ถูกต้องตามแบบและข้อกาหนดต่างๆ สามารถใชเ้ ป็นหล ักฐาน
อ้างอิงได้

• การควบคุมปริมาณงาน จะควบคุมปริมาณตามแบบก่อสร้างและ
รายงานการก่อสร้างโดยแสดงปริมาณงานทีท ่ าได้ แสดง
้ า่ ยทีต
ค่าใชจ ่ อ
้ งจ่ายทงค่ั้ าแรง ค่าของ และค่าควบคุมงาน เพือ่ ให้
พิจารณาว่าค่าใชจ ้ า่ ยคุม้ ก ับปริมาณงานทีท
่ าหรือไม่
องค์ประกอบของคอนกรีต

ตัวประสาน

วัสดุผสม
องค์ประกอบของคอนกรีต (ต่อ)

• ปูน ซ ีเ มนต์ (Cement) ท าหน้า ทีใ่ ห้ก าล งั ของคอนกรีต โดยท า


ปฏิก ริ ยิ าไฮเดรช น่ั ก บ
ั นา
้ เกิด เป็ นของเหลวหนืด ท าหน้า ทีห
่ ล่อ ลืน

คอนกรีต ให้ส ามารถเทได้แ ละยึด ประสานมวลรวมเข้า ด้ว ยก น ั เมือ ่
แข็ งต ัวจะให้กาล ังก ับคอนกรีต คุณสมบ ัติของปูนซเี มนต์จะขึน ้ อยูก
่ ับ
องค์ประกอบของสารเคมีและความละเอียดของเม็ดปูน

มอก.15 แบ่งปูนซเี มนต์ปอร์ตแลนด์เป็น 5 ประเภท ด ังนี้


ประเภท 1 ปูนซเี มนต์ปอร์ตแลนด์ธรรมดา (Ordinary Portland Cement)
ประเภท 2 ปูนซเี มนต์ด ัดแปลง (Modified Portland Cement)
ประเภท 3 ปูนซเี มนต์ประเภทเกิดแรงสูงเร็ว (High-Early Strength
Portland Cement)
ประเภท 4 ปูนซเี มนต์ประเภทเกิดความร้อนตา
่ (Low-Heat Portland
Cement)

ประเภท 5 ปูนซเี มนต์ประเภททนซลเฟตได้
สงู (Sulfate-Resistant
Portland Cement)
ปูนซเี มนต์อน
ื่ ๆ

• ปูนงานโครงสร้าง เอสซจ ี ี สูตรไฮบริด : ปูนซเี มนต์ประเภทไฮดรอลิก


ชนิดใชง้ านทว่ ั ไป (GU) สูตรพิเศษ มอก. 2594-2556

ี ี : ปูนซเี มนต์ปอร์ตแลนด์ชนิดพิเศษ ประเภท


• ปูนทนนา้ ทะเล เอสซจ
ปอซโซลาน มอก. 849-2556

ี ี : ปูนซเี มนต์ปอร์ตแลนด์ปอซโซลาน
• ปูนทนนา้ เค็ม ดินเค็ม เอสซจ
มอก. 849-2556
องค์ประกอบของคอนกรีต (ต่อ)

• มวลรวม (Aggregates) แบ่งออกเป็น 2 พวก

- มวลรวมละเอียด หมายถึง มวลรวมทีม ่ ข


ี นาดเล็กทีส
่ ามารถลอดผ่าน
ตะแกรงมาตรฐานเบอร์ 4 (4.75 มม.) และค้างบนตะแกรงมาตรฐาน
เบอร์ 200 ได้แก่ ทราย (Sand) และหินบด เป็นต้น
- มวลรวมหยาบ หมายถึง มวลรวมทีม ่ ข
ี นาดใหญ่ ไม่สามารถลอดผ่าน
ตะแกรงมาตรฐานเบอร์ 4 ได้แก่ หินย่อย (Crushed Rock) หรือ
กรวด (Gravel) เป็นต้น
องค์ประกอบของคอนกรีต (ต่อ)

• นา้ (Water) ปริมาณของนา้ ทีจ ้ าปฏิกริ ย


่ ะใชท ิ าเคมีก ับปูนซเี มนต์
ใชป ้ ระมาณ 0.25 ของนา้ หน ักปูนซเี มนต์ ปริมาณนา้ ทีเ่ พิม ่ จากนีค ้ อ

ปริมาณของนา้ ทีจ่ ะทาให้สว่ นผสมทางานได้สะดวก ขึน ้ อยูก ่ ับขนาด
รูปร่าง ความลดหลน ่ ั ของขนาดของหินย่อยและทรายทีใ่ ช ้ นา้ ทีใ่ ช ้
ผสมคอนกรีตควรเป็นนา้ ทีส ่ ะอาด หรือได้จากแหล่งทีเ่ คยใชผ ้ สม
คอนกรีตได้ผลดีมาแล้ว
องค์ประกอบของคอนกรีต (ต่อ)

• สารผสมเพิม ่ (Admixtures) หมายถึง สารใดๆ นอกเหนือไปจาก นา้


ปูนซเี มนต์ มวลรวมละเอียด และมวลรวมหยาบทีใ่ ชเ้ ติมลงไปในสว่ นผสม
ของคอนกรีต เพือ ่ ปร ับปรุงคุณสมบ ัติของคอนกรีตให้ได้ตามต้องการ
แบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ
สารกระจายก ักฟองอากาศ (Air – Entrained Admixtures)
สารเคมีผสมเพิม ่ (Chemical Admixtures) – 7 Type
สารผสมเพิม่ แร่ธาตุ (Mineral Admixtures) – เถ้าลอย
สารผสมเพิม ่ อืน
่ ๆ (Miscellaneous Admixtures)
องค์ประกอบของคอนกรีต (ต่อ)

