ข้อสอบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้น 40 ข้อ - key

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 22

ข้อสอบไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้น 40 ข้อ

1. การถูกไฟฟ้ าดูด มีผลทำให้เกิดการช็อก (Shock) จะเกิดขึน


้ เมื่อใด ?

  ก. เมื่อกระแสไฟฟ้ าไหลในสายไฟฟ้ า

  ข. เมื่อกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านร่างกาย

  ค. เมื่อแรงดันไฟฟ้ าไหลผ่านหลอดไฟฟ้ า

  ง. เมื่อแรงดันไฟฟ้ าไหลผ่านตัวต้านทาน

  จ. เมื่อแรงดันไฟฟ้ าไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำ

2. แรงดันไฟฟ้ าที่สามารถทำอันตรายแก่มนุษย์ได้  ต้องมีขนาดแรงดันตัง้ แต่เท่าไร

  ก. 10 โวลต์ 

  ข. 12 โวลต์

  ค. 18 โวลต์

  ง. 25 โวลต์

  จ. 36 โวลต์

3. การที่มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านร่างกายทำให้เกิดการกระตุกบริเวณกล้ามเนื้ออย่าง
รุนแรง โดยเฉพาะจะเกิดขึน
้ บริเวณเส้นประสาท ความรุนแรงนีจ
้ ะขึน
้ อยู่กับปริมาณ
ของกระแสไฟฟ้ า เรียกว่าอาการใด

  ก. การะเบิด (Explosion)

  ข. แผลไหม้ (Burns)
  ค. การหายใจติดขัด (Trouble breathing)

  ง. การช็อก (Shock)

  จ. การหมดสติ 

4. เพราะเหตุใดที่มีเหงื่อออกบริเวณผิวหนังที่แห้ง หรือผิวหนังเกิดบาดแผล จึงเป็ น


ทางเดินของกระแสไฟฟ้ าได้เป็ นอย่างดี

  ก. เพราะบริเวณนัน
้ มีค่ากระแสไฟฟ้ ามาก

  ข. เพราะบริเวณนัน
้ มีค่าแรงดันไฟฟ้ ามาก

  ค. เพราะบริเวณนัน
้ มีค่าความต้านทานมากขึน

  ง. เพราะบริเวณนัน
้ มีค่าความต้านทานลดลง

  จ. เพราะบริเวณนัน
้ มีค่าความเก็บประจุ

5. วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นผู้ถูกไฟฟ้ าดูดที่มีประสิทธิภาพมาก และได้ผลดีที่สุด


มีกี่วิธี

  ก. 1 วิธี คือการนวดประคบสมุนไพร

  ข. 2 วิธี คือการผายปอดด้วยวิธีปากต่อปาก และวิธีป๊ ั มหัวใจ

  ค. 1 วิธี คือการฉีดยารักษาอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ

  ง. 2 วิธี คือการฝั งเข็มรักษาอาการเจ็บปวด

  จ. ไม่มีข้อถูก

6. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับอะตอมได้ถูกต้องที่สุด
  ก. อะตอม คือหน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุ ประกอบด้วยโปรตรอน และนิวตรอน

  ข. อะตอม คือประจุไฟฟ้ าที่สามารถเคลื่อนที่ได้โดยอาศัยแรงดันไฟฟ้ า

  ค. อะตอม คือธาตุชนิดหนึ่ง มี 118 ชนิด มีแรงยึดมหาศาล

  ง. อะตอม คืออิเล็กตรอนชนิดหนึ่ง

  จ. ข้อ ข. และ ค. เป็ นข้อที่ถูก

7. หน่วยวัดกระแสไฟฟ้ าคือ

  ก. โวลต์ (Volt)

  ข. แอมแปร์ (Ampare)

  ค. โอห์ม (Ohm)

  ง. วัตต์ (Watt)

  จ. เฮนรี่ (Henry)

