Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 21

1 1316 Upskill ฟิิสิิกส์์ประยุุกต์์

สรุุปประเด็็นยิิบย่่อย
วััดความเป็็นแฟนพัันธุ์์�แท้้หนัังสืือ สสวท. for #Dek65
(พวกที่่�เน้้นจำำ� ไม่่ได้้เน้้นคำำ�นวณ)
By ทีีมวิิชาการฟิิสิิกส์์ ออนดีีมานด์์ (พี่่�พััฒน์์ พี่่�อ้้น พี่่�ก้้าน และพี่่�ปิ๊๊�ก)

กลุ่่�มคลื่น่�
การมองเห็็นสีีของมนุุษย์์
• แสงสีีวิ่่�งเข้้ากระทบจอตาที่่�มีเี ซลล์์รููปกรวย (cone cell) 3 ชนิิด ได้้แก่่ S, M และ L
(ย่่อจาก Short, Medium และ Long wavelength ตามลำำ�ดัับ ก็็คืือแบ่่งตามย่่าน
ความยาวคลื่่�นที่่�รัับได้้จากสั้้�น กลาง ไปยาว)
• การตอบสนองของเซลล์์ S, M, L ต่่อความยาวคลื่่�นต่่างๆ เป็็นตามกราฟด้้านล่่าง

M
L
การตอบสนองต่่อแสง

400 500 600 700

ความยาวคลื่่�น (nm)
2
by P’Nhong & P'Toey & P'Great & P'Friend

• เซลล์์กรวยต้้องทำำ�งานร่่วมกัันในการแยกสีี เช่่น แสงความยาวคลื่่�น 600 nm จะกระตุ้้�น M


และ L โดยกระตุ้้�น L มากกว่่านิิดหน่่อย ทำำ�ให้้สมองตีีความว่่าเป็็นสีีแสด
ดัังนั้้�นการบอกว่่ากรวยชนิิด L ทำำ�ให้้เห็็นแสงสีีแดงเท่่านั้้�นอาจจะทำำ�ให้้เข้้าใจผิิด
(เพราะจริิง ๆ สามารถรัับได้้ตั้้�งแต่่เขีียวถึึงแดง)
• การบอดสีี (color blindness) คืือภาวะเซลล์์รููปกรวยชนิิดต่่างๆ ทำำ�งานผิิดปกติิ ทำำ�ให้้เห็็น
สีีเพี้้�ยน เช่่น M หรืือ L ทำำ�งานผิิดปกติิ จะแยกแสงสีีเขีียว-แดง ไม่่ได้้ มัักถููกเรีียกรวมกัันว่่า
ตาบอดสีีเขีียวแดง

= สีีที่่�โดนกระทบ

Normal Achromatopsia Protanopia Dueteranopia Tritanopia


ปกติิ บอดทุุกสีี บอดสีแี ดง บอดสีีเขีียว บอดสีีน้ำำ��เงิิน
สัังเกตว่่า บอดสีแี ดง กัับ บอดสีเี ขีียว มองเห็็นเฉดสีีคล้้ายๆ กััน
เลยอาจเรีียกรวมๆ ว่่า บอดสีแี ดง-เขีียว

การผสมแสงสีี
• แสงสีีปฐมภููมิิ RGB (Red Green Blue)

น้ำำ��เงิิน

แดงม่่วง น้ำำ��เงิินเขีียว

เขีียว
แดง
เหลืือง
ขาว (เกิิดจากการผสมทุุกสีีเข้้าด้้วยกััน)
แสงสีีปฐมภููมิิ คืือ (น้ำำ��เงิิน-เขีียว-แดง)
3 1316 Upskill ฟิิสิิกส์์ประยุุกต์์

• Tri-color LED ใช้้หลัักการกระตุ้้�นเซลล์์รููปกรวยแต่่ละชนิิด เพื่่�อให้้แสงสีีต่่างๆ โดยใช้้


LED สีีน้ำำ��เงิิน เขีียว และแดง ที่่�มีขี นาดเล็็กมากๆ และอยู่่�ใกล้้กัันมากๆ ในการผสมแสงสีี
เช่่น หลอดสีีแดงทำำ�งานพร้้อมกัับน้ำำ��เงิิน จะทำำ�ให้้เห็็นสีีแดงม่่วง
- LED สีีน้ำำ��เงิิน กระตุ้้�นเฉพาะเซลล์์รููปกรวย S
- LED สีีเขีียว กระตุ้้�นเฉพาะเซลล์์รููปกรวย M
- LED สีีแดง กระตุ้้�นเฉพาะเซลล์์รููปกรวย L

ภาพขยายของหลอด Tri-color LED

การผสมสารสีี
• สารสีีปฐมภููมิิ CMY (Cyan Magenta Yellow)

น้ำำ��เงิินเขีียว

น้ำำ��เงิิน เขีียว
เหลืือง
แดงม่่วง

แดง
ดำำ� (เกิิดจากการไม่่ดูดู กลืืนทุุกสีี)
สารสีีปฐมภููมิิ คืือ (เหลืือง-แดงม่่วง-น้ำำ��เงิินเขีียว)
4
by P’Nhong & P'Toey & P'Great & P'Friend

• แบบจำำ�ลองการดููดกลืืนและการสะท้้อนแสงสีีของสารสีีต่่างๆ


งขา
แส

สารสีีเหลืือง แสงเขีียว
แสงเหลืือง
แสงแดง

แสงสีีอื่่�นๆ ถููกดููดกลืืนหมด ระลึึกแสงเหลืือง = แดง+เขีียว

ปรากฏการณ์์เกี่่�ยวกัับแสง
• การกระจายแสง รุ้้�งกิินน้ำำ�� และทรงกลด
- เมื่่�อฉายแสงขาวผ่่านปริิซึึม (หรืือหยดน้ำำ�ก็� ็ได้้) แสงสีีม่่วงจะเบนไปจากแนวเดิิม
มากกว่่าแสงสีีแดง (วิิธีีจำ�ำ ม่่วง = เบน มาก) สาเหตุุเพราะแม้้จะตััวกลางเดีียวกััน
แต่่ดััชนีีหัักเหของแสงแต่่ละสีีไม่่เท่่ากััน จึึงหัักเหไปด้้วยมุุมหัักเหที่่�ไม่่เท่่ากััน

