Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 39

ชื่อวิจัยภาษาไทย

รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกุล

รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกุล

รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกุล

วิจัยนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปบัณฑิต
ปริญญาศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์
วิทยาลัยเพาะช่าง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
ปี การศึกษา 2566
์ องมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
ลิขสิทธิข

ชื่อวิจัยภาษาไทย

รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกุล

รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกุล

รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกุล
วิจัยนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปบัณฑิต
ปริญญาศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์
วิทยาลัยเพาะช่าง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
ปี การศึกษา 2566
์ องมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
ลิขสิทธิข

DISSERTATION/RESEARCH/INDEPENDENT STUDY
TITLE
Student Number Name Surname

Student Number Name Surname

Student Number Name Surname

The Art Research Submitted in Partial Fulfillment


of the Requirements
For Bachelor Degree of Fine Arts Major in Visual
Communication Design
Department of Design POH-CHANG ACADEMY OF
ARTS
Rajamangala University of Technology Rattanakosin
Academic Year 2022
Copyright of Rajamangala University of Technology
Rattanakosin
ชื่อวิจัย (//=เว้นระยะห่าง 2 ช่วงตัวอักษร และพิมพ์ช่ อ
ื เรื่องเหมือน
กับหน้าปก) ผู้ศึกษา//พิมพ์ช่ อ
ื -สกุล ของผู้ศึกษา โดยใส่คำนำหน้า
ชื่อ//; ปริญญา ศิลปบัณฑิต (สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ) ที่ปรึกษา
อ.ดร.ทอปั ด วงษาลังการ ปี การศึกษา 2566

บทคัดย่อ

การศึกษาโครงการนีม
้ ีวัตถุประสงค  3 ประการ (1)
เพื่อ...........................................................
1.3 นิว้ (2) เพื่อ...............................................และ (3) เพื่อ
.......................................................................
พิมพ์ต่อเนื่องแบบ run in text ไม่ต้องใส ่เครื่องหมาย (,) และไม่ต้อง
ใส่กรอบแนวคิด กรณีมีวัตถุประสงค์ เพียง 1 ข้อให้พิมพ์ต่อเนื่องโดย
ไม่ต้องระบุหมายเลขข้อ
การศึกษานีเ้ ป็ นการวิจัย...ปริมาณ/คุณภาพ ประชากร/กลุ่ม
ตัวอย่าง/ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่...........
(โดยอธิบายขอบเขตของการวิจัย ซึ่งประกอบด้วย ประชากร/กลุ่ม
ตัวอย่าง/ผู้ให้ข้อมูล เครื่องมือการวิจัย วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล และการ
วิเคราะห์ข้อมูล) พิมพ์ต่อเนื่องแบบ run in text
ผลการศึกษา (1) ด้าน.....พบว ่า................................. (2)
ด้าน.....พบว่า. .....................และ
(3) ด้าน.....พบ
ว่า..........................................................................................................
.....

(1)
พิมพ์ต่อเนื่องแบบ run in text ไม่ต้องมีเครื่องหมาย (,) (โดยให้เขียน
ผลการศึกษาให้เป็ นลำดับสอดคล้อง ตามลำดับวัตถุประสงค )

คำสำคัญ: กำหนดให้มีอย่างน้อย 3 คำ แต่ไม่เกิน 7 คำโดยพิมพ์เว้น


ระยะห่างระหว่างคำ 2 ช่วง ตัวอักษร (2 เคาะ) ทัง้ นี ้ คำสำคัญควร
ครอบคลุมเนื้อหาของศิลปนิพนธ ์อย่างเจาะจง

ลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
..............................................................................................................
..

