Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 8

ใบงานที่ 9 การอ้างอิงแทรกในเนื้อหา

ชื่อ-นามสกุล..... ธิติศักดิ ์ เหล่าเจริญวงศ์..... ชัน


้ ..... 109 ...... เลขที่
…. 25 ……

แหล่งสารสนเทศที่ 1 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คำชีแ
้ จง นักเรียนหาบทความจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่กำหนดให้
จำนวน 1 บทความ ต่อ 1 ตำแหน่ง ความยาว 2-3 บรรทัด หลังจากนัน

พิมพ์บทความพร้อมพิมพ์อ้างอิงแทรกในเนื้อหาตามรูปแบบ ก โดยวาง
ตำแหน่งให้ถก
ู ต้อง
แบบ ก
ตำแหน่งที่ 1 วางไว้ท้ายบทความ

เพียงไม่กี่ปีก่อนหน้านีอ
้ ินเดียถูกมองว่าเป็ นประเทศที่ยากจนและ
ยากที่จะฟื้ นความยิ่งใหญ่อย่างในอดีตหรือจะให้ขน
ึ ้ มาทัดเทียมกับบรรดา
มหาอำนาจอื่นๆในปั จจุบัน(วีระชัย โชคมุกดา.//ปี ที่พิมพ์2554/:/หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์:พลิกดินแดนภารตะประวัติศาตร์อินเดีย

ตำแหน่งที่ 2 วางไว้ระหว่างบทความ

อันที่จริ งแล้ วคำว่าอินเดียมาจากภาษาสันสกฤตว่าสินธุ(Sindhu) ซึง่ เป็ นแม่น้ำสำคัญทางภาคตะวันตกเฉียง


เหนือ(ปั จจุบนั อยู่ในประเทศปากีสถาน)(วีระชัย โชคมุกดา/ปี ที่พิมพ์2554/ หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์:พลิกดินแดนภารตะ
ประวัติศาตร์ อินเดีย) เพราะเปอร์ เซียเปลี่ยนตัวอักษร S เป็ นH เเล้ วออกเเผลงเป็ น Indus เเละ
India ตามลำดับ
ตำแหน่งที่ 3 วางไว้หน้าบทความ (กรณีให้ความสำคัญกับผู้แต่งหรือผู้
เขียนบทความ)

(วีระชัย โชคมุกดา/ปี ที่พิมพ์2554/หนังสืออิเล็กทรอนิกส์:พลิกดิน


แดนภารตะประวัติศาตร์อินเดีย) อารยธรรมอินเดียเป็ นรากฐาน
เพลงอารยธรรมของคนจำนวนเกือบพันล้านคน ซึง่ อาศัยอยู่ใน
ประเทศต่างๆหลายประเทศในเอเชียใต้ ในปั จจุบัน ได้เเก่ เนปาล อินเดีย
ปากีสถาน บังคลาเทศ ภูฏาน เเละศรีลังกา

ตำแหน่งที่ 4 วางไว้ระหว่างบทความ (กรณีให้ความสำคัญกับผู้แต่ง


หรือผู้เขียนบทความ)

อนุทวีปอินเดียประกอบไปด้วยประชากรหลายเผ่าพันธุ์ หลายเชื้อ
ชาติอพยพเข้ามาตัง้ ถิ่นฐานนับตัง้ แต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์หรือแม้
กระทั่งในสมัยประวัติศาสตร์ก็ยังมีการอพยพเข้ามาอยู่ไม่ขาดสาย(
วีระชัย โชคมุกดา/ปี ที่พิมพ์ 2554/หนังสืออิเล็กทรอนิกส์:พลิ
กดินเเดนภารตะประวัติศาตร์อินเดีย)จนทำให้เกิดการผสมผสานกัน
ทางเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์รวมไปถึงวัฒนธรรมด้วย
แหล่งสารสนเทศที่ 2 เว็บไซต์
คำชีแ
้ จง นักเรียนเลือกบทความจากเว็บไซต์ที่กำหนดให้ จำนวน 1
บทความ ต่อ 1 ตำแหน่ง ความยาว 2-3 บรรทัด หลังจากนัน
้ พิมพ์
บทความพร้อมพิมพ์อ้างอิงแทรกในเนื้อหาตามรูปแบบ ข โดยวาง
ตำแหน่งให้ถก
ู ต้อง
แบบ ข
ตำแหน่งที่ 1 วางไว้ท้ายบทความ

การกลั่นแกล้ง หรือที่ปัจจุบันนิยมเรียกกันว่าการบูลลี่ (bullying)