แนวเดิิม
แสงขาว เบี่่�ยงเบน
แดง

ม่่วง
5 1316 Upskill ฟิิสิิกส์์ประยุุกต์์

- นำำ�เอาความรู้้�ตรงนี้้�มาอธิิบายรุ้้�งกิินน้ำำ�� ได้้

_
bb รุ้้�งทุุติิยภููมิิ
` สะท้้อนในหยดน้ำำ�� 2 ครั้้�ง
b แสงรั่่�วสองรอบ จึึงจาง
a

_
bb รุ้้�งปฐมภููมิิ
` สะท้้อนในหยดน้ำำ�� 1 ครั้้�ง
b แสงรั่่�วรอบเดีียว จึึงเข้้ม
a

สัังเกต รุ้้�งทั้้�งสองชนิิดที่่�คนเห็็น ขอบนอกเป็็นม่่วง


ขอบในเป็็นแดง (ม่่วง แเดง แดง ม่่วง)

- การทรงกลด (halo) เกิิดจากการหัักเหของแสงที่่�ผ่่านผลึึกน้ำำ�� แข็็งรููปหกเหลี่่�ยมในเมฆ



6
by P’Nhong & P'Toey & P'Great & P'Friend

• การเกิิดมิิราจ
- ปรากฏการณ์์ที่่�เห็็นภาพของ “น้ำำ��” (ภาพลวงตา) อยู่่�บนพื้้�นถนนที่่�แห้้ง

- เกิิดจากการหัักเหของแสงในบริิเวณที่่�อุุณหภููมิิของพื้้�นและอากาศต่่างกัันมากๆ เช่่น
ถนนที่่�ถููกแดดส่่องร้้อนๆ ทำำ�ให้้เกิิดการสะท้้อนกลัับหมดของแสงบริิเวณใกล้้พื้้�น
ดวงตาจึึง “ถููกหลอก” คิิดว่่ามีีแสงจาก “ภาพกลัับหััว” ที่่�อยู่่�ใต้้วััตถุุ

T ต่ำำ�� n มาก
ปกติิ

มิิราจ
T สููง n น้้อย
7 1316 Upskill ฟิิสิิกส์์ประยุุกต์์

• การเห็็นท้้องฟ้้าเป็็นสีีต่่างๆ ในช่่วงเวลาต่่างกััน
- เกิิดจากการที่่�แสงอาทิิตย์์กระทบโมเลกุุลของอากาศในชั้้�นบรรยากาศ ถููกดููดกลืืนและ
เกิิดการกระเจิิงออก ทำำ�ให้้เห็็นแสงกระเจิิงออกในทุุกทิิศทาง
- แสงความยาวคลื่่�นสั้้�น(ม่่วง)กระเจิิงได้้ดีีกว่่าแสงความยาวคลื่่�นยาว(แดง) ทำำ�ให้้เรา
เห็็นแสงสีีน้ำำ��เงิินและม่่วงแต่่ตาเรารัับสีีน้ำำ��เงิินได้้ดีีกว่่าเลยเห็็นท้้องฟ้้าในเวลากลางวััน
เป็็นสีีฟ้้า
- ช่่วงเช้้าหรืือเย็็นแสงจะต้้องผ่่านบรรยากาศเป็็นระยะทางมาก จึึงทำำ�ให้้แสงส่่วนที่่�
กระเจิิงได้้ดีีกระเจิิงออกไปเกืือบหมดก่่อนเดิินทางมาถึึงเรา แล้้วเหลืือแค่่แสงสีีแดง
ที่่�กระเจิิงได้้น้้อย จึึงเห็็นท้้องฟ้้าเป็็นสีีแดง

มลพิิษทางเสีียงและการป้้องกััน
• ข้้อแนะนำำ�องค์์การอนามััยโลก
- เสีียงรบกวนในชุุมชนที่่�มีีระดัับเสีียงไม่่เกิิน 70 dB ไม่่เป็็นอัันตรายต่่อการได้้ยิิน
- เสีียงรบกวนในสถานประกอบการ ระดัับสููงสุุดได้้ที่่� 85 dB ไม่่เกิินวัันละ 8 ชม.
(มากกว่่านี้้�จะอัันตราย)
• มาตรฐานระดัับเสีียงที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับสถานประกอบการ ตามกระทรวงมหาดไทย
- ไม่่เกิินวัันละ 7 ชม. ระดัับเสีียงที่่�ลููกจ้้างได้้รัับติิดต่่อกัันไม่่เกิิน 91 dB
- เกิินวัันละ 7 ชม. แต่่ไม่่เกิิน 8 ชม. ระดัับเสีียงต้้องไม่่เกิิน 90 dB
- เกิิน 8 ชม. ระดัับเสีียงต้้องไม่่เกิิน 80 dB
- นายจ้้างจะให้้ลููกจ้้างทำำ�งานในที่่�มีีระดัับเสีียงเกิิน 140 dB ไม่่ได้้

แนวทางการลดมลพิิษทางเสีียง
• การควบคุุมแหล่่งกำำ�เนิิดเสีียง เช่่น ใช้้วััสดุุดููดซัับเสีียงบริิเวณที่่�เกิิดการสั่่�นสะท้้อน
ใช้้น้ำำ��มัันหล่่อลื่่�นลดการเสีียดสีี
• การควบคุุมทางผ่่านของเสีียง
- การเพิ่่�มระยะระหว่่างแหล่่งกำำ�เนิิดเสีียงและคน
- การใช้้วััสดุุดููดกลืืนเสีียง กั้้�นเสีียงหรืือเบี่่�ยงเบนทิิศทางเสีียง เช่่น แนวกำำ�แพงต้้นไม้้
• การควบคุุมผู้้�รัับเสีียง
- การกำำ�หนดเวลาทำำ�งานตามมาตรฐานระดัับเสีียงที่่�กำำ�หนด
- ใช้้เครื่่�องป้้องกัันอัันตรายต่่อหููเพื่่�อลดระดัับเสีียง
- เครื่่�องอุุดหูู (ear plug) ลดได้้ 15-25 dB
- เครื่่�องครอบหูู (ear muff) ลดได้้ 30-40 dB
8
by P’Nhong & P'Toey & P'Great & P'Friend