8. Alternating Current (A.C) คืออะไร

  ก. ไฟฟ้ ากระแสตรง

  ข. ไฟฟ้ ากระแสสลับ

  ค. ไฟฟ้ าสถิต
  ง. ไฟฟ้ าควบแน่น

  จ. ไฟฟ้ าแรงสูง

9. แรงดันไฟฟ้ าในวงจรอนุกรมจะเท่ากันทุกจุดหรือไม่ เพราะเหตุใด

  ก. มีคา่ เท่ากันทุกจุด เพราะในวงจรมีการต่อถึงกัน

  ข. มีค่าเท่ากันทุกจุด เพราะค่ากระแสไฟฟ้ าเท่ากัน

  ค. มีคา่ ไม่เท่ากัน เพราะค่าความต้านทานต่างกัน

  ง. มีคา่ ไม่เท่ากัน เพราะค่ากระแสไฟฟ้ าเท่ากัน

  จ. มีค่าไม่เท่ากัน เพราะค่าแรงดันไฟฟ้ าต่างกัน

10. เครื่องใช้ไฟฟ้ าในข้อใดต้องต่อสายดินเป็ นอันดับแรก

  ก. โทรทัศน์

  ข. เตาอบ

  ค. ตู้เย็น

  ง. วิทยุ

  ง. พัดลม

11. การควบคุมมอเตอร์มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร
  ก. เพื่อควบคุมการเริ่มเปิ ด และปิ ดมอเตอร์

  ข. เพื่อควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์

  ค. เพื่อป้ องกันมอเตอร์จากความเสียหายในการใช้งาน

  ง. เพื่อกลับทิศทางหมุนของมอเตอร์

  จ. ถูกทุกข้อ

12. ตัวต้านทานชนิดปรับค่าได้โดยอาศัยกลไล มีกี่ชนิด อะไรบ้าง

  ก. 2 ชนิด คือชนิดไวร์วาวด์ และชนิดเซรามิก

  ข. 2 ชนิด คือชนิดรีโอสตัต และโพเทนชิโอมิเตอร์

  ค. 2 ชนิด คือชนิดฟิ ล์มคาร์บอน และชนิดคาร์บอน

  ง. 2 ชนิด คือชนิดขดลวดเคลื่อนที่ และชนิดแม่เหล็ถาวร

  จ. 2 ชนิด คือชนิดคอนกรีต และชนิดยิปซั่ม

13. เทอร์มิสเตอร์ (Thermistor) นิยมใช้กับเครื่อใช้ไฟฟ้ าใด

  ก. เครื่องซักผ้า

  ข. โทรทัศน์

  ค. พัดลม
  ง. เตาอบ

  จ. ปั๊ มน้ำ

14. อ่านรหัสสีบนตัวต้านทานได้ดังนี ้ เหลือง  ส้ม  ส้ม  ทอง  มีค่าความต้านทาน


เท่าไร

  ก. 23 kΩ ±5%  

  ข. 33 kΩ ±5%  

  ค. 43 kΩ ±5%  

ง. 53 kΩ ±5%  

จ. 63 kΩ ±5%   

15. ตัวเก็บประจุมีช่ อ
ื เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร

  ก. อินดัคเตอร์

  ข. คอมเพรสเซอร์

  ค. รีซิสเตอร์ 

ง. ดอนเดนเซอร์

 จ. ไมโครโปรเซสเซอร์
16. ข้อใดอธิบายตัวเก็บประจุขณะทำการประจุไฟฟ้ าได้ถูกต้อง

  ก. กระแสไฟฟ้ าที่ไหลในวงจรมีปริมาณลดลง

  ข. ขัว้ ไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุสามารถสลับขัว้ ได้

