Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 36

วงจรนโยบายสาธารณะ (Public Policy Cycle)

เกิดอะ ไรขึนบ้าง ?
กระบวนการนโยบายสาธารณะ
Anderson (1975) ได้ให้กรอบแนวคิดในกระบวนการนโยบายสาธารณะ
อย่างเป็ นลําดับขันตอนไว้ 5 ขันตอน คือ
• 1. Problem Formation การก่อตัวของปั ญหานโยบาย (policy
problem) ปั ญหานันเป็ นปั ญหาสาธารณะหรือไม่ ปั ญหานันเป็ นวาระ
ของรัฐบาลทีต้องกระทําหรือไม่ (policy agenda) โดยคําว่าปั ญหา ต้อง
พิจารณาว่าเป็ น ปั ญหาจริง หรือ ไม่ เพราะบางครังสิงทีเราคิด ว่า เป็ น
ปัญหา ความจริงอาจไม่เป็ นปั ญหาก็ได้
กระบวนการนโยบายสาธารณะ
• 2. Formulation การก่อรูปนโยบาย ขันตอนนีเป็ นการกําหนดทางเลือก
ของนโยบาย (policy alternatives) ว่ามีทางเลือกใดบ้างในการ
แก้ ปั ญ หา และใครเป็ นผู้ ม ีส่ ว นร่ ว มในการกํ า หนดนโยบาย หาก
ทางเลือกมีหลายทางก็ตอ้ งวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสียของแต่ละทางเลือกด้วย
โดยใช้เทคนิ ค การวิเ คราะห์ต้นทุน-ผลประโยชน์ (cost-benefit
analysis)
• 3. Adoption การตัดสินใจนโยบาย ในขันตอนนีเป็ นการตัดสินใจว่า
ทางเลือกต่าง ๆ ทีได้วเิ คราะห์ไว้แล้วจะตัดสินใจเลือกทางเลือกใด หรือ
นําทางเลือกใดไปบังคับใช้และเป็ นสิงทีต้องการให้เป็ น และใครจะเป็ นผู้
ตัดสินใจนโยบาย
กระบวนการนโยบายสาธารณะ
• 4. Implementation การนํ านโยบายไปปฏิบตั ิ เมือได้ตดั สินใจเลือก
นโยบายทีเห็น ว่า ดีท ีสุ ด แล้ว ก็นํ า นโยบายทีเลือ กแล้ว ไปปฏิบ ัติใ ห้
บรรลุผล และมีอะไรเป็ นผลกระทบต่อเนือหาของนโยบาย
• 5. Evaluation การประเมินผลนโยบาย โดยการวัดว่านโยบายมี
ประสิท ธิผ ลหรือ ผลกระทบอย่างไร หลังจากนํ านโยบายนันไปสู่ก าร
ปฏิบตั ิ และใครจะเป็ นผู้ประเมินผลนโยบาย อะไรคือผลทีตามมาของ
นโยบายจากการประเมินผล
กระบวนการนโยบายสาธารณะ
Dunn (1994) ได้แบ่งกระบวนการนโยบาย (the process of policy making)
ออกเป็ น 5 ขันตอน คือ Agenda Setting, Policy Formulation, Policy
Adoption, Policy Implementation และ Policy Assessment
• ขันตอนแรก Agenda Setting การกําหนดนโยบายเป็ นวาระของรัฐทีต้อง
ปฏิบตั มิ ลี กั ษณะ เช่น ปั ญหาการคัดเลือกและแต่งตังตําแหน่งของข้าราชการ
เป็ น ปั ญ หาทีเป็ นวาระของรัฐ บาล มีห ลายปั ญ หาทีรัฐ บาลไม่ อ าจทํ า ได้
ทังหมด ในขณะที ปั ญหาอื นที หยิ บ ยกขึนมาหลั ง จากที ล่ า ช้ า มานาน
ตัวอย่างเช่น ผู้มอี ํานาจโดยชอบธรรมของรัฐและผู้สนับสนุ นได้จดั เตรียม
