246095 ไฟล์บทความ 872006 1 10 20210204

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 29

Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 17

สิ ทธิสตรีไทยในเชิงก้าวหน้ าทีป่ รากฏในนวนิยายไทย

สุ ชญั ญา วงค์เวสช์
อาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

บทคัดย่ อ

การวิ จั ย นี้ เป็ นการวิ จั ย เอกสารมี ว ัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาสิ ทธิ ส ตรี ไทยใน
เชิ ง ก้า วหน้า ที่ ป รากฏในนวนิ ย ายไทย 5 ด้า น คื อ สิ ท ธิ พ ลเมื อ ง สิ ท ธิ ท างการเมื อ ง
สิ ทธิ ทางสังคม สิ ทธิ ทางเศรษฐกิ จ และสิ ทธิ ทางวัฒนธรรม โดยวิเคราะห์นวนิ ยายไทย
ของณารา จํานวน 19 เรื่ อ ง โดยใช้ท ฤษฎี ก ารสร้ า งตัว ละครของฟี ลิ ป ดา สตรี นิย ม และ
สิ ทธิ มนุ ษยชนเป็ นแนวทางในการวิเคราะห์ วิธีการดําเนิ นการวิจยั ใช้การอ่าน และบันทึก
ลงในตารางแสดงพฤติกรรมและแนวคิดที่ตวั ละครเอกฝ่ ายหญิงได้แสดงออกถึงสิ ทธิ สตรี
ไทยในเชิ งก้าวหน้า นําเสนอรายงานการศึกษาแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า
ตัวละครเอกฝ่ ายหญิ งของณารา มี การแสดงออกสิ ทธิ สตรี ไทยในเชิ งก้าวหน้าทั้ง 5 ด้าน
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านสิ ทธิ พลเมืองและสิ ทธิทางสังคม ตัวละครเอกฝ่ ายหญิงมีการเรี ยกร้อง
แสดงพฤติกรรมและแนวคิดในการพัฒนาตนเองให้เป็ นคนที่มีศกั ยภาพ ต้องการการยอมรับ
จากสังคมผ่านความรู ้ ความสามารถ มีภาวะความเป็ นผูน้ าํ หรื อต้องการมีบทบาทสําคัญใน
สั ง คม มี ก ารใช้ชี วิ ต อยู่บ นพื้ น ฐานของความพึ ง พอใจ แต่ ค าํ นึ ง ถึ ง ความเหมาะสมตาม
วัฒนธรรมของสังคม และมีแนวคิดว่า ทุกคนในสังคมมีสิทธิ เท่าเทียมกัน สามารถดูแลชีวิต
ตนเองได้โดยลดการพึ่งพาผูอ้ ื่นให้นอ้ ยที่สุด

คําสํ าคัญ: สิ ทธิ สตรี สิ ทธิ เชิงก้าวหน้า

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 18

Progressive Women’s Right Appearing in Thai Novels

Suchanya Wongwet
Lecturer, Department of Thai Language, Faculty of Humanities and Social Sciences,
Chiang Mai Rajabhat University

Abstract

This research investigated the appearance of progressive women’s rights in Thai


novels in five areas, including civil, political, social, economic, and cultural rights. The
samples were from 19 Thai novels written by Nara. The research applied Philipda
Feminism’s theories of character design and the construction of crisis in order to analyze
the design of main female characters affecting the behaviors and concepts that expressed
Thai women’s rights. The findings showed that the main female characters reflect these
rights in all five areas. The areas of civil and social rights were found most when the main
female characters were shown to achieve their potential, gain social acceptance through their
own knowledge, assume leadership, play important roles in society, and live their lives
based on their own satisfaction rather than society’s ideas of appropriateness. These
characters also symbolized the idea that all members of the community possess equal rights
in living, can develop their potential, and live on their own with minimal assistance from
others.

Keywords: Women’s rights, Progressive rights

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 19

1. ทีม่ าและความสํ าคัญของปัญหา

นวนิ ย ายเป็ นวรรณกรรมที่ ส ร้ า งขึ้ น มาจากจิ น ตนาการของผู เ้ ขี ย น


ใช้รูปแบบงานเขียนประเภทร้ อยแก้ว มาจากคําว่า นว แปลว่าใหม่ กับคําว่า
นิ ยาย แปลว่า เรื่ องเล่า หมายถึง เรื่ องที่สมมติข้ ึนเพื่อความบันเทิง ดังที่ เปลื้อง
ณ นคร (2541, น. 101) ให้ความหมายว่า นวนิ ยาย คือ เรื่ องราวที่มีพฤติการณ์
ต่อเนื่ องกัน เรื่ องเช่ นนี้ เป็ นเรื่ องสมมติที่แต่งขึ้น แต่อาจมีมูลความจริ งแฝงอยู่
บางครั้งนักเขียนใช้เป็ นเครื่ องมือสําหรับสะท้อนภาพสังคม หรื อแสดงแนวคิด
ทางการเมืองจึงถือได้ว่า นวนิ ยายเป็ นเรื่ องที่แต่งขึ้นเพื่อเน้นความบันเทิง แต่นาํ
เหตุการณ์ ที่ปรากฏในสังคม มาจําลองชี วิตมนุ ษย์ผ่านพฤติกรรมของตัวละคร
ทั้งยังสอดแทรกความขัดแย้ง อุปสรรค พร้อมทั้งแนวทางการแก้ปัญหา เพื่อให้
ผูอ้ ่านได้สาระแง่คิดมาปรับใช้ในชี วิตประจําวัน นวนิ ยายจึงเป็ นงานเขียนที่ให้
คุณค่าทางอารมณ์และคุณค่าทางสติปัญญาไปในตัว

จากความหมายของนวนิยายข้างต้นทําให้เห็นว่า แม้นวนิยายจะเป็ นเรื่ อง


ที่สมมติข้ ึน แต่ผเู ้ ขียนได้หยิบยกเหตุการณ์ และสภาพสังคมมาเป็ นวัตถุดิบปรุ ง
แต่งให้สมจริ งเพื่อให้ผอู ้ ่านเกิดอารมณ์คล้อยตาม ดังที่ รื่ นฤทัย สัจจพันธุ์ (2523,
น. 51) แสดงความเห็นว่า นวนิ ยายเป็ นผลผลิตทางวรรณกรรมของสังคมย่อมมี
ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับสังคมอย่างใกล้ชิด ผูเ้ ขียนย่อมสร้างเนื้ อหาสาระและ
แนวคิดที่ดูดซับมาจากสังคม ถ่ายแบบมาจากบุคลิกและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริ ง
ในสังคมตามช่วงเวลาที่เขียน ดังนั้นหากจะศึกษาความเป็ นไปของสังคมในยุคใด
ช่ วงใด สามารถนํ า นวนิ ยายมาเป็ นเอกสารประกอบเพื่ อ วิ เ คราะห์
ความเปลี่ยนแปลงของสังคมในช่วงนั้น ๆ ได้

นวนิ ย ายไทยที่ ผูแ้ ต่ ง นํา สั ง คมมาเป็ นภาพจํา ลองผ่ า นองค์ป ระกอบ


ที่ปรากฏในเนื้ อเรื่ อง ส่ งผลให้นวนิ ยายได้รับผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง
ที่เกิ ดในสังคมแต่ละยุคสมัยทั้งในด้านของภาษา รู ปแบบ เนื้ อหา และแนวคิด
ที่เปลี่ยนแปลงไปในสังคม ดังเช่น นวนิ ยายเรื่ อง ละครแห่ งชีวิต ของ หม่อมเจ้า

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 20

อากาศดําเกิ ง รพีพฒั น์ ได้สะท้อนแนวคิดที่เปลี่ยนแปลงไประหว่างคนรุ่ นเก่า


และคนรุ่ น ใหม่ ใ นเรื่ อ งของ ความรั ก การแต่ ง งาน และคัด ค้า นค่ า นิ ย มการ
มี ภ รรยามาก หรื อ นวนิ ย ายเรื่ อ งลู ก ผูช้ าย ของศรี บู ร พา เป็ นนวนิ ย ายยุค แรก
ที่ ส ะท้อ นแนวคิ ด ของคนรุ่ นใหม่ ใ นการให้ ค วามหวัง ในความสํ า เร็ จ ของ
สามัญชน เหนือกว่าชนชั้นสู ง (บุญยง เกศเทศ, 2536)

แนวคิดหนึ่งที่ถือได้วา่ มีความโดดเด่น และพัฒนาอย่างต่อเนื่องในสังคม


ผ่า นนวนิ ย าย คื อ แนวคิ ด สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพของสตรี หรื อ แนวคิ ด สตรี นิ ย ม
ที่ผูเ้ ขียนสร้ างตัวละครเอกฝ่ ายหญิ งให้มีการต่อสู ้เพื่อเรี ยกร้ องสิ ทธิ และแสดง
บทบาท หน้าที่ เท่าเทียมกับตัวละครเอกฝ่ ายชาย อาทิ นวนิ ยายเรื่ องศัตรู ของ
เจ้า หล่ อ น ของดอกไม้ส ด ที่ เ สนอแนวคิ ด เกี่ ย วกับ ประเพณี ค ลุ ม ถุ ง ชนเป็ น
เรื่ องพ้นสมัยและไร้ เหตุผล โดยให้ผูห้ ญิ งมีสิทธิ เลือกคู่ครองเอง (หทัยวรรณ
ไชยกุล, 2544) หรื อนวนิ ยายเรื่ องโซ่ เวรี ของณารา ที่ให้ตวั ละครเอกฝ่ ายหญิง
มีบทบาทเด่น โดยสร้ างให้ตวั ละครได้รับการศึกษาสู ง เป็ นผูน้ าํ ในการทํางาน
และเป็ นแม่เลี้ยงเดี่ยวที่มีความเข้มแข็ง สามารถเลี้ยงดูลูกแฝดได้ แสดงให้เห็นว่า
บทบาทหน้าที่และสิ ทธิ เสรี ภาพของสตรี ไทยในสังคมปั จจุบนั มีความเสมอภาค
และทัดเทียมเท่ากับเพศชาย
สิ ทธิเสรี ภาพของสตรี ในการเท่าเทียมกันกับเพศชายนั้นได้เริ่ มปรากฏใน
ค.ศ. 1952 ในกฎบัตรสหประชาชาติ Convention on the political right of women
ที่ได้ยืนยันความเชื่อมัน่ ในสิ ทธิ อนั เท่าเทียมกันของบุรุษและสตรี สหประชาชาติ
ว่ า ด้ ว ย เ รื่ อ ง สิ ท ธิ ข อ ง ส ต รี ท า ง ก า ร เ มื อ ง ก า ร เ ข้ า สู่ ว ง ร า ช ก า ร
การสมรส การหย่ า ร้ า ง และการขจัด ต่ อ การเลื อ กปฏิ บ ัติ ต่ อ สตรี และในปี
ค.ศ. 1975 สมัช ชาสหประชาชาติ ป ระกาศให้เ ป็ นปี สตรี ส ากล เพื่ อ ส่ ง เสริ ม
ความเสมอภาคระหว่างบุรุษกับสตรี และในปี ต่อ ๆ มา ได้มีการพัฒนาสิ ทธิ สตรี
ในระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง (สมชาย กษิติปประดิษฐ์, 2547) สะท้อนให้เห็น
ว่าในระดับนานาชาติมองเห็ นความสามารถของสตรี และพัฒนาสิ ทธิ เสรี ภาพ
ในการแสดงบทบาท หน้าที่ต่อสังคมของสตรี อย่างต่อเนื่อง ในประเทศไทยได้มี