การประยุุกต์์ใช้้ความรู้้�เรื่่�องเสีียง
• การเปล่่งเสีียงของมนุุษย์์
- เมื่่�อลมผ่่านเส้้นเสีียงที่่�อยู่่�ภายในกล่่องเสีียง จะทำำ�ให้้เกิิดการสั่่�น เกิิดเป็็นเสีียงสููงต่ำำ��
• การทำำ�งานของเครื่่�องดนตรีี
- อาจถููกแบ่่งได้้หลายประเภท (เครื่่�องสาย เครื่่�องเป่่า เครื่่�องตีี) แต่่ทุุกประเภทเกิิดจาก
การสั่่�นของตััวกลางหรืือแหล่่งกำำ�เนิิดที่่�เป็็นคลื่่�นนิ่่�ง
• การปรัับเทีียบเสีียงเครื่่�องดนตรีี
- ใช้้บีีตเพื่่�อปรัับความถี่่�ของเครื่่�องดนตรีีเทีียบกัับหลอดเทีียบเสีียงมาตรฐาน
- หากเกิิดบีีตแปลว่่าความถี่่�เสีียงเครื่่�องดนตรีียัังไม่่ตรงกััน
• การเดิินเรืือและการประมง
- ใช้้คลื่่�นเสีียงความถี่่�สููงจากเครื่่�องโซนาร์์ในการระบุุตำำ�แหน่่งของวััตถุุ
- ข้้อมููลจากเสีียงสะท้้อนสามารถใช้้ประมาณ ขนาด รููปร่่าง และระยะห่่าง ของวััตถุุได้้
• ด้้านการแพทย์์
- ใช้้คลื่่�นอััลตราซาวด์์ (เสีียงความถี่่�สููงเกิินย่่านมนุุษย์์ได้้ยิิน) ตรวจร่่างกายโดยนำำ�
การสะท้้อนของคลื่่�นจากอวััยวะเป้้าหมายมาแปลผลเป็็นภาพหรืือเพื่่�อตรวจดููทารก
ในครรภ์์
- นอกจากนี้้�อััลตราซาวด์์ยัังใช้้สลายนิ่่�วในท่่อไตให้้เป็็นชิ้้�นเล็็กๆ และขัับออกทาง
ปััสสาวะ (ไม่่ต้้องผ่่า)
• ด้้านธรณีีวิิทยา
- ใช้้คลื่่�นเสีียงในความถี่่�ช่่วง 1-3 kHz ในการสำำ�รวจปิิโตรเลีียมที่่�อยู่่�ใต้้พื้้�นดิิน โดยการ
ใช้้หััววััดคลื่่�นเสีียงส่่งผ่่านชั้้�นหิิน
- เมื่่�อคลื่่�นเสีียงผ่่านชั้้�นหิินที่่�มีีความหนาแน่่นต่่างกััน จะทำำ�ให้้ความเร็็วคลื่่�นต่่างกััน
- นำำ�ข้้อมููลมาวิิเคราะห์์หาความพรุุน เพื่่�อคำำ�นวณหาปริิมาณปิิโตรเลีียมที่่�สะสม
• ด้้านวิิศวกรรมและอุุตสาหกรรม
- ใช้้คลื่่�นเหนืือเสีียงช่่วงความถี่่� 500 kHz-15 MHz ในการตรวจสอบรอยร้้าวหรืือตำำ�หนิิ
ในเนื้้�อโลหะ แก้้ว เซรามิิก โดยการวิิเคราะห์์การสะท้้อนกลัับของคลื่่�น หรืือการรบกวน
ที่่�เกิิดขึ้้�นในคลื่่�น นอกจากนี้้�ยัังใช้้ตรวจสอบยางรถยนต์์ที่่�ผลิิตใหม่่ได้้ด้้วย
- คลื่่�นเหนืือเสีียงยัังสามารถใช้้ทำำ�อุุปกรณ์์วััดความหนาของวััสดุุที่่�มีีความแข็็งได้้ โดยที่่�
ไม่่ต้้องเข้้าถึึงอีีกด้้านหนึ่่�งของวััสดุุ
9 1316 Upskill ฟิิสิิกส์์ประยุุกต์์

กลุ่่�มไฟฟ้้า
การนำำ�ความรู้้�เกี่่�ยวกัับไฟฟ้้าสถิติ ไปใช้้ประโยชน์์
• เครื่่�องถ่่ายเอกสาร: ทำำ�ให้้ “ดรััม” มีีประจุุไฟฟ้้าบริิเวณที่่�ต้้นฉบัับเป็็นสีีเข้้ม หมึึกจะถููกดููด
ติิดตรงบริิเวณนั้้�นด้้วยแรงไฟฟ้้า แล้้วจากนั้้�นจึึงถ่่ายเทหมึึกไปยัังกระดาษเปล่่า
1 2
Light

ORIGINAL

3 4 5
top view bottom view heat

ink
blank
paper

COPIED

• การเคลืือบสีีด้้วยไฟฟ้้าสถิิต: ทำำ�ให้้วััตถุุที่่�จะเคลืือบสีี กัับสีี มีีประจุุไฟฟ้้าตรงข้้ามกััน


เวลาพ่่นสีีไปจะได้้ดููดติิดกัันได้้ง่่ายไม่่ฟุ้้�งกระจาย
• เครื่่�องฟอกอากาศและเครื่่�องตกตะกอนไฟฟ้้าสถิิต: ทำำ�ให้้ไรฝุ่่�นหรืืออนุุภาคมลพิิษ
กัับแผ่่นดัักจัับ มีีประจุุไฟฟ้้าตรงกัันข้้ามกััน จะได้้ดููดไรฝุ่่�นหรืืออนุุภาคมลพิิษออกมาจาก
อากาศบริิสุุทธิ์์�ได้้