กฎหมายส่งไปยังคณะกรรมการสุขภาพและสวัสดิการ เพือศึกษาและอนุ มตั ิ
กฎหมายนันยังอยูก่ บั คณะกรรมการและยังไม่มกี ารลงคะแนนเสียง
กระบวนการนโยบายสาธารณะ
• ขันตอนทีสอง Policy Formulation เป็ นการก่อรูปของนโยบาย ซึงมีลกั ษณะ
ทีก่อรูปมาจากข้าราชการ มีทางเลือกของนโยบายทีเกียวกับปั ญหานโยบาย
เป็ นทางเลือกของนโยบายทีกําหนดขึนเพือการตัดสินใจของฝ่ ายบริหาร ศาล
และฝ่ ายนิตบิ ญ
ั ญัติ ตัวอย่าง เช่น ศาลของรัฐเป็ นผู้พจิ ารณาในการห้ามใช้
การทดสอบความสําเร็จมาตรฐานในเรือง ทดสอบพืนฐานการมีอคติในการ
ต่อต้านสตรี
• ขันตอนทีสาม Policy Adoption การตัดสินใจนโยบาย ทางเลือกของ
นโยบายถูกตัดสินใจโดยได้รบั การสนับสนุ นโดยเสียงข้างมากจากฝ่ ายนิ ติ
บัญญัติ หรือเป็ นฉันทานุ มตั ิในการตัด สินใจระหว่างผูเ้ ป็ นตัวแทนหรือศาล
ยกตัวอย่างเช่น การตัดสินใจของศาลสูงโดยเสียงข้างมากทีให้สทิ ธิแก่สตรีท ี
จะระงับการตัง ครรภ์ได้โดยการทําแท้ง
กระบวนการนโยบายสาธารณะ
• ขันตอนทีสี Policy Implementation การนํานโยบายไปสูก่ ารปฏิบตั ิ เมือนโยบาย
ได้รบั การตัดสินใจแล้วก็จะนํ าไปสู่การปฏิบตั ิ โดยมีหน่ วยงานในการปฏิบตั ติ าม
นโยบายนัน ซึงจะต้องระดมทรัพยากรมนุ ษย์และเงินทุนเพือนํ าไปใช้ปฏิบตั ติ าม
นโยบาย ยกตัวอย่างเช่น เหรัญญิกของเมืองได้ว่าจ้างคนเพิมขึนเพือให้เป็ นไป
ตามกฎหมายในการจัดเก็บภาษีโรงพยาบาลซึงจะไม่ยกเว้นภาษีให้อกี ต่อไป
• ขันตอนสุดท้าย Policy Assessment การประเมินผลนโยบาย โดยมีหน่ วยงาน
ด้า นการตรวจสอบและการบัญชีข องรัฐ บาล ซึงถูก กํา หนดโดย ผู้เ ป็ น ตัวแทน
ผูบ้ ริหารโดยชอบด้วยกฎหมายและศาล อย่างใดอย่างหนึง ซึงเป็ นความชอบธรรม
ตามกฎหมายทีนโยบายจะต้องมีการประเมินผลว่าได้ทําสําเร็จ ตามวัตถุประสงค์
เพียงใด ตัวอย่างเช่น The General Accounting Office ทําหน้าทีกํากับตรวจสอบ
โครงการด้านสวัสดิการสังคม เช่น โครงการ (Aid to Families with Dependent
Children--AFDC) พบว่า กําหนดขอบเขตในการให้สวัสดิการทีผิด
กระบวนการนโยบายสาธารณะ
• Dye (1998) ได้เสนอแนวคิด กระบวนการนโยบายสาธารณะว่า การศึกษา
นโยบายสาธารณะบ่ อ ยครังมุ่ ง เน้ น ไปดู ว่ า นโยบายเกิ ด ขึนได้อ ย่ า งไร
มากกว่ า ดูเ นื อหานโยบายหรือ สาเหตุ แ ละผลทีตามมาของนโยบาย ใน
การศึกษาว่านโยบายต่าง ๆ เกิดขึนได้อย่างไร โดยทัวไปจะพิจารณาชุดของ
กิจกรรมหรือกระบวนการทีเกิดขึนในระบบการเมือง (political system) ตาม