Title of Art Research (เว้นระยะห่าง 2 ช่วงตัวอักษร และพิมพ์ช่ อ



เรื่องโดยพิมพ์แต่ละคาขึน
้ ต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ ยกเว้นคำเชื่อมต่าง ๆ
ให้พิจารณาเกณฑ์ APA เป็ นหลัก) Researcher: พิมพ์ช่ อ
ื -สกุล ของผู้
ศึกษา โดยใส่คำนำหน้าชื่อ; Degree: Bachelor Degree of Fine

(2)
Arts (Visual Communication Design) Advisor Topaz
Wongsalangkarn, Ph.D.; Academic Year: 2022

ABSTRACT
The objectives of this research/study were (1)
to............................................................. ,(2)
to .............................................................., and (3)
to.......................................................................
พิมพ์ต่อเนื่องแบบ run in text และคั่นวัตถุประสงค ์ในแต่ละข้อด้วย
เครื่องหมาย (,) กรณีมีวัตถุประสงค เพียง 1 ข ้อ ให พ
้ ิมพ์ต่อเนื่องโดย
ไม่ต ้องระบหมายเลขข ้อ
This quantitative/qualitative research/study
employed .................. (อธิบายขอบเขตของการศึกษา ซึ่งประกอบด
้วย ประชากร/กลุ ่มตัวอย ่าง/ผู ้ให ้ข ้อมูล เครื ่องมือการวิจัย วิธีเก็บ
รวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล) โดยพิมพ์ต่อเนื่องแบบ run
in text
Major findings: (1) On..ประเด็นการศึกษา.., ..ผลการศึกษา..;
(2) On..ประเด็นการศึกษา.., .ผลการศึกษา..;and (3) On..ประเด็น
การศึกษา.., ..ผลการศึกษา..โดยพิมพ์ต่อเนื่องแบบ run in text และ
คั่นผลการศึกษาในแต่ละข้อด้วยเครื่องหมาย(;)หรืออาจใช ้
เครื่องหมาย(,)ในบางกรณีที่มีรายละเอียดหลายประเด็นย่อย (โดยให ้
เขียนผลการวิจัยให ้เป็ นลำดับสอดคล ้องตามลำดับวัตถุประสงค์

(3)
Keywords: กำหนดให ้มีอย่างน ้อย 3 คำ แต ่ไม่เกิน 7 คำ โดยพิมพ์
แต่ละคำขึน
้ ต ้นด ้วยตัวพิมพ์ใหญ่ และ คั ่นด ้วยเครื ่องหมาย (,)
กรณีที ่มี Keywords เป ็นกลุ ่มคำ อักษรตัวแรกเป ็นตัวพิมพ ์ใหญ่
ยกเว้น Keywords ที่เป็ นศัพท์เฉพาะ จะต้องเป็ นตัวพิมพ์ใหญ่เสมอ
และคำสุดท้ายไม่ต้องมีเครื่องหมาย (.)

Advisor’s
Signature.............................................................................................
...................................
กิตติกรรมประกาศ

วิจัยฉบับนีส
้ ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความกรุณาของ (ขนาดตัวอักษร
16 พอ
ยต์) .......................................................................................................
..............................................................................................................
..........................................................................................................

(4)
เว้น 2 บรรทัด
ชื่อ สกุล ใส่คำนำหน้า
ชื่อ สกุล ใส่คำนำหน้า
ชื่อ สกุล ใส่คำนำหน้า
ชื่อ สกุล ใส่คำนำหน้า

(5)
Acknowledgements

For this .................. , I would like to express my


appreciation and gratitude to my
Supervisor,
(ขนาดตัวอักษร 16 พอยต์)

เว้น 2 บรรทัด
Name – Surname

(6)
สารบัญ
บทคัดย่อ 1
ABSTRACT 2
กิตติกรรมประกาศ 3
Acknowledgements 4
สารบัญ 5
สารบัญตาราง 7
สารบัญภาพ 8
บทที่ 1 บทนำ 1
1.1 ความเป็ นมาและความสำคัญของปั ญหา 1

1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1

1.3 ขอบเขตการศึกษา 1

1.4 ขัน
้ ตอนการศึกษา 1

1.5 ข้อตกลงเบื้องต้น 2

1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 2

(7)
1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม 3
2.1 แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3

2.1.2 การถ่ายภาพ 3

2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3

2.3 กรอบแนวคิดการออกแบบ 5

บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา 6
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 6