ฟ้้าผ่่าและฟ้้าแลบ
• เมื่่�อโมเลกุุลของไอน้ำำ�� และอากาศที่่�เคลื่่�อนที่่�ในก้้อนเมฆเกิิดการเสีียดสีีกัันทำำ�ให้้เกิิด
ประจุุไฟฟ้้าอิิสระ
• เมื่่�อก้้อนเมฆมีีประจุุอิิสระมากพอจะถ่่ายโอนประจุุไปบริิเวณอื่่�นๆ
• เมื่่�อเกิิดการถ่่ายโอน ประจุุจะเคลื่่�อนที่่�ด้้วยความเร็็วสููงทำำ�ให้้เกิิดความร้้อนและแสงสว่่าง
- ถ้้าเป็็นการถ่่ายโอนจากก้้อนเมฆมาพื้้�นดิิน เรีียกว่่า “ฟ้้าผ่่า”
- ถ้้าเป็็นการถ่่ายโอนจากก้้อนเมฆไปก้้อนเมฆ เรีียกว่่า “ฟ้้าแลบ”
10
by P’Nhong & P'Toey & P'Great & P'Friend

ข้้อควรระวัังการเติิมน้ำำ��มััน
1. หากร่่างกายของผู้้�ขัับขี่่�เกิิดการเสีียดสีี อาจทำำ�ให้้เกิิดประจุุอิิสระ
2. เนื่่�องจากหััวจ่่ายน้ำำ��มัันเป็็นโลหะ หากเอามืือไปจัับ จะเกิิดการถ่่ายโอนประจุุ อาจทำำ�ให้้เกิิด
ประกายไฟ ก่่อให้้เกิิดอัันตรายได้้
3. หากจำำ�เป็็นต้้องจัับหรืือเข้้าใกล้้หััวจ่่าย ให้้ถ่่ายโอนประจุุให้้น้้อยลงก่่อน อาจใช้้กุุญแจแตะ
บริิเวณโลหะรอบๆ รถก่่อนเพื่่�อลดประจุุที่่�สะสม
4. กรณีีรถขนส่่งน้ำำ��มััน
- เชื้้�อเพลิิงเกิิดการเสีียดสีีกัับตััวถัังเป็็นเวลานาน ทำำ�ให้้เกิิดประจุุอิิสระสะสมในตััวถััง
เป็็นจำำ�นวนมาก
- เมื่่�อจะทำำ�การถ่่ายเทสู่่�ที่่�เก็็บน้ำำ��มััน อาจทำำ�ให้้เกิิดการถ่่ายโอนประจุุทำำ�ให้้เกิิดประกายไฟ
ก่่อให้้เกิิดอัันตรายได้้
- จึึงต้้องมีีการต่่อตััวนำำ�ระหว่่างถัังของรถขนส่่งลงสู่่�ดิินเพื่่�อถ่่ายเทประจุุไฟฟ้้าลงสู่่�ดิิน

การอ่่านแถบสีีตััวต้้านทาน
• เชื่่�อว่่าคงไม่่ต้้องจำำ�ตาราง ถ้้าต้้องใช้้น่่าจะมีีมาให้้ แต่่ถ้้าไม่่ให้้มา วิิธีจำี ำ�คืือ “ม่่วง 7 แดง 2”
ไล่่สีรุ้ี ้�งขึ้้�นไปจากม่่วงถึึงแดง (แต่่จะไม่่มีีสีีคราม) จากนั้้�นก็็ น้ำำ��ตาล 1 ดำำ� 0

แถบสีีที่่� 1 แถบสีีที่่� 2 แถบสีีที่่� 3 แถบสีีที่่� 4 ม่่วง ดำำ� แดง น้ำำ��ตาล


แถบสีี
ตััวตั้้�งหลัักที่่� 1 ตััวตั้้�งหลัักที่่� 2 ตััวคููณ ความคลาดเคลื่่�อน
ดำำ� 0 0 100 - 70 # 10 2 ! 1%X
น้ำำ��ตาล 1 1 101 ! 1%

แดง 2 2 102 ! 2%

ส้้ม 3 3 10 3
-

เหลืือง 4 4 10 4
-

เขีียว 5 5 10 5
! 0.5%

น้ำำ��เงิิน 6 6 10 6
! 0.25%

ม่่วง 7 7 107 ! 0.1%

เทา 8 8 10 8
! 0.05%

ขาว 9 9 10 9
-

ทอง - - 10 -1
! 5%

เงิิน - - 10 -2
! 10%

ไม่่มีสีี ี - - - ! 20%
11 1316 Upskill ฟิิสิิกส์์ประยุุกต์์

แกลแวนอมิิเตอร์์
• ปล่่อยกระแสไหลผ่่านขดลวดตััดผ่่านสนามแม่่เหล็็ก เกิิดโมเมนต์์คู่่�ควบ ยิ่่�งกระแสมาก
ขดลวดยิ่่�งหมุุนมาก เข็็มก็็เบนตามมาก

เตาแม่่เหล็็กไฟฟ้้าเหนี่่ย� วนำำ�
• ปล่่อยไฟฟ้้ากระแสสลัับผ่่านขดลวดใต้้เตา เมื่่�อสนามแม่่เหล็็กที่่�มีค่ี ่าเปลี่่�ยนตามเวลาผ่่าน
โลหะของภาชนะที่่�วางไว้้ จะก่่อให้้เกิิด “กระแสวน” (eddy current) ตามกฎของเลนซ์์หรืือ
กฎของฟาราเดย์์ ซึ่่�งเมื่่�อกระแสไหลอยู่่�ในโลหะจะก่่อให้้เกิิดความร้้อนไปสู่่�สิ่่�งที่่�อยู่่�ในภาชนะได้้