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 21

กฎบัตร Convention on the nationality married women เริ่ มเมื่อปี ค.ศ. 1958 แต่
ไม่ ค รอบคลุ ม สิ ท ธิ ส ตรี เ ที ย บเท่ ากับ ระดับ นานาชาติ เพราะสั ง คมไทยได้รับ
การปลู ก ฝั ง เรื่ อ งบทบาทหน้า ที่ ข องสตรี เ ป็ นเพี ย งผูต้ าม และยกย่อ งเพศชาย
ดังสํานวนที่ว่า สตรี เป็ นเพียงช้างเท้าหลัง ดังที่ ปราณี วงษ์เทศ (2544, น. 345)
ได้ศึกษาสังคมในระบบขุนนางในสมัยอยุธยาพบว่า สตรี ไทยได้รับการปลูกฝัง
อบรมเลี้ ยงดู จากรุ่ นสู่ รุ่นให้ยกย่องเพศชาย และมี ทศั นคติ ในแง่ ลบกับผูห้ ญิง
ด้วยกันเองหากหญิงคนนั้นมีแนวคิดพัฒนาสถานภาพของตน เพราะในสังคม
ยุคระบบขุนนาง ผูห้ ญิงมีฐานะเป็ นสมบัติของชาย ต้องเป็ นแม่บา้ นแม่เรื อนที่ดี
เอาอกเอาใจสามี รักนวลสงวนตัว สงบเสงี่ยม ไม่ตอ้ งทําหน้าที่ในการหาเลี้ยง
ครอบครั วเพราะเป็ นหน้าที่ฝ่ายชาย ดังนั้นผูช้ ายจึ งเป็ นผูก้ ุมอํานาจทั้งในบ้าน
และสังคม

สังคมไทยในปั จจุบนั มีการเปลี่ยนแปลงไปมาก หลังจากการเข้ามาของ


วัฒนธรรมตะวันตกตั้งแต่กลางยุครัตนโกสิ นทร์ ทําให้มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้ า งทางสั ง คม ค่ า นิ ย ม วิ ถี ชี วิ ต ของสั ง คมไทยอย่ า งมาก รวมถึ ง
การเปลี่ ย นแปลงบทบาทฐานะของผูห้ ญิ ง ทั้ง ในเรื่ อ งค่ า นิ ย ม กิ ริ ย ามารยาท
การศึ ก ษา ที่ ถูก บัน ทึ ก ในวรรณกรรมแต่ ละยุค สมัย (ปราณี วงษ์เ ทศ, 2544)
สังคมไทยจึ งเปิ ดโอกาสให้ผูห้ ญิงพัฒนาสิ ทธิ เสรี ภาพ ความสามารถทัดเทียม
เพศชายอย่างต่อเนื่ องและมีความเด่ นชัดมากในเรื่ องการสร้างพลังอํานาจสตรี
หลั ง จากการประชุ ม ICPD Programma of Actions 1994 (อ้ า งใน ภั ส สร
ลิมานนท์, 2542) ที่ได้ระบุนโยบายว่า
“ความพยายามสร้ า งเสริ ม ความสามารถระหว่ า งชายหญิ ง
รวมทั้งพลังการสร้างเสริ มพลังอํานาจให้สตรี การกําจัดการทําร้ายหญิง
ในทุ กรู ปแบบจะเป็ นหนทางที่ ช่วยให้สตรี สามารถหารายได้มากขึ้ น
มีความมัน่ ใจที่จะควบคุมภาวะเจริ ญพันธุ์ของตน ชะลอการสมรส และ
เลื่อนเวลาในการมีบุตรตามที่ตนเองต้องการ มีชีวิตสุ ขภาพอนามัยที่ดี
ขึ้น สามารถให้การดูแลสมาชิกครอบครัวให้อยูใ่ นภาวะที่ดี ภาวการณ์

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 22

ที่พบว่าสตรี ดอ้ ยการศึกษา ยากจน จําเป็ นต้องกําจัดให้หมดไป เพื่อที่


สตรี จ ะได้มี โ อกาสพัฒ นาตนเอง อี ก ทั้ง สิ ท ธิ ท างกฎหมายของสตรี
จําเป็ นต้องได้รับการปกป้องคุม้ ครอง”

นโยบายดังกล่าวก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแนวคิดของสตรี ที่ตอ้ งการ


เรี ยกร้ องสิ ทธิ เสรี ภาพให้เท่าเทียมกับเพศชาย ซึ่ งสิ ทธิ เสรี ภาพของสตรี ที่ควร
ได้รับนั้น ดร.ยุพา อุดมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรี ช่วยกระทรวงศึกษาธิการ ให้แนวคิด
ว่า การเคารพสิ ทธิ ข้ นั พื้นฐานของมนุ ษย์น้ นั ก็แสดงออกถึง “สิ ทธิ สตรี ” อย่าง
เท่ า เที ย มกันแล้ว (ชัชริ น ทร์ ไชยวัฒน์, 2546) ซึ่ งสอดคล้องกับแนวคิดของ
ภัสสร ลิ ม านนท์ (2542, น. 23) ที่ เ ห็ น ว่า สิ ทธิ สตรี คื อ การแสดงออกและ
ใช้ศ ัก ยภาพที่ ต นเองมี อ ยู่อ ย่า งเต็ม ที่ บ นพื้ น ฐานของสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน คื อ สิ ท ธิ
พื้นฐานของมนุษย์ อันได้แก่ สิ ทธิ พลเมือง สิ ทธิ ทางการเมือง สิ ทธิ ทางสังคม
สิ ทธิ ทางเศรษฐกิจ และสิ ทธิ ทางวัฒนธรรม และในปั จจุบนั ถือได้ว่า เป็ นยุคที่
สตรี มีบทบาททางสังคมอย่างเด่นชัด ไม่ว่าจะเป็ นบทบาทในการเป็ นผูน้ าํ หรื อ
การแสดงซึ่ งความสามารถเหนื อ เพศชาย ปรากฏการณ์ ท างสั ง คมที่ เ กิ ด ขึ้ น
สะท้อนให้เห็นแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในค่านิ ยม และการยอมรับบทบาทที่
เปลี่ยนแปลงไปในเชิงก้าวหน้าของสตรี ในสังคมไทย

ผูว้ ิจยั จึงทําการศึกษาสิ ทธิสตรี ไทยเชิงก้าวหน้าที่ปรากฏในนวนิยายไทย


ปั จ จุ บ ัน เพื่ อ ศึ ก ษาสภาพการณ์ ใ นสั ง คม พัฒ นาการ ค่ า นิ ย มในการยอมรั บ
สถานะ บทบาทหน้าที่ ที่เปลี่ยนไปในเชิงก้าวหน้าของสตรี ไทย เพราะนวนิ ยาย
เป็ นภาพจําลองและสะท้อนสังคมในแต่ละยุคสมัยดังที่กล่าวไว้ขา้ งต้น และได้
ศึกษานวนิยายที่แต่งโดย ณารา ซึ่งเป็ นนักเขียนที่มีชื่อเสี ยง และมีผลงานโดดเด่น
ในการสร้างตัวละครเอกฝ่ ายหญิงให้มีบทบาทเท่าเทียมกับตัวละครเอกฝ่ ายชาย
จํานวน 19 เรื่ อง โดยศึ กษาวิเคราะห์เนื้ อหาในเรื่ องที่ปรากฏถึ งสิ ทธิ สตรี ไทย
เชิ งก้าวหน้า บนพื้นฐานของสิ ทธิ มนุ ษยชน 5 ด้าน คือ สิ ทธิ พลเมือง สิ ทธิ ทาง
การเมือง สิ ทธิทางสังคม สิ ทธิทางเศรษฐกิจ และสิ ทธิทางวัฒนธรรม การศึกษา

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 23

บทบาทสิ ท ธิ ส ตรี ไ ทยในเชิ ง ก้า วหน้า ที่ ป รากฏในนวนิ ย าย เป็ นการเรี ย นรู ้
การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น ในสั ง คมและเป็ นการบัน ทึ ก ภาพสะท้อ นสั ง คม
ที่ปรากฏผ่านวรรณกรรมในยุคปัจจุบนั

2. วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาสิ ทธิสตรี ไทยในเชิงก้าวหน้าที่ปรากฏในนวนิยายไทย 5 ด้าน
คือ สิ ทธิพลเมือง สิ ทธิทางการเมือง สิ ทธิทางสังคม สิ ทธิทางเศรษฐกิจ และ
สิ ทธิทางวัฒนธรรม

3. กรอบแนวคิด
จากการศึ ก ษาแนวคิ ด และทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วข้อ งผูว้ ิ จ ัย ได้ก ํา หนดกรอบ
แนวคิดสําหรับการวิจยั ดังนี้