นัยของตัวแบบกระบวนการ (process model) ก็คอื การกําหนดนโยบาย
(policy making) เกิดขึนโดยสามารถระบุขนตอนและแต่
ั ละขันตอนสามารถ
แยกส่วนกันในการตรวจสอบได้ ซึงกระบวนการเหล่านีโดยปกติจะมีขนตอน ั
ดังนี
กระบวนการนโยบายสาธารณะ
• 1. Identification การระบุปัญหานโยบาย ทีเรียกร้องให้รฐั บาลต้องปฏิบตั ิ ซึงส่วน
ใหญ่นโยบายมักเกิดจากความคิดเห็นของประชาชนทีมีอทิ ธิพลต่อนโยบายของรัฐ
แต่บางนโยบายก็เกิดจากความคิดของผูน้ ําทีให้การสนับสนุ นให้เกิดนโยบายนัน
2. Agenda Setting การกําหนดเป็ นวาระหรือการเน้นให้ความสนใจไปยังกลุ่ม
สือมวลชนและข้าราชการในปั ญหาสาธารณะทีตกลงกัน เพือนําไปสูก่ ารตัดสินใจ
การกําหนดวาระนีเป็ นการระบุถงึ ปั ญหาของสังคมและกําหนดทางเลือกในการ
แก้ปัญหาซึงเป็ นขันตอนทีสําคัญทีสุดในการกําหนดนโยบาย ซึงบีบบังคับให้
รัฐบาลต้องตัดสินใจกระทําหรือรัฐบาลอาจไม่ตดั สินใจกระทําตามก็ได้ ในขันตอนนี
จะมีการระดมความคิดเห็นจากสือมวลชนด้วยโดยใช้โทรทัศน์ หรือหนังสือพิมพ์
เพือสือสารให้คนส่วนใหญ่ทราบถึงนโยบาย
กระบวนการนโยบายสาธารณะ
• 3. Formulation การก่อรูปนโยบาย ก็คอื การทีทางเลือกของนโยบายทีเกียวกับ
ปั ญหาได้พฒั นาไปเป็ นวาระของรัฐบาล การก่อรูปของนโยบายมักจะมาจากการ
ริเ ริมและมีก ารพัฒ นานโยบายทีเกิด จากระบบราชการ คณะกรรมการตาม
กฎหมาย การประชุมของคณะกรรมการชุดต่าง ๆ องค์การทีทําหน้าทีวางแผน
ด้านนโยบาย กลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ประธานาธิบดีและรัฐสภา โดยรายละเอียด
ของนโยบายทีก่อตัวขึนปกติจะมาจากระดับเจ้าหน้าที (staff members) มากกว่า
จะเกิดจากระดับผูน้ ํา (bosses) แต่ระดับเจ้าหน้าทีก็มกั จะถูกชีนําซึงเขารูว้ ่าผูน้ ํ า
ต้องการ
• 4. Legitimation นโยบายทีเกิด ขึนโดยความชอบธรรมตามกฎหมาย เป็ น การ
กระทํ า ทางการเมื อ งโดยผ่ า นพรรคการเมื อ ง กลุ่ ม ผลประโยชน์ ต่ า ง ๆ
ประธานาธิบดีและรัฐสภา
กระบวนการนโยบายสาธารณะ
• 5. Implementation การนํ านโยบายไปปฏิบตั ิ เป็ นความต่อเนืองทางการเมือง การ
กําหนดนโยบายไม่ได้จบลงทีการออกเป็ นกฎหมายโดยรัฐสภาและการลงนามโดย
ประธานาธิบดี จะต้องนํานโยบายไปสู่หน่ วยงานของระบบราชการ เพือให้ขา้ ราชการ
ปฏิบตั ติ ามนโยบายนัน การนํ านโยบายไปปฏิบตั ิมคี วามเกียวเนืองกับทุก กิจกรรม
เช่น การจัดองค์กรงานใหม่ การมีหน่ วยงานหรือตัวแทนรับผิดชอบ เพือให้สามารถ
ดําเนิ นการตามนโยบายทีกําหนดไว้ นอกจากนีการนํ านโยบายไปปฏิบัติยงั ต้อ งมี