• สารผสมเพิม ่ (Admixtures) หมายถึง สารใดๆ นอกเหนือไปจาก นา้


ปูนซเี มนต์ มวลรวมละเอียด และมวลรวมหยาบทีใ่ ชเ้ ติมลงไปในสว่ นผสม
ของคอนกรีต เพือ ่ ปร ับปรุงคุณสมบ ัติของคอนกรีตให้ได้ตามต้องการ
แบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ
สารกระจายก ักฟองอากาศ (Air – Entrained Admixtures)
สารเคมีผสมเพิม ่ (Chemical Admixtures) – 7 Type
สารผสมเพิม่ แร่ธาตุ (Mineral Admixtures) – เถ้าลอย
สารผสมเพิม ่ อืน
่ ๆ (Miscellaneous Admixtures)
องค์ประกอบของคอนกรีต (ต่อ)

• สารผสมเพิม
่ แร่ธาตุ
 เถ้าลอย (Fly Ash)
 ซลิ ก
ิ าฟูม (Silica Fume)
 ตะกร ันเตาหลอมเหล็ กบดละเอียด (GGBS)

Fly Ash Silica Fume Cement

รูปถ่าย SEM
่ สร้างทีใ่ ชใ้ นงานคอนกรีต
ว ัสดุกอ

• เหล็กเสน้ เสริมคอนกรีต (Steel Bars For Reinforced Concrete)


เป็นเหล็กกล้าผสม (Mild Steel) ซงึ่ ผลิตออกจาหน่ายตาม มอก. ได้แก่
- เหล็กเสน้ กลม (Round Bars) มอก.20 : ชนคุ
ั้ ณภาพ SR24
- เหล็กข้ออ้อย (Deformed Bars) มอก.24 : ชนคุั้ ณภาพ SD30,
SD40 และ SD50
่ สร้างทีใ่ ชใ้ นงานคอนกรีต (ต่อ)
ว ัสดุกอ

• สารเหลวบ่มคอนกรีต (Curing Compound)


เป็นสารเคมีทใี่ ชเ้ คลือบผิว (Sealing Compound) คอนกรีตเมือ
่ เริม

แข็งต ัวเพือ
่ ป้องก ันไม่ให้นา้ ในคอนกรีตระเหยออกไปได้
่ สร้างทีใ่ ชใ้ นงานคอนกรีต (ต่อ)
ว ัสดุกอ

• ยางก ันนา้ (Rubber Waterstop) แบ่งออกเป็น 2 ล ักษณะ คือ เป็น


รูปด ัมม์เบลล์ (Dumbbell) ชนิดมีป่ มกลาง
ุ (3 ปุ่ม) และไม่มป
ี ่ มกลาง

(2 ปุ่ม) มี 4 Types คือ
Type A : เป็นรูปด ัมม์เบลล์ 3 ปุ่ม หน้าต ัดกว้าง 9 นิว้
Type B : เป็นรูปด ัมม์เบลล์ 3 ปุ่ม หน้าต ัดกว้าง 6 นิว้

Type C : เป็นรูปด ัมม์เบลล์ 2 ปุ่ม


หน้าต ัดกว้าง 6 นิว้
Type D : เป็นรูปด ัมม์เบลล์ 2 ปุ่ม
หน้าต ัดกว้าง 4.5 นิว้
“A” “B” “C” “D”
่ สร้างทีใ่ ชใ้ นงานคอนกรีต (ต่อ)
ว ัสดุกอ

• แผ่นใยใสร่ อยต่อคอนกรีต (Preformed Elastic Filler)


ประกอบด้วยชานอ้อย หรือเสน ้ ใยอืน่ ๆ ทีเ่ หมาะสมอาบด้วยยาง
มะตอยชนิดเหลว อ ัดเป็นแผ่นและ
ใชแ้ ทรกหรือกนตรงรอยต่
ั้ อเพือ ่
ขยายต ัวของคอนกรีต อาจปลิน ้
ได้เล็กน้อยเมือ
่ ร ับแรงอ ัดและคืนรูป
ภายหล ังการคลายแรงอ ัด มีชนิดหนา
10 และ 20 มิลลิเมตร
.การทาคอนกรีตทีด
่ ี

จะต้องมีการควบคุมงาน ด ังต่อไปนี้
1. ควบคุมคุณภาพของว ัสดุ (Controlled Quality of Materials)
ว ัสดุผสมคอนกรีต และว ัสดุงานคอนกรีต
2. ควบคุมอ ัตราสว่ นผสม (Controlled Proportioning)
3. ควบคุมการทาคอนกรีต (Controlled Concrete Making)
(ดูขอ ้ กาหนดมาตรฐานว ัสดุและการก่อสร้างสาหร ับโครงสร้าง
คอนกรีต : วสท.)
การผสม (Mixing) / การเลือกใชค ้ อนกรีต
การลาเลียง (Conveying or Transporting)
การเท (Placing)
การทาให้แน่น (Consolidating)
การถอดแบบ (Removing Form)
การบ่ม (Curing)
การตรวจสอบและควบคุมก่อนเริม
่ งานก่อสร้าง

การตรวจสอบคุณสมบ ัติของปูนซเี มนต์


ทาการทดสอบหาค่าต่างๆ ด ังนี้
ความละเอียด (Fineness) โดยใชเ้ ครือ ่ งมือทีเ่ รียกว่า Blaine Air
Permeability Apparatus ค่าเฉลีย ่ ตา
่ สุด 280 ตารางเมตรต่อกิโลกร ัม
ระยะเวลาการก่อต ัว (Time of Setting) เมือ ่ ทดสอบโดย Vicat
Test การก่อต ัวระยะต้น ไม่นอ ้ ยกว่า 45 นาที
แรงอ ัด (Compressive Strength) เป็นการทดสอบหาความแข็งแรง
ของปูนซเี มนต์ ปูนประเภท 1
แรงอ ัดทีอ ่ ายุ 3 ว ัน ไม่นอ้ ยกว่า 12 เมกะพาสค ัล
แรงอ ัดทีอ่ ายุ 7 ว ัน ไม่นอ้ ยกว่า 19 เมกะพาสค ัล
การตรวจสอบและควบคุมก่อนเริม
่ งานก่อสร้าง (ต่อ)

