1 เครื่องกำเนิดไฟฟ้าซิงโครนัส

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 70

123304 การผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2

Course Descriptions

1. เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส (Synchronous Generator)


1.1 ความเร็วซิงโครนัส ( Synchronous Speed)
1.2 ขดลวดอารเมเจอร (Armature Wending)
1.3 แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา (Generated Voltage)
1.4 เครื่องกําเนิดไฟฟาขณะมีโหลด ( Generator on Load)
1.5 ซิงโครนัสรีแอกแตนซ (Synchronous Reactance)

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
1.5 เฟสเซอรไดอะแกรมของเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส
( Phasor Diagram of Synchronous Generator)
1.6 อิมพีแดนซซิงโครนัส (Synchronous Impedance)
1.7 ประสิทธิภาพของเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส ( Efficiency
of Synchronous Generator)
1.8 การขนานเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส ( Synchronizing of
Synchronous Generator)
2. มอเตอรซิงโครนัส (Synchronous Motor)
2.1 คุณลักษณะและสวนประกอบของมอเตอรซิงโครนัส
2.2 หลักการทํางานของมอเตอรซิงโครนัส
2.3 มอเตอรซิงโครนัสขณะมีโหลด
2.4 คาตัวประกอบกําลังของมอเตอรซิงโครนัส
2.5 กําลังกลและแรงบิดในมอเตอรซิงโครนัส
เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
2.6 เฟสเซอรไดอะแกรมของมอเตอรซิงโครนัส
2.7 ประสิทธิภาพของมอเตอรซิงโครนัส
2.8 ซิงโครนัสคอนเดนเซอร
3. มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส ( Three Phase Induction Motors)
3.1 โครงสรางของมอเตอรเหนี่ยวนํา
3.2 การเกิดสนามแมเหล็กหมุนในมอเตอรเหนี่ยวนํา
3.3 สลิป ความเร็วโรเตอรและแรงเคลือ่ นไฟฟาเหนี่ยวนํา
3.4 แรงบิดในมอเตอรเหนี่ยวนํา
3.5 กําลังของมอเตอรเหนี่ยวนํา
3.6 วงจรสมมูลของมอเตอรเหนี่ยวนํา
3.7 เฟสเซอรไดอะแกรมของมอเตอรเหนี่ยวนํา
4. มอเตอรเหนี่ยวนํา 1 เฟส ( Single Phase Induction Motors)

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
1. เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส (Synchronous Generator)
เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัสหรืออาจเรียกวาเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ
ซึ่งใชหลักการของการเหนี่ยวนําของแมเหล็กไฟฟาซึ่งประกอบดวยขดลวดอารเมเจอร
( Armature Winding ) และขดลวดสนามแมเหล็ก( Magnetic Field ) โดยขดลวดอาร
เมเจอรจะอยูกับที่เรียกวา สเตเตอร และขดลวดสนามแมเหล็กจะหมุนเรียกวา โรเตอร

winding

rotor

rotor
stator
stator

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
สเตเตอร ประกอบดวยเหล็กหลอ ( cast Iron ) ทําหนาที่ยึดแกนเหล็กอารเมเจอร
และมีสลอต(Slot) สําหรับบรรจุขดลวด
โรเตอร จะเคลื่อนที่เปนขั้วแมเหล็กขั้วเหนือ(N) และขั้วใต (S) และเปน
ขั้ ว แม เ หล็ ก คงที่ ซึ่ ง ขั้ ว แม เ หล็ ก นี้ จ ะถู ก กระตุ น จากแหล ง จ า ยแรงดั น ไฟฟ า
กระแสตรงภายนอกหรื อ จากภายในตั ว เครื่ อ งกํ า เนิ ด เอง แต เ นื่ อ งจากขดลวด
สนามแมเหล็กนั้นหมุนแรงดันไฟฟากระแสตรงจากภายนอกจะจายผานสลิปริง

™ เมื่อโรเตอรหมุนตัวนําที่อยูที่สเตเตอรจะตัดกับสนามแมเหล็ก ดังนั้นจึงเกิด
แรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําที่ตัวนํานั้นและเนื่องจากการหมุนของขดลวดสนามแมเหล็ก
แรงดันไฟฟากระแสสลับจึงเกิดขึ้นในตัวนําที่สเตเตอร โดยที่
- ความถี่ของแรงดันไฟฟาเหนี่ยวนํานั้น ขึ้นอยูกับจํานวนขั้วแมเหล็กที่ตัดผาน
ตัวนํา

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
1.1 ความเร็วซิงโครนัส (Synchronous Speed)
เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัสที่มีขั้วแมเหล็กหมุน 2 ขั้ว ดังแสดงในรูป เมื่อ
ขดลวดของสนามแมเหล็กหมุนตัดกับตัวนําอารเมเจอรจํานวน 1 รอบ จะเกิดรูปคลื่น
ไซนขึ้น 1 ไซเคิล เปนมุม 360 องศา หรือเทากับ 2π เมื่อกําหนดให
θ e = θ m
เมื่อ θ e = องศาไฟฟาของคลื่น 1 ไซเคิล
θ m = องศาทางกลของสนามแมเหล็กหมุนตัดขดลวด 1 รอบ
a
e B


0 π

t 0 π θ
-a

คลื่นแรงเคลื่อนไฟฟ้าสลับเอาต์พตุ คลื่นความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็กไฟฟ้า
เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 2 ขั้ว

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ในกรณีเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัสที่มีขั้วแมเหล็กหมุน 4 ขั้ว ดังแสดงในรูป
เมื่อตัวหมุน หมุนไป 1 รอบ จะเกิดคลื่นไซนของแรงดันไฟฟาเอาตพุต ( e ) 2 ไซเคิล
นั้นแสดงวา θ e จะเพิ่มเปน 2 เทา แสดงวา ถาจํานวนคูของขั้วแมเหล็ก (P/2) เพิ่มขึ้น
θ e จะเพิ่มเปนจํานวนเทาของจํานวนคูของขั้วแมเหล็กตามสมการ

a1 e

-a2 a2
π 2π
0 2π 4π
t
-a1

คลื่นแรงเคลื่อนไฟฟ้าสลับเอาต์พตุ
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบ 4 ขัว้
⎛ P ⎞
จะไดเปนสมการ θe = θm⎜ ⎟
⎝ 2 ⎠