  ค. แรงดันไฟฟ้ าที่ตกคร่อมระหว่างแพลตมีขนาดเพิ่มขึน

  ง. เมื่อแรงดันไฟฟ้ ามีค่าเท่ากับแหล่งจ่ายไฟ จะทำให้กระแสไฟฟ้ าหยุดไหลในวงจร

  จ. ถูกทุกข้อ

17. โครงสร้างของตัวเก็บประจุประกอบด้วยอะไรบ้าง

  ก. แอโนด และแคโทด

  ข. ลวดสองตัวนำและคั่นฉนวนไดอิเลกตริก

  ค. โพลีคาร์บอนเนต และไมโครไฟเบอร์

  ง. อิเล็กโทรไลท์ และคาร์บอน

  จ. โซเดียมไดออกไซด์ และทังสเตน

18. วัสดุในข้อใด ไม่สามารถใช้เป็ นฉนวนไดอิเล็กตริกได้

  ก. กระดาษ

  ข. ไมก้า

  ค. แก้ว

  ง. อากาศ
  จ. กราไฟท์

19. หม้อแปลงไฟฟ้ าทำหน้าที่อย่างไร

  ก. ลดความต้านทานในวงจรไฟฟ้ า

  ข. เพิ่มกระแสไฟฟ้ าในวงจร

  ค. ลด หรือเพิ่มแรงดันไฟฟ้ า

  ง. เพิ่มค่าความเก็บประจุในวงจร

  จ. ลดหรือเพิ่มค่าความเหนี่ยวนำไฟฟ้ า

20. ข้อใดไม่ใช่หม้อแปลงไฟฟ้ าที่ใช้งานในปั จจุบัน

  ก. ประเภทใช้เพิ่มหรือลดกระแสไฟฟ้ า

ข. ประเภทใช้เพิ่มหรือลดแรงดันไฟฟ้ า

ค. ประเภทใช้เพิ่มหรือลดความเหนี่ยวนำไฟฟ้ า

ง. ประเภทใช้แมทช์ค่าอิมพีแดนซ์

 จ. ข้อ ก. ข. และ ง. เป็ นข้อถูก

21. ไดโอดทำหน้าที่อย่างไรในวงจรไฟฟ้ า

  ก. ลด หรือเพิ่มค่าความต้านทาน
  ข. จำกัดทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้ า

  ค. จำกัดแรงดันไฟฟ้ าในวงจร

  ง. จำกัดสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าในวงจร

  จ. จำกัดกระแสไฟฟ้ าในวงจร

22. มัลติมเิ ตอร์ คืออะไร

  ก. โวลท์มิเตอร์

  ข. โอห์มมิเตอร์ 

ค. แอมป์ มิเตอร์

 ง. วัตต์มิเตอร์

จ. ข้อ ก. ข. และ ค. เป็ นข้อที่ถูกต้อง 

23. โอห์มมิเตอร์ใช้สำหรับทำการวัดค่าอะไร

  ก. วัดค่ากระแสไฟฟ้ า

  ข. วัดค่าความต้านทาน

  ค. วัดค่าแรงดันไฟฟ้ า

  ง. วัดค่าความถี่ไฟฟ้ า
  จ. วัดค่ากำลังงานไฟฟ้ า

24. การวัดค่ากระแสไฟฟ้ าใช้เครื่องมืออะไร และต้องต่ออย่างไร

ก. ใช้แอมป์ มิเตอร์ และต่อแบบอนุกรม

  ข. ใช้โวลต์มิเตอร์ และต่อแบบขนาน

  ค. ใช้มัลติมิเตอร์ และต่อแบบทแยง

  ง. ใช้มัลติมิเตอร์ และต่อแบบผสม

  จ. ใช้เครื่องมืออะไรก็ได้ และต่อแบบไหนก็ได้

25. การวัดค่าความต้านทาน ใช้เครื่องวัดในข้อใด

  ก. แอมป์ มิเตอร์

  ข. โอห์มมิเตอร์ 

   ค. โวลต์มิเตอร์ 

ง. วัตต์มิเตอร์

  จ. ออสซิลโลสโคป

26. ข้อใดคือสมการของค่าความต้านทานรวมของวงจรในเครื่องวัด

  ก. ค่าความต้านทานที่คงที่ + ค่าความต้านทานของขดลวด
  ข. ค่าความต้านทานต่อเนื่อง + ค่าความต้านทานคงที่