การสร้างลักษณะของตัวละคร

สิ ทธิพลเมือง

ความขัดแย้ ง
สิ ทธิทางการเมือง
สิ ทธิสตรี และสตรี เชิงก้าวหน้า

(Conflict)
1. ความขัดแย้งที่เกิดจากการ
การแสดงออก

สิ ทธิทางสังคม
ขัดขวาง
2. ความขัดแย้งภายใน
สิ ทธิทาง
3. ความขัดแย้งภายนอก
เศรษฐกิจ
4. ความขัดแย้งที่ทาํ ให้ตอ้ งเลือก
5. ความขัดแย้งที่ต่อต้าน สิ ทธิทาง
กันและกัน วัฒนธรรม
4.6.วิสถานการณ์
ธีวจิ ัย ที่บีบบังคับ

4. วิธีการวิจัย

4.1 ประเภทของการวิจัย การวิจยั เชิงคุณภาพ

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 24

4.2 กลุ่ม ตัวอย่ าง กลุ่มตัวอย่างมาจากการเลื อกแบบเจาะจง (Purposive


sampling) จากวรรณกรรมประเภทนวนิ ยายของณารา จํานวน 19 เรื่ อง ได้แก่
ปฏิบตั ิการล่าตามหาหัวใจ ภารกิจลับกับดักใจ ไฟฝันวันรัก คุณแจ๋ วอินเตอร์ ,
นักรบแห่ งมาซิดอน ขุมทรัพย์แห่งมาซิดอน ทายาทแห่ งมาซิดอน เพลงรักเพลิง
มายา ซ่ อนรักไว้ในสายลมหนาว รอยรักหักเหลี่ยมตะวัน รอยฝันตะวันเดือด
สายเลือดแดนตะวัน ไฟรักเกมร้อน ทะเลไฟ ยุทธการล่าจารกรรมรัก โซ่ เวรี
บ่วงวิมาลา เงาลวง และเล่ห์รักบุษบา
4.3 เครื่ องมื อที่ใช้ ในการวิจัย ตารางบัน ทึ กพฤติ กรรมและแนวคิ ดของ
ตัวละครเอกฝ่ ายหญิง
4.4 วิธีเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูล การวิเคราะห์สิทธิ สตรี ไทยในเชิง
ก้าวหน้าที่ปรากฏในนวนิ ยายไทย ผูว้ ิจยั ใช้วิธีวิจยั เอกสาร และนําเสนอรายงาน
การศึกษาแบบพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis) และยกตัวอย่างที่พบ
ในการวิ เ คราะห์ ป ระกอบการรายงานการศึ ก ษาตามประเด็น ดัง รายละเอี ย ด
ต่อไปนี้
4.4.1 รวบรวมเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
4.4.1.1. เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างตัวละคร
4.4.1.2. เอกสารและงานวิ จ ัย ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน
ขั้นพื้นฐาน สิ ทธิ และบทบาทสตรี ในปัจจุบนั
4.4.2 วิเคราะห์สิทธิ สตรี ไทยในเชิ งก้าวหน้าที่ปรากฏในนวนิ ยาย
ไทย 19 เรื่ อง โดยแบ่งประเด็นการวิเคราะห์เป็ น 2 ส่ วน ดังนี้
ส่ วนที่ 1 การสร้างตัวละคร จะใช้วิธีการวิเคราะห์ตามทฤษฎี
การสร้างลักษณะของตัวละครผ่านปมขัดแย้งในนวนิยายรัก โดยแบ่งปมขัดแย้ง
ดังนี้ ความขัดแย้งที่เกิดจากขัดขวาง ความขัดแย้งภายใน ความขัดแย้งภายนอก
ความขัด แย้ง ที่ ท ํา ให้ ต ้อ งเลื อ ก ความขัด แย้ง ที่ พ ยายามต่ อ ต้า นกัน และกัน
ความขัดแย้งที่สถานการณ์บงั คับ

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 25

เมื่อผูว้ ิจยั ได้ทาํ การวิเคราะห์การสร้างตัวละครผ่านปมขัดแย้ง


แล้วจะทําการสรุ ปลักษณะตัวละครเอกฝ่ ายหญิงสําเร็ จรู ป เป็ นแนวทางวิเคราะห์
การแสดงพฤติกรรมในการแสดงถึงสิ ทธิสตรี เชิงก้าวหน้า
ส่ ว นที่ 2 การแสดงพฤติ ก รรม เหตุ ก ารณ์ แนวคิ ด ของ
ตัว ละครเอกฝ่ ายหญิ ง ที่ แ สดงถึ ง สิ ท ธิ ส ตรี แ ละสตรี เ ชิ ง ในก้า วหน้า โดยจะ
วิเคราะห์ในประเด็นสิ ทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน 5 ด้าน ดังนี้
1) สิ ทธิพลเมือง (Civil Rights) ได้แก่ สิ ทธิในชีวิตและร่ างกาย
เสรี ภาพและความมัน่ คงในชี วิ ต ไม่ ถูกทรมาน ไม่ ถูก ทําร้ า ยหรื อฆ่า สิ ทธิ ใ น
ความเสมอภาคต่อหน้ากฎหมาย สิ ทธิที่จะได้รับสัญชาติ เป็ นต้น
2) สิ ทธิ ทางการเมื อง (Political Rights) ได้แก่ สิ ทธิ ในการมี
ส่ ว นร่ ว มกับ รั ฐ ในการดํา เนิ น กิ จ การที่ เ ป็ นประโยชน์ ส าธารณะ เสรี ภ าพใน
การรวมกลุ่มเป็ นพรรคการเมือง เสรี ภาพในการชุมนุมโดยสงบ สิ ทธิการเลือกตั้ง
อย่างเสรี
3) สิ ทธิ ทางสังคม (Social Rights) ได้แ ก่ สิ ทธิ ในครอบครั ว
เกี ย รติ ย ศ ชื่ อ เสี ย ง และความเป็ นอยู่ส่ ว นตัว เสรี ภ าพในเคหสถาน สิ ท ธิ
การได้รับการศึกษา สิ ทธิ การได้รับหลักประกันด้านสุ ขภาพ ได้รับความมัน่ คง
ทางสังคม มีเสรี ภาพในการเลือกคู่ครอง และสร้างครอบครัว เป็ นต้น
4) สิ ท ธิ ท างเศรษฐกิ จ (Economic Rights) ได้แ ก่ สิ ท ธิ ก ารมี
งานทํา ได้เลื อกงานอย่างอิ สระ และได้รับค่าจ้างที่เหมาะสม สิ ทธิ ในการเป็ น
เจ้าของทรัพย์สิน เป็ นต้น
5) สิ ทธิ ทางวัฒนธรรม (Cultural Rights) ได้แก่ การมีเสรี ภาพ
ในการใช้ภ าษาหรื อสื่ อ ความหมายในภาษาท้อ งถิ่ น ของตน มี เ สรี ภาพใน
การแต่งกายตามวัฒนธรรม การปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมประเพณี ทอ้ งถิ่นของตน
การปฏิบตั ิตามความเชื่ อทางศาสนา การพักผ่อนหย่อนใจทางศิลปวัฒนธรรม
และการบันเทิงได้โดยไม่มีใครมาบีบบังคับ เป็ นต้น

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 26

5. ผลการศึกษา
จากการวิ เ คราะห์ พ ฤติ ก รรมและแนวคิ ด ที่ แ สดงออกถึ ง สิ ท ธิ ส ตรี ไ ทย
ในเชิ งก้าวหน้าของตัวละครเอกฝ่ ายหญิงพบว่า มี การแสดงถึ งพฤติกรรมและ
แนวคิดผ่านสิ ทธิมนุษยชนทั้ง 5 ด้าน ดังนี้
5.1 สิ ทธิทางพลเมือง (Civil Right) แบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ
5.1.1 สิ ทธิพลเมือง
1) สิ ทธิ ในชีวิตและร่ างกายที่ตวั ละครเอกฝ่ ายหญิงได้แสดง
สิ ทธิ ในการปกป้องเพื่อความปลอดภัยในชีวิตและร่ างกายของตน ซึ่ งได้ปรากฏ
ในนวนิ ย ายเรื่ อ งภารกิ จ ลับกับดัก ใจ โดยผูเ้ ขี ย นได้นํา ปมปั ญ หาทางจิ ตของ
ตัวละครจันทร์มาลา ที่มีอาการกลัว และไม่สามารถเข้าใกล้ผชู ้ ายได้ ตัวละครจะ
เกิดอาการต่อต้านและหวาดกลัวเพศชาย เพราะคิดว่าตนเองถูกข่มขืนจากแฟน
ของเพื่ อ นสนิ ท ผู เ้ ขี ย นจึ ง สร้ า งให้ ต ัว ละครแสดงสิ ท ธิ ที่ จ ะปกป้ อ งตนเอง
เป็ นผู ้ห ญิ ง ที่ พ่ ึ ง พาตนเองได้ โดยให้ ต ัว ละครศึ ก ษาศิ ล ปะการป้ อ งกัน ตัว
เช่ น เดี ย วกับ ตัว ละคร มายูมิ ในเรื่ อ งรอยฝั น ตะวัน เดื อ ด ที่ ไ ด้ศึ ก ษาศิ ล ปะ
การป้ องกันตัวทุ กชนิ ด เพื่อความปลอดภัยของตนเอง เพราะผูเ้ ขี ยนได้สร้ าง
ลักษณะทางสังคมให้ตวั ละครเป็ นคู่หมั้นกับ ริ ว โอนิ ซีกะ ตัวละครเอกฝ่ ายชาย
ซึ่ งเป็ นหัวหน้ากลุ่มโกคุโด ทําให้ตวั ละครจะต้องเผชิญอันตรายตลอดเรื่ องราว
ตัวละครต้องแสดงสิ ทธิ ในการปกป้ องความปลอดภัยของตนเองโดยการเรี ยน
ศิลปะป้องกันตัวเพื่อสามารถดูแลตนเองให้ปลอดภัย ดังข้อความ

“เธอรู ้เรื่ องทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับบิดา และหลังจากนั้น...