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
เมื่อจํานวนคลื่นไซเคิลมีคา = P/2 (เมื่อใหความเร็วการหมุนคงที่)
P
f α
2
ถาหากใหขั้วแมเหล็ก (P) คงที่ และเพิ่มความเร็วในการหมุน (N)

f α N
เมื่อ n = ความเร็วรอบของตัวหมุน หนวยเปนรอบตอวินาที(rps)
จากสมการทั้งสองจะได
⎛P⎞
f = N⎜ ⎟
⎝2⎠
2f
N=
P

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ดังนั้นจะไดความเร็วซิงโครนัส เปน
2f
NS = มีหนวยเปน rps
P
เมื่อ NS =
120 f มีหนวยเปน rpm
P

ตารางแสดงความเร็วของตัวหมุนของเครื่องกําเนิดไฟฟาแบบซิงโครนัส
จํานวนขั้วแมเหล็ก 2 4 6 8 12 24 32 40
(P)
ความเร็วตัวหมุน
(rpm)
3,000 1,500 1,000 750 500 250 187 150

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
1.2 ขดลวดอารเมเจอร (Armature Wending)

ขดลวดอารเมเจอรในเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัสจะแตกตางจากเครื่องกําเนิด
ไฟฟากระแสตรง ซึ่งเครื่องกําเนิดฟากระแสตรงนั้นจะเปนแบบขดลวดวงจรปด แต
ขดลวดอารเมเจอรในเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัสจะเปนแบบวงจรเปด โดยปลายดาน
หนึ่งของขดลวดตอเขากับจุดรวมและปลายอื่น ๆ ของแตละขดลวดจะตอออกไป
ภายนอก (จะเปนแบบสตาร) การพันจะแบงออกไดเปน 2 แบบ คือ
-แบบขดลวดชั้นเดียว(Single-Layer)
-แบบขดลวดสองชั้น( Double-Layer)

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
คอยลพิตช( Coil pitch)
คอยลพิตช หมายถึง ระยะหางระหวางคอยลไซดขางซายและขางขวาของขดลวด
เดียวกัน

จากรูป คอยลไซดขางซายอยูที่สลอตที่ 1 และคอยลไซดขางขวาอยูที่สลอตที่ 7 แสดง


วาขดลวดนี้พันคลุมสลอตจํานวน (7-1) 6 สลอต อารเมเจอรตามรูปมี 24 สลอต และ 4
ขั้ว ดังนั้นจํานวนสลอตตอขั้วแมเหล็กเทากับ 24/4 = 6 (แบบ Full Pitch )
เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
โพลพิตช ( Pole pitch)
โพลพิตช หมายถึง ระยะหางระหวางกึ่งกลางขั้วแมเหล็กขั้วเหนือ (N) และกึ่งกลาง
ของขั้วแมเหล็กขั้วใต (S) ที่อยูประชิดกัน 1 โพลพิตชจะมีคาเทากับ 180 องศา
สําหรับการพันขดลวดอารเมเจอรของเครื่องกําเนิดไฟฟาที่มีคอยลพิตชเทากับ
โพลพิตชจะเรียกระยะหางของขดลวดแบบนี้วา พิตชเต็ม ( Full Pitch ) เมื่อไรก็ตามที่
คาของคอยลพิตชมีคานอยกวาโพลพิตชจะเรียกระยะหางของขดลวดแบบนี้วา พิตช
เศษสวน ( Short Pitch )
เชน การลงขดลวดกับสลอตของอารเมเจอร 36 สลอต 4 ขั้วแมเหล็กขดลวดขดที่ 1
ลงสลอต 1 – 10 ดังนั้นคอยลพิตชจะมีคาเทากับ 36/4 = 9 ( 10-1= 9) เปนแบบพิตช
เต็ม ถาหากวางขดลวดขดที่ 2 ลงสลอต 1 – 9 คอยลพิตชจะมีคาเทากับ 8 (9-1=8)
คอยลพิตชจะมีคานอยกวาโพลพิตชจะเปนแบบพิตชเศษสวน

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
Short − Pitch
เมื่อให P คือ Coil Span มีคาเทากับ
o
Po =
Full − Pitch
× 180 o

ดังนั้นจะได Coil Span เปน Po =


8
× 180 = 160 o องศาไฟฟา
9

พิตชแฟกเตอร ( Pitch Factor)

พิตชแฟกเตอร หมายถึง คาคงที่ที่ใชคูณในสมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําของ


เครื่องกําเนิดไฟฟาแลวเปนผลทําใหแรงเคลื่อนที่ไดมีคาสูงสุด จะมีคาเปน

Po
k P = sin
2

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ตัวอยางที่ 1 จงหาคาพิตชแฟกเตอรของขดลวดตอไปนี้
1 อารเมเจอรมี 36 สลอต 4 ขั้ว ลงขดลวดสลอตขดที่ 1 ถึง 9
2 อารเมเจอรมี 72 สลอต 6 ขั้ว ลงขดลวดสลอตขดที่ 1 ถึง 9
1) 36 สลอต 4 ขั้ว ลงขดลวดสลอตขดที่ 1 ถึง 9
Slot 36
พิตชเต็ม (Full − Pitch) = = =9
Pole 4
พิตชเศษสวน ( Short − Pitch) = 9 − 1 = 8
ดังนั้นสามารถหา Coil Span จาก
Short − Pitch 8
Po = ×180o = ×180 = 160 องศาไฟฟา
Full − Pitch 9

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ดังนั้นพิตชแฟกเตอรเทากับ
Po ⎛ 160 o ⎞
k P = sin = sin⎜⎜ ⎟⎟ = sin 80 o = 0.984
2 ⎝ 2 ⎠

2) 72 สลอต 6 ขั้ว ลงขดลวดสลอตขดที่ 1 ถึง 9


Slot 72
พิตชเต็ม (Full − Pitch) = = = 12
Pole 4
พิตชเศษสวน ( Short − Pitch) = 9 − 1 = 8
ดังนั้นสามารถหา Coil Span จาก
Short − Pitch 8
Po = ×180o = ×180 = 144 องศาไฟฟา
Full − Pitch 12
Po ⎛ 144 o ⎞
ดังนั้น k P = sin = sin ⎜⎜ ⎟⎟ = sin 72 o = 0.951
2 ⎝ 2 ⎠
เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ตัวประกอบการกระจาย ( Distribution Factor)
ดิส ทริ บิ ว ชั่ น แฟกเตอร หมายถึ ง ตั ว ประกอบที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการกระจายในการพั น
ขดลวดขดเดียวกันลงในสลอตหลายสลอตกระจายกันออกไป เพื่อลดฮารมอนิกสที่
เกิดขึ้นจากการกําเนิดคลื่นไซน ผลที่ไดก็คือ แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําที่ไดมีฮารมอ
นิกสลดลง จะมีคาเปน