  ค. ค่าความต้านทานของขดลวด + ค่าความต้านทานเคลื่อนที่

  ง. ค่าความต้านทานของตัวต้านทานที่ปรับค่าได้ + ค่าความต้านทานของขดลวด

  จ. ค่าความต้านทานต่อเนื่อง + ค่าความต้านทานของขดลวด

27. ข้อใดคือข้อแรกของการวัดค่าความต้านทานด้วยโอห์มมิเตอร์

  ก. ทำการวัดค่าความต้านทาน

  ข. จับตัวต้านทานขณะวัด

  ค. บันทึกค่าที่วัดได้

  ง. ทำการปรับศูนย์โอห์ม

  จ. เก็บเครื่องมือ และอุปกรณ์

28. ข้อใดไม่ใช่แหล่งกำเนิดไฟฟ้ า

  ก. แบตเตอรี่ (Battery)

  ข. เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell)

  ค. เจนเนอเรเตอร์ (Generator)

  ง. ตัวต้านทาน (Resistor)
  จ. ไดนาโม (Dynamo)

29. การต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรม มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร

  ก. เพิ่มกระแสไฟฟ้ าให้สูงขึน

  ข. เพิ่มแรงดันไฟฟ้ าให้สูงขึน

  ค. เพิ่มความต้านทานไฟฟ้ าให้สูงขึน

  ง. เพิ่มความจุไฟฟ้ าให้มากขึน

  จ. ข้อ ก. และ ง. เป็ นข้อที่ถูก

30. แรงดันไฟฟ้ า มีหน่วยเป็ นอะไร

  ก. Ampare

  ข. Voltage

  ค. Kilowatt – Hour

  ง. Kilo Ohm

  จ. Farad

31.  ความต้านทานไฟฟ้ าคืออะไร

  ก. การต่อต้านการเกิดไฟฟ้ า
  ข. การต่อต้านแรงเคลื่อนไฟฟ้ า

  ค. การต่อต้านการรวมตัวของไฟฟ้ า

  ง. การต่อต้านการไหลของกระแสไฟฟ้ า

  จ. การต่อต้านการแยกตัวของอิเล็กตรอน

32. ข้อใดคือฉนวนไฟฟ้ า 

  ก. แก้ว ตะกั่ว เงิน ยาง

  ข. ไม้แห้ง แก้ว ตะปู 

  ค. รองเท้า ไมก้า น้ำมัน

  ง. ยาง  แก้ว  ไมก้า

  จ. ไม่มีข้อถูก

33. กฎของโอห์ม ถูกค้นพบโดยใคร

  ก. George Simon Ohm  นักฟิ สิกส์ชาวเยอรมัน

  ข. Albert Einstein นักฟิ สิกส์ชาวเยอรมัน

  ค. Galileo Galilei นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลี

  ง. Niels Bohr นักฟิ สิกส์ชาวเดนมาร์ค

  จ. Michael Faraday นักฟิ สิกส์ชาวอังกฤษ


34. สวิตช์ ทำงานอย่างไรในวงจร

  ก. ลด – เพิ่ม แรงดันไฟฟ้ า

  ข. ตัด – ต่อ กระแสไฟฟ้ า

  ค. ปิ ด – เปิ ด วงจรไฟฟ้ า

  ง. ปรับค่ากระแสในวงจรไฟฟ้ า

  จ. ลด – เพิ่ม ความต้านทานไฟฟ้ า

35. การต่อลงดินมีประโยชน์อย่างไร

  ก. เพื่อการประหยัดไฟฟ้ า

  ข. เพื่อความปลอดภัย

  ค. เพื่อให้หลอดไฟสว่างมากขึน

  ง. เพื่อลดการใช้กำลังไฟฟ้ า

  จ. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้ า

36. การต่อลงดินที่ระบบสายส่งไฟฟ้ า เป็ นวิธีที่ทำการต่อสายลงดินที่สายอะไร 

  ก. สาย line1

  ข. สาย line 2

  ค. สาย line 3
  ง. สาย Neutral

  จ. สาย Control

37. การต่อลงดินของอุปกรณ์ไฟฟ้ า ควรต่อจากจุดไหน

  ก. จุดที่ไฟเข้าอุปกรณ์ไฟฟ้ า

  ข. จุดพักสายในอุปกรณ์ไฟฟ้ า

  ค. ตำแหน่งที่แผงควบคุม

  ง. ตำแหน่งที่สวิตช์ปิด – เปิ ด

  จ. ตำแหน่งที่โครงของอุปกรณ์