3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 6

3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 6

3.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 7

บทที่ 4 ผลการศึกษา 8
4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษา 8

4.1.1 ออกแบบร่าง 9

4.1.2 ความคืบหน้าครัง้ ที่ 1 9

4.1.3 ความคืบหน้าครัง้ ที่ 2 9

4.1.4 ความคืบหน้าครัง้ ที่ 3 9

4.1.5 สรุปผลงานการออกแบบ 9

4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ 9

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 10


5.1 สรุปผล 10

(8)
5.2 อภิปรายผล 11

5.3 ข้อเสนอแนะ 12

บรรณานุกรม 13
ภาคผนวก 14
ภาคผนวก ก ชื่อภาคผนวก 15

ภาคผนวก ข แบบข้อมูลคำปรึกษาวิจัย 16

ประวัติศึกษา 19

(9)
สารบัญตาราง

ตารางที่
หน้า
ตารางที่ 0-1.......................................................................................3
ตารางที่ 0-2.......................................................................................3

ตารางผนวก
ก.1 ชื่อตาราง
.............................................................................................................
...
ก.2 ชื่อตาราง
.............................................................................................................
...
ข.1 ชื่อตาราง
.............................................................................................................
...
ข.2 ชื่อตาราง
.............................................................................................................
...
หมายเหตุ
* เลขที่ตารางและชื่อตาราง ให้ตงั ้ ค่าตำแหน ่งของแท็บหยุด ที่ระยะ
0.12 นิว้ และ 0.5 นิว้ ตามลำดับ

(10)
** เมื่อตัง้ ค่าแท็บหยุดเรียบร้อยแล้ว การใช้แท็บหยุดในตาราง ให้กด
ปุ ่ม Ctrl+Tab
1 นิว้
1.2 นิว้
ขนาดตัวอักษร 18 พอยต์ ตัวหนา

(11)
สารบัญภาพ

ภาพที่
หน้า
ภาพที่ 0.1 ภาพ..................................................................................3
ภาพที่ 0.2...........................................................................................3
ภาพที่ 0.3...........................................................................................3

ภาพผนวก
ก.1 ชื่อภาพ
..............................................................................................................
...
ก.2 ชื่อภาพ
..............................................................................................................
...
ข.1 ชื่อภาพ
..............................................................................................................
...
ข.2 ชื่อภาพ
..............................................................................................................
...
หมายเหตุ

(12)
* เลขที่ตารางและชื่อตาราง ให้ตงั ้ ค่าตำแหน ่งของแท็บหยุด ที่ระยะ
0.12 นิว้ และ 0.5 นิว้ ตามลำดับ
** เมื่อตัง้ ค่าแท็บหยุดเรียบร้อยแล้ว การใช้แท็บหยุดในตาราง ให้กด
ปุ ่ม Ctrl+Tab

(13)
บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความเป็ นมาและความสำคัญของปั ญหา