รูปแบบและกฎระเบียบเพือให้ขา้ ราชการถือปฏิบตั ดิ ว้ ย
• 6. Evaluation การประเมินผลนโยบาย เป็ นขันตอนสุดท้ายในการกําหนดนโยบาย
เพือค้นหาว่านโยบายประสบความสําเร็จตามเป้ าหมายเพียงใด ต้นทุนทีใช้และผลที
ได้รบั เป็ นอย่างไร เป็ นไปตามทีตังใจไว้หรือไม่เป็ นไปตามทีตังใจไว้ การประเมินผลจะ
ทําโดยตัวแทนของรัฐบาลเอง ทีปรึกษาภายนอก สือสิงพิมพ์และสาธารณชน
การก่อตัวของนโยบาย
• การก่อตัวของนโยบาย (policy formation) เป็ นขันตอนแรกของ
กระบวนการกําหนดนโยบายสาธารณะ (policy formulation)
• การก่อตัวของนโยบาย เกิดจากปั ญหาสาธารณะ (public problem) ที
เกิดขึนในสังคม
• ปั ญหา (problem) ตามความหมายในเชิงนโยบาย หมายถึง สภาพที
ก่อให้เกิดความต้องการ (need) ความขาดแคลน (deprivation) หรือ
ความไม่พอใจ (dissatisfaction)ซึงส่งผลให้มกี ารแสวงหาแนวทางแก้ไข
โดยการแสวงหาแนวทางนีอาจจะทําโดยผูป้ ระสบปั ญหาเอง หรืออาจมี
การดํ า เนิ น การแทนโดยบุ ค คลหรือ กลุ่ ม บุ ค คลอืนก็ ไ ด้ (Anderson,
1984)
การก่อตัวของนโยบาย
• ปั ญ หาที เกี ยวข้ อ งกับ นโยบายจะตกอยู่ ภ ายใต้ เ งือนไขทีสํ า คัญ 4
ประการ (Anderson, 1984)
• (๑) จะต้องเป็ นปั ญหาทีกระตุ้นให้เ กิดการแสวงหาแนวทางแก้ไขจาก
ประชาชนในกรณีทเกิ ี ดปั ญหา
• (๒) ปั ญหาในบางครังจะมีการมองเห็นความสําคัญโดยประชาชนกลุ่ม
อืนหรือแม้แต่กลุม่ ผูท้ มีี บทบาทในการกําหนดนโยบายโดยตรง
• (๓) การมองปั ญหาทีเกิดขึนจะมีความแตกต่างระหว่างมุมมองของกลุ่ม
ต่างๆ
ปัญหาเชิงนโยบาย
• Peters (1986) ให้ความหมายของปั ญหาเชิงนโยบายว่า หมายถึงส่วน
หนึ งของปั ญ หาที เหมาะสมจะได้ ร ับ การแก้ ไ ขโดยรัฐ บาล และมี
ความหมายมากพอทีจะดึงดูดความสนใจจากผูก้ าํ หนดนโยบาย
• Kingdon (1984) กล่าวไว้ว่า ปั ญหาเชิงนโยบาย หมายถึง หัวข้อหรือ
ปั ญหาที ข้ า ราชการและกลุ่ ม บุ ค คลที มี ค วามสั ม พัน ธ์ ใ กล้ ช ิ ด กั บ
ข้าราชการให้ความสนใจอย่างจริงจังในช่วงระยะเวลาหนึง
ปัญหาเชิงนโยบาย
ปัญหาเชิงนโยบายจะมีลกั ษณะดังนี
• 1. ปั ญหาเชิงนโยบายของสังคมโดยทัวไป (systemic agenda)
• 2. ปั ญหาเชิงนโยบายทีเป็ นทางการ (institutional agenda) หรือ
เกียวข้องกับสถาบันของรัฐโดยตรง
ผู้มีบทบาทในการกําหนดปัญหาเชิงนโยบายมี 3 กลุ่ม คือ
• (1) ตัวแบบพหุนิยมกลุ่มผลประโยชน์ (Pluralistic Approach)
• (2) ตัวแบบชนชันนํา (Elitist Approach)
• (3) ตัวแบบสถาบันของรัฐเป็ นศูนย์กลาง (State-Centric Approach)
17
Iron triangle