38. การป้ องกันอันตรายที่จะเกิดแก่ผู้ใช้งานที่ดีที่สุด คืออะไร

  ก.  ติดตัง้ อุปกรณ์ป้องกันที่มีคุณภาพดี

  ข. ให้พนักงานพักผ่อนอย่างเพียงพอ

  ค. เพิ่มการตรวจสอบในทุกขัน
้ ตอน 

ง. ให้ผู้ปฏิบัติคำนึงถึงความปลอดภัยเป็ นอันดับแรก

  จ. เพิ่มขนาดของฟิ วส์

39. ตัวเก็บประจุเปรียบเทียบได้กับอะไร
  ก. ดอกบัว

  ข. ผักตบชวา

  ค. ดอกไม้ 

ง. ถังน้ำ

  จ. ตะไคร่น้ำ

40. หน่วยของการเก็บประจุคืออะไร

  ก. โวลท์

  ข. โอห์ม

  ค. ฟารัด

  ง. แอมป์

  จ. ซีเมนส์

————————————————————————————–
เฉลยข้อสอบไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้น 40 ข้อ

1. การถูกไฟฟ้ าดูด มีผลทำให้เกิดการช็อก (Shock) จะเกิดขึน


้ เมื่อใด ?

  ข. เมื่อกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านร่างกาย

2. แรงดันไฟฟ้ าที่สามารถทำอันตรายแก่มนุษย์ได้  ต้องมีขนาดแรงดันตัง้ แต่เท่าไร

  ง. 25 โวลต์

3. การที่มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านร่างกายทำให้เกิดการกระตุกบริเวณกล้ามเนื้ออย่าง
รุนแรง โดยเฉพาะจะเกิดขึน
้ บริเวณเส้นประสาท ความรุนแรงนีจ
้ ะขึน
้ อยู่กับปริมาณ
ของกระแสไฟฟ้ า เรียกว่าอาการใด

  ง. การช็อก (Shock)

4. เพราะเหตุใดที่มีเหงื่อออกบริเวณผิวหนังที่แห้ง หรือผิวหนังเกิดบาดแผล จึงเป็ น


ทางเดินของกระแสไฟฟ้ าได้เป็ นอย่างดี

  ง. เพราะบริเวณนัน
้ มีค่าความต้านทานลดลง

5. วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นผู้ถูกไฟฟ้ าดูดที่มีประสิทธิภาพมาก และได้ผลดีที่สุด


มีกี่วิธี

  ข. 2 วิธี คือการผายปอดด้วยวิธีปากต่อปาก และวิธีป๊ ั มหัวใจ

6. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับอะตอมได้ถูกต้องที่สุด

  ก. อะตอม คือหน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุ ประกอบด้วยโปรตรอน และนิวตรอน

7. หน่วยวัดกระแสไฟฟ้ าคือ
  ข. แอมแปร์ (Ampare)

8. Alternating Current (A.C) คืออะไร

  ข. ไฟฟ้ ากระแสสลับ

9. แรงดันไฟฟ้ าในวงจรอนุกรมจะเท่ากันทุกจุดหรือไม่ เพราะเหตุใด

  ค. มีคา่ ไม่เท่ากัน เพราะค่าความต้านทานต่างกัน

10. เครื่องใช้ไฟฟ้ าในข้อใดต้องต่อสายดินเป็ นอันดับแรก

  ค. ตู้เย็น

11. การควบคุมมอเตอร์มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร

  จ. ถูกทุกข้อ

12. ตัวต้านทานชนิดปรับค่าได้โดยอาศัยกลไล มีกี่ชนิด อะไรบ้าง

  ข. 2 ชนิด คือชนิดรีโอสตัต และโพเทนชิโอมิเตอร์

13. เทอร์มิสเตอร์ (Thermistor) นิยมใช้กับเครื่อใช้ไฟฟ้ าใด

  ง. เตาอบ

14. อ่านรหัสสีบนตัวต้านทานได้ดังนี ้ เหลือง  ส้ม  ส้ม  ทอง  มีค่าความต้านทาน


เท่าไร 

  ค. 43 kΩ ±5%  

15. ตัวเก็บประจุมีช่ อ
ื เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร
ง. ดอนเดนเซอร์