=
sin md ( o
2 )
kd
m sin d ( o
2 )
เมื่อ m = จํานวนสล็อตตอขั้วใน 1 เฟส =
Slot
Pole × Phase
180 o
d o
= มุมระหวางสล็อต 2 สล็อตที่อยูประชิดติดกัน =
Slot / Pole

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ตารางแสดงคา m , k d, d o

สลอตตอขัว้ แมเหล็ก m do kd
3 1 60 1.000
6 2 30 0.966
9 3 20 0.960
12 4 15 0.958
15 5 12 0.955

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ตัวอยางที่ 2 จงหาคาดิสทริบิวชั่นแฟกเตอรของเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3
เฟส มีอารเมเจอร 72 สลอต 8 ขั้ว
ขั้นตอนที่ 1 หาคา d o
180o 180o
d =
o
= = 20 องศาไฟฟา
Slot / Pole 72 8
ขั้นตอนที่ 2 หาคา m
Slot 72
m= = = 3
Pole × Phase 8 × 3

ขั้นตอนที่ 3 หาคา kd
⎛ 3 × 20 ⎞
sin ⎜ ⎟
=
sin md o ( 2
=
) ⎝ 2 ⎠ = 0 . 960
kd
m sin d o ( 2 ) ⎛ 20 ⎞
3 sin ⎜ ⎟
⎝ 2 ⎠
เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
1.3 แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา (Generated Voltage)
เมื่อกําหนดให
Z = จํานวนตัวนําที่ตออนุกรมกันใน 1 เฟส จะมีคาเปน 2T เมื่อ T คือ จํานวน
ขดลวดหรือจํานวนรอบ/เฟส ( 1 รอบ = 2 ตัวนํา )
P = จํานวนขั้วแมเหล็ก
f = ความถี่ของแรงดันไฟฟาที่เกิดขึ้น
φ = เสนแรงแมเหล็ก/ขั้วแมเหล็กเปน เวเบอร (Wb)
k d= ตัวประกอบการกระจาย ( Distribution Factor)
k P= ตัวประกอบพิตช (Pitch Factor )
N = ความเร็วรอบในการหมุนของโรเตอร รอบ/นาที (rpm)

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ดังนั้น
ถาหากใน 1 รอบของการหมุนของโรเตอรเปน 60/N วินาที
ตัวนําที่สเตเตอรเพียง 1 ตัว จะตัดกับเสนแรงแมเหล็ก = φ P Wb
ดังนั้น d φ = φ P
และ dt = 60/N วินาที
จะได แรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําเฉลี่ย/ตัวนํา = dφ /dt =φ P/(60/N) =φ NP/60 โวลต
แต f = PN/120 Hz
และ N = 120f/P rpm แทนคา N จะได

แรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําเฉลี่ย/ตัวนํา = (φ P/60)×(120f/P) = 2φ f โวลต

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ถามี Z ตัวนําที่ตออนุกรมกันในหนึ่งเฟส แรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําเฉลี่ย/ตัวนํา
เปน
Eav= 2φ f = 4φ fT โวลต/เฟส
ถาแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําสมมุติใหเปนคลื่นไซน (คูณดวยตัวประกอบ 1.11)

E = 4.44 fTφ โวลต/เฟส


ในความเปนจริงแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นมีคาลดลงดวยองคประกอบ 2
องคประกอบ คือ ตัวประกอบการกระจายและตัวประกอบพิตช

E = 4.44φ k d k P fT โวลต/เฟส

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ตัวอยางที่ 3 เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส เครื่องหนึ่ง ถูกขับใหหมุน
ดวยความเร็วรอบ 250 รอบ/นาที 216 สลอต โดยใน 1 สลอตมี 5 ตัวนํา
ขดลวดพันแบบพิตชเต็ม เครื่องกําเนิดนี้ตอเปนแบบสตารใหความถี่ออกมา 50
Hz ตัวนําทั้งหมดในแตละเฟสตอแบบอนุกรมกัน เสนแรงแมเหล็กตอขั้วขณะ
ไมมีโหลดเทากับ 30 mWb จงคํานวณหาคาตัวประกอบการกระจาย และ
แรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในแตละเฟสและแรงดันไฟฟาที่ขั้ว
เมื่อขดลวดพันแบบพิตชเต็ม จะได
Po ⎛ 180 o ⎞
k P = sin = sin ⎜⎜ ⎟⎟ = sin 90 o = 1
2 ⎝ 2 ⎠

จาก kd =
(
sin md o 2 )
m sin d o 2 ( )
120 f 120 × 50
เมื่อ P= = = 24 ขั้ว
N 250

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ดังนั้น m=
Slot
Pole × Phase
=
216
24 × 3
= 3

และ d =
o 180o
=
180o
Slot / Pole 216 24
= 20o

⎛ 3 × 20 o ⎞
sin ⎜⎜ ⎟⎟
( o
) ⎝ 2 ⎠ = 0 .9598
ดังนั้น kd =
sin md 2
(
m sin d o 2
=
) ⎛ 20 o ⎞
3 sin ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ 2 ⎠

จากสมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา
E = 4.44φ k d k P fT โวลต/เฟส
เมื่อ T = Z/2 รอบ

ถาหาก Z = จํานวนสลอต×จํานวนตัวนํา/สลอต/เฟส
= (216× 5)/3 = 1080/3 = 360 ตัวนํา
เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ดังนั้นจะได T = 360/2 = 180 รอบ
แทนคาลงในสมการสมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา
E = 4.44φ k d k P fT = 4.44×30× 10 ×0.9598×1×50×180
−3

= 1150.6 โวลต/เฟส
แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําที่ขั้ว
EL = 3 E = 3 × 1150.6 = 1992.9 โวลต