ต้องระบุว่าปั ญหาการศึกษาคืออะไร อย่างน้อย 3 ย่อหน้า
ประกอบด้วย
ย่อหน้าแรกเกริ่นถึงสิ่งที่จะทำ..............(ข้อมูลพื้นฐาน สถิติ
ฯลฯ).............................................................
ย่อหน้าที่ 2 เนื้อหา (ปั ญหา แนวทางการแก้ไขปั ญหาด้วยงาน
ออกแบบนิเทศศิลป์ ยกตัวอย่างงานวิจัย)
ย่อหน้าที่ 3 สรุป ว่าจะทำอะไร
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
เป็ นข้อความที่ระบุเป้ าหมายที่ผู้ทำวิจัยต้องการค้นหาข้อเท็จจริง
ในประเด็นต่าง ๆ ซึ่งส่วนใหญ่นิยมเขียนขึน
้ ต้นด้วยคาว่า “เพื่อ....”
เช่น เพื่อศึกษา… เพื่อพัฒนา... เพื่อวิเคราะห์… เพื่อสังเคราะห์... และ
เพื่อประเมิน…เป็ นต้น ส่วนภาษาอังกฤษนิยมขึน
้ ต้นด้วยคำว่า “to”
เช่น to study… , to develop… , toanalyze… , to synthesize…
, และ to evaluate… เ ป็ น ต้ น ถ้า มี วัตถุประสงค์หลายข้อ นิยม
เขียนเป็ นข้อ ๆ โดยเรียงลำดับตามเป้ าหมายที่จะทำการศึกษา
1.3 ขอบเขตการศึกษา
เป็ นข้อความที่กำหนดหรือจำกัดวงให้ชัดเจนลงไปว่าการวิจัย
ครัง้ นีจ
้ ะกระทำอะไร ปริมาณ เท่าใด กระทำกับใคร สิ่งใด และ/หรือ
กระทำเมื่อใด เพื่อให้การศึกษาสามารถกระทำได้สำเร็จภายในเวลา
ภายใต้กรอบของปั ญหาและความต้องการ นิยมกำหนดขอบเขตของ
การศึกษาใน 3 ประเด็นดังนี ้ 1) เนื้อหาสาระ (Content) กล่าวถึง
ขอบเขตของเนื้อหา ปริมาณงาน เทคนิคที่ใช้ วิธีการที่ใช้ ทฤษฎีที่ใช้
ลักษณะ ข้อมูล และเครื่องมือและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เป็ นต้น 2)
พื้นที่หรืออาณาเขต (Area) กล่าวถึง พื้นที่ในการศึกษา พื้นที่ศก
ึ ษา
ข้อมูลขอบเขต อาณาเขต พันธะ รวมทัง้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มเป้ าหมาย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ และจำนวนข้อมูล เป็ นต้น และ 3)
เวลา (Time) กล่าวถึง ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา เวลาในการศึกษา
ข้อมูล เวลาในการดำเนินการทดลองหรือการสังเกตผล และเวลาใน
ขัน
้ ตอนต่าง ๆ ที่คาดว่าจะมีผลต่อการศึกษา

1.4 ขัน
้ ตอนการศึกษา
เป็ นการบอกให้ทราบว่าการศึกษานีม
้ ีกี่ขน
ั ้ ตอน อะไรบ้าง โดย
ทั่วไปจะประกอบด้วยขัน
้ ตอนต่อไปนี ้

2
1) การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง
2) การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม
3) การวิเคราะห์ข้อมูล
4) การสรุปผลการศึกษา
5) การเสนอแนะ

1.5 ข้อตกลงเบื้องต้น
เป็ นการกล่าวให้ทราบว่าการศึกษานีย
้ ึดถืออะไรเป็ นเงื่อนไข

1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ
เป็ นข้อความที่อธิบายความหมายของคำสำคัญบางคำ
(Keywords) ที่ใช้ในการศึกษาครัง้ นัน
้ ซึ่งคำเหล่านัน
้ จะมีความหมาย
เฉพาะในการศึกษาครัง้ นัน
้ เท่านัน
้ ไม่ใช่เป็ นความหมายทั่ว ๆ ไป โดย
ทั่วไป นิยมเขียนเป็ นข้อ ๆ หรือเป็ นคำ ๆ และมักจะขึน
้ ข้อใหม่หรือ
ย่อหน้าใหม่เมื่อเป็ นคำสำคัญคำใหม่

1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
เป็ นข้อความที่ร้อยเรียงถึงผลการศึกษาว่าจะนำไปใช้ประโยชน์
ได้อย่างไร ซึ่งขึน
้ อยู่กับ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครัง้ นัน
้ โดยอาจจะ
นำผลการศึกษาไปใช้ในการวางแผน กำหนดนโยบาย ปรับปรุง
กระบวนการทำงาน พัฒนาระบบงาน ใช้เป็ นข้อมูลสำหรับการตัดสิน
ใจ และใช้แก้ปัญหา เป็ นต้น ในการเขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
จากการศึกษานัน
้ จะต้องสอดคล้องกับประเด็นปั ญหาของ การศึกษาที่
ผู้ศก
ึ ษายกขึน
้ มาในความเป็ นมาและความสำคัญของปั ญหา ไม่ใช่