∼ AC

B
12
by P’Nhong & P'Toey & P'Great & P'Friend

การส่่งไฟฟ้้า
• จากโรงงานไฟฟ้้า ทำำ�การแปลงไฟฟ้้าให้้ความต่่างศัักย์์ V สููง (ระดัับแสนโวลต์์) เพื่่�อให้้
กระแส I ต่ำำ�� จะได้้สููญเสีียพลัังงานในสายส่่งต่ำำ��
• Note: รููปด้้านล่่างเป็็นตััวเลขสมมติิ (และไฟฟ้้าเข้้าบ้้านของประเทศไทย ถ้้าเป็็นข้้อสอบ
สมััยก่่อนๆ จะใช้้ 220 Vrms แต่่ในหนัังสืือสสวท. ใช้้ค่่ามาตรฐานเป็็น 230 Vrms
อย่่างไรก็็ตาม อุุปกรณ์์ไฟฟ้้าทั่่�วไปรองรัับค่่าโวลต์์เป็็นช่่วงของค่่าอยู่่�แล้้วจึึงไม่่ได้้มีีปััญหาอะไร)
การส่่งไฟฟ้้า (ver. simplified)
2
Pสููญเสีียในสายส่่ง = I2 R สายส่่ง "ถ้้ากระแส I2 ลดลง จะทำำ�ให้้ กำำ�ลัังไฟฟ้้า Pสููญเสีียในสายส่่ง ลดลงตาม"

I2
10,000 V
100,000 V
100,000 V 220 V
I2

โรงไฟฟ้้า หม้้อแปลง หม้้อแปลง

I1 V1 = I2 V2

ไฟฟ้้า 3 เฟส
คืือสััญญาณไฟฟ้้ากระแสสลัับ 3 ขบวน ที่่�มีีเฟสต่่างกััน 120 องศา มีีข้้อดีีคืือ
• กำำ�ลัังไฟฟ้้ารวม สููงกว่่าแบบเฟสเดีียว (ขบวนเดีียว) เหมาะกัับเครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าที่่�ต้้องใช้้กำำ�ลัังมากๆ
เช่่น เครื่่�องจัักร ลิิฟต์์
• ทำำ�ให้้ส่่งไฟฟ้้าไปทางไกลๆ ได้้โดยใช้้สายไฟน้้อยกว่่าแบบเฟสเดีียว แต่่ยัังได้้พลัังงานที่่�เท่่ากััน
• เนื่่�องจากประกอบจาก 3 ขบวน แปลว่่าถ้้ามีีขบวนหนึ่่�งเสีีย อีีก 2 ขบวนก็็ยัังมาสำำ�รองได้้
13 1316 Upskill ฟิิสิิกส์์ประยุุกต์์

กลุ่่�มสมบัติั ิสาร
เครื่่�องยนต์์ความร้้อน = เปลี่่�ยนความร้้อนเป็็นพลัังงานกล มีี 2 ประเภท
1. เครื่่�องยนต์์สัันดาปภายนอก = เกิิดการเผาไหม้้ภายนอกเครื่่�องยนต์์
- ข้้อเสีีย: มีีการสููญเสีียความร้้อนระหว่่างถ่่ายโอนความร้้อนเข้้าสู่่�เครื่่�องยนต์์หลััก
- ตััวอย่่าง: เครื่่�องจัักรไอน้ำำ��
2. เครื่่�องยนต์์สัันดาปภายใน = เกิิดการเผาไหม้้ภายในเครื่่�องยนต์์
- ข้้อดีี: สููญเสีียความร้้อนน้้อยกว่่าสัันดาปภายนอก
- ตััวอย่่าง: เครื่่�องยนต์์เบนซิิน, เครื่่�องยนต์์ดีีเซล
- เครื่่�องเบนซิิน: อาศััยหััวเทีียนทำำ�ให้้เกิิดประกายไฟฟ้้าจนอากาศภายในเกิิดการจุุดระเบิิด
- เครื่่�องดีีเซล: อาศััยหััวฉีีด ฉีีดน้ำำ��มัันเข้้ากระบอกสููบทำำ�ให้้อากาศภายในเกิิดการจุุดระเบิิด

ตู้้�เย็็นและเครื่่�องปรัับอากาศ: ทำำ�งานโดยถ่่ายโอนความร้้อนออกสู่่�ด้้านนอกโดยใช้้สารทำำ�ความเย็็น
• ตู้้�เย็็น: มีีส่่วนประกอบหลััก 4 ส่่วน

ส่่วนประกอบ สถานะของสารทำำ�ความเย็็น

1. คอมเพรสเซอร์์ เพิ่่�มความดัันแก๊๊ส, อุุณหภููมิิสููง, ความดัันสููง

คายความร้้อนสู่่�อากาศภายนอก
2. คอนเดนเซอร์์คอยล์์ (แผงคอยล์์ร้้อน)
อุุณหภููมิิลดลง แก๊๊สกลายเป็็นของเหลว
3. อุุปกรณ์์ลดความดััน
ลดความดััน ยัังอยู่่�ในภาวะของเหลว
เช่่น วาล์์วขยายตััว, หลอดรููเล็็ก (แคปทิิว)

ของเหลวขยายตััวกลายเป็็นแก๊๊ส, ดููดความร้้อน
4. อีีวาโปเรเตอร์์คอยล์์ (แผงคอยล์์เย็็น)
จากช่่องแช่่แข็็ง, อุุณหภููมิิเพิ่่�มขึ้้�น
14
by P’Nhong & P'Toey & P'Great & P'Friend

• เปรีียบเทีียบส่่วนประกอบในตู้้�เย็็นกัับเครื่่�องปรัับอากาศ
- ระวััง คอยล์์ร้้อน/เย็็น ในตู้้�เย็็นกัับแอร์์ไม่่เหมืือนกััน
ส่่วนประกอบในตู้้�เย็็น ส่่วนประกอบในเครื่่�องปรัับอากาศ
คอมเพรสเซอร์์
รวม 3 ส่่วนนี้้�เข้้าด้้วยกััน และเพิ่่�มมอเตอร์์กัับใบพััด
คอนเดนเซอร์์คอยล์์ (แผงคอยล์์ร้้อน) ติิดตั้้�งไว้้นอกอาคาร เรีียกชื่่�อใหม่่ว่่า
อุุปกรณ์์ลดความดััน ชุุดคอนเดนซิิง (แผงคอยล์์ร้้อน)