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ตัวอยางที่ 4 จงคํานวณหาความเร็วรอบ แรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําที่ขั้ว(วงจรเปด)
ของเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส 50 Hz 4 ขั้ว 36 สลอต ตอเปน
แบบสตาร มีตัวนํา 30 ตัวนํา/สลอต เสนแรงแมเหล็ก/ขั้ว 0.05 Wb
จาก f = PN/120 Hz
N = 120f/P = (120×50)/4 = 1500 rpm
เมื่อ E = 4.44φ k d k P fT โวลต/เฟส
ถาสมมุติใหการพันขดลวดเปนแบบพิตชเต็ม
kP = 1

และจาก kd =
(
sin md o 2 )
m sin d o 2 ( )
และจาก m=
Slot
=
36
= 3
Pole × Phase 4 × 3

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
และ d =
o 180o
=
180o
= 20o
Slot / Pole 36 4
⎛ 3 × 20 o ⎞
sin ⎜⎜ ⎟⎟
(
sin md o 2 ) ⎝ 2 ⎠ = 0 . 9598
ดังนั้น kd = o
m sin d 2 (=
) ⎛ 20 o ⎞
3 sin ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ 2 ⎠

ถาหาก Z = จํานวนสลอต×จํานวนตัวนํา/สลอต/เฟส
= (36× 30)/3 = 1080/3 = 360 ตัวนํา
และจะได T = Z/2 = 360/2 = 180 รอบ
ดังนั้น E = 4.44φ k d k P fT = 4.44×5×10 −2
×0.9598×1×50×180
= 1914.08 โวลต/เฟส
แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําที่ขั้ว EL = 3 E = 3 × 1914.08 = 3315.29 โวลต
เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
การบานครั้งที่ 1
1 ) เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส 4 ขั้ว มีแรงดันระหวางสายที่ขั้ว
ของเครื่องกําเนิด 1,100 โวลต 60 Hz เครื่องกําเนิดตอแบบสตาร มีสล็อต
15 สล็อต/ขั้ว แตละสล็อตมี 10 ตัวนํา ตัวนําของแตละเฟสตออนุกรมกันมีคา
k d เทากับ 0.95 และคา k P เทากับ 1 จงหาคาเสนแรงแมเหล็กφ( ) ตอขั้ว

2) เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส ตอแบบสตารมี 10 ขั้ว หมุนดวย


ความเร็วรอบ 600 รอบ/นาที 120 สลอต ในสลอตมี 8 ตัวนํา ในแตละเฟส
นั้นขดลวดตออนุกรมกัน เสนแรงแมเหล็กตอขั้ว 56 mWb ขดลวดพัน
แบบพิตชเต็ม จงคํานวณหาคาแรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําตอเฟสและแรงดันไฟฟาที่
ขั้ว

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
1.4 เครื่องกําเนิดไฟฟาขณะมีโหลด ( Generator on Load)
เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัสขณะมีภาระจะมีแรงเคลื่อนที่ขั้วสายลดลงเนื่องจาก
แ ร ง เ ค ลื่ อ น ไ ฟ ฟ า ต ก ค ร อ ม จ า ก ค า ค ว า ม ต า น ท า น อ า ร เ ม เ จ อ ร ( Ra)
แรงเคลื่อนไฟฟาตกครอมเนื่องจากคารีแอกแตนรั่วไหลของขดลวดอารเมเจอร
(XL) และ แรงเคลื่อนไฟฟาตกครอมเนื่องจากปฏิกิริยาอารเมเจอร (Xa)
แรงเคลื่อนไฟฟาตกครอมจากคาความตานทานอารเมเจอร (Ra)
ค า ความต า นทานของขดลวดอาร เ มเจอร ต อ เฟส(Ra) เป น ต น เหตุ ข อง
แรงเคลื่อนไฟฟาตกครอมโดยที่แรงเคลื่อนไฟฟาที่ตกครอมที่คาความตานทาน
ของขดลวดอารเมเจอร (IRa) นั้นจะเกิดพรอมกันกับกระแสไฟฟาที่ไหลผานใน
อารเมเจอร แตในทางปฏิบัติจะไมนํามาพิจารณา

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
แรงเคลื่อนไฟฟาตกครอมเนื่องจากคารีแอกแตนรั่วไหลของขดลวดอารเมเจอร(XL)
เมื่อมีกระแสไหลผานตัวนําที่อารเมเจอรจะทําใหเกิดเสนแรงแมเหล็กขึ้น ซึ่ง
เสนแรงแมเหล็กที่เกิดขึ้นนี้จะเปลี่ยนแปลงไปตามขนาดและความถี่ของกระแส
อารเมเจอร เสนแรงแมเหล็กที่เกิดขึ้นนี้จะไมไดนําไปใชประโยชนในการกําเนิด
แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําเพราะมันจะเกิดขึ้นที่ปลายขดลวดและบริเวณรอบ ๆ
สลอต จะเรียกวา เสนแรงแมเหล็กรั่วไหล
เสนแรงแมเหล็กรั่วไหล จะไมขึ้นอยูกับการอิ่มตัวแตจะขึ้นอยูกับกระแสและ
มุมตางเฟสของแรงเคลื่อนไฟฟาที่ขั้ว(V) เสนแรงแมเหล็กรั่วไหลนี้จะทําใหเกิด
แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําในตัวมันเองเรียกวา แรงเคลื่อนไฟฟารีแอกแตนและ
นําหนากระแสอยู 90 องศา ดังนั้นแรงเคลื่อนไฟฟาตกครอมนี้จะมีคาเทากับ
IXL ดังสมการ
E = V + I (Ra + jX L )
เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
เฟสเซอรไดอะแกรมแสดงแรงดันที่เกิดจากความตานทานอารเมเจอรและรีแอกแตนรั่วไหล

แรงเคลื่อนไฟฟาตกครอมเนื่องจากปฏิกิริยาอารเมเจอร (Xa)
เมื่อเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัสจายโหลด จะเกิดกระแสไหลผานอารเมเจอรซึ่ง
ทําใหเกิดปฏิกิริยาระหวางเสนแรงแมเหล็กที่เกิดจากขั้วแมเหล็ก และเสนแรง
แมเหล็กที่เกิดจากอารเมเจอร

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
การเกิดเสนแรงแมเหล็กที่อารเมเจอรและเสนแรงแมเหล็กที่ขั้ว

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
1.5 ซิงโครนัสรีแอกแตนซ (Synchronous Reactance)
ซิงโครนัสรีแอกแตนซ (Xs) เปนผลรวมระหวางรีแอกแตนซรั่วไหล (XL)และรี
แอกแตนซของอารเมเจอร (Xa) หาไดจาก
XS = XL + Xa