การตรวจสอบคุณสมบ ัติของมวลรวม
มวลรวมละเอียด ได้แก่ ทราย จะทดสอบหาค่าต่างๆ ด ังนี้
- ขนาดคละและโมดูล ัสของความละเอียด (Gradation and Fineness
Modulus)
- ความไม่บริสท
ุ ธิเ์ นือ
่ งจากสารอินทรีย ์ (Organic Impurities)
- ตะกอนทราย (Silt)
มวลรวมหยาบ ได้แก่ หินย่อย หรือกรวด จะทดสอบหาค่าต่างๆ ด ังนี้
- ขนาดคละ (Gradation)
- การข ัดส ี (Abrasion Loss)
- ฝุ่นหิน (Rock Flour)
การตรวจสอบและควบคุมก่อนเริม
่ งานก่อสร้าง (ต่อ)

้ เสริมคอนกรีต
การตรวจสอบคุณสมบ ัติของเหล็ กเสน
จะทาการทดสอบหาค่าต่างๆ ด ังนี้

- ความต้านแรงดึงทีจ่ ดุ คราก (Yield Stress)


- ความต้านแรงดึงสูงสุด (Tensile Stress)
- ความยืด (Elongation)
- การด ัดโค้งเย็น (Cold Bend)
การตรวจสอบและควบคุมก่อนเริม
่ งานก่อสร้าง (ต่อ)

การตรวจสอบคุณสมบ ัติของนา้
ในกรณีทส ั ณภาพของนา้ ทีใ่ ชผ
ี่ งสยคุ ้ สมคอนกรีต จะทาการ
ทดสอบโดยเปรียบเทียบ

- กาล ังอ ัดแท่งทีท


่ าจากนา้ สงสย ั ทีอ
่ ายุ 7 ว ัน ต้องไม่นอ
้ ยกว่า 90%
ทีท
่ าจากนา้ ประปา
- ระยะเวลาการก่อต ัวทีท ั
่ าจากนา้ สงสยเที ยบก ับทีท ่ าจากนา้ ประปา
ต้องเร็วกว่าไม่เกิน 1 ชว่ ั โมงและชา้ กว่าไมเกิน 1 ชว่ ั โมง 30 นาที
การตรวจสอบและควบคุมก่อนเริม
่ งานก่อสร้าง (ต่อ)

การตรวจสอบคุณสมบ ัติของสารเคมีผสมเพิม

• เปรียบเทียบกาล ังอ ัดของแท่งคอนกรีต กาล ังอ ัดของสว่ นผสมทีใ่ ส ่
ผสมเพิม ่ (Chemical Admixture Mix) เทียบก ับกาล ังอ ัดของคอนกรีต
ควบคุม
• เปรียบเทียบระยะเวลาก่อต ัว เป็นการว ัดการแข็งต ัวของมอร์ตา้ ร์
โดยใชเ้ ข็ม Proctor เรียกว่า Proctor Penetration Resistance Test
่ เปรียบเทียบผลต่างระหว่าง Setting Time ของสว่ นผสมทีใ่ สผ
เมือ ่ สมเพิม ่
(Chemical Admixture Mix) และคอนกรีตควบคุม
การตรวจสอบและควบคุมก่อนเริม
่ งานก่อสร้าง (ต่อ)

การตรวจสอบคุณสมบ ัติของนา้ ยาบ่มคอนกรีต


การทดสอบนา้ ยาบ่มคอนกรีต ทาได้โดยทดสอบ Water Retension
Test เป็นเวลา 3 ว ัน นา้ จะต้องหายไปจากคอนกรีตไม่เกิน 0.070 กร ัมต่อ
ตารางเซนติเมตร
การตรวจสอบและควบคุมก่อนเริม
่ งานก่อสร้าง

การตรวจสอบคุณสมบ ัติของยางก ันนา้


ความต้านแรงดึง (Tensile Strength) ทดสอบตามวิธ ี ASTM D412
แรงดึงสูงสุดเมือ
่ ขาดต้องไม่นอ
้ ยกว่า 175 กิโลกร ัมต่อตารางเซนติเมตร
ความยืดเมือ
่ ขาด (Elongation at Break) ทดสอบตามวิธ ี ASTM
D412 ความยืดสูงสุดเมือ
่ ขาดต้องไม่นอ
้ ยกว่า 450%
ความแข็ง (Hardness) ทดสอบตามวิธ ี ASTM D2240 ความแข็งโดย
Shore Durometer Type A ต้องมีคา่ เท่าก ับ 65 ± 5
การยุบต ัวเนือ
่ งจากแรงอ ัด (Compression Set) ทดสอบตามวิธ ี
ASTM D375 (Method B) ทีอ ุ หภูม ิ 70 องศา C นาน 22 ชว่ ั โมง สว่ นยุบ
่ ณ
่ เทียบก ับสว่ นยุบต ัวเดิมไม่มากกว่า 30%
ของยางเมือ
การตรวจสอบและควบคุมก่อนเริม
่ งานก่อสร้าง (ต่อ)

การตรวจสอบคุณสมบ ัติของแผ่นใยใสร่ อยต่อคอนกรีต

การร ับแรงอ ัด (Compression)


หนา < 12.5 มม. แรงอ ัด 7 – 88 กิโลกร ัมต่อตารางเซนติเมตร
หนา > 12.5 มม. แรงอ ัด 7 – 53 กิโลกร ัมต่อตารางเซนติเมตร
การคืนรูป (Recovery)
ต้องคืนรูปไม่นอ ้ ยกว่า 70% ของความหนาเดิม
การสูญเสย ี นา้ หน ักเนือ
่ งจากการอ ัด (Loss of Bitumen)
ไม่มากกว่า 3% ของนา้ หน ักเดิม
การตรวจสอบและควบคุมก่อนเริม
่ งานก่อสร้าง (ต่อ)