3
ประโยชน์ที่เป็ นข้อความเลื่อนลอย โดยที่ไม่ทำการศึกษาเรื่องนีก
้ ็เขียน
ได้ การเขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ สามารถเขียนเป็ นความเรียง
หรือเขียนเป็ นข้อ ๆ ก็ได้

4
บทที่ 2
การทบทวนวรรณกรรม

2.1 แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง


เป็ นส่วนที่ผู้ทำวิจัย ได้ทำการรวบรวม ทฤษฎี หลักการ แนวคิด
เทคนิค วิธีการ และข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาครัง้ นัน
้ โดย
ทำการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินสาระสำคัญดังกล่าว
อย่างครอบคลุม กว้างขวาง และเจาะลึกในประเด็นที่จะศึกษา เพื่อให้
เกิดความเข้าใจในเรื่องที่จะทำอย่างชัดเจน สมบูรณ์ และครอบคลุม
ตามที่ระบุไว้ขอบเขตของการศึกษา การเขียนในส่วนนีน
้ ิยมนำเสนอ
ประเด็นสำคัญเป็ นข้อ ๆ ก่อนในตอนต้น หลังจากนัน
้ จึงนำเสนอ ราย
ละเอียดแต่ละข้อ ๆ หรือแต่ละประเด็น ๆโดยจะต้องสรุปให้เห็นอย่าง
ชัดเจนว่าผู้ศึกษาได้นำแนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิจัย
ของตนอย่างไรและเกี่ยวข้องกับส่วนใด รวมทัง้ แต่ละประเด็น ๆ มี
ความสัมพันธ์หรือมีการเชื่อมโยงกันอย่างไร ไม่ใช่นำเสนอแนวคิดและ
ทฤษฎีแต่ละประเด็น ๆ อย่างเลื่อนลอย ปราศจากการเชื่อมโยงเข้ากับ
งานวิจัยของตน
2.1.2 .....................................................................

2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เป็ นส่วนที่นำเสนอผลงานการศึกษาที่มีผู้ทำมาก่อนทัง้ งานวิจัย
ในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษาครัง้ นัน
้ โดย

5
พิจารณาคำสำคัญจากชื่อเรื่องว่ามีความเกี่ยวข้องหรือใกล้เคียงกับชื่อ
เรื่องหรือประเด็นในการศึกษามากน้อยเพียงใด รวมทัง้ พิจารณาความ
ใหม่หรือความเป็ นปั จจุบัน โดยพิจารณาจากปี ของการพิมพ์ ถ้า
มากกว่า 5 ปี ไม่ควรจะนำมาอ้างอิง (ยกเว้นเอกสารที่แสดงทฤษฎีที่
เป็ นจริง หรือเอกสารที่ต้องแสดงลำดับวิวัฒนาการของแนวคิดหรือ
ทฤษฎี) ถ้าเป็ นวิทยานิพนธ์ก็ควร พิจารณาระดับการศึกษาของการ
วิจัยเรื่องนัน
้ ด้วย เช่น ถ้าเป็ นดุษฎีนิพนธ์ก็ควรพิจารณางานวิจัยที่
เกี่ยวข้องในระดับดุษฎีนิพนธ์เช่นกัน ในการเขียนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
นิยมเขียนอ้างอิงจากงานวิจัยล่าสุด ในปั จจุบันไปยังงานวิจัยที่เป็ น
อดีต โดยนำเสนอเรียงลำดับจากปี พ.ศ. จากในปั จจุบันไปยังอดีต

6
2.3 กรอบแนวคิดการออกแบบ
ให้ระบุกรอบแนวคิดที่เป็ นมโนทัศน์ของการดำเนินการศึกษา ที่แสดง
ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ ขององค์ประกอบการศึกษากับแบบการศึกษา