ดังนั้นแรงเคลื่อนไฟฟาตกที่เกิดขึ้นทั้งหมดในเครื่องกําเนิดขณะมีโหลดจะเปน
IRa + jIX S = I (Ra + jX S )
I (Ra + jX S ) = IZ S

เมื่อกําหนดให Z S คือ อิมพีแดนซซิงโครนัส จะได


Z S = Ra + jX S

= Ra2 + X S2

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
จะสามารถเขียนเปนวงจรสมมูล(Equivalent Circuit ) ของเครื่องกําเนิดไฟฟา
ซิงโครนัสเมื่อมีโหลด

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
จะสามารถเขียนสามารถเขียนเปนเฟสเซอรไดอะแกรมแสดงขนาดของแรงดัน
ไดเปน

เมื่อ EO = แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําเมื่อไมมีโหลด
E = แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําเมื่อมีโหลด
V = แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําที่ขั้วสายของเครื่องกําเนิดเมื่อมีโหลด
IRa = แรงดันไฟฟาตกเนื่องจากคาความตานทานอารเมเจอร
IXL = แรงดันไฟฟาตกเนื่องจากรีแอกแตนซรั่วไหล
IXa = แรงดันไฟฟาตกเนื่องจากปฏิกิริยาอารเมเจอร
IXs = แรงดันไฟฟาตกเนื่องจากรีแอกแตนซิงโครนัส
เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
1.5 เฟสเซอรไดอะแกรมของเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส
( Phasor Diagram of Synchronous Generator)
จะสามารถพิจารณาเขียนเปนเฟสเซอรไดอะแกรมไดเปน 3 รูปแบบดวยกัน
1. เมื่อโหลดมีคาตัวประกอบกําลังเปนหนึ่ง
กระแสและแรงดันจะอินเฟสกัน ดังรูป

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
จากเฟสเซอรไดอะแกรมจะสามารถหาคาสมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําตอ
เฟสได
EO = V + I ( Ra + jX S )
EO = (V + IRa ) 2 + ( IX S ) 2

2. เมื่อโหลดมีคา ตัวประกอบกําลังลาหลัง
กระแสจะลาหลังแรงดันเปนมุม φ ดังรูป

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
จากเฟสเซอรไดอะแกรมจะสามารถหาคาสมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําตอ
เฟสได
EO = (V cosφ + IRa )2 + (V sinφ + IX S )2

3. เมื่อโหลดมีคา ตัวประกอบกําลังนําหนา
กระแสจะนําหนาแรงดันเปนมุม φ ดังรูป

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
จากเฟสเซอรไดอะแกรมจะสามารถหาคาสมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําตอ
เฟสได
EO = (V cos φ + IRa ) 2 + (V sin φ − IX S ) 2

การปรับแรงเคลื่อนไฟฟา ( Voltage Regulation)


การปรั บ แรงเคลื่ อ นไฟฟ า ของเครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ า หาได จ ากความแตกต า ง
ระหวางแรงเคลื่อนไฟฟาขณะไมมีโหลดกับแรงดันไฟฟาขณะมีโหลดเต็มพิกัด
หารดวยแรงเคลื่อนไฟฟาขณะมีโหลด ตามสมการ

Voltage regulation =
(EO − V ) ×100
V

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ตัวอยางที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส ตอแบบสตาร จายโหลด
15 MW มีแรงดันที่ขั้วของเครื่องกําเนิดเทากับ 11 kV ขดลวดอารเมเจอรมีคา
ความตานทานของขดลวดตอเฟส Ra = 0.1 โอหม/เฟส ถาหากมีคารีแอก
แตนซเทากับ Xs = 0.65 โอหม/เฟส จงหาแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา เมื่อ
โหลดมีสภาวะดังนี้
1. โหลดมีคาตัวประกอบกําลังเทากับ 1
2. โหลดมีคาตัวประกอบกําลังนําหนาเทากับ 0.8
3. โหลดมีคาตัวประกอบกําลังลาหลังเทากับ 0.8
1. โหลดมีคาตัวประกอบกําลังเทากับ 1
สามารถหาคากระแสไดจาก Pφ = 3 3VL I L cos φ
P3φ
IL =
3VL cos φ
เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
15 × 10 6
I= = 787 A
(
3 11 × 10 3 1)
ดังนั้น IRa = 787 × (0.1Ω) = 78.7 V

IX S = 787 × (0.65Ω) = 511.55 V

แรงดันไฟฟาที่ขั้วตอเฟส V = VP =
11,000
= 6,350 V
3

จากสมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนียวนําตอเฟส EO = (V + IRa ) + (IX S )


2 2

= (6,350+ 78.7)2 + (511.55)2 = 6,628.5 V

2. โหลดมีคาตัวประกอบกําลังเทากับ 0.8 นําหนา


จาก 15×10 6
I= = 984 A
3(11×10 )0.8 3

IRa = 98.4 V
IX S = 639.6 V
เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
แรงดันไฟฟาที่ขั้วตอเฟส V = VP =
11,000
= 6,350 V
3
cos φ = 0 .8
เมื่อ
φ = cos −1 ( 0 .8) = 36 .87 o
sin φ = sin( 36 .87 o ) = 0 .6

จากสมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนียวนําตอเฟส
EO = (V cosφ + IRa ) + (V sinφ − IX S )
2 2

= (6,350× 0.8) + 98.4)2 + ((6,350× 0.6) − 639.6)2 = 6,071.8 V

3. โหลดมีคาตัวประกอบกําลังเทากับ 0.8 ลาหลัง


EO = (V cos φ + IRa )2 + (V sin φ + IX S )2
= (6,350 × 0.8) + 98.4)2 + ((6,350 × 0.6) + 639.6)2 = 6,827.5 V

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ตัวอยางที่ 6 เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส 50 Hz ตอแบบสตาร ขนาด
800 kVA จายแรงเคลื่อนไฟฟาที่ขั้วเทากับ 11 kV ขดลวดอารเมเจอรมีคา
ความตานทานของขดลวดตอเฟส Ra = 1.5 โอหม/เฟส ถาหากมีคาซิงโครนัส
รีแอกแตนซเทากับ Xs = 25 โอหม/เฟส จงคํานวณหาการปรับแรงเคลื่อน
(Voltage Regulation)ที่โหลด 600 kW มีตัวประกอบกําลัง 0.8 ตามรูป