16. ข้อใดอธิบายตัวเก็บประจุขณะทำการประจุไฟฟ้ าได้ถูกต้อง

  จ. ถูกทุกข้อ

17. โครงสร้างของตัวเก็บประจุประกอบด้วยอะไรบ้าง

  ข. ลวดสองตัวนำและคั่นฉนวนไดอิเลกตริก

18. วัสดุในข้อใด ไม่สามารถใช้เป็ นฉนวนไดอิเล็กตริกได้

  จ. กราไฟท์

19. หม้อแปลงไฟฟ้ าทำหน้าที่อย่างไร

  ค. ลด หรือเพิ่มแรงดันไฟฟ้ า

20. ข้อใดไม่ใช่หม้อแปลงไฟฟ้ าที่ใช้งานในปั จจุบัน

  จ. ข้อ ก. ข. และ ง. เป็ นข้อถูก

21. ไดโอดทำหน้าที่อย่างไรในวงจรไฟฟ้ า

  ข. จำกัดทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้ า

22. มัลติมเิ ตอร์ คืออะไร

จ. ข้อ ก. ข. และ ค. เป็ นข้อที่ถูกต้อง 

23. โอห์มมิเตอร์ใช้สำหรับทำการวัดค่าอะไร

  ข. วัดค่าความต้านทาน
24. การวัดค่ากระแสไฟฟ้ าใช้เครื่องมืออะไร และต้องต่ออย่างไร

ก. ใช้แอมป์ มิเตอร์ และต่อแบบอนุกรม

25. การวัดค่าความต้านทาน ใช้เครื่องวัดในข้อใด

  ข. โอห์มมิเตอร์ 

26. ข้อใดคือสมการของค่าความต้านทานรวมของวงจรในเครื่องวัด

  ง. ค่าความต้านทานของตัวต้านทานที่ปรับค่าได้ + ค่าความต้านทานของขดลวด

27. ข้อใดคือข้อแรกของการวัดค่าความต้านทานด้วยโอห์มมิเตอร์

  ง. ทำการปรับศูนย์โอห์ม

28. ข้อใดไม่ใช่แหล่งกำเนิดไฟฟ้ า

  ง. ตัวต้านทาน (Resistor)

29. การต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรม มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร

  ข. เพิ่มแรงดันไฟฟ้ าให้สูงขึน

30. แรงดันไฟฟ้ า มีหน่วยเป็ นอะไร

  ข. Voltage

31.  ความต้านทานไฟฟ้ าคืออะไร

  ง. การต่อต้านการไหลของกระแสไฟฟ้ า

32. ข้อใดคือฉนวนไฟฟ้ า 
  ง. ยาง  แก้ว  ไมก้า

33. กฎของโอห์ม ถูกค้นพบโดยใคร

  ก. George Simon Ohm  นักฟิ สิกส์ชาวเยอรมัน

34. สวิตช์ ทำงานอย่างไรในวงจร

  ค. ปิ ด – เปิ ด วงจรไฟฟ้ า

35. การต่อลงดินมีประโยชน์อย่างไร

  ค. เพื่อให้หลอดไฟสว่างมากขึน

36. การต่อลงดินที่ระบบสายส่งไฟฟ้ า เป็ นวิธีที่ทำการต่อสายลงดินที่สายอะไร 

  ง. สาย Neutral

37. การต่อลงดินของอุปกรณ์ไฟฟ้ า ควรต่อจากจุดไหน

  จ. ตำแหน่งที่โครงของอุปกรณ์

38. การป้ องกันอันตรายที่จะเกิดแก่ผู้ใช้งานที่ดีที่สุด คืออะไร

ข. ให้พนักงานพักผ่อนอย่างเพียงพอ

39. ตัวเก็บประจุเปรียบเทียบได้กับอะไร

ง. ถังน้ำ

40. หน่วยของการเก็บประจุคืออะไร

  ข. โอห์ม

You might also like