การตรวจสอบคุณสมบ ัติของแผ่นใยใสร่ อยต่อคอนกรีต


(ต่อ)
การปลิน ้ (Ectrusion)
สว่ นยืดออกจะต้องไม่มากกว่า 6 มิลลิเมตร
ความหนาแน่นเมือ ่ แห้ง (Air Dry Density)
ไม่นอ้ ยกว่า 305 กิโลกร ัม ต่อตารางเมตร
การดูดชม ึ นา้ (Water Absorption)
ความหนา < 12.5 มม. ไม่มากกว่า 20% โดยปริมาตร
ความหนา > 12.5 มม. ไม่มากกว่า 15 % โดยปริมาตร
การตรวจสอบและควบคุมก่อนเริม
่ งานก่อสร้าง (ต่อ)

่ นผสม (Mix Design)


การออกแบบอ ัตราสว
• ออกแบบสว่ นผสมเอง/ใชค ้ อนกรีตผสมเสร็จ
• ตรวจสอบว่าอ ัตราสว่ นผสมคอนกรีตเป็นอ ัตราสว่ นโดยนา้ หน ักหรือ
อ ัตราสว่ นโดยปริมาตร
การควบคุมคุณภาพงานโดยทว่ ั ไปม ักจะกาหนดเป็นอ ัตราสว่ นผสม
่ งจากมีความถูกต้องแน่นอนกว่าอ ัตราสว่ นผสมโดย
โดยนา้ หน ักเนือ
ปริมาตร ค่าหน่วยหน่วยนา้ หน ัก (Unit Weight) ของว ัสดุตา่ งๆ
(โดยประมาณ) ด ังนี้
ปูนซเี มนต์ ประเภท 1 = 1,240 กิโลกร ัมต่อลูกบาศก์เมตร
ทราย (แบบหลวม) = 1,400 กิโลกร ัมต่อลูกบาศก์เมตา
หินย่อย (แบบหลวม) = 1,400 กิโลกร ัมต่อลูกบาศก์เมตร
การตรวจสอบและควบคุมขณะดาเนินการ
ก่อสร้าง

การตรวจสอบว ัสดุกอ
่ สร้าง
• การทดสอบปูนซเี มนต์
• การทดสอบทราย
• การทดสอบหินย่อยหรือกรวด
• ว ัสดุกอ
่ สร้างอืน
่ ๆ
การตรวจสอบและควบคุมขณะดาเนินการ
ก่อสร้าง (ต่อ)

การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต ประกอบด้วย
- ดินขุดบ่อก่อสร้าง - การสูบนา้ ออกจากบ่อก่อสร้าง
- ฐานราก - แนวและระด ับ
- แบบหล่อและชอ ่ งเปิ ด - เหล็กเสริม
- แผ่นก ันนา้ - รอยต่อคอนกรีต
- ว ัสดุทฝ
ี่ ง
ั ในคอนกรีต - การเตรียมการผสมและเทคอนกรีต
- แบบฟอร์มสาหร ับตรวจสอบ - การตรวจสอบขนสุ
ั้ ดท้าย
การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต (ต่อ)

ดินขุดบ่อก่อสร้าง
บ่อก่อสร้างอาจต้องขุดลึกจากผิวเดินเดิมในชอ ่ งล ัด
(Diversion Channel) ลงไปประมาณ 15-20 เมตร ในทาง
ปฏิบ ัติ จะไม่ยอมให้ขด ุ ดินถึงระด ับทีจ
่ ะเทคอนกรีตแต่จะเหลือ
ไว้ 30 ชม. สุดท้าย เมือ ่ เตรียมงานต่างๆ พร้อมแล้วจึงจะ
อนุญาตให้ขด ั้ ดท้าย 30 ชม. นีอ
ุ ดินชนสุ ้ อก และจะต้องเท
คอนกรีตหยาบหรือคอนกรีตต ัวอาคารท ันที ภายใน 2 ชว่ ั โมง
การตรวจสอบนีเ้ ป็นการตรวจสอบดินขุดบ่อก่อสร้าง ชน ั้ 30
ชม. สุดท้าย ก่อนทีจ ่ ะอนุม ัติให้มก
ี ารเทคอนกรีตต่อไปได้
การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต (ต่อ)

การสูบนา้ ออกจากบ่อก่อสร้าง
ฐานรากของอาคารอาจอยูล ่ ก
ึ ลงไปในดินเดิมประมาณ
10-20 เมตร เชน ่ เขือ่ นทดนา้ ต่างๆ ปกติระด ับนา้ ใต้ดน
ิ บริเวณ
้ ะอยูล
นีจ ่ ก ึ จากผิวดินประมาณ 5-10 เมตร จึงมีความจาเป็นต้อง
มีการควบคุมนา้ ใต้ดน ิ ตรงฐานรากทีจ ่ ะทาการก่อสร้างไม่ให้ม ี
นา้ ข ังอยู่
การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต (ต่อ)

ฐานราก
ฐานรากอาคารอาจวางบนเสาเข็มคอนกรีตหรือบนดิน
เดิม ถ้าฐานรากวางอยูบนดินเดิม จะต้องขุดให้ถงึ ระด ับและ
ดาเนินการตรวจสอบเชน ่ เดียวก ับการตรวจสอบดินขุดบ่อ
ก่อสร้าง ฐานรากทีว่ างบนเสาเข็มจะต้องตรวจสอบว่าได้ทบ ุ
คอนกรีตห ัวเสาติดเหล็กยึดห ัวเสาเข็ม เพือ่ ให้เกิดการร ับแรงกด
ถ่ายทอดกาล ังหรือร ับแรงดึง ถูกต้องตามแบบ และมีการเท
คอนกรีตหยาบรองพืน ้ เรียบร้อย
การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต (ต่อ)