เป็ นพฤติกรรมก้าวร้าวประเภทหนึ่ง ซึ่งหมายถึงการกระทำให้บุคคลที่
อ่อนแอกว่าได้รับอันตรายทางร่างกายหรือรู้สึกเจ็บปวดทางจิตใจจาก
การกระทำอย่างซ้ำๆ ด้วยความตัง้ ใจ โดยจุดเริ่มต้นของการกลั่นแกล้งมัก
เกิดขึน
้ จากความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น เพศ เชื้อชาติ และรูปลักษณ์
ภายนอก(สสวท.,/ปี ที่พิมพ์2563,/เว็บไซต์:https://
pisathailand.ipst.ac.th/issue-2020-54/)

ตำแหน่งที่ 2 วางไว้ระหว่างบทความ

จาก Pisa 2018 ทุกประเทศ/เขตเศรษฐกิจเข้าร่วมการประเมินตัง้


รายงานว่าพบปั ญหาการกร่อนแกล้งในโรงเรียน(สสวท.,/ ปี ที่พิมพ์
2563,/ เว็บไซต์:https://pisathailand.ipst.ac.th/issue-2020-
54/) จากค่าเฉลี่ยของประเทศสมาชิก OECD มีนักเรียน 23% ที่
รายงานว่าถูกกลั่นแกล้งอย่างน้อยสองถึงสามครัง้ ต่อเดือนและมีนักเรียน
8% ที่ถูกกลั่นแกล้งประจำ
ตำแหน่งที่ 3 วางไว้หน้าบทความ (กรณีให้ความสำคัญกับผู้แต่งหรือผู้
เขียนบทความ)

(สสวท.,/ปี ที่ พิมพ์ 2563,/ เว็บไซต์:https://


pisathailand.ipst.ac.th/issue-2020-54/) มีการกลั่นแกล้ง ทางวาจา
และทางสังคมมากกว่าการกลั่นแกล้งทางร่างกายในหลายประเทศที่เข้า
ร่วมการประเมินโดยค่าเฉลี่ยของ OCED พบว่ามีนักเรียนประมาณ 9% -
14% ที่รายงานว่ามีประสบการณ์การณ์การถูกกลั่นเเกล้งทางวาจาและ
ทางสังคมอย่างน้อยสองถึงสามครัง้ ต่อเดือนสำหรับการกลั่นแกล้งทาง
ร่างกายค่าเฉลี่ยของประเทศสมาชิก OECD พบว่ามีนักเรียน
ประมาณ 7% ที่รายงานว่ามีประสบการณ์การถูกกลั่นเเกล้งทางร่างกาย
อย่างน้อยสองถึงสามครัง้ ต่อเดือน

ตำแหน่งที่ 4 วางไว้ระหว่างบทความ (กรณีให้ความสำคัญกับผู้แต่ง


หรือผู้เขียนบทความ)
ในภาพรวมของการกลั่นแกล้งทุกประเภท พบว่านักเรียนชายจาก
65 ประเทศ/เขตเศรษฐกิจ รายงานว่าถูกกันแกล้งอย่างน้อยสองถึงสาม
ครัง้ ต่อเดือนมากกว่านักเรียนหญิง โดยค่าเฉลี่ยของประเทศสมาชิก 
OCED พบความแตกต่างระหว่างนักเรียนสองกลุ่มนีอ
้ ยู่ที่ 5%(สสวท
.,/ปี ที่พิมพ์2563,/เว็บไซต์:https://pisathailand.ipst.ac.th/
issue2020-54/)ส่วนพระที่ไทยพบความแตกต่างอยู่ที่ 14% อย่างไร
ก็ตามเมื่อพิจารณาเฉพาะการกลั่นแกล้งทางสังคม จะพบว่าความ
แตกต่างระหว่างเพศลดลงโดยในบางประเทศ เช่น เบลเยี่ยมเเละสหราช
อาณาจักร กลับพบว่า มีนักเรียนหญิงที่รายงานว่าถูกนักเรียนคนอื่น
กระจายข่าวลือที่ไม่ดีเกี่ยวกับตัวนักเรียนมากกว่าเรียนนักเรียนชาย
แหล่งสารสนเทศที่ 3 วารสาร
คำชีแ
้ จง นักเรียนเลือกบทความจากวารสาร จำนวน 1 บทความ ต่อ 1
ตำแหน่ง ความยาว 2-3 บรรทัด หลังจากนัน
้ พิมพ์บทความพร้อมพิมพ์
อ้างอิงแทรกในเนื้อหาตามรูปแบบ ก และ ข แบ่งอย่างละ 2 ตำแหน่ง
โดยวางตำแหน่งให้ถูกต้อง
แบบ ก และ แบบ ข
ตำแหน่งที่ 1 วางไว้ท้ายบทความ