เพิ่่�มวงจรไฟฟ้้าควบคุุมมอเตอร์์กัับใบพััด แล้้วเรีียก
อีีวาโปเรเตอร์์คอยล์์ (แผงคอยล์์เย็็น)
ชื่่�อใหม่่ว่่า ชุุดแฟนคอยล์์ (แผงคอยล์์เย็็น)

หลอดรููเล็็ก (capillary action)


• แรงยึึดระหว่่างโมเลกุุลมีี 2 ชนิิดคืือ
- แรงเชื่่�อมแน่่น = แรงดููดระหว่่างโมเลกุุลชนิิดเดีียวกััน เช่่น ระหว่่างโมเลกุุลน้ำำ�ด้ � วยกั
้ ัน
- แรงยึึดติิด = แรงดููดระหว่่างโมเลกุุลต่่างชนิิดกันั เช่่น ระหว่่างโมเลกุุลน้ำำ��กัับโมเลกุุลแก้้ว
- ผิิวน้ำำ��โค้้งไว้้และสููงขึ้้�น เพราะแรงที่่�ผนัังแก้้วดูดน้ำ
ู �ำ� แรงกว่่าแรงระหว่่างโมเลกุุลน้ำำ�ด้
� วยกั
้ ัน
- ผิิวปรอทโค้้งนููนและต่ำำ�� ลง เพราะแรงระหว่่างโมเลกุุลปรอทมากกว่่าแรงที่่�ผนัังแก้้วดููดปรอท

น้ำำ�� ปรอท
15 1316 Upskill ฟิิสิิกส์์ประยุุกต์์

กลุ่่�มคลื่่�นแม่่เหล็็กไฟฟ้้า
สเปกตรััมคลื่่�นแม่่เหล็็กไฟฟ้้า

คลื่่นวิ
� ิทยุุ ใช้้ในการสื่่�อสาร
(radio wave) AM และ FM

ส่่งสััญญาณไปดาวเทีียม
ทะลุุผ่่านชั้้�นบรรยากาศ
ไมโครเวฟ ผสมสััญญาณแบบ FM
(microwave) ทำำ�ให้้อาหารร้้อน
เรดาร์์ (RADAR) ระบุุตำำ�แหน่่งและอััตราเร็็ววััตถุุ
วััตถุุต่่างๆ จะแผ่่รัังสีีอิินฟราเรด
กล้้องอิินฟราเรด
รัังสีีใต้้แดงหรืือ ตลอดเวลา เช่่น ร่่างกายมนุุษย์์
รัังสีีอิินฟราเรด (infrared) ทะลุุผ่่านเมฆหมอกได้้ดีี สำำ�รวจทรััพยากรธรรมชาติิ
รีีโมตคอนโทรล

แสง ตามองเห็็น ความยาวคลื่่�นในสุุญญากาศช่่วงประมาณ 400–700 nm


(light) เลเซอร์์ (แสงความถี่่�เดีียว)
จากดวงอาทิิตย์์ถููกชั้้�นบรรยากาศดููดกลืืนบางส่่วนน้้อยๆ สร้้างวิิตามิิน D,
มากๆ อัันตราย UV-A: พลัังงานต่ำำ�� ผิิวเหี่่�ยว แต่่มากไปก็็เป็็นมะเร็็งได้้
รัังสีีเหนืือม่่วงหรืือ (อีีกชื่่�อคืือ แบล็็กไลต์์ เอาไว้้ตรวจสอบธนบััตร รอยเลืือด)
อััลตราไวโอเลต UV-B: พลัังงานสููง ถููกชั้้�นโอโซนดููดกลืืน แต่่มีีเล็็ดลอด ผิิวไหม้้ มะเร็็ง
(ultraviolet: UV)
UV-C: พลัังงานสููงมาก ถููกดููดกลืืนโดยชั้้�นบรรยากาศเกืือบทั้้�งหมด
นำำ�มาประยุุกต์์ใช้้ฆ่่าเชื้้�อ
รัังสีีเอกซ์์ จากดวงอาทิิตย์์ถููกดููดกลืืนหมด
(x-ray) ทะลุุสิ่่�งกีีดขวางหนาๆ ได้้ ภาพ x-ray
จากนอกโลกถููกชั้้�นบรรยากาศดููดกลืืนหมด
รัังสีีแกมมา จากการสลายตััวของกััมมัันตภาพรัังสีี
(gamma ray)
ทำำ�ให้้เป็็นมะเร็็ง แต่่ก็็ใช้้ทำำ�ลาย
ทำำ�ให้้ตัวั กลางแตกตััวเป็็นไอออน
เซลล์์มะเร็็งได้้ด้้วย
16
by P’Nhong & P'Toey & P'Great & P'Friend