แนวและระด ับ
จะต้องทาการตรวจสอบว่า งานทีท ่ าเสร็จมาแล้ว มีแนว
และระด ับถูกต้องตามแบบเพียงใด เหล็กเสริมติดตงได้ ั้ ดงิ่ และ
ระด ับหรือไม่ ไม้แบบติดตงได้
ั้ ระด ับและดิง่ เพียงใด
การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต (ต่อ)

่ งเปิ ด
แบบหล่อและชอ
ถ้าเป็นไม้จะต้องตรวจสอบความแข็งแรง พอทีจ ่ ะร ับ
แรงด ันด้านข้างของเนือ ้ คอนกรีต สามารถร ับแรงสง่ ั สะเทือน
ขณะใชเ้ ครือ ่ งเขย่าคอนกรีตโดยไม่สน ่ ั คลอน ไม่เสย ี รูปและแนว
แบบหล่อจะต้องสนิทแน่น ไม่มช ่ งโหว่หรือรูรว่ ั
ี อ
ถ้าแบบหล่อเป็นเหล็ก จะต้องไม่คราบสนิมเกาะ และ
จะต้องทาด้วยนา้ ม ันทีใ่ ชส ้ าหร ับทาแบบและไม่ทาปฏิกริ ย ิ าก ับ
คอนกรีต
ในกรณีทจ ี่ ะมีงานโลหะฝังก ับคอนกรีตจะต้องเว้นชอ ่ ง
เปิ ด (Blockout) และตรวจสอบการจ ัดชอ ่ งเปิ ดให้ถกู ต้องตาม
แบบ ผิวของชอ ่ งเปิ ดจะต้องทาให้ขรุขระและสะอาดด้วย
การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต (ต่อ)

เหล็กเสริม
จะต้องตรวจสอบว่า เหล็ กเสริม มีชนคุ ั้ ณภาพ ขนาด
จานวนและระยะห่างตามทีร่ ะบุไว้ในแบบ
การด ัดงอเหล็กจะต้องด ัดงดตามขนาดและรูปร่างทีร่ ะบุ
ไว้ในแบบ
การติดตงเหล็
ั้ กเสริม จะต้องให้มรี ะยะห่างจากผิว
คอนกรีตตามทีแ ่ บบกาหนด เชน ่
- คอนกรีตสมผ ั ัสดิน/ถูกแดดถูกฝน ไม่นอ ้ ยกว่า 50 มม
- ฐานราก องค์อาคารสาค ัญสมผ ั ัสดินตลอดเวลา
ไม่นอ้ ยกว่า 75 มม.
- เสา ไม่นอ้ ยกว่า 35 มม.
- คาน ไม่นอ ้ ยกว่า 30 มม.
- แผ่นพืน ้ ผน ัง ตง ไม่นอ ้ ยกว่า 20 มม.
การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต (ต่อ)

แผ่นก ันนา้
มี 2 แบบ คือ Copper Waterstop และ Rubber
Waterstop จะต้องทาการตรวจสอบว่ามีรป ู ร่างและขนาด
ตามทีร่ ะบุไว้ในแบบ ถ้ามีการต่อด้านความยาวจะต้องตรวจสอบ
การต่อด้วยนา้ ยาประสานให้ถก ู ต้องตามทีผ
่ ผู ้ ลิตกาหนดหรือวิธ ี
ื่ ม
เชอ
การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต (ต่อ)
รอยต่อคอนกรีต
1. รอยต่อก่อสร้าง (Construction Joint) : รอยต่อที่ถกู กาหนดในขณะ
ก่อสร้าง
2. รอยต่อเผือ่ การหดตัว (Contraction Joint) : จะกาหนดตาแหน่ งและ
รายละเอียดการจัดทาไว้ในแบบ เมื่อเทคอนกรีตถึงระยะรอยต่อตามแบบ
3. รอยต่อเผือ่ ขยาย (Expansion Joint) : จะกาหนดตาแหน่ งและรายละเอียดการ
จัดทาไว้ในแบบ เมื่อเทคอนกรีตถึงระยะรอยต่อตามแบบ
4. รอยต่อควบคุม (Control Joints) : จะกาหนดตาแหน่ งและรายละเอียดไว้ในแบบเพื่อลด
การแตกร้าวอันเนื่ องมาจากการหดตัว (Initial Shrinkage) โดยปกติรอยต่อควบคุมจะใช้
ในงานท่อคอนกรีตหล่อในที่ (Cast-in- place Conduit) ที่มีความยาวมาก
วัสดุสำหรับรอยต่อ
รอยต่อเผือ่ การหดตัว

รอยต่อเผือ่ ขยาย
การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต (ต่อ)

ว ัสดุทฝ
ี่ ง
ั ในคอนกรีต
ในอาคารคอนกรีตอาจมีการฝังท่อ น็ อต สายไฟฟ้าและ
โลหะต่าง ๆ จะต้องตรวจสอบว่าการฝังว ัตถุด ังกล่าว ได้ระยะ
ตามทีแ
่ บบกาหนด มีการยึดแน่นจนไม่เคลือ ่ นทีร่ ะหว่างการเท
การกระทุง้ และการเขย่าคอนกรีต
การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต (ต่อ)

การเตรียมการผสมและเทคอนกรีต
ควรตรวจสอบดูวา ่ ทุกสงิ่ ทุกอย่างทีเ่ กีย่ วข้องอยูใ่ น
สภาพพร้อมและเหมาะสม ตรวจสอบดูวา ่ มีว ัสดุทงปริ ั้ มาณ
และคุณภาพพอเพียงหรือไม่ ตรวจสอบความเทีย ่ งตรงของ
อุปกรณ์การว ัดปริมาณให้เทีย ่ งตรง ตรวจดูวธ ิ กี ารลาเลียง
การเทคอนกรีตเพือ ่ ป้องก ันการสูญเสย ี นา้ หรือเกิดการ
้ ตรวจสอบจานวน และสภาพของเครือ
แยกต ัวขึน ่ งเขย่า
การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต (ต่อ)