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
แรงดันไฟฟาที่ขั้วตอเฟส V = VP =
11,000
= 6,350 V
3

และมี Ra = 1.5 Ω

X S = 25 Ω
600 ×103
I= = 39.4 A
(
3 11×10 0.8
3
)
cos φ = 0.8
φ = cos −1 (0.8) = 36.87 o
sin φ = sin(36.87 o ) = 0.6
จากสมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนียวนําตอเฟส
EO = (V cosφ + IRa ) + (V sinφ − IX S )
2 2

= ((6,350× 0.8) + (39.4 ×1.5))2 + ((6,350× 0.6) − (39.4 × 25))2 = 5,860 V

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
(EO − V ) ×100 = (5,860 − 6,350) ×100 = −7.72 %
ดังนั้น Voltage regulation =
V 6,350

การบานครั้งที่ 2
1 ) เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส ขนาด 1200 kVA 6,600 V ตอแบบ
สตารมีความตานทานและซิงโครนัสรีแอกแตนซตอเฟส 0.4 โอหม และ 6
โอหม ตามลําดับ เครื่องกําเนิดไฟฟานี้จายโหลดเต็มพิกัดที่เพาเวอรแฟกเตอร
0.8 ลาหลัง จงคํานวณหาคาแรงเคลื่อนไฟฟาที่ขั้วเมื่อจายโหลดที่เพาเวอรแฟก
เตอร 0.8 นําหนา

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
1.6 อิมพีแดนซซิงโครนัส (Synchronous Impedance)
ดังที่ไดกลาวมาแลวการหาคา อิมพีแดนซซิงโครนัส (Zs) หาไดจากสมการ
Z S = R a + jX S

= R a2 + X 2
S

แตในทางปฏิบัติการหาคา อิมพีแดนซซิงโครนัสจะหาไดจากการหาคา Ra และ Xs


ดวยวิธีการทดสอบ 3 วิธีดังนี้
1. การทดสอบหาคาความตานทานอารเมเจอร Ra โดยมีวงจรดังนี้

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
โดยการตอแหลงจายไฟตรงเขาไปที่ขั้วคูใดคูหนึ่งของเครื่องกําเนิด และวัดหา
คา แรงดันและกระแสตามรูปเพื่อหาคา ความตานทาน RDC
E DC
RDC =
I DC

เมื่อพิจารณาจากรูปจะเห็นวาคา RDC ที่ได จะมีคาเปนสองเทาของ Ra ดังนั้น


RDC
Ra =
2

แตเนื่องจาก Ra ของอารเมเจอรในวงจรไฟฟาสลับจะเปนคาใชงานดังนั้น Ra
จะตองคูณกับแฟกเตอรที่มีคาตั้งแต 1.25-1.75 ซึ่งเปนคามาจากโครงสราง
ของการพันขดลวด รูปรางลักษณะของสลอต

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
2. การทดสอบแบบเปดวงจร (Open-Circuit Test)
เปนการทดสบหาคาแรงดันที่ขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟาขณะเปดวงจรโดยไมตอโหลด
และทํ า การขั บ เครื่ อ งกํ า เนิ ด ให ห มุ น ไปที่ ค วามเร็ ว ซิ ง โครนั ส แล ว ค อ ย ๆ ปรั บ
แหลงจายไฟตรงเขาขดลวดสนามแมเหล็ก แลวบันทึกคาแรงดันเพื่อนําไปเขียน
กราฟ โดยตอวงจรตามรูป

เมื่อ EAC = VOC


เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
3. การทดสอบแบบปดวงจร (Short-Circuit Test)
เปนการทดสบหาคากระแสลัดวงจรในวงจรอารเมเจอรของเครื่องกําเนิด ทําโดยขับ
เครื่องกําเนิดใหหมุนดวยความเร็วซิงโครนัสและคอย ๆ ปรับกระแสที่จายใหกับ
ขดลวดสนามแมเหล็กแลววัดคากระแสลัดวงจรนําไปเขียนกราฟ โดยมีวงจรการ
ทดสอบตามรูป

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
จากการทดสอบแบบวงจรเปดและปดวงจรนํามาเขียนกราฟ ไดเปน

Open-circuit voltage (Line) ,Voc

Short-circuit current(Line) , Isc


y OCC

x
rated voltage

SCC
a
rated current

o f o'
Field excitation current If

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
จากรูปใหพิจารณาหาคา I f (of ) ที่ทําใหเกิดคา I sc ขณะ short-circuit
เทากับพิกัดกระแสของเครื่องจักร ( o′a ) จะเห็นไดวาเครื่องจักรจะตองเกิด
แรงดันไฟฟาขณะ open-circuit เทากับขนาด oy จ ะ ส า ม า ร ถ ห า ค า
อิมพีแดนซไดจากสมการ

VOC (oy )
ZS =
I SC o ' a ( )
เมื่อคา Ra จากการทดสอบหาคาความตานทานดังนั้นสามารถหาคา Xs จาก

X S = Z S2 − Ra2

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ตัวอยางที่ 7 เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส 50 Hz ตอแบบสตาร ขนาด
450 kVA จายแรงเคลื่อนไฟฟาที่ขั้วเทากับ 2.2 kV เมื่อนําเครื่องกําเนิดนี้มา
ทดสอบ ไดขอมูลจากการทดสอบดังนี้
1. ไดผลจากการทดสอบหาคาความตานอารเมเจอร : EDC = 10 V , IDC = 8 A
2. ผลการทดสอบแบบเปดวงจร : If = 20 A , VOC = 1,360 V
3. ผลการทดสอบแบบปดวงจร : If = 20 A , ISC = 118 A
กําหนดให Ra ที่ไดคูณดวยแฟกเตอรเทา 1.5 ใหหาคา อิมพีแดนซซิงโครนัส
(Zs)และซิงโครนัสรีแอกแตนซ(Xs)
EDC 10
จากคา RDC =
I DC
=
8
= 1.25 Ω

RDC 1.25
จะได Ra = × 1.5 = × 1.5 = 0.937 Ω
2 2

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
จะสามารถหาคาอิมพีแดนซซิงโครนัสไดจาก