7
บทที่ 3
ระเบียบวิธีการศึกษา

3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร หมายถึงคน สัตว์ สิ่งของ หรือข้อมูล เป็ นหน่วยข้อมูล
ทุกหน่วยที่ต้องการศึกษา การกล่าวถึงประชากร จะต้องระบุ
คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ ขอบเขต และจำนวนของประชากรให้
ชัดเจนกลุ่มตัวอย่าง (Sample) หมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากรที่จะ
นำมาศึกษา โดยผู้ศก
ึ ษาเลือก ขึน
้ มาเป็ นตัวแทนในการศึกษาตามวิธี
การและหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ซึ่งต้องระบุขนาดของกลุ่มตัวอย่าง วิธี
การและขัน
้ ตอนการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยละเอียดว่าใช้วิธีการใด คัด
เลือกอย่างไร และได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวนเท่าใด การเลือกสุ่มตัวอย่าง
มีหลายวิธี ตัวอย่างเช่น การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
(Purposive sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบเป็ นระบบ (Systematic
sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบชัน
้ ภูมิ (Stratified sampling)
เป็ นต้น

3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
เป็ นการให้รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม
ข้อมูล เช่น แบบสอบถาม (Questionnaire) แบบสังเกตการณ์
( Observation Form) แบบสัมภาษณ์ ( Interview Form) แบบ
ทดสอบ (Test Sheet) แบบประเมิน (Evaluation Form) หรือ

8
เครื่องมือวิจัยอื่น ๆ โดยจะต้องระบุรายละเอียดของเครื่องมือว่ามีกี่
หรือประเภทกี่ฉบับแต่ละฉบับต้องใช้ภายใต้สภาพแวดล้อมอย่างไร ใช้
ใน ขัน
้ ตอนใด มีวิธีการใช้อย่างไร และนำผลไปใช้อย่างไรรวมทัง้
แจกแจงเกี่ยวกับขัน
้ ตอนการสร้างเครื่องมือ ตลอดจนการวิธีหา
คุณภาพของเครื่องมือ เพื่อให้ผู้อ่านมั่นใจว่าเครื่องมือวิจัยที่ใช้มี
มาตรฐานเชื่อถือได้ส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาสำหรับการวิจัย
ประเภทอื่น ๆ ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ระเบียบวิธีวิจัยที่กำหนดใน
แต่ละประเภท

3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
เป็ นการอธิบายว่าการเก็บรวบรวมข้อมูลมีขน
ั ้ ตอนและวิธีการ
อย่างไร ใช้แบบแผนการ ดำเนินการอะไร หรืออ้างอิงตามแบบแผน
ของผู้ใด ซึง่ จะต้องอธิบายขัน
้ ตอนนีอ
้ ย่างชัดเจน
การค้นคว้าข้อมูลภาคเอกสาร เป็ นการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
วิจัยที่ทำ โดยศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ ตำรา วารสาร งานวิจัย
วิทยานิพนธ์ หนังสือพิมพ์ Internet และเอกสารอื่น ๆ เพื่อทราบ
ทฤษฎี แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทำ

9
การค้นคว้าข้อมูลภาคสนาม เป็ นการรวบรวมข้อมูลจากภายนอก เน้น
ที่ตัวบุคคล กลุ่มบุคคล รวมถึงผลงานศิลปะประเภทต่าง ๆ โดยใช้วิธี
การที่เหมาะสมกับการทำวิจัย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์
แบบสอบถาม การรวบรวมผลงานศิลปะและศิลปประยุกต์ การ
รวบรวมข้อมูลจากการทดลองและการสร้างสรรค์

3.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
เป็ นการอธิบายถึงวิธีการจัดกระทำกับข้อมูลที่ได้มา เพื่อให้ได้คำตอบ
ตามวัตถุประสงค์และ สมมติฐานของการวิจัยซึ่งผู้ศึกษาอาจแบ่งการ
วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ออกเป็ น 2 ส่วน ได้แก่ การวิเคราะห์
ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือวิจัย และการ
วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ผลการวิจัย