คณะกรรมาธิการของสภาคองเกรส
หรื อสภาผูแ้ ทนราษฎร
(Congressional Committee)

กลุ่มข้าราชการ กลุ่มผลประโยชน์พิเศษ
(Bureaucratic Agencies) (Special/Interest Groups)
ได้แก่ กลุ่มธุรกิจ เอกชน
ปัญหาเชิงนโยบาย
• Cobb, Ross and Ross (1976) พิจารณาการกําหนดปั ญหาเชิง
นโยบาย โดยยึดความสัมพันธ์กบั ลักษณะของระบบการเมือง (Political
Regime) ได้เป็ น 3 แบบ คือ
• ๑. การกํ า หนดปั ญ หาเชิง นโยบายโดยกลุ่ ม ภายนอกสถาบัน ของรัฐ
(Outside Initiation Model)
• ๒. การกํา หนดปั ญหาเชิง นโยบายโดยเน้ นความสํา คัญ ของผู้กํา หนด
นโยบายเอง (Mobilization Model)
• ๓. การกํา หนดปั ญหาเชิง นโยบายโดยเน้ นความร่วมมือระหว่า งกลุ่ม
บางกลุ่มทีสนิทสนมกับผูก้ ําหนดนโยบาย (Inside Initiation Model)
การขยายตัวของปัญหาสู่ปัญหาเชิงนโยบาย
Anderson and Others (1984)
• 1. ปั ญหาทีเกิดขึนนันสอดคล้องกับผลประโยชน์ของกลุ่มทีมี
ความสําคัญ
• 2. ปั ญหานันสอดคล้องกับนโยบายเน้นหนักของผูน ้ ําทางการเมืองทีใช้
ในการหาเสียง
• 3. ปั ญหาทีเกิดจากเหตุการณ์เฉพาะหน้าไม่ว่าจะเป็ นเหตุการณ์วกิ ฤต
การขยายตัวของปัญหาสู่ปัญหาเชิงนโยบาย
Peters (1986) อธิบายสาเหตุของการหยิบยกปั ญหาขึนมาพิจารณาโดย
ผูก้ ําหนดนโยบายจะประกอบด้วย
• 1. ผลกระทบของปั ญหา
• 2. ความคล้ายคลึงกับปั ญหาเชิงนโยบายทีเคยเกิดขึนแล้ว
• 3. ปั ญหาทีเป็ นผลต่อเนืองจากโครงการอืน (spillover agenda)
• 4. ปั ญหาทีเกียวข้องกับค่านิยมหรือสถาบันทางสังคมทีประชาชนยึดถือ
• 5. ปั ญหาทีไม่สามารถแก้ไขได้โดยเอกชน
• 6. ความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีทจะแก้ี ไขปั ญหา
วงจรประเด็นปัญหานโยบาย
• ๑. ขันตอนก่อนเริมต้นปั ญหานโยบาย
• ๒. สัญญาณเตือนภัยจากปั ญหาทีเริมก่อตัวขึน
• ๓. การระบุตน
้ ทุนในการแก้ไขปั ญหา
• ๔. การเสือมถอยของความสนใจของสาธารณชนทีมีต่อปั ญหา
• ๕. ขันตอนสุดท้ายของปั ญหา
การเตรียมร่างข้อเสนอนโยบาย
มีปัญหาสาธารณะเพีย งบางปั ญหาเท่านันทีจะถูก หยิบยกมาพิจารณา
กําหนดนโยบายเพือแก้ไข
• ๑.ผูก้ ําหนดนโยบายทีเป็ นทางการ
• ๒.ทีปรึกษาทางการเมือง
• ๔.กลุม่ ผลประโยชน์
• ๕.ผลประโยชน์ทางการเมือง
• ๖.ค่านิยมของหน่ วยงานทีรับผิดชอบ
• ๗.ความต้องการของประชาชน
กิจกรรมย่อยของการตระเตรียมร่างนโยบาย
• ๑. การจัดระเบียบวาระและเปิ ดให้มกี ารอภิปราย
• ๒. การสํารวจสถานการณ์
• การกําหนดนโยบายขึนใหม่
• การปรับปรุงนโยบายเดิม
• ๓. การกําหนดวัตถุประสงค์ของนโยบาย
คุณลักษณะของวัตถุประสงค์ของนโยบาย
• (๑) ความครอบคลุมประเด็นปั ญหานโยบาย (comprehensiveness)
• (๒) ความสอดคล้องกับค่านิยมทางสังคม (relevant to social value)
• (๓) ความสอดคล้องกับค่านิยมทางสังคม (relevant to social value)
กิจกรรมย่อยของการตระเตรียมร่างนโยบาย
• (๔) ความสมเหตุสมผล (rationale)
• (๕) มีความสอดคล้องกับทรพยากรทีจําเป็ นต้องใช้ (relevant to existing
resources)
• (๖) มีความสอดคล้องทางการเมือง (relevant to political pattern)
• (๗) การกําหนดกรอบระยะเวลาทีเหมาะสม (timeframe)
กิจกรรมย่อยของการตระเตรียมร่างนโยบาย
• ๔. การกําหนดทางเลือก
ข้อพิจารณาในการกําหนดทางเลือก
(๑) อุปสรรคและโอกาสของนโยบาย