ทศวรรษ 2490 เพื่อแสดงให้เห็นว่าแม้ เชียงใหม่จะกระตือรือร้นใน


การเข้าร่วมกับการสร้างชาติภายใต้นโยบายรัฐในขณะนัน
้ แต่ก็ไม่ได้คอย
ตามอัตลักษณ์ที่รัฐสร้างขึน
้ ทัง้ หมดยังคงมคการเเสดงออกถึงความเป็ น
ท้องถิ่นนิยมปรากฏอยู่ในการนำเสนอของหนังสือพิมพ์ทงั ้ นีบ
้ ทความนีจ
้ ะ
กล่าวถึงการเติบโตของชนชัน
้ กลางของเชียงใหม่กับการเกิดขึน
้ ของ
หนังสือพิมพ์คนเมือง การสร้างอัตลักษณ์แห่งชาติของไทยในทศวรรษ
2490 และการวิเคราะห์ให้เห็นการโต้แย้งอัตลักษณ์แห่งชาติของคนท้อง
ถิ่นที่ปรากฏในหนังสือพิมพ์คนเมือง (ดารุณีสมศรี,/ปี ที่พิมพ์
2562,/ วารสาร: การโต้แย้งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมแห่งชาติใน
หนังสือพิมพ์คนเมืองปลายทศวรรษ 2490)

ตำแหน่งที่ 2 วางไว้ระหว่างบทความ
การเกิดของหนังสือพิมพ์ศรีเชียงใหม่ได้รับการวิเคราะห์จากนัก
วิชาการว่าเป็ นอิทธิพลจากกรุงเทพทัง้ ในเชิงรูปแบบ(ดารุณี สมศรี,/
ปี ที่พิมพ์ 2562,/วารสาร: การโต้แย้งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมชาติใน
หนังสือพิมพ์คนเมืองปลายทศวรรษ 2490) เนื้อหาและการหารายได้ด้วย
การขายโฆษณารวมถึงสะท้อนให้เห็นความสำเร็จของนโยบายสร้างความ
เป็ นไทยให้เชียงใหม่ด้วยข้อเขียนในหนังสือพิมพ์ศรีเชียงใหม่ แสดงความ
ยินดีที่จังหวัดเชียงใหม่ได้เข้าเป็ นส่วนหนึ่งของสยาม

ตำแหน่งที่ 3 วางไว้หน้าบทความ (กรณีให้ความสำคัญกับผู้แต่งหรือผู้


เขียนบทความ)

การเกิดของหนังสือพิมพ์ศรีเชียงใหม่ได้รับการวิเคราะห์จากนัก
วิชาการว่าเป็ นอิทธิพลจากกรุงเทพทัง้ ในเชิงรูปแบบ(ดารุณี สมศรี,/
ปี ที่พิมพ์ 2562,/วารสาร: การโต้แย้งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมชาติใน
หนังสือพิมพ์คนเมืองปลายทศวรรษ 2490) เนื้อหาและการหารายได้ด้วย
การขายโฆษณารวมถึงสะท้อนให้เห็นความสำเร็จของนโยบายสร้างความ
เป็ นไทยให้เชียงใหม่ด้วยข้อเขียนในหนังสือพิมพ์ศรีเชียงใหม่ แสดงความ
ยินดีที่จังหวัดเชียงใหม่ได้เข้าเป็ นส่วนหนึ่งของสยาม

ตำแหน่งที่ 4 วางไว้ระหว่างบทความ (กรณีให้ความสำคัญกับผู้แต่ง


หรือผู้เขียนบทความ)
นโยบายการสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมดังกล่าวที่เน้นความเป็ น
ไทยไม่ใช้แนวคิดใหม่สำหรับรัฐไทยสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ทรงระบุว่าอัตลักษณ์ประการหนึ่งของไทย (ดารุณี สมศรี,/ปี ที่พิมพ์ 256
2,/วารสาร:การโต้เเย้งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมชาติใน
หนังสือพิมพ์คนเมืองปลายทศวรรษ 2490)คือ การเลือกรับสิ่งต่างๆที่
เหมาะสมกับตนเองเข้ามาปรับใช้จนกระทั่งผสมกลมกลืนให้เป็ นอัตลักษณ์
ของตนเองได้

You might also like