10
11
บทที่ 4
ผลการศึกษา

ผลการศึกษาเป็ นหัวใจของการเขียนวิจัย เนื่องจากเป็ นการบอก


สิ่งที่ค้นพบเพื่อให้ ผู้อ่านได้รับทราบ การนำเสนอผลการศึกษาควร
เรียงลำดับและครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ เช่น ถ้ามี
วัตถุประสงค์ 3 ข้อ ก็ควรมีผลการศึกษา 3 ตอน ผลการศึกษาอาจ
เขียนในลักษณะคำบรรยายล้วน หรือมีตาราง มีภาพประกอบคำ
บรรยายด้วยก็ได้ ตามความเหมาะสม ซึ่งผูศ
้ ึกษาจะต้องนำเสนอผล
การ วิเคราะห์ตามความจริง ในส่วนของการแปลผลนัน
้ ควรแปลผล
เฉพาะประเด็นสำคัญ ๆเท่านัน
้ ไม่เขียนวกวนซ้ำซ้อน ต้องระมัดระวัง
การคัดลอกตัวเลขและการแปลความส่วนที่สำคัญในบทนีก
้ ็ คือต้องไม่
นำความคิดเห็นของผู้ศึกษาเข้าไปอธิบายประกอบบางครัง้ ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลอาจมีอักษรย่อและสัญลักษณ์จำนวนมาก ผูศ
้ ึกษาอาจ
นำเสนอ อักษรย่อและสัญลักษณ์ก่อนที่จะนำเข้าสู่การนำเสนอผลการ
วิเคราะห์ข้อมูลก็ได้ ซึ่งโครงสร้างการเขียน เนื้อหาบทที่ 4 จะแบ่งออก
เป็ น 3 ส่วนดังนี ้

4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษา

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ผู้ศึกษาทำการศึกษา ซึ่ง
อาจอยู่ในรูปของตารางกราฟ หรือรูปแบบอื่นๆ ตามความเหมาะสม

12
4.1.1 ออกแบบร่าง
4.1.2 ความคืบหน้าครัง้ ที่ 1
4.1.3 ความคืบหน้าครัง้ ที่ 2
4.1.4 ความคืบหน้าครัง้ ที่ 3
4.1.5 สรุปผลงานการออกแบบ
4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติในรูปของตาราง กราฟ
แท่ง กราฟวงกลม กราฟเส้น หรือรูปแบบอื่น ๆ ตามที่เห็นสมควร

13
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผล
วิธีการเขียนสรุปผล ผู้ศึกษาจะเขียนสรุปเป็ นแต่ละ ประเด็นตาม
ผลการศึกษาในบทที่ 4 หรืออาจเขียนสรุปรวมกันทัง้ หมดก็ได้ตาม
ความเหมาะสม และ คณะอาจารย์ที่ปรึกษา หรือคณะกรรมการสอบ
วิจัยแนะนำ