เธอก็เริ่ มเรี ยนศิลปะป้ องกันตัวทุกชนิ ด ไม่ว่าจะเป็ นยูโดและเคนโด้ เพราะเธอ
ไม่มีวนั รู ้เลยว่าชีวิตที่ยงุ่ เกี่ยวกับยากุซ่าจะต้องเผชิ ญกับสิ่ งใดบ้าง ด้วยยังขึ้นชื่อ
ว่าเป็ นคู่หมั้นของริ ว ทว่าริ วไม่ได้มีความผูกพันและมีความห่ วงใยเธอเหมื อน
ทาเคชิที่มีต่อแพรวดาว ดังนั้นถ้าเธอถูกจับตัวไปเหมือนแพรวดาว เชื่อเหลือเกิน
ว่าริ วคงไม่มีวนั เสี่ ยงชี วิตของเขาแลกกับเธอ ด้วยเหตุน้ ี เธอจึงจะต้องเรี ยนรู ้วิธี

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 27

ป้ อ งกัน ตัว เองอย่า งสุ ด ความสามารถ ผ่า นไปหลายปี เธอก็ ไ ด้ยูโ ดสายดํามา
การันตีความมุ่งมัน่ และเรี ยนเคนโด้จนเชี่ยวชาญหาตัวจับยากเช่นกัน”
(รอยฝันตะวันเดือด, น. 34)

หากพิ จ ารณาถึ ง พฤติ ก รรมในการปกป้ อ งตนเองของ


ตัวละคร จันทร์ มาลา และ มายูมิ จะเห็ นว่า เป็ นการแสดงออกถึ งสิ ทธิ สตรี ใน
เชิงก้าวหน้าที่ตอ้ งการศึกษาศิลปะป้องกันตัวไว้เพื่อดูแลตนเอง ไม่เรี ยกร้องและ
รอคอยการช่วยเหลือจากบุคคลอื่น เพื่อเป็ นพื้นฐานในความปลอดภัยของชี วิต
และร่ างกายตามสถานการณ์ที่ปรากฏในเนื้อเรื่ อง
2) สิ ท ธิ ค วามมั่น คงในชี วิ ต และเสรี ภ าพ คื อ อิ ส ระและ
เสรี ภาพในการดําเนินชีวิต การเลือกรู ปแบบชีวิต การกระทําหรื อการแสดงออก
ต่าง ๆ ได้ตามความต้องการ อยูภ่ ายใต้ความพึงพอใจและความมัน่ คงปลอดภัย
ของชี วิต ดังตัวละคร ไบรเซอีส ในเรื่ อง ทายาทแห่ งมาซิ ดอน ผูเ้ ขียนได้สร้าง
ฉากให้เ กิ ด ขึ้ น ในยุค 300 ปี ก่ อนคริ สตกาล เป็ นสมัย ที่ เ พศหญิ ง ไม่ มีสิทธิ ใ น
การใช้ชีวิตอย่างเสรี ต้องดําเนิ นชี วิตตามอํานาจของเพศชาย โดยให้ตวั ละคร
ไบรเซอีส ถูกส่ งตัวให้ไปอภิเษกสมรสกับกษัตริ ยต์ ่างเมือง ถึงแม้ตวั ละครจะเป็ น
สตรี ในยุคดังกล่าว แต่ผูเ้ ขียนได้นาํ ลักษณะทางจิ ตของตัวละครมากําหนดให้
มีแนวคิดแตกต่างจากสตรี ทวั่ ไป และแทรกความคิดของสตรี ในยุคของผูเ้ ขียน
ให้กบั ตัวละคร ทําให้ตวั ละครมีแนวคิดในเรื่ องสิ ทธิ สตรี ที่ผูห้ ญิงควรจะได้รับ
ดังบทสนทนาที่แสดงให้เห็นแนวคิดของตัวละครไบรเอซีส
“การแต่งงานเช่นนี้ มีจนถึงยุคกลางพระเจ้าค่ะ แต่เมื่อมี
การพัฒนาการปกครองประเทศอย่างมีพรหมแดนชัดเจนแล้ว การแต่งงานเพื่อ
พันธมิตรทางการเมืองก็ลดลง อีกทั้งเราเคารพสิ ทธิ ส่วนตัวของบุคคลพระเจ้า
ถ้าหากพระนางประสู ติในอนาคต พระนางก็จะมีสิทธิ์ตัดสิ นพระทัยที่จะอภิเษก
หรื อไม่อภิเษกได้เป็ นสิ ทธิอนั ชอบธรรมของพระนางพระเจ้าค่ะ...”

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 28

... “ข้า ชัก ชอบเมื อ งของท่ า นแล้ว สิ . ..สิ ท ธิ ส่ ว นบุ ค คล


สิ ทธิสตรี ช่างเป็ นสิ่ งที่ขา้ ต้องการไขว่คว้าจริ ง ๆ”
(ทายาทแห่ งมาซิดอน, น.414)

หรื อในเรื่ องรอยรักหักเหลี่ยมตะวัน ที่ตวั ละคร แพรวดาว


ใช้อิสระในการเลื อกความมัน่ คงปลอดภัยในชี วิตตนเอง โดยยื่นขอเสนอให้
ตัวละคร ทาเคชิ ลาออกจากการเป็ นหัวหน้ากลุ่มและไปใช้ชีวิตที่สงบกับเธอ แต่
ทาเคชิ ไม่สามารถทําได้ เธอจึ งปฏิเสธการแต่งงานกับตัวละครทาเคชิ เพราะ
อยากมีชีวิตที่สงบสุ ข
จากพฤติ ก รรมการแสดงออกของตัว ละครในการใช้
สิ ทธิ ทางพลเมื อ งแสดงให้ เ ห็ น ว่ า แม้ ล ั ก ษณะทางสั ง คมและลั ก ษณะ
การดําเนิ นชีวิตของตัวละครจะบีบบังคับให้ตวั ละครตกอยูใ่ นสถานการณ์ที่ตอ้ ง
เป็ นรองเพศชาย หรื อต้องเลือกระหว่างความรั กกับความมัน่ คงในชี วิต แต่ตวั
ละครก็ใช้อิสระในการคิด การแสดงพฤติกรรมตามสิ ทธิ ข้ นั พื้นฐานในการเลือก
แนวทางการดําเนิ นชี วิตของตนเอง ให้ชีวิตอยู่ภายใต้ความมัน่ คงและปลอดภัย
ด้ว ยการดู แ ลตนเอง ไม่ ห วัง พึ่ ง พาหรื อ เป็ นภาระของเพศชาย ถื อ ได้ว่ า เป็ น
การแสดงออกซึ่ งแนวคิดและการดําเนิ นชี วิตที่ สะท้อนให้เห็ นถึงสิ ทธิ สตรี ใน
เชิงก้าวหน้า

5.1.2 สิ ทธิความเสมอภาค
1) สิ ทธิความเสมอภาคในการดํารงชีวิต คือ การไม่ถูกเลือก
ปฏิเสธโดยไม่เป็ นธรรมเพราะความแตกต่างในเรื่ องถิ่นกําเนิ ด เชื้ อชาติ ภาษา
เพศ อายุ สถานภาพทางกายหรื อสุ ขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจ
หรื อ สั ง คม รวมถึ ง ความเชื่ อ ทางศาสนา ซึ่ งสิ ท ธิ ใ นข้อ นี้ ได้ป รากฏอยู่ใ น
การแสดงออกถึงพฤติกรรมของตัวละครจากสถานการณ์ต่าง ๆ ในเรื่ อง ดังเช่น
การแสดงถึ ง แนวคิ ด ในเรื่ องของถิ่ น กํา เนิ ด หรื อเชื้ อ ชาติ ที่ ต ัว ละครยึ ด ถื อ
ความเสมอภาคในการเป็ นมนุ ษ ย์ โดยไม่ ยึด ติ ด กับ ชาติ พ นั ธุ์ เช่ น ตัว ละคร

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 29

บุษบาบรรณ ที่เป็ นชาวเอเชี ยไปทํางานกับคนในสังคมตะวันตกที่ยงั มีการดูถูก


เชื้อชาติ แต่ตวั ละครก็ไม่สนใจเพราะคิดว่า คุณค่าของมนุษย์อยูท่ ี่ความสามารถ
และทุกชีวิตมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน

สิ ทธิความเสมอภาคในเรื่ องของเพศเป็ นอีกประเด็นหนึ่ ง


ที่แสดงถึงสิ ทธิ สตรี ไทยในเชิ งก้าวหน้าได้อย่างชัดเจน ตัวละครเอกฝ่ ายหญิง
ในนวนิ ยายของณารา ได้รับความเสมอภาคทางสังคมในด้านการงาน และหน้าที่
เพศหญิ ง ได้รั บ ตํา แหน่ ง สํา คัญ ในองค์ก ร มี ค วามสามารถที่ โ ดดเด่ น จนเป็ น
ที่ ย อมรั บ หรื อเป็ นผู ้นํา ในอาชี พ ผู ้เ ขี ย นได้แ ทรกแนวคิ ด ในการยอมรั บ
ความสามารถ สิ ท ธิ ส ตรี และสิ ท ธิ ค วามเท่ า เที ย มกั น ระหว่ า งหญิ ง ชาย
ให้ตวั ละครอื่นยอมรับสิ ทธิ น้ นั ๆ ดังเช่นที่ปรากฏในนวนิ ยายเรื่ องรอยฝันตะวัน
เดือด ที่ตวั ละคร มายูมิ ต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการทํางาน เพื่อให้คน
ยอมรับในฐานะแพทย์หญิง ดังบทสนทนาระหว่างยูจิและมายูมิ

“คุณอายุยงั น้อย และยังเป็ นผูห้ ญิงอีกด้วย มาถึงแค่น้ ีกเ็ ก่ง


มากแล้ว”
“ก็เ พราะเป็ นผูห้ ญิ งนี่ แหละค่ ะ ที่ ตอ้ งทํา งานหนักกว่า
ผูช้ ายอี ก เท่ าตัว เพราะคนไข้ห ลายคนยัง ไม่ ไ ว้ว างใจ โดยเฉพาะผูช้ ายสู งอายุ
ที่มกั จะเห็นผูห้ ญิงด้วยกว่าผูช้ าย” เธออธิ บาย ไม่ได้น้อยอกน้อยใจอะไรเพราะ
เจอเรื่ องอย่างนี้มาจนชิน และหัวเราะเบา ๆ เมื่อเล่าสิ่ งที่เกิดขึ้นให้ฟัง...
“อีกหน่อยเขาก็ไว้ใจคุณเองแหละ ตอนนี้ผหู ้ ญิงมีบทบาท
ในสังคมมากแล้ว ผูช้ ายต้องค่อย ๆ เปิ ดใจยอมรับผูห้ ญิง” ยูจิให้กาํ ลังใจ
“แล้วคุณล่ะคะ คิดว่ายังไง?” เธออดสงสัยไม่ได้
“หมายถึ งเรื่ องไหน ถ้าเรื่ องสิ ทธิ สตรี ผมคิดว่าถึ งเวลา
แล้วที่ผหู ้ ญิงจะมีสิทธิ เท่าเทียมผูช้ าย อาจจะไม่สามารถทําได้ท้ งั หมดภายในเวลา
อันรวดเร็ ว ก็ควรจะสนับสนุนเปลี่ยนแปลง แต่ถา้ เป็ นเรื่ องผ่าตัด ตอนนั้นผมไม่มี