แบบฟอร์มสาหร ับตรวจสอบ
การใชแ ้ บบฟอร์มสาหร ับตรวจสอบ จะทาให้งานสะดวก
้ โดยใชเ้ ป็นเครือ
และรวดเร็วยิง่ ขึน ่ ยในการตรวจสอบเพือ
่ งชว ่
การเห็นชอบขนสุ ั้ ดท้ายก่อนอนุม ัติให้มกี ารเทคอนกรีตต่อไป
การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต (ต่อ)

การตรวจสอบขนสุ
ั้ ดท้าย
ตรวจสอบขนสุ ั้ ดท้ายว่า ภายในอาคารหรือภายในแบบ
ทีจ
่ ะเทได้ทาความสะอาด ไม่มเี ศษดิน ลวดผูกเหล็ก หรือเศษ
ไม้ตกหล่นอยู่ ไม้แบบได้ทานา้ ยาสาหร ับทาแบบ เมือ ่ ได้
ตรวจสอบขนนี ้ ล้วจึงอนุม ัติให้เทคอนกรีตต่อไปได้
ั้ แ
การตรวจสอบและควบคุมขณะดาเนินการ
ก่อสร้าง

การตรวจสอบการเทคอนกรีต
่ นผสม
- อ ัตราสว - การว ัดปริมาณว ัสดุผสม
- การผสม - ความข้นเหลว

- อุณหภูม ิ - การลาเลียง
- การเทคอนกรีต - การทาให้แน่น
- การเก็บต ัวอย่างเพือ
่ ทดสอบ - รอยต่อก่อสร้าง
- การตกแต่ง
การตรวจสอบการเทคอนกรีต

่ นผสม
อ ัตราสว
ตรวจดูให้แน่วา
่ การกาหนดสว่ นผสมนนกั้ าหนดโดย
นา้ หน ักหรือโดยปริมาตร ซงึ่ โดยปกติแล้วจะกาหนดโดย
นา้ หน ัก
การตรวจสอบการเทคอนกรีต

การว ัดปริมาณว ัสดุผสม


ว ัสดุผสมต่าง ๆ ได้แก่ ปูนซเี มนต์ ทราย หินย่อยหรือ
กรวด นา้ หรือสารผสมเพิม ่ จะต้องทาการชง่ ั หรือตวงแต่ละ
ครงให้
ั้ ถก ู ต้องตามอ ัตราสว่ นผสมทีก ่ าหนดให้ ในการว ัด
่ นผสมโดยปริมาตรจะต้องระม ัดระว ังในการตวงให้มาก
สว
เพราะผิดพลาดได้งา ่ ยภาชนะทีใ่ ชต ้ วงควรจะคานวณ
ปริมาตรให้แน่นอน
การตรวจสอบการเทคอนกรีต

การผสม
เมือ ่ ัสดุผสม ได้แก่ ปูนซเี มนต์ ทราย หินย่อย
่ ใสว
หรือกรวด และนา้ ลงไปในโม่ผสมแล้ว จะต้องตรวจสอบ
การผสมให้นานพอทีส ่ ว่ นผสมต่าง ๆ จะผสม คลุกเคล้าทว่ ั
ก ันโดยตลอดและสมา ่ เสมอ คอนกรีตทีผ ่ สมเสร็จจาก
เครือ ่ งผสมจะต้องนาไปเทลงในแบบหล่อให้เสร็จภายใน
45 นาที ในกรณีทใี่ ชส ้ ารหน่วงการก่อต ัวควรเทลงแบบ
ภายใน 1:30 ชว่ ั โมง (ไม่ใชส ้ ารผสมเพิม่ 1 ชม. ในกรณี
ทีใ่ ชส ้ ารหน่วงการก่อต ัว 2-4 ชว่ ั โมง)
การตรวจสอบการเทคอนกรีต

ความข้นเหลว
ควรทาการตรวจสอบคุณสมบ ัติของคอนกรีตสด
(Fresh Concrete) โดยการทดสอบค่าความยุบต ัว
(Slump Test) ซงึ่ จะเป็นการตรวจสอบและควบคุมการ
ผสมของคอนกรีตว่าถูกต้องเหมาะสมเพียงใด การยุบต ัว
ของคอนกรีตจะเป็นเครือ ี้ งึ ความยากง่ายของการ
่ งชถ
ทางาน และความเหมาะสมของคอนกรีตทีม ่ ต
ี อ
่ งานแต่ละ
ล ักษณะด้วย
การตรวจสอบการเทคอนกรีต

อุณหภูม ิ
การว ัดอุณหภูมข ิ องคอนกรีตเพือ ่ ให้ทราบถึงอุณหภูม ิ
ขณะทีเ่ พิง่ ออกจากโม่ อุณหภูมส ิ ง
ู สุดของคอนกรีตไม่ควร
เกิน 32 ºC เพือ ่ ป้องก ันการแตกร้าวอ ันเนือ ่ งมาจากความ
แตกต่างก ันของอุณหภูมอ ิ ณ ้ เท่าใด
ุ หภูม ิ และยิง่ สูงมากขึน
กาล ังของคอนกรีตจะลดลงตามลาด ับ กาล ังของคอนกรีตที่
40 ºC จะสูงเพียง 85% ของกาล ังของคอนกรีตที่ 23 ºC
การตรวจสอบการเทคอนกรีต