14
5.2 อภิปรายผล
วิธีเขียนใช้วิธีเดียวกันกับการเขียนสรุปผลการศึกษาและเปรียบ
เทียบผลการศึกษากับแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
เป็ นส่วนที่แสดงการให้เหตุผลว่าเพราะเหตุใดการศึกษาครัง้ นีจ
้ ึงได้ผล
เช่นนัน
้ ข้อค้นพบที่ได้เป็ นไปตามสมมติฐานที่ตงั ้ ไว้หรือไม่ มีประเด็น
สำคัญอะไรบ้างที่เป็ นข้อสังเกต ในการอภิปรายผลส่วนนีผ
้ ู้ศึกษาจึง
ควรอภิปรายผลโดยอาศัยแนวคิดทฤษฎี และผลการศึกษาต่างๆ ที่
สรุปไว้ในบทที่ 2 ว่าผลการศึกษามีความเหมือนหรือแตกต่าง จาก
แนวคิดทฤษฎีของผู้อ่ น
ื ที่ได้สรุปไว้ในบทที่ 2 อย่างไร ซึง่ การอภิปราย
ผลการศึกษาสามารถทำได้ 2 แนวทาง ได้แก่ ผลการศึกษาดังกล่าว
หมายความว่าอย่างไร ทำไมจึงเป็ นเช่นนัน
้ และผลการศึกษาดังกล่าว
สอดคล้องหรือขัดแย้งกับผลการศึกษาในอดีตของผู้ศึกษาใดบ้าง ซึ่งใน
การอภิปรายผลส่วนนี ้ ผู้ศึกษาสามารถเสนอความคิดเห็นส่วน
ตัวประกอบได้
5.3 ข้อเสนอแนะ
การเขียนข้อเสนอแนะผู้ศึกษาควรเขียนเฉพาะข้อเสนอที่มีความ
เกี่ยวข้องกับผลการศึกษา ไม่ควรนำเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยมา
เขียน โดยเขียนให้เห็นว่าสามารถ นำไปปรับใช้กับเรื่องใด หรือ
องค์การใดทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคมหาชน เป็ นส่วนของ
เนื้อหาที่นำเสนอความคิดเห็นของผูศ
้ ึกษา เพื่อให้ผู้อ่านทราบว่าเมื่อนำ
งานศึกษาเรื่องนีไ้ ปใช้ จะมีข้อเสนอแนะสำคัญ ๆ อะไรบ้าง และถ้าจะ
ทำการศึกษาในครัง้ ต่อไปในแนวทางเดียวกันนี ้ ผู้ศก
ึ ษามีประเด็น
สำคัญแนะนำที่จะให้ผู้ศก
ึ ษาคนอื่นทำอย่างไรหรือเตรียมการอย่างไร

15
โดยทั่วไปการเขียนข้อเสนอแนะจะแบ่งเป็ น 2 หัวข้อ ได้แก่ ข้อเสนอ
แนะสำหรับการนำผลการศึกษาไปใช้ และข้อเสนอแนะสำหรับการ
ศึกษาครัง้ ต่อไป สำหรับการเขียนข้อเสนอแนะการศึกษาจะต้องเป็ น
ประเด็นที่เกิดขึน
้ จากการทำการศึกษาครัง้ นีจ
้ ริง ๆ เท่านัน

16
บรรณานุกรม

การอ้างอิงเอกสารในวิจัยนัน
้ เกิดขึน
้ เมื่อผูศ
้ ึกษาได้ศึกษาค้นคว้า
ข้อมูลจากเอกสารหรือแหล่งที่มาต่างๆ เช่น หนังสือ สื่อสิง่ พิมพ์ สื่อ
โสตทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์ส่ อ
ื อิเล็กทรอนิกส์ และต้องการ
กล่าวอ้างอิงแหล่งของข้อมูลให้ผู้อ่านทราบเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้
อ่านที่จะได้ค้นคว้าต่อไป และยังเป็ นการให้เกียรติเจ้าของผลงานที่นำ
มากล่าวอ้างอิงด้วย

สุรเกียรติ ์ เสถียรไทย. (22 มิถุนายน, 2557). มิตรประเทศกับความ


ร่วมมือ. ไทยรัฐ. เข้าถึงได้จาก:
http://www.thairath.co.th/content/430074, 12 เมษายน
2558.

17
ภาคผนวก

18
ภาคผนวก ก
ชื่อภาคผนวก
(เอาแบบฟอร์มต่างๆมาใส่)

19
ภาคผนวก ข
ชื่อภาคผนวก

20
ประวัติศึกษา

ชื่อ – สกุล
วัน เดือน ปี เกิด
สถานที่เกิด
ที่อยู่ปัจจุบัน
สถานที่ทำงาน
หมายเลขโทรศัพท์
ที่สามารถติดต่อได้
อีเมล
ประวัติการศึกษา พ.ศ. (ปั จจุบัน) พ.ศ.
พ.ศ. ประสบการณ์ทำงาน
พ.ศ.– ปั จจุบัน พ.ศ.
พ.ศ.

21

You might also like