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 30

สติพอที่จะเลือกได้หรอกว่าจะให้ใครมาผ่าผม ตอนผมถูกหามเข้ามาโรงพยาบาล
อาการก็แย่มากแล้ว” เขาพูดติดตลก พลอยทําให้คนฟังอดยิม้ ไปด้วยไม่ได้
(รอยฝันตะวันเดือด, น. 119)

ความเสมอภาคในการดํา เนิ น ชี วิต ที่ เ ชื่ อ มโยงกับ สิ ทธิ


เสรี ภ าพในการเลื อ กใช้ชี วิ ต ก็ ไ ด้ป รากฏในนวนิ ย ายของณารา ที่ ส ตรี ไ ทย
ในปั จจุบนั สามารถยกเลิกการแต่งงานได้หากไม่พึงพอใจในคู่ครองของตน หาก
ในอดี ตมีการยกเลิกการแต่งงานไม่ว่าจะกรณี ใด ๆ ก็ตาม ฝ่ ายหญิงจะเป็ นฝ่ าย
เสี ยเปรี ยบและถูกคําเรี ยกว่า หม้ายขันหมาก แต่ในปัจจุบนั ผูห้ ญิงถือว่าเป็ นสิ ทธิที่
พึ ง กระทํา ได้โ ดยยึ ด ความพึ ง พอใจของตนเป็ นหลัก ดัง ในนวนิ ย ายเรื่ อง
ขุมทรัพย์ของมาซิ ดอน ที่ตวั ละคร ติกาหรัง ขอยกเลิกการแต่งงานทันทีที่รู้ว่า
ฝ่ ายชายนอกใจ ทําให้ตวั ละคร ลีโอนี ดาส (ตัวละครที่ยอ้ นอดีตมาจากสมัยของ
พระเจ้าอเล็กซานเดอร์) สงสัย เพราะในอดีตเพศชายสามารถมีภรรยาได้หลายคน
ตัวละคร มาธวี จึงอธิบายถึงเรื่ องสิ ทธิความเท่าเทียมกันของเพศชายและเพศหญิง
ว่า สตรี ในปัจจุบนั สามารถยกเลิกการแต่งงานหากไม่พึงพอใจในคู่ครองหรื อหย่า
ได้หากคู่ครองนอกใจ

สิ ทธิ สตรี ในเชิงก้าวหน้าในเรื่ องของฐานะทางเศรษฐกิจ


และสังคมที่ผหู ้ ญิงมีบทบาทในเรื่ องของเศรษฐกิจ การเงิน สามารถดูแลจัดการ
เรื่ องต่าง ๆ ได้เท่าเทียมกับเพศชาย หรื อสามารถดูแลตนเองได้โดยไม่พึงพาเพศ
ชาย โดยร่ วมรั บภาระ ไม่ถือว่าเพศชายต้องเลี้ ยงดู หรื อรั บผิดชอบเศรษฐกิ จ
เพียงฝ่ ายเดียว ดังตัวละคร จันทร์มาลา ในเรื่ องภารกิจลับกับดักใจ ที่แสดงสิ ทธิ
ในการรับผิดชอบซื้อบ้านร่ วมกัน ดังข้อความ

“ไม่ดีค่ะ ฉันจะรับเงินคุณมาฝ่ ายเดียวได้อย่างไร เมื่อซื้ อ


บ้านก็ตอ้ งซื้ อด้วยกัน ฉันจะไม่เอาเปรี ยบคุณ เมื่อคุณให้ฉันเก็บเงินออมของคุณ
ฉันจะเปิ ดบัญชี ธนาคารเป็ นชื่ อของเราสองคน ฉันจะเอาเงินจํานวนเท่ากันฝาก

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 31

ไปด้วย และฉันจะฝากเงินจํานวนเท่ากับเงินออมของคุณทุกเดือน แล้วพอเรามี


โครงการจะซื้อบ้าน ค่อยมาตกลงกันอีกทีดีไหมคะ”
(ภารกิจลับกับดักใจ, น. 461-462)

สิ ทธิ ความเสมอภาคในการดํารงชี วิตในเรื่ องถิ่นกําเนิ ด


เชื้ อ ชาติ ภาษา เพศ อายุ สถานภาพทางกายหรื อ สุ ข ภาพ และฐานะทาง
เศรษฐกิจหรื อสังคม ที่ปรากฏผ่านการแสดงพฤติกรรมของตัวละครเอกฝ่ ายหญิง
ในนวนิ ยายของณารา สะท้อนให้เห็ นว่า สังคมไทยยอมรับความเท่าเทียมกัน
ระหว่ า งชายและหญิ ง ในเรื่ อ งดัง กล่ า ว และยกย่อ งความสามารถของบุ ค คล
โดยไม่ ค าํ นึ ง ถึ ง ความแตกต่ า งทางเพศ ผูห้ ญิ ง มี สิ ท ธิ แ ละต้อ งการแสดงสิ ทธิ
ดังกล่าวทั้งยังพึ่งพาตนเอง พัฒนาศักยภาพ มีความรั บผิดชอบได้เทียบเท่ากับ
เพศชาย

2) สิ ทธิสถานภาพในสังคมและความเป็ นมนุษย์ คือ ศักดิ์ศรี


ความเป็ นมนุ ษย์ การรักในเกียรติยศ รวมถึงการแสดงสิ ทธิ สถานภาพ บทบาท
ภาวะผูน้ าํ ให้ได้รับการยอมรับจากสังคม ตัวละครเอกฝ่ ายหญิงของณารา เป็ น
ตัวละครที่สร้างขึ้นจากความเป็ นไปในสังคมตามสถานการณ์ปัจจุบนั ที่สังคมยก
ย่องและให้เกียรติศกั ดิ์ศรี ของเพศหญิง แต่ลกั ษณะเด่นที่ทาํ ให้ตวั ละครแสดงถึง
สิ ทธิ สตรี ในเชิงก้าวหน้า คือ ผูเ้ ขียนได้สร้างพฤติกรรมหรื อการแสดงออกให้ตวั
ละครสร้างหรื อแสดงศักดิ์ศรี ในเพศออกมาจากความอดทน หรื อความพยายาม
ของตน จนสังคมยอมรับและให้เกียรติจากพฤติกรรมและความคิดของตัวละคร
ดัง ตัว ละคร บุ ษ บาบรรณ ที่ แ สดงศัก ดิ์ ศรี ข องตนออกมา โดยปฏิ เ สธความ
ช่วยเหลือเรื่ องเงินจากตัวละครเอกฝ่ ายชายเพราะเคยโดนดูถูกว่า หาผูช้ ายรวยมา
แต่งงานเพื่อล้างหนี้ ทํางานอย่างหนักเพื่อใช้หนี้ให้ครอบครัว และรักษาเกียรติยศ
ศักดิ์ศรี ของตนเอง การรักษาเกียรติยศศักดิ์ศรี ของผูห้ ญิง ผูเ้ ขียนยังสร้างให้เกิด
ในตัวละคร แพรวดาว แม้ว่าตัวละครแพรวดาวจะถูกสถานการณ์ภายนอกบีบ

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 32

บังคับให้กลายเป็ นภรรยารอง แต่ตวั ละครก็ขอแสดงสิ ทธิ์ ในข้อนี้ โดยการไม่


ยินยอมมีความสัมพันธ์ทางกาย เพราะต้องการรักษาศักดิ์ศรี ของตนไว้

นอกจากการแสดงถึ ง สิ ท ธิ ส ตรี ในเชิ ง ก้า วหน้า ใน


ด้านสิ ทธิ ศกั ดิ์ศรี เกียรติยศในการใช้ชีวิตของตัวละครที่ได้กล่าวไปนั้น ตัวละคร
เอกฝ่ ายหญิงในนวนิ ยายของณารายังได้แสดงถึงสิ ทธิ สตรี ในเชิ งก้าวหน้าด้าน
การได้รับเกียรติในสังคม โดยแสดงออกซึ่งความสามารถ การมีภาวะผูน้ าํ ได้รับ
การยกย่องและยอมรับสถานภาพ ฐานะ บทบาทในการขึ้นเป็ นผูน้ าํ ในสังคม
ดัง เช่ น ตัว ละคร ภวิตรา ในเรื่ องคุ ณ แจ๋ ว อิ น เตอร์ ที่ มีความสามารถ และมี
ความโดดเด่นในการทํางาน จนได้รับการยอมรับและถูกคัดเลือกให้เป็ นผูบ้ ริ หาร
และผูร้ ับผิดชอบโครงการใหญ่ของบริ ษทั

ลัก ษณะดัง กล่ า วยัง ได้ปรากฏกับตัว ละคร รติ มา ใน


เรื่ อง ปฏิบตั ิการล่าตามหาหัวใจ ตัวละคร จันทร์มาลา ในเรื่ อง ภารกิจลับกับดัก
ใจ และตัว ละคร ปาลิ ต า ในเรื่ อ งยุท ธการล่ า จารกรรมรั ก ที่ ผูเ้ ขี ย นได้ส ร้ า ง
เรื่ องราวให้ดาํ เนินในฉากของต่างประเทศ โดยให้ตวั ละครเป็ นคนเอเชีย แต่ดว้ ย
ความสามารถของตัวละครที่แสดงถึงความตั้งใจ และอยากมีความก้าวหน้าใน
หน้าที่ หรื อมีความสามารถที่โดดเด่น และผลักดันตนเองจากการศึกษา จนได้รับ
การยอมรับจากองค์กรในต่างประเทศให้มีตาํ แหน่ งหน้าที่การงานเป็ นที่ยอมรับ
ในองค์กร