การประยุุกต์์ใช้้คลื่่�นแม่่เหล็็กไฟฟ้้า
• เครื่่�องฉายรัังสีีเอกซ์์
- ฉายรัังสีีผ่่านร่่างกาย เนื้้�อเยื่่�อและกระดููกกลืืนปริิมาณรัังสีีต่่างกััน ทำำ�ให้้เกิิดภาพบน
แผ่่นฟิิล์์มหรืือจอดิิจิทัิ ัลแบบ 2 มิิติิ
- กระดููกดููดกลืืนรัังสีีได้้มากสุุด ภาพจะเป็็นสีีขาว
- ปอดดููดกลืืนได้้น้้อยสุุด ภาพจะเป็็นสีีดำ�ำ
• เครื่่�องถ่่ายภาพเอกซเรย์์คอมพิิวเตอร์์ (CT Scan)
- ฉายรัังสีีเอกซ์์กราด (Scan) ผ่่านร่่างกายไปยัังตััวตรวจวััดที่่�อยู่่�ตรงข้้าม
- การดููดกลืืน กระดููก(ขาว) > เนื้้�อเยื่่�อ(เทา) > ไขมััน(เทาเข้้ม) > อากาศ(ดำำ�)
- เป็็นภาพ 3 มิิติิ
• เครื่่�องควบคุุมระยะไกล
- รีีโมตทีีวีี: อิินฟราเรด
- คีีย์์บอร์์ดไร้้สาย เมาส์์ไร้้สาย โดรน: อิินฟราเรด หรืือชนิิดอื่่�น แล้้วแต่่ออกแบบ
• เครื่่�องระบุุตำำ�แหน่่งบนพื้้�นโลก (Global positioning system: GPS)
- ใช้้คลื่่�นย่่านไมโครเวฟ
- ใช้้ดาวเทีียมอย่่างน้้อย 4 ดวงเพื่่�อความแม่่นยำำ�
• เครื่่�องถ่่ายการสั่่�นพ้้องแม่่เหล็็ก (Magnetic resonance imaging: MRI)
- ใช้้คลื่่�นวิิทยุุในการทำำ�งาน ไม่่ส่่งผลอัันตรายต่่อมนุุษย์์ ต่่างจากรัังสีีเอกซ์์
- ขดลวดความถี่่�คลื่่�นวิิทยุุจะสร้้างคลื่่�นวิิทยุุให้้ตรงกัับความถี่่�สั่่�นพ้้องของไฮโดรเจนใน
เนื้้�อเยื่่�อมนุุษย์์ นิิวเคลีียสของไฮโดรเจนจะปล่่อยพลัังงานที่่�ได้้รัับกลัับออกมาเป็็นสััญญาณ
คลื่่�นแม่่เหล็็กไฟฟ้้า ตรวจรัับและได้้ภาพ 3 มิิติิ
17 1316 Upskill ฟิิสิิกส์์ประยุุกต์์

การส่่งสััญญาณคลื่่นวิ
� ิทยุุ

FM (Frequency Modulation) AM (Amplitude Modulation)


ปรัับค่่าความถี่่�เข้้ากัับสััญญาณ ปรัับค่่าแอมพลิิจููดเข้้ากัับสััญญาณ
มีีมากกว่่า 1 ความถี่่� ความถี่่�ค่่าเดีียว

• ถููกรบกวนได้้ยาก • ถููกรบกวนได้้ง่่าย
• ทะลุุชั้้�นบรรยากาศ • สะท้้อนที่่�ชั้้�นบรรยากาศ
• ส่่งสััญญาณได้้ไม่่ไกล • ส่่งสััญญาณได้้ไกล

Wi-Fi
• ใช้้คลื่่�นวิิทยุุความถี่่�สูงู ยิ่่ง� (2.4 GHz–5 GHz) และเป็็นช่ว่ งที่่�อาจนัับเป็็นคลื่่�นไมโครเวฟ
ได้้ด้้วยเหมืือนกััน

การสื่่�อสารโดยอาศััยไมโครเวฟ
• ระบบเครืือข่่ายโทรศััพท์์เคลื่่�อนที่่�
• ระบบสััญญาณดาวเทีียม
• ไม่่สามารถผ่่านสิ่่�งกีีดขวางได้้ดีีเท่่าไหร่่ จึึงเหมาะกัับการส่่งสััญญาณแบบไม่่มีีสิ่่�งกีีดขวาง

การสื่่�อสารโดยอาศััยแสง
• แสงไม่่สามารถเคลื่่�อนที่่�ผ่่านวััตถุุทึึบแสงได้้
• เส้้นใยนำำ�แสง (optical fiber)
- ใช้้หลัักการสะท้้อนกลัับหมดภายใน
- แต่่ถ้้าเป็็นการสื่่�อสารระยะไกลๆ จะใช้้คลื่่�นในย่่านอิินฟราเรดแทน
18
by P’Nhong & P'Toey & P'Great & P'Friend

สััญญาณแอนะล็็อก vs สััญญาณดิิจิิทััล

Analog ความต่่างศัักย์์ Digital


ความต่่างศัักย์์

เวลา
เวลา
ถููกรบกวนได้้ยาก เพราะมีีการใช้้งานเพีียง 2 ค่่า
ถููกรบกวนได้้ง่่าย เพราะว่่าค่่าทุุกค่่าถููกนำำ�มาใช้้งาน เช่่น 1/0 หรืือ On/Off
ทำำ�ให้้แปลงกลัับมาเป็็น Analog ได้้แม่่นยำำ�

สััญญาณแอนะล็็อกที่่�ได้้รัับปลายทาง สััญญาณดิิจิิทััลที่่�ได้้รัับปลายทาง
19 1316 Upskill ฟิิสิิกส์์ประยุุกต์์

กลุ่่�มฟิิสิิกส์์ยุุคใหม่่
สมการชเรอดิิงเงอร์์ สามารถใช้้คำำ�นวณเกี่่�ยวกัับอะตอมที่่�มีีอิิเล็็กตรอนมากกว่่า 1 ตััวขึ้้�นไปได้้
(เช่่น ออร์์บิิทััลและระดัับพลัังงานของอิิเล็็กตรอนในอะตอม) ในขณะที่่�แบบจำำ�ลองอะตอมของโบร์์สามารถ
คำำ�นวณระดัับพลัังงานได้้เฉพาะอะตอมที่่�มีีอิิเล็็กตรอนแค่่ตััวเดีียว