(๒) ข้อสมมติพนฐานที
ื จะใช้ในกากรําหนดนโยบาย
(๓) ความขัดแย้งหรือเห็นด้วยกับนโยบายทีจะกําหนดขึน

(๔) รูปแบบของพฤติกรรมทัวไปทีจะกําหนดขึน ทีจะมีผลกระทบต่อ และจะ


ได้รบั ผลกระทบจากนโยบายนัน
(๕) มิตท
ิ างด้านเวลา (๖) ขอบเขตของนโยบาย
กิจกรรมย่อยของการตระเตรียมร่างนโยบาย
• ๕. การกําหนดแนวทางการดําเนินงานของแต่ละทางเลือก

(๑) นํ าวัตถุประสงค์ทได้
ี จากการระบุปัญหา มาพิจารณากําหนดขึนเป็ น
เป้ าหมายในการแก้ไขปั ญหา
(๒) จัดทําแนวทางและมาตรการในการดําเนินงาน

(๓) กําหนดหน่ วยงานทีจะรับผิดชอบการดําเนินงานตามแนวทาง และ


มาตรการทีกําหนดขึน
การกําหนดเป็ นนโยบาย
• ๑. การกําหนดนโยบายโดยฝ่ ายนิตบิ ญ
ั ญัติ
คือ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ หรือรัฐบัญญัติ โดยรัฐสภา
• ๒. การกําหนดนโยบายโดยฝ่ ายบริหาร
คือ การพิจารณาร่างนโยบายโดยคณะรัฐมนตรี หรือรัฐบาล
การตัดสินใจเลือกนโยบายสาธารณะ
(Policy Decision Making Process)
การตัดสินใจ (decision making) คือ การเลือกทางเลือกทีมีอยู่หลายทาง
เพือนําไปใช้เป็ นแนวทางปฏิบตั งิ านให้บรรลุผลสําเร็จ
• ๑.จะต้องเป็ นทางเลือกทีแก้ไขปั ญหาได้ดท
ี สุี ด
• ๒.เป็ นทางเลือกทีเป็ นไปได้มากทีสุด

• ๓.ต้องอยู่ในขอบเขตอํานาจหน้าทีทีเป็ นไปได้
เกณฑ์ในการตัดสินใจ (Decision Criteria)
• ๑.ค่านิยม (values) ได้แก่

(๑) ค่านิยมในองค์การ (organization values)

(๒) ค่านิยมด้านวิชาชีพ (professional values)

(๓) ค่านิยมส่วนบุคคล (personal values)