การลาเลียง
เครือ ่ งมือทีจ ้ าเลียงคอนกรีตจากเครือ
่ ะใชล ่ งผสมไป
ย ังจุดทีจ่ ะเทคอนกรีตจะต้องจ ัดเตรียมให้สอดคล้องก ับชนิด
ของคอนกรีตทีจ ่ ะเท ไม่วา่ จะใชว้ ธ
ิ ใี ดก็ตามจะต้องยึด
หล ักการทีจ ่ ะไม่ทาให้เกิดการแยกต ัว (Segregation) และ
สูญเสย ี ค่าการยุบต ัว (Slump Loss) น้อยทีส ่ ด

การตรวจสอบการเทคอนกรีต

การเทคอนกรีต
การเทคอนกรีตคงยึดหล ักเชน ่ เดียวก ับการลาเลียง
คอนกรีต คือ จะต้องไม่ทาให้เกิดการแยกต ัวระหว่างมวล
รวมหยาบก ับนา้ ปูน และให้เกิดการสูญเสย ี ค่าการยุบต ัวน้อย
ทีส
่ ด
ุ การเทคอนกรีตจะต้องตรวจสอบระยะปล่อยคอนกรีต
ไม่ควรสูงกว่ามาตรฐานโดยปกติไม่ควรสูงกว่า 2.00 เมตร
และต้องเทถูกต้องตามวิธมี าตรฐาน เพือ่ ป้องก ันการแยกต ัว
การตรวจสอบการเทคอนกรีต

การทาให้แน่น
เมือ
่ เทคอนกรีตลงในแบบหล่อแล้ว จาเป็นต้องทาให้
คอนกรีตนนอ ้ เดียวก ัน ไม่เกิด
ั้ ัดต ัวก ันแน่น ประสานเป็นเนือ
ชอ ่ งว่าง รูโพรง กระจุกหิน หรือกลุม ่ ทรายภายในเนือ ้
คอนกรีต วิธก ี ารทีท
่ าให้คอนกรีตแน่น ทาได้โดยการ
กระทุง้ ด้วยมือ (Hand Tamping) หรือเขย่าด้วยเครือ ่ ง
(Vibrator) มีหลายขนาดหลายแบบ เลือกใชใ้ ห้เหมาะสม
ก ับงานแต่ละชนิด
การตรวจสอบการเทคอนกรีต

การเก็บต ัวอย่างเพือ
่ ทดสอบ
ระหว่างการเทคอนกรีต ควรหล่อแท่งคอนกรีต
ต ัวอย่าง ตามปกติเป็นแท่งทรงกระบอก ขนาดเสน ้ ผ่าน
ศูนย์กลาง 6 นิว้ สูง 12 นิว้ หรือแบบทรงลูกบาศก์ ขนาด
6 × 6 × 6 นิว้ จานวน 6 แท่ง ต่อว ัน (อย่างน้อย) เพือ ่ ไว้
ตรวจสอบค่ากาล ังอ ัดของคอนกรีต หล ังจากบ่มไว้ 7 ว ัน
และ 28 ว ัน แล้ว นาไปเข้าเครือ ่ งกดเพือ
่ หาค่ากาล ังอ ัดของ
คอนกรีต
การตรวจสอบการเทคอนกรีต

รอยต่อก่อสร้าง
เมือ
่ การเทคอนกรีตในสว ่ นของอาคารไม่สามารถทา
ให้เสร็จในรวดเดียวก็ให้หยุดเท โดยหยุดตรงสว ่ นของ
โครงสร้างทีเ่ สย ี ความแข็งแรงน้อยทีส ่ ด
ุ และเมือ ่ จะเท
คอนกรีตต่อจากทีห ่ ยุดไว้ ให้กะเทาะหน้าคอนกรีตเก่า และ
แปรงด้วยแปรงลวด ราดนา้ ให้เปี ยก แล้วใชน ้ า้ ผสม
ปูนซเี มนต์และทรายในอ ัตราสว ่ นผสมเดียวก ันก ับคอนกรีต
ราดนา้ ให้ทว่ ั หน้าทีจ
่ ะเทต่อ หนาประมาณ 1 ซม. แล้วจึงเท
คอนกรีตต่อไปได้
การตรวจสอบการเทคอนกรีต

การตกแต่ง
การตกแต่งผิวครงแรกควรแต่
ั้ งผิวน้อยทีส่ ด
ุ เท่าทีจ่ ะ
น้อยได้ ควรปล่อยให้นา้ ซม ึ ขึน
้ มาอยูบ
่ นผิวจากการแต่งผิว
หยาบ ๆ ระเหยไปหมดเสย ี ก่อน ก่อนทีจ ่ ะแต่งด้วยเกรียง
เหล็กอีกครงหนึ
ั้ ง่ ระหว่างทีท ่ าการตกแต่งด้วยเกรียงขน ั้
สุดท้าย เวลากดเกรียงเหล็กควรจะให้เอียงเป็นมุมเล็กน้อย
และกดหน ัก ๆ เพือ ่ นทีเ่ ป็นซเี มนต์เพสต์ให้แน่น ซงึ่ จะ
่ อ ัดสว
ทาให้ได้ผวิ ทีแ่ น่นและแข็ง
การตรวจสอบและควบคุมขณะดาเนินการ
ก่อสร้าง
การตรวจสอบหล ังการเทคอนกรีต
• การถอดแบบ
• การบ่มคอนกรีต
• การซอ่ มผิวชารุด
การตรวจสอบการเทคอนกรีต
การถอดแบบ

โดยทว่ ั ไปมีระยะเวลาด ังนี้

แบบด้านข้าง ตอม่อ เสา คาน และกาแพง 2 ว ัน

แบบท้องคาน หรือใต้พน ื้ 21 ว ัน
(หรือเมือ
่ คอนกรีตมีกาล ังอ ัดไม่นอ
้ ยกว่า 90% ของ fc’)