กลศาสตร์์ควอนตััมและการนำำ�ไปประยุุกต์์ใช้้ประโยชน์์
• กล้้องจุุลทรรศน์์อิิเล็็กตรอน
- ใช้้อิิเล็็กตรอนที่่�มีสี มบััติขิ องคลื่่�นที่่�มีีความยาวคลื่่�นน้้อยกว่่าแสง (ค.ยาวคลื่่�นเดอบรอยล์์
สั้้�นกว่่าความยาวคลื่่�นแสงมากๆ ทำำ�ให้้ส่่องวััตถุุเล็็กๆ ที่่�เล็็กกว่่าความยาวคลื่่�นแสงได้้)
- กำำ�ลัังขยายสููงถึึง 4 ล้้านเท่่า ความละเอีียดภาพได้้ถึึง 0.5 นาโนเมตร
• เลเซอร์์ (Laser: Light amplification by stimulated emission of radiation)
- แสงความถี่่�เดีียว
- ใช้้หลัักการ ดููดกลืืนโฟตอนและปลดปล่่อยโฟตอนของอิิเล็็กตรอนในอะตอม
- ในหลอดเลเซอร์์มีีอะตอมอยู่่�หลายๆ ตััว เริ่่�มจากกระตุ้้�นพวกมัันจนอยู่่�ในภาวะกึ่่�งเสถีียร
อย่่าลืืมว่่าระหว่่างนี้้�อะตอมก็็จะมีีการดููดกลืืนและปลดปล่่อยโฟตอนค่่าความถี่่�เฉพาะที่่�
เอาไปกระตุ้้�นอยู่่�เรื่่�อยๆ กระตุ้้�นกัันเองไปเรื่่�อยๆ
- เมื่่�อกระตุ้้�นไปถึึงจุุดหนึ่่�ง อะตอมในภาวะกระตุ้้�นจะมีีจำำ�นวนมากกว่่าภาวะพื้้�น ทำำ�ให้้
มีีจำำ�นวนโฟตอนความถี่่�เดีียวกัันที่่�ถููกปลดปล่่อยมากกว่่าที่่�ถููกดููดกลืืน ส่่งผลให้้ได้้
แสงความเข้้มสููง ยิ่่�งความถี่่�เดีียวปลดปล่่อยออกมาซึ่่�งก็็คืือแสงเลเซอร์์นั่่�นเอง
- มีีเลเซอร์์ 3 ชนิิดตามสมบััติิสารที่่�ใช้้คืือ เลเซอร์์สถานะของแข็็ง เลเซอร์์แก๊๊ส และ
เลเซอร์์เคมีี
• อุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์
- ไดโอด ทรานซิิสเตอร์์ ซึ่่�งทำำ�มาจากสารกึ่่�งตััวนำำ� โดยเจืือสารลงไปทำำ�ให้้เกิิด
สารกึ่่�งตััวนำำ�ชนิิดบวก (p-type) และชนิิดลบ (n-type)

ประโยชน์์จากรัังสีี
- ใช้้รัังสีีแกมมาในการรัักษาโรคมะเร็็งเนื่่�องจากรัังสีีสามารถทำำ�ลายเซลล์์มะเร็็งได้้
- การหาอายุุของวััตถุุโบราณจากปริิมาณของคาร์์บอน-14
- การฉายรัังสีีใส่่วััสดุุพอลิิเมอร์์เพื่่�อให้้ทนต่่อแรงดึึง
- การฉายรัังสีีใส่่อััญมณีีเพื่่�อให้้เกิิดความวาวและสีีเปลี่่�ยนไป
- การตรวจวััดปริิมาณรัังสีีที่่�ส่่วนต่่างๆ ของพืืชเพื่่�อหาอััตราการดููดซึึมของปุ๋๋�ย
20
by P’Nhong & P'Toey & P'Great & P'Friend

• ปรัับปรุุงพัันธุ์์�พืืชด้้วยการฉายรัังสีีใส่่พืืชเพื่่�อให้้เกิิดการกลายพัันธุ์์�
• การใช้้สารที่่�สลายให้้รัังสีีแอลฟามาใช้้ในการตรวจจัับควััน

อัันตรายจากรัังสีี
• วััดปริิมาณรัังสีีในหน่่วย มิิลลิิซีีเวิิร์์ต
- 5 mSv = เกณฑ์์สููงสุุดที่่�อนุุญาตให้้สาธารณชนได้้รัับใน 1 ปีี
- 50 mSv = เกณฑ์์สููงสุุดที่่�อนุุญาตให้้ผู้้�ปฏิิบััติิงานทางรัังสีีได้้รัับใน 1 ปีี
- มากกว่่า 250 mSv เริ่่�มอัันตราย

แบบจ�ำลองมาตรฐานของฟิสิกส์อนุภาค ดูใน supermap เอานะ ^^

ประโยชน์์จากการค้้นคว้้าวิิจัยั ด้้านฟิิสิิกส์์อนุุภาค
• ด้้านการแพทย์์
- นำำ�โพซิิตรอนมาใช้้ในการวิินิิจฉััยโรคมะเร็็ง: เครื่่�องถ่่ายรัังสีีระนาบด้้วยการปล่่อย
โพซิิตรอน (PET: Positron Emission Tomography)
- การใช้้โปรตอนพลัังงานสููงจากเครื่่�องเร่่งอนุุภาคในการรัักษาโรคมะเร็็งและได้้ผลดีีกว่่า
การฉายรัังสีีเอกซ์์
• ด้้านอุุตสาหกรรม
- การผลิิตชิิป, การเชื่่�อมโลหะด้้วยลำำ�อิิเล็็กตรอน, การใช้้แสงซิินโครตอนจากเครื่่�องเร่่ง
อนุุภาคศึึกษาโครงสร้้างวััสดุุ
• ด้้านรัักษาความปลอดภััย
- ระบบสร้้างภาพจากรัังสีีเอกซ์์เพื่่�อหาวััตถุุอัันตราย
• ด้้านเทคโนโลยีี
- World Wide Web หรืือ WWW เป็็นระบบที่่�เกิิดจาก CERN เพื่่�อต้้องการใช้้
การสื่่�อสาร
- จอสััมผััสแบบใช้้ตััวเก็็บประจุุของโทรศััพท์์เคลื่่�อนที่่� เกิิดขึ้้�นจาก CERN เพื่่อ� แก้้ปัญ
ั หา
ปุ่่�มกดที่่�เยอะและขนาดใหญ่่

You might also like