5.2 สิ ทธิทางการเมือง (Political Rights) ปรากฏ 2 ประเด็น

5.2.1 สิ ทธิ ในการมีส่วนร่ วมกับรัฐ คือ การดําเนินกิจกรรมร่ วมกับ


รั ฐอันจะก่ อให้เกิ ดประโยชน์ต่อส่ วนร่ วม ตัวละคร ปาลิตา ในเรื่ องยุทธการ
ล่าจารกรรมรัก ได้แสดงให้เห็นถึงสิ ทธิ สตรี ในเชิ งก้าวหน้า ด้วยความสามารถ
ทางปัญญาและการศึกษาในระดับปริ ญญาเอก ตามลักษณะทางสัมคมและทักษะ
พิเศษของตัวละคร

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 33

“เมื่ อ หลัง จากพวกเขาทํา การวัด ระดับ ความสามารถ และ


ความชํา นาญของเธออย่ า งละเอี ย ดแล้ว ก็ ส่ ง เธอเข้า เรี ยนมหาวิ ท ยาลั ย
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอิเล็กทรอนิ กส์ จนกระทัง่ จบปริ ญญาเอก พ่วงด้วย
วิชาโทคอมพิวเตอร์ โปรแกรมมิง ระหว่างนั้นเธอก็ได้ทาํ งานในโครงการของ
มหาวิทยาลัยหลายชิ้น พอจบ ก็ถูกส่ งมาทํางานกับทีมวิจยั ของกระทรวงกลาโหม
จุ ด มุ่ ง หมายคื อ การออกแบบและผลิ ต อาวุ ธ ที่ ก้า วลํ้า นํา สมัย เหมื อ นอย่ า ง
ในภาพยนตร์ เจมส์ บอนด์ หรื อ แม้แ ต่ วิ ว ัฒ นาการอื่ น ๆ ที่ ก ระทรวงคิ ด ว่ า
มีประโยชน์ต่อประเทศชาติ”
(ยุทธการล่าจารกรรมรัก, น. 38)

ผู เ้ ขี ย นสะท้อ นให้เ ห็ น ถึ ง สั ง คมปั จ จุ บ ัน ที่ ย อมรั บ สตรี ที่ มี


ความสามารถเข้ามามีส่วนร่ วมในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ เปิ ดโอกาส
ให้สตรี ได้แสดงความสามารถและพัฒนาศักยภาพของตนให้กา้ วหน้าจนเป็ น
ที่ยอมรับ

5.2.2 สิ ทธิในการแสดงความคิดเห็น คือ สิ ทธิเสรี ภาพในการแสดง


ความคิดเห็ นทั้งการพูด การเขียน หรื อสัญลักษณ์ ต่าง ๆ เพื่อแสดงออกทาง
การเมืองหรื อการร่ วมแสดงความคิดเห็นอันจะเป็ นประโยชน์แก่การทํางานของ
องค์กรหรื อรัฐบาล พบในตัวละคร รมิตา ในนวนิ ยายเรื่ องปฏิบตั ิการล่าตาม
หาหัวใจ ที่ตวั ละครต้องเข้าไปช่ วยเหลืองานของรัฐบาล โดยตัวละคร รติมา
ขอแสดงความคิ ด เห็ น ต่ อ การตั้ง ค่ า ยทหารของพวกค้า ยาเสพติ ด นํา ความรู ้
ในอาชี พ มาวิเ คราะห์ ปัญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ทํา ให้ห น่ ว ยงานทางทหารดํา เนิ นงาน
ตามการแสดงความคิดเห็ นของเธอ หรื อในตัวละคร จันทร์ มาลา ในนวนิ ยาย
เรื่ องภารกิ จ ลับ กับ ดัก ใจ ที่ ไ ด้แ สดงความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกับ รั ฐ บาลไทยใน
การแก้ปัญหาจากนายทุนรุ กลํ้าที่ดินทํากิน หรื อในนวนิยายที่มีเรื่ องราวดําเนินอยู่
ในยุค อดี ต ที่ เ พศหญิ ง ไม่ มี สิ ท ธิ ใ นการแสดงความคิ ด เห็ น ในการเมื อ ง หรื อ
การบริ หารประเทศ แต่ผเู ้ ขียนก็ได้แทรกลักษณะของสตรี เชิงก้าวหน้าในสังคม

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 34

ปั จจุบนั ให้แก่ตวั ละคร ได้มีสิทธิ์ แสดงความคิดเห็นทางการเมือง เช่น ตัวละคร


สตราโทนิ ช ตัวรองฝ่ ายหญิงในเรื่ องทายาทแห่ งมาซิ ดอน มีฐานะเป็ นลูกของ
กษัตริ ยต์ ่างเมื อง ถูกนําตัวมาเป็ นเชลยทางสงคราม ได้แสดงความคิดเห็ นใน
การประชุมของกลุ่มขุนนาง แม้ว่าความจริ งแล้ว สตรี ในสังคมยุคปิ ตาธิ ปไตยไม่
มีสิทธิในการเข้าร่ วมประชุมกับฝ่ ายทหาร ดังข้อความ

“หม่อมฉันขอพระราชทานอนุญาตแสดงความคิดเห็นเพคะ”
“ว่าไป”
“ในหุ บเขามักมีเส้นทางนํ้า พวกโจรจะอยูไ่ ด้ก็ตอ้ งมีน้ าํ ” นาง
กล่าวเรี ยบ ๆ ด้วยความเกรงใจ เมื่อตนเป็ นหญิง การเอ่ยขึ้นในที่ประชุ มในหมู่
ชายชาตรี ย่อ มถู ก เพ่ ง เล็ง เป็ นธรรมดา ยิ่ง เอ่ ย ขึ้ น ต่ อ หน้า พระพัก ตร์ ข ององค์
รั ช ทายาท ก็ยิ่ง เกรงพระทัย จึ ง ไม่ เ คยเอ่ ย อะไรขึ้ น มาระว่ า งนั่ง ฟั ง แต่ ต ลอด
การประชุมไม่มีใครคิดถึงเรื่ องนี้สกั คน นางจึงอดที่จะแทรกขึ้นมาไม่ได้...
... “หม่อมฉันขอประทานอภัยที่บงั อาจแทรกขึ้นระหว่าง
การประชุมเพคะ” นางกราบทูล
(ทายาทแห่ งมาซิดอน, น. 119)

การแสดงความคิดเห็ นของสตรี ในเชิ งก้าวหน้าในการทํางาน


ร่ วมกั บ องค์ ก รขนาดใหญ่ ต ้อ งเป็ นสตรี ที่ มี ค วามรู ้ ความสามารถ หรื อมี
ความเชี่ ย วชาญในสาขาอาชี พ และมี ค วามกล้า ในการแสดงความคิ ด ที่ เ ป็ น
ประโยชน์ต่อส่ วนรวม อันเป็ นลักษณะของสตรี ไทยในเชิงก้าวหน้าที่ปรากฏใน
สังคมปั จจุบนั

5.3 สิ ทธิทางสั งคม (social Rights) สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเด็น


5.3.1 สิ ทธิในครอบครัว

สิ ทธิ ในครอบครั วด้าน เกี ยรติยศ ชื่ อเสี ยง และความเป็ นอยู่


ส่ วนตัว คือ สิ ทธิ ในการได้รับความคุม้ ครองที่จะไม่เผยแพร่ ความเป็ นส่ วนตัว

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 35

อันจะมีผลกระทบต่อเกียรติยศชื่ อเสี ยง ใช้ชีวิตอย่างเป็ นอิสระ มีความสุ ขและ


ความพึงพอใจในการเลือกใช้ชีวิต ตัวละครเอกฝ่ ายหญิงในนวนิ ยายของณารา
ได้แสดงพฤติกรรมหรื อแนวคิดในการเลือกใช้ชีวิตในสังคมตามรู ปแบบดังกล่าว
ปรากฏในตัวละคร รติมา ในเรื่ องปฏิบตั ิการล่าตามหาหัวใจ ที่สะท้อนแนวคิด
ของสตรี ที่คิดว่า หากมีงานมีเงิน สามารถหาเงินเลี้ยงชี พได้ดว้ ยความสามารถ
ของตนก็มีสิทธิเลือกใช้ชีวิตได้ตามอิสระโดยไม่ตอ้ งสนใจใคร

“ฉันว่าไม่เห็นแปลก ในเมื่อฉันมีงานมีเงินมากพอที่จะจ่าย ฉันก็


เลือกในสิ่ งที่ฉนั ต้องการเท่านั้น”

(ปฏิบตั ิการล่าตามหาหัวใจ, น. 48)

เช่นเดียวกับตัวละคร มายูมิ ในเรื่ องรอยฝันตะวันเดือด ที่ได้


แสดงเจตนารมณ์เลือกใช้ชีวิตในครอบครัวบนพื้นฐานของความสงบสุ ข มากกว่า
เรื่ องธุ รกิ จ เพราะคิ ดว่า ตนเองมี ความรู ้ ความสามารถในการหาเลี้ ยงชี พ และ
การดู แ ลครอบครั ว ไม่ จ าํ เป็ นต้อ งแต่ ง งานกับ คนรํ่ า รวย แต่ ไ ม่ มี ค วามสุ ข ใน
ครอบครัว

สิ ท ธิ เ สรี ภ าพในการเลื อ กใช้ชี วิ ต อย่า งอิ ส ระของตัว ละคร


แสดงให้เห็ นแนวคิดของสตรี ไทยในเชิ งก้าวหน้าในเรื่ องของการจดทะเบียน
สมรสที่แสดงสิ ทธิในการเลือกที่จะไม่จดทะเบียนสมรสเพราะอยากใช้ชีวิตอย่าง
อิ ส ระในเรื่ อ งของการทํา งาน และความสะดวกในการใช้ชี วิตส่ ว นตัว ดังที่
ปรากฏในตัวละคร พิรญาน์ ในเรื่ องไฟรักเกมร้อน ที่ตอ้ งการอยูด่ ว้ ยกัน แต่ยงั ไม่
คิดจดทะเบียนสมรส รวมถึงสิ ทธิ ในการเลือกใช้นามสกุลของตนเองหลังจาก
การแต่งงาน เพราะถือว่าเป็ นสิ ทธิที่สตรี ควรได้รับ ดังที่ตวั ละคร วิมาลา ในเรื่ อง
บ่ ว งวิ ม าลา ยืน ยัน ที่ จ ะไม่ จ ดทะเบี ย นสมรส เพราะไม่ อ ยากให้มี เ รื่ อ งธุ ร กิ จ
มาเกี่ ยวข้องกับชี วิตครอบครัว และต้องการที่จะใช้นามสกุลของตนเองต่อไป
ถึงแม้จะมีบุตรด้วยกัน