VOC 3 785.2
ZS = = = 6.65 Ω
I SC 20

ดังนั้นจะสามารถหาคา

X S = Z S2 − R a2 = 6 . 65 2
− 0 . 937 2
= 6 . 58 Ω

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ตัวอยางที่ 8 เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส 50 Hz ตอแบบเดลตา
ขนาด 1,000 kVA จายแรงเคลื่อนไฟฟาที่ขั้วเทากับ 2.4 kV เมื่อนําเครื่อง
กําเนิดนี้มาทดสอบ ไดขอมูลจากการทดสอบดังนี้
1. ไดผลจากการทดสอบหาคาความตานอารเมเจอร : Ra = 0.4 โอหม/เฟส
2. ผลการทดสอบแบบเปดวงจร : If = 40 A , VOC = 650 V
3. ผลการทดสอบแบบปดวงจร : If = 40 A , ISC = 434 A
จากขอมูลใหหาคาการปรับแรงเคลื่อน(Voltage Regulation )เมื่อเครื่องกําเนิดขับ
โหลดที่คาตัวประกอบกําลังเทากับ 0.8 ลาหลัง
จากคา ZS =
VOC
I SC

แตคา I SC / phase =
I SC 434
= = 250.5 A
3 3
เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
VOC 650
ZS = = = 2.59 Ω
ดังนั้นจะได I SC 250.5

และ X S = Z S2 − Ra2 = 2.59 2 − 0.4 2 = 2.56 Ω

เมื่อเครื่องกําเนิดที่พิกัดจะสามารถหาคากระแสได
1000kVA
IL = = 240.5 A
3 (2,400V )

240.5
เมื่อ IP = = 138.8 A
3

ดังนั้นจะได IRa = (138.8 A)0.4Ω = 55.5 V

IX S = (138.8 A)2.56Ω = 355.3 V

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
เมื่อเครื่องกําเนิดขับโหลดที่ตัวประกอบกําลัง 0.8 ลาหลง ดังนั้น
cos φ = 0 . 8
φ = cos −1
( 0 . 8 ) = 36 . 87 o
sin φ = sin( 36 . 87 o ) = 0 . 6

สามารถหาแรงเคลือ่ นไฟฟาเหนี่ยวนําตอเฟส ไดเปน


EO = (V cos φ + IRa )2 + (V sin φ + IX S )2
= (2,400 × 0.8) + 55.5)2 + ((2,400 × 0.6) + 355.3)2 = 2,669.5 V

ดังนั้น
(EO − V ) ×100 = (2,669.5 − 2,400) ×100 = 11.23
Voltage regulation = %
V 2,400

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
1.7 ประสิทธิภาพของเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส
( Efficiency of Synchronous Generator)
ประสิทธิภาพของเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส สามารถหาไดจากคากําลังเอาตพุต
(POUT) หารดวยคากําลังอินพุต(Pin) โดยพิจารณาตามรูป
กําลังสูญเสียจาก กําลังสูญเสียจาก กําลังสูญเสียจาก กํ า ลั ง สู ญ เสี ย จาก
คากระแส ขดลวดสเตเตอร คากระแส Stray-load ความฝ ด ของแบริ่ ง
ขดลวดโรเตอร Losses และแรงลม
ขดลวดสเตเตอร

กําลังอินพุต

กํ า ลั ง ที่ ส ง ผ า นช อ ง
อากาศมายังสเตเตอร
กําลังเอาตพุต
ไดอะแกรมการไหลของพลังงานในเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ดังนั้นประสิทธิภาพของเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัสจะหาไดจากสมการ
Pout
%η = ×100
Pin

เมื่อ Pin = Pout + Plosses

Pout
ดังนั้นจะได %η = × 100
Pout + Plosses

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
1.8 การขนานเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส
( Synchronizing of Synchronous Generator)
การตอเครื่องกําเนิดไฟฟาเครื่องหนึ่งขนานเขากับเครื่องกําเนิดไฟฟาเครื่องอื่นหรือ
ตอเขากับบัสบาร เรียกวิธีการนี้วา การซิงโครไนซ (Synchronizing) ในการตอ
ขนานเครื่องกําเนิดไฟฟาจะหมายถึงวาเครื่องกําเนิดที่จะนําเขามาตอเขากับระบบ
จะตองมีเงือนไขดังนี้
1. แรงดันไฟฟาที่ขั้วของเครื่องกําเนิดจะตองเทากับแรงดันไฟฟาที่บัสบาร
2. ความเร็วรอบของเครื่องกําเนิดจะตองทําใหไดความถี่เทากันกับความถี่ที่
บัสบาร
3. เฟสของแรงดันไฟฟาจากเครื่องกําเนิดจะตองเหมือนกันกับเฟสของ
แรงดันไฟฟาที่บัสบาร

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
การขนานเครื่องกําเนิดไฟฟาจะสามารถขนานไดโดยการใชกรรมวิธี 2 แบบ
การขนานเครื่องกําเนิดไฟฟาใชหลอดซิงโครไนซ
การขนานเครื่องกําเนิดไฟฟาใชหลอดซิงโครไนซมีดวยกัน 2 แบบ คือ
1. แบบ 1 หลอดดับ 2 หลอดสวาง ตามรูป

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ถาความเร็วรอบของเครื่องกําเนิดไฟฟาเครื่องที่ 2 มีความเร็วมากกวาเครื่อง
กําเนิดเครื่องที่ 1 เวกเตอรของแรงดันไฟฟา R’,Y’,B’ จะหมุนทวนเข็มนาฬิกา
และเร็วกวาเวกเตอรแรงดันไฟฟาของเครื่องที่ 1 (R,Y,B) ดังนั้นจะตองปรับ
ความถี่ใหไดเทากัน เมื่อความถี่เทากันและแรงดันเทากันจะสังเกตเห็นวาหลอด
L1 จะเริ่มสวางขึ้นและหลอด L2 จะสวางมากขึ้นกวาหลอด L1 สําหรับหลอด
L3 จะสวางมากสุด ดังแสดงตามรูป

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ถาความเร็วรอบของเครื่องกําเนิดไฟฟาเครื่องที่ 2 มีความเร็วต่ํากวาเครื่องกําเนิด
เครื่องที่ 1 เวกเตอรของแรงดันไฟฟา R’,Y’,B’ จะหมุนตามเข็มนาฬิกาและชา
กวาเวกเตอรแรงดันไฟฟาของเครื่องที่ 1 (R,Y,B) ดังนั้นจะตองปรับความถี่ใหได
เทากัน เมื่อความถี่เทากันและแรงดันเทากันจะสังเกตเห็นวาหลอด L1 จะเริ่ม
สวางขึ้นและหลอด L3 จะสวางมากขึ้นกวาหลอด L1 สําหรับหลอด L2 จะสวาง
มากสุด ดังแสดงตามรูป