(๔) ค่านิยมด้านนโยบาย (policy values)

(๕) ค่านิยมด้านอุดมการณ์ (ideological values)


เกณฑ์ในการตัดสินใจ (Decision Criteria)
• ๒.ความผูกพันต่อพรรคการเมือง (political party affiliation)

• ๓.ผลประโยชน์ของผูเ้ ลือกตัง (constituency interests)

• ๔.มติมหาชน (public opinion)

• ๕.ผลประโยชน์ของสาธารณชน (public interest)


รูปแบบการตัดสินใจ
• ๑. การต่อรอง (Bargaining)

การต่อรองคือกระบวนการทีบุคคลตังแต่ ๒ คนขึนไป ซึงอยูใ่ นตําแหน่ งที


มีอํ า นาจ ทํา การเจรจาเพือปรับ เป้ า หมายทีไม่ส อดคล้อ งกัน ห้เ ป็ น ที
ยอมรับร่วมกัน
-การต่อรองทางลับ (logrolling)
-การให้รางวัล (side payment)
-การประนีประนอม (compromise)
รูปแบบการตัดสินใจ
• ๒. การโน้มน้าวหรือการชักชวน (persuasion)
คือ ความพยายามทีจะทําให้กลุ่มการเมืองอืนเชือมันในความถูกต้องต่อ
ข้อเสนอนโยบายของตน หรือ เชือมันในฐานของตนทีจะเป็ น เสมือ น
หลัก ประกัน ต่ อ ผู้ ส นั บ สนุ น และทํ า ให้ ผู้ ส นั บ สนุ น ยอมรับ (adopt)
ข้อเสนอด้วยความเต็มใจ
• ๓. การออกคําสัง (Command)

คื อ การแสวงหาการสนั บ สนุ นโดยการออกคํ า สั งตามลํ า ดั บ ชั น


(hierarchy) ระหว่างผูบ้ งั คับบัญชากับผูใ้ ต้บงั คับบัญชา
การประกาศนโยบายสาธารณะ
กลยุทธ์การประกาศใช้นโยบาย
• ๑. การประเมิน ความเป็ น ไปได้ท างการเมือ ง (assessing and
influencing political feasibility)
(๑) การจําแนกบทบาทของผูท
้ มีี สว่ นเกียวข้องโดยตรง
(๒) ความเข้าใจถึงสิงจูงใจ

(๓) การประเมินผลทรัพยากรของผูเ้ กียวข้องกับการตัดสินใจนโยบาย

(๔) การเลือกทางฝ่ ายการเมือง


การประกาศนโยบายสาธารณะ
• ๒. กลยุทธ์ในเวทีทางการเมือง (strategies within political arenas)
• (๑) การสร้างความร่วมมือกับกลุ่มอืน
• (๒) การประนีประนอม
• (๓) การใช้สาํ นวนโวหารทางการเมือง (rhetoric)
การก่อตัว การกําหนด การก่อรูป การตัดสินใจ การนําไปปฏิบตั ิ การ
ปัญหา เป็ นวาระ ประเมินผล
Anderson Problem Formulation Adoption Implementation Evaluation
Formation
Dunn Agenda Setting Policy Policy Policy Policy
Formulation Adoption Implementation Assessment
Dye Identification Agenda Formulation Legitimation Implementation Evaluation
Setting
กระบวนการนโยบาย มี 3 ขันตอนหลัก
• 1. การกําหนดนโยบาย (policy making) ประกอบด้วย
• 1.1 การก่อตัวของนโยบายหรือการจัดตังประเด็นวาระเชิงนโยบาย
(policy formation หรือ agenda setting)
• 1.2 การจัดทําหรือการร่างนโยบาย (policy formulation)
• 1.3 การตัดสินใจหรือการรับนโยบาย (decision making or policy
adoption)
• 1.4 การทําให้นโยบายชอบด้วยกฎหมาย (legitimation)
• 2. การนํานโยบายไปปฏิบตั ิ (policy implementation)
• 3. การประเมินผลนโยบาย (policy evaluation)

You might also like