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 36

นอกจากสิ ทธิ ในการเลือกใช้ชีวิตอย่างอิ สระแล้ว ตัวละคร


หญิ ง ในนวนิ ย ายของณารา ยัง สะท้อ นภาพของสตรี ไ ทยในเชิ ง ก้า วหน้า ใน
สิ ทธิ เสรี ภาพในการเลือกคู่ครอง และคู่ครองที่เลือกนั้นต้องอยู่บนพื้นฐานของ
ความพึงพอใจและไม่กระทบสิ ทธิ ในการเลือกใช้ชีวิตอย่างอิ สระ ปรากฏใน
ตัว ละคร มาธวี เรื่ อ งนัก รบแห่ ง มาซิ ด อน ตัว ละคร รติ ม า เรื่ อ งปฏิ บ ัติ การล่ า
ตามหาหัวใจ และตัวละคร กีรณา เรื่ องไฟฝันวันรัก ดังตัวอย่างข้อความ

  “...สมัยใหม่น้ นั เขายกเลิกวิธีคลุมถุงชนแล้ว หนุ่ มสาวเลือก


คู่ครองเองอย่างอิ สระ บ้างก็ทดลองอยู่กนั ก่ อนแต่งงาน แต่ในประเทศของข้า
ยังมีประเพณี ที่เคร่ งครัด ไม่นิยมความคิดนี้เจ้าค่ะ”
(นักรับแห่งมาซิดอน, น. 340)

“กี ร ณากัด ฟั น แน่ น พยายามจะไม่ โ ต้ต อบคํา พู ด เผ็ด ร้ อ น


ออกไป เธออายุยสี่ ิ บหกปี เท่านั้น ยังมีเวลามองหาคู่ชีวิตอีกหลายปี ไม่เห็นจะต้อง
รี บร้อน อีกอย่างผูห้ ญิงสมัยนี้ ก็แต่งงานตอนอายุสามสิ บกว่าปี ขึ้นไปทั้งนั้น และ
เธอก็เห็ นด้วยเพราะในวัยนั้นจะใช้สติสัมปชัญญะในการตัดสิ นใจเลือกคู่ครอง
มากกว่าอารมณ์”
(ไฟฝันวันรัก, น. 87-88)

และการเลือกคู่ครองนั้นผูช้ ายต้องมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับ
เธอ เพราะว่าพวกเธอเป็ นสตรี ที่มีความสามารถและมีคุณค่า มีสิทธิ เลือกคู่ครอง
ที่ ดี แ ละมี ค วามเหมาะสม แต่ ห ากหาคู่ ค รองที่ คิ ด ว่า เหมาะสมไม่ ไ ด้ การอยู่
เป็ นโสดและใช้ความสามารถหาเลี้ยงตนเองเป็ นทางเลือกที่ดีกว่าสําหรั บสตรี
ในปั จจุบนั

สิ ทธิ ในครอบครัวยังสะท้อนภาพสังคมปั จจุบนั ในเรื่ องของ


สตรี ที่ ต ้อ งการเลี้ ย งดู บุต รด้ว ยตนเอง โดยสัง คมเรี ย กว่า แม่ เ ลี้ ย งเดี่ ย ว หรื อ
Single mom ลักษณะสตรี ไทยในเชิ งก้าวหน้าดังกล่าว ผูเ้ ขียนได้สร้ างลักษณะ

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 37

ทางจิตและลักษณะทางสังคมให้ตวั ละครมีความเข้มแข็ง อดทน มีความมัน่ ใจใน


ตนเองสู ง หรื อมีบทบาทและฐานะในทางสังคมอยูใ่ นระดับดี ทําให้ตวั ละครมี
แนวคิดต้องการเลี้ ยงดู บุตรได้ดว้ ยตนเอง โดยไม่คิดพึ่งพาความช่ วยเหลือจาก
ฝ่ ายชาย เช่ น ตัวละครรติมา ในเรื่ องปฏิบตั ิการล่าตามหาหัวใจ และตัวละคร
ปาลิตา ในเรื่ องยุทธการล่าจารกรรมรัก ที่ตวั ละครมีรายได้สูง เมื่อรู ้ว่าตั้งครรภ์จึง
ไม่เรี ยกร้องให้ฝ่ายชายมารับผิดชอบ ถ้าฝ่ ายชายไม่แสดงความรับผิดชอบ และ
ในตัวละคร ติกาหรั ง เรื่ องขุมทรัพย์แห่ งมาซิ ดอน มีอาชี พเป็ นแพทย์ เมื่อรู ้ว่า
ตนเองตั้งครรภ์ก็ไม่ เรี ยกร้ องให้ฝ่ายชายมารั บผิดชอบ เพราะพิจารณาแล้วว่า
ฝ่ ายชายไม่มีความเหมาะสมและไม่สนใจในการตั้งครรภ์ของเธอ แต่ในตัวละคร
นี รา เรื่ องเงาลวง ที่ มีอาชี พไม่มนั่ คง ก็มีแนวคิดในการเลี้ ยงดู บุตรเองโดยไม่
เรี ยกร้องและปฏิเสธความช่วยเหลือจากฝ่ ายชาย ดังข้อความ

  “เส้ น ทางชี วิต ของนาราไม่ ไ ด้โ รยด้ว ยกลี บกุห ลาบอย่างที่


เคยคิด เพราะเธอไม่ได้มีโอกาสไปแข่งขันระดับนานาชาติอย่างที่ต้ งั ใจ หลังจาก
พบว่าตนเองตั้งครรภ์หลังจากคํ่าคืนนั้น อนาคตก็พงั ครื น...

...ตั้งแต่อยูใ่ นฐานะซิ งเกิลมอม เลี้ยงลูกตามลําพัง เคนไม่เคย


สร้ างปั ญหาให้เธอมาตั้งแต่แรกคลอด ไม่ เคยเจ็บไข้ได้ป่วยหนัก ๆ นอกจาก
ไข้หวัด ตัวร้อนตามประสาเด็ก โตขึ้นมาก็เข้าใจว่าแม่เหนื่อย เรี ยนไปด้วยทํางาน
ไปด้วย จึงอยู่กบั คุณตาคุณยายและน้าชายได้โดยไม่งอแง ซึ่ งทั้งสามก็สอนให้
เด็กชายรู ้หน้าที่ของตนเองเพื่อจะได้ไม่สร้างภาระให้แก่เธอ”
(เงาลวง, น. 6-17)

ถึ ง แม้ผูเ้ ขี ย นจะสะท้อนภาพของสตรี ใ นการเรี ย กร้ องและ


แสดงสิ ท ธิ ใ นเชิ ง ก้า วหน้ า ในด้า นการใช้ ชี วิ ต อย่ า งเสรี การเลื อ กคู่ ค รอง
การแต่ ง งาน หรื อสิ ท ธิ ส่ ว นบุ ค คลข้า งต้น แต่ ผู ้เ ขี ย นก็ ไ ด้นํา ลัก ษณะของ
สังคมไทยในเรื่ องของความเหมาะสมในการปฏิ บตั ิ ตวั ของสตรี การรั กนวล
สงวนตัว เพื่ อ สะท้อนภาพของผูห้ ญิ งไทย และต้องการรั ก ษาภาพลัก ษณ์ ของ

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 38

วัฒ นธรรมและสั ง คมไทย ถื อ เป็ นการแสดงสิ ท ธิ ส ตรี เ ชิ ง ก้า วหน้า ที่ อ ยู่บ น
ฐานของความถูกต้องเหมาะสมตามค่านิยมของสังคมไทย

5.3.2 สิ ทธิ ในการศึกษา การอบรม และการพัฒนาผลงาน คือ สิ ทธิ


ในการได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคกัน รวมถึงสิ ทธิ ในการเข้าศึ กษาอบรม
การเรี ยนการสอน การวิจยั ลักษณะตัวละครที่แสดงสิ ทธิสตรี ไทยในเชิงก้าวหน้า
ด้านการศึกษาที่ปรากฏในนวนิ ยายของณารา มีความโดดเด่นทางด้านการศึกษา
เพื่อพัฒนาตนเอง และยกระดับความสามารถของตน เข้าทํางานในองค์กรสําคัญ
หรื อเป็ นที่ยอมรับของสังคม ดังเช่น ตัวละคร รติมา ในเรื่ องปฏิบตั ิการล่าตามหา
หัวใจ เป็ นคนมีความมุ่งมัน่ ที่จะเข้าร่ วมองค์กรกลางของประเทศสหรัฐอเมริ กา
จึงเลือกเรี ยนมหาวิทยาลัยระดับปริ ญญาตรี ดา้ นการเมืองระหว่างประเทศ และ
ปริ ญญาโทด้ า นเศรษฐศาสตร์ จ ากมหาวิ ท ยาลั ย ซึ่ งมี ชื่ อ เสี ยงติ ด อั น ดั บ
เช่ น เดี ย วกับ ตัว ละคร พี ร ดา เรื่ อ งซ่ อ นรั ก ไว้ใ นสายสมหนาว หรื อ ตัว ละคร
ติ ก าหรั ง ในเรื่ องขุ ม ทรั พ ย์ แ ห่ ง มาซิ ด อน เป็ นตั ว ละครหญิ ง ที่ มี ค วามรู ้
ความสามารถทางด้านการแพทย์ และยังอบรมศึกษาเพิ่มเติมความรู ้ของตนอยู่
เสมอ จนทําให้ตวั ละครอื่นชื่นชมในความสามารถ ตัวละคร นีรา ในเรื่ องเงาลวง
ที่ผเู ้ ขียนนําปมปั ญหาของตัวละครในเรื่ องตั้งครรภ์ในวัยรุ่ น ทําให้ตวั ละคร นีรา
ต้อ งละทิ้ ง ความฝั น ในการเป็ นกี ฬ าไอซ์ ส เกต จึ ง ต้อ งการศึ ก ษาต่ อ ทางการ
แพทยศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสี ยง เพราะต้องการให้ครอบครัวภูมิใจ และ
สร้างความมัน่ คงในชีวิตของเธอและลูก