คา้ ย ันท้องคาน 28 ว ัน
(หรือเมือ ่ คอนกรีตมีกาล ังอ ัดไม่นอ
้ ยกว่า fc’)
การตรวจสอบการเทคอนกรีต
การบ่มคอนกรีต
จะต้องกระทาท ันทีเมือ ่ คอนกรีตเริม ่ แข็งต ัว และกระทา
อย่างต่อเนือ ่ งติดต่อก ันไม่นอ ้ ยกว่า 7 ว ัน การบ่มคอนกรีตทาได้ 3
วิธ ี คือ
- วิธเี พิม ่ ความชนื้ หรือบ่มด้วยนา้ ได้แก่ การข ังนา้ การฉีด
พ่นนา้ หรือใชว้ ัสดุเปี ยกชน ื้ คลุม
- วิธป ี ้ องก ันการสูญเสย ี ความชน ื้ หรือบ่มด้วยนา้ ยาเคมี
โดยใชแ ้ ผ่นพลาสติกปิ ดคลุม หรือใชส ้ ารเคมีเคลือบผิวคอนกรีต
(Curing Compound) โดยการใชว้ ธ ิ ท ี าหรือพ่นเป็นฝอยอย่าง
สมา ่ เสมอบนผิวหน้าคอนกรีต
- วิธเี ร่งกาล ังหรือบ่มด้วยไอนา้ เป็นการทาให้คอนกรีตมี
กาล ังสูงขึน ้ อย่างรวดเร็ว โดยใชค ้ วามร้อน และความชน ื้ เข้าชว
่ ย
การตรวจสอบการเทคอนกรีต
่ มผิวชารุด
การซอ
ก่อนทีจ
่ ะเริม่ ตกแต่งหรือซอ ่ มแซม รูทเี่ กิดจากเหล็ กยึด
ควรอ ัดให้แน่นด้วยมอร์ตา้ ร์ทก ี่ ระด้าง โดยใชว้ ัสดุชนิดเดียวก ัน
ก ับทีใ่ ชใ้ นคอนกรีตถ้าไม่ตอ ้ งการให้เห็นรอย ควรผสม
ปูนซเี มนต์ขาวลงไปด้วย บริเวณทีเ่ ป็นรูพรุน ควรจะเจาะออก
จนถึงคอนกรีตทีม ้ ดีแล้วจึงอ ัดคอนกรีตทีเ่ ข้าก ับคอนกรีต
่ เี นือ
ในโครงสร้างนนๆ ั้ ได้เข้าไปแทนที่
การประเมินผลงานคอนกรีต

ิ กาล ังอ ัดแท่งคอนกรีต


เกณฑ์การต ัดสน
เกณฑ์การต ัดสน ้ า่ เฉลีย
ิ ใชค ่ ผลการทดสอบกาล ังอ ัดของแท่ง
ต ัวอย่างคอนกรีตอย่างน้อย 3 แท่ง ต้องไม่ตา ่ กว่ากาล ังอ ัดทีแ
่ บบกาหนด
และผลการทดสอบกาล ังอ ัดของแต่ละแท่งต้องไม่ตา ่ กว่าร้อยละ 85 ของ
กาล ังอ ัดทีแ
่ บบกาหนด
การประเมินผลงานคอนกรีต

การประเมินผลความผ ันแปรในขบวนการผลิต
จะพิจารณาค่าสว่ นเบีย ่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ของค่ากาล ังอ ัดคอนกรีต ถ้ามีคา่ สูงแสดงว่าการควบคุมขบวนการผลิต
คอนกรีตย ังไม่ดพี อต้องปร ับปรุง

การประเมินผลความผ ันแปรในขบวนการควบคุมคุณภาพ

พิจารณาค่าสมประส ิ ธิข
ท ์ องความผ ันแปร (Coefficient of
Variation) ถ้ามีคา่ สูงแสดงว่าการควบคุมคุณภาพคอนกรีตย ังไม่ดพ ี อ
ต้องปร ับปรุง

cv = (สว่ นเบีย
่ งเบนมาตรฐาน/ค่าเฉลีย
่ )x100
การประเมินผลงานคอนกรีต

กรณีคอนกรีตทีม
่ ค
ี ณ
ุ ภาพไม่ผา
่ นการทดสอบ

- คอนกรีตเจาะ
- ทดสอบการร ับนา้ หน ักบรรทุก
บทสรุป

การควบคุมการก่อสร้างงานคอนกรีต เพือ
่ ให้ได้คอนกรีตทีด
่ น
ี นจะต้
ั้ อง
ประกอบด้วยหล ักสาค ัญ 3 ประการ ได้แก่
1. การควบคุมคุณภาพของว ัสดุ เพือ ่ ให้ได้ว ัสดุทม
ี่ ค
ี ณ
ุ ภาพเหมาะสม
ก ับงาน และทราบการเปลีย ่ นแปลงของว ัสดุ เพือ
่ ทีจ่ ะได้ดาเนินการ
เปลีย่ นแปลงหรือแก้ไขอ ัตราสว่ นผสมคอนกรีตให้เหมาะสมต่อไป
2. การควบคุมอ ัตราสว่ นผสม เพือ่ จะได้นาสว่ นผสมมาใชใ้ ห้ถก ู ต้อง
ตามล ักษณะของงาน และเพือ
่ ให้ได้งานทีด
่ ม
ี ค
ี ณ
ุ ภาพ และประหย ัด
3. การควบคุมการทาคอนกรีต เริม่ ตงแต่
ั้ การผสม การลาเลียง การ
เท การทาให้แน่น จนกระทง่ ั ถึงการบ่มคอนกรีต รูจ้ ักเลือกใชเ้ ครือ
่ งจ ักร
เครือ
่ งมือทีม่ ป ิ ธิภาพและเหมาะสมก ับงาน มีการวางแผนการทางานที่
ี ระสท
ดี ควบคุมคุณภาพคอนกรีตให้เป็นไปตามทีแ ่ บบกาหนด เมือ ่ มีขอ
้ ผิดพลาด
เกิดขึน้ ก็จะทราบและแก้ไขได้ท ันท่วงที
จบการนาเสนอ

You might also like