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
2. แบบ 3 หลอดดับ ตามรูป

จากรูปการขนานเครื่องกําเนิดไฟฟาเครื่องที่ 2 เขากับเครื่องที่ 1 จะสามารถ


ขนานเขาดวยกันไดก็ตอเมื่อหลอดไฟซิงโครไนซทั้ง 3 หลอดดับสนิทเปน
เวลานาน แตถาลําดับเฟสไมตรงกัน ก็จะทําใหหลอดสวางทั้งหมดหรือทั้ง 3
หลอดดับและสวางไมพรอมกันแมวาแรงดันและความถี่จะเทากันก็ตาม
เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
การขนานเครื่องกําเนิดไฟฟาดวยซิงโครสโคป

การจะขนานเครื่ อ งกํ า เนิ ด เข า กั น ได จ ะต อ งดู ที่เ ข็ ม ของซิ ง โครสโคป ถ า เข็ ม ชี้ ที่
ตําแหนง 0 แสดงวาแรงดันไฟฟาของเครื่องกําเนิดกับแรงดันไฟฟาของระบบเกิด
พรอมกัน ในทางปฏิบัติการจะขนานกันไดเข็มของซิงโครสโคปจะหมุนชาแตถา
ความถี่ของเครื่องกําเนิดต่ํากวาเข็มจะหมุนตามเข็มนาฬิกา
เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
กระแสซิงโครไนซ (Synchronizing Current )
เมื่อเครื่องกําเนิดตอขนานกันอยู แรงดันไฟฟาของเครื่องกําเนิดจะเทากันและมี
ลําดับเฟสตรงกันขามจะทําใหไมมีกระแสไหลวนอยูในเครื่องทั้งสอง โดย E1=E2
(E1 คือแรงดันไฟฟาของเครื่องที่ 1 และ E2 คือแรงดันไฟฟาของเครื่องที่ 2 ) ดัง
แสดงตามรูป

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ถาหากความเร็วรอบของเครื่องกําเนิดเครื่องที่ 2 ลดลงจะทําใหเวกเตอรของ
แรงดันไฟฟา E2 ถอยหลังไปเปนมุαม ตามรูปเมื่อเปนเชนนี้จึงทําให E2
นําหนา E1 เปนมุม θ − θ และทําใหผลรวมของแรงดันระหวาง E1 กับ E2 มี
2 1

คาเทากับ Er จึงเปนเหตุใหมีคากระแสไฟฟาไหลวนอยูในเครื่องกําเนิดทั้งสอง
เรียกวา กระแสซิงโครไนซ
Er
I SY =
ZS

ในทํานองเดียวกันหากความเร็วรอบของเครื่องกําเนิดเครื่องที่ 2 เพิ่มขึ้นจะทํา
ใหเวกเตอรของแรงดันไฟฟา E2 เลื่อนไปขางหนาไปเปนมุมα ตามรูปเมื่อ
แตลาหลงเวกเตอร E1 เปนมุθม1 กระแสซิงโครไนซเกิดขึ้นจากเครื่อง
กําเนิดเครื่องที่ 2 และลาหลัง E2 เปนมุม θ 2ตามรูป

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
กําลังไฟฟาซิงโครไนซ (Synchronizing Power )
เมื่อเครื่องกําเนิดตอขนานกันอยู และเครื่องกําเนิดเครื่องที่ 2 มีความเร็วรอบลดลง
กวาเครื่องกําเนิดเครื่องที่ 1 ตามรูป และกําลังไฟฟาที่เครื่องกําเนิดเครื่องที่ 1 จาย
ออกมาเรียกวา กําลังไฟฟาซิงโครไนซ มีคาเปน
PSY 1 = E1 I SY cos θ1

ดังนั้นกําลังไฟฟาซิงโครไนซของเครื่องกําเนิดไฟฟา 3 เฟสมีคาเทากับ
เมื่อ E1 = E2 = Er = E
ขณะไมมีโหลด 3PSY = 3αE 2 / Z S

ขณะมีโหลด 3PSY = 3αEV / Z S

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
แรงบิคซิงโครไนซ (Synchronizing Torgue )
เมื่อกําหนดให TSY = แรงบิคซิงโครไนซ มีหนวยเปน N-m
จาก กําลัง = แรงบิค × 2πN / 60 W
หรือ P = T × 2π N 60 W
ดังนั้น 3PSY = TSY × 2π N 60 W

TSY = 3PSY × 60 2πN N-m

เมื่อ N = ความเร็วซิงโครนัส

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
ตัวอยางที่ 9 เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส ขนาด 3,000 kVA มี 6 ขั้ว
หมุนที่ความเร็วรอบ 1,000 รอบ/นาที ตอขนานอยูกับเครื่องกําเนิดไฟฟาตัว
อื่น โดยตอเขากับบัสบาร 3,300 V เครื่องกําเนิดไฟฟามีซิงโครนัสรีแอก
แตนซ 25 % จงคํานวณหาคากําลังไฟฟาซิงโครไนซและแรงบิดซิงโครไนซ
เมื่อแรงดันไฟฟาเลื่อนออกไป 1 องศาทางกล

จาก 3PSY = 3αE 2 / Z S

3PSY = 3αE 2 / X S เมื่อไมคดิ Ra


เมื่อ α =1 องศาทางกล
α = 1× 6 2 = 3 องศาทางไฟฟา
α = 3 × π 180 = π 60 เรเดียน
3300
เมื่อ E=
3
= 1905 V

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว
เมื่อซิงโครนัสรีแอกแตนซ = 25 %
ดังนั้น IXs = 25 % ของ 1905 V
3000kVA
เมื่อ IL =
3 (3,300V )
= 525 A

0.25 ×1905 0.25 ×1905


ดังนั้น XS =
I
=
525
= 0.907 Ω

จะได 3PSY = 3αE 2 / X S = 3 × (π 60 )× (1905) / 0.907 = 628.149 kW


2

และ TSY = 3PSY × 60 2πN = 628.149 × 103 × 60 / (2π × 1000 ) = 5998.38 N − m

เอกสารการสอน วิชาการผันแปลงพลังงานกลไฟฟา 2
อ. จิรศักดิ์ สงบุญแกว

You might also like