สิ ท ธิ ใ นด้า นนี้ ยัง สะท้อ นลัก ษณะสตรี ไทยในเชิ ง ก้า วหน้า


ในด้านสิ ทธิ ในการเลือกศึกษาตามความพึงพอใจ มีอิสระในการศึกษา กล้าคิด
กล้าตัดสิ นใจ ในการเลือกเส้นทางชีวิตของตน ดังปรากฏในตัวละคร มายูมิ เรื่ อง
รอยฝันตะวันเดือด ที่เลือกเรี ยนแพทย์แทนการเรี ยนด้านบริ หารตามที่ครอบครัว
กําหนด และตัวละคร มาธวี เรื่ องนักรบแห่งมาซิดอน แม้ครอบครัวจะไม่เห็นด้วย
กับการเลือกเรี ยนวิชาโบราณคดี แต่มาธวีก็มุ่งมัน่ ในการศึกษาตามความสนใจ

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 39

ของตน จนประสบความสําเร็ จและเป็ นที่ยอมรับของครอบครัว และนอกจาก


ความรู ้ในสายอาชี พแล้ว ลักษณะสิ ทธิ สตรี ไทยในเชิงก้าวหน้ายังพัฒนาความรู ้
ความสามารถในด้านอื่ น ๆ ด้วย ดังปรากฏในตัวละคร บุษบาบรรณ ในเรื่ อง
เล่ห์รักบุษบา และตัวละคร กีรณา ในเรื่ องไฟฝันวันรัก ที่ศึกษาและเพิม่ พูนทักษะ
ต่าง ๆ ทั้งความรู ้ใหม่ในสายอาชีพ ภาษาต่างประเทศไว้เป็ นความสามารถและ
เป็ นประโยชน์ในการต่อยอดวิชาชี พ ใช้การศึกษาเป็ นพื้นฐานความมัน่ คงของ
ชีวิตและแสดงศักยภาพให้เป็ นที่ยอมรับในสังคม

5.4 สิ ทธิทางเศรษฐกิจ (Economic Rights) แบ่งได้เป็ น 2 ประเด็น ดังนี้

5.4.1 สิ ทธิในการประกอบอาชีพ
1) สิ ทธิ ในการทํางานและการเลื อกงานอย่างอิ สระ เป็ นสิ ทธิ
ต่อเนื่ องจากสิ ทธิ ในการได้รับการศึกษา คือใช้ความรู ้ไปพัฒนาอาชีพของตนเอง
ปรากฏในตัว ละคร มายู มิ เรื่ องรอยฝั น ตะวัน เดื อ ด ตัว ละคร วิ ม าลา เรื่ อง
บ่วงวิมาลา ตัวละคร จันทร์ มาลา เรื่ องปฏิบตั ิการล่าตามหาหัวใจ ดังที่ตวั ละคร
จัน ทร์ ม าลาแสดงความสามารถในการพู ด ได้ 4 ภาษา จนได้รั บ เลื อ กให้
เข้าทํางานในหน่ วยงานสําคัญของรัฐ รวมถึงตัวละคร พศิกา ในเรื่ องทะเลไฟ
ที่จบการศึกษาในต่างประเทศ และมีประสบการณ์ในการบริ หารโรงแรม ได้รับ
ตําแหน่งเป็ นรองประธานกรรมการบริ หารบริ ษทั ซึ่ งถือว่าเป็ นตําแหน่งที่สาํ คัญ
และต้องแสดงศักยภาพในการทํางาน หรื อการตัดสิ นใจทํางานด้วยความสามารถ
ของตนเอง และตัวละคร บุษบาบรรณ ในเรื่ องเล่ห์รักบุษบา ที่ตดั สิ นใจทํางาน
ไม่ ร อความช่ ว ยเหลื อ จากใคร โดยผู เ้ ขี ย นใช้ป มปั ญ หาเรื่ องเศรษฐกิ จ ของ
ตัวละคร มาเป็ นแรงผลักดันให้ตวั ละครต้องพยายามหางานจากความสามารถ
ของตนเอง ด้ ว ยความมั่น ใจในความรู ้ ค วามสามารถจากการศึ ก ษา และ
ประสบการณ์ของตน

การทํางานของลักษณะสตรี ไทยในเชิ งก้าวหน้ายังปรากฏ


ว่า เป็ นการทํา งานเพื่ อ ตอบแทนสังคม นําความรู ้ ความสามารถมาใช้ใ ห้เป็ น

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 40

ประโยชน์ต่อส่ วนรวม ดังเช่น ตัวละคร รติมา ในเรื่ องปฏิบตั ิการล่าตามหาหัวใจ


มีความมุ่งมัน่ ในการเข้าทํางานในองค์กรเกี่ยวกับหน่ วยข่าวกรองของประเทศ
เพราะมี อุ ด มการณ์ ต ้อ งการปกป้ อ งประเทศตัว เอง หรื อ ตัว ละคร ส่ อ งหล้า
เป็ นตัวละครรองในเรื่ องปฏิบตั ิการล่าตามหาหัวใจ ที่เลือกสาขางานเพื่อต้องการ
พัฒนาสังคมในเรื่ องการศึกษา เลือกเป็ นครู ในชนบท ช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสที่
ห่ างไกลการศึ ก ษา หรื อไร้ การศึ ก ษา จึ ง สะท้อ นให้เ ห็ น ว่า ลัก ษณะสตรี ไ ทย
ในเชิ งก้าวหน้าในสังคม นอกจากจะเป็ นผูห้ ญิงที่มีความสามารถในด้านสาขา
อาชี พ ยังมี ลกั ษณะผูน้ ําที่ ตอ้ งการสร้ างประโยชน์ หรื อเลื อกแสดงพฤติกรรม
อันก่อให้เกิดประโยชน์ส่วนรวมในสังคมตามวิชาชีพที่ตนเองมีความถนัด
2) สิ ท ธิ ใ นการเลื อ กรั บ ค่ า ตอบแทนอย่ า งเหมาะสมตาม
ความสามารถ การแสดงพฤติ ก รรมในเรื่ องการทํา งานที่ มี ค วามมั่น ใจใน
ความสามารถของตน สร้างผลงานได้อย่างมีคุณภาพ และสามารถเรี ยกร้องสิ ทธิ
ในการเลื อ กรั บ ค่ า ตอบแทนจากความรู ้ ความสามารถในงานได้ ต าม
ความพึงพอใจอย่างเหมาะสม ดังเช่น ตัวละคร พีรญาน์ ในเรื่ องไฟรักเกมร้อน
ตัว ละครมี บ ทบาทเป็ นผูบ้ ริ ห ารบริ ษ ัท อัญ มณี ที่ ก าํ หนดราคาจากการทํา งาน
ของตน หรื อในสถานการณ์ของตัวละคร พีรดา เรื่ องซ่อนรักไว้ในสายลมหนาว
ได้เ ลื อ กทํา งานกั บ บริ ษัท ต่ า งชาติ ที่ ต ้อ งอาศัย ความสามารถ ทั้ง ยัง ได้ รั บ
ค่าตอบแทนที่สูงและเป็ นการสร้างชื่อเสี ยงให้เกิดในสายอาชีพของตน

5.4.2 สิ ทธิในการเป็ นเจ้าของทรัพย์สิน คือ การได้รับความคุม้ ครอง


ในทรัพย์สินของตนเอง รวมถึงสิ ทธิ ในการสื บทอดมรดก ซึ่ งสิ ทธิ ในด้านนี้ ได้
ปรากฏในสถานการณ์ ที่ อ ยู่ ภ ายใต้ก ฏหมายของการจดทะเบี ย นสมรสของ
ตั ว ละคร ปารมิ ต า ในเรื่ องโซ่ เ วรี ตั ว ละคร ปารมิ ต า มี ต ํา แหน่ ง เป็ น
กรรมการบริ หารบริ ษ ทั และเป็ นผูส้ ื บทอดธุ รกิ จ ได้ยื่น ข้อเสนอให้ตวั ละคร
ไตรทศ จดทะเบี ยนสมรสเพื่อแก้ปัญหาเรื่ องการตั้งครรภ์ของเธอ แต่ตอ้ งให้
ไตรทศ ลงชื่อยินยอมที่จะไม่มีส่วนในทรัพย์สินของเธอ ดังข้อความ

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 41

“...ก่อนจดทะเบียนสมรส ฉันต้องการให้คุณเซ็นสัญญาระบุ
ข้อตกลงระหว่างกันให้เรี ยบร้อย ทั้งหมดที่คุณจะได้รับจากฉันก็คือ เช็คเงินสด
มู ล ค่ า ห้ า ล้า นบาท ซึ่ งจะมอบให้ ห ลัง วัน จดทะเบี ย น และคุ ณ จะไม่ มี สิ ท ธิ์
ในทรัพย์สินอื่น ๆ ของฉันทั้งสิ้ น”...
... “แล้วคุณตั้งใจจะจดทะเบียนสมรสเมื่อไหร่ ”
“อีกไม่เกินสองอาทิตย์ค่ะ ฉันกําลังให้ทนายความร่ างสัญญา”
เพื่อยกทรัพย์สินให้กบั ลูกแฝด โดยมีนา้ ของเธอเป็ นผูด้ ูแลตามกฎหมายหลังจาก
ทุกอย่างเรี ยบร้ อย จึ งค่อยจดทะเบียนสมรสกับไตรทศ อย่างน้อยเธอก็จะไม่มี
ทรัพย์สินให้เขาฟ้องร้องขอแบ่งในวันที่หย่าขาดจากกัน”
(โซ่เวรี , น. 278-279)

หรื อตัวละคร ปาลิตา ในเรื่ องยุทธการล่าจารกรรมรั ก เมื่อ


ตกลงแต่งงานกับตัวละคร จาคอบ จึงเปลี่ยนสัญญาการกูซ้ ้ื อบ้านให้จาคอบเป็ น
ผูก้ ูร้ ่ วมเพื่อที่จะได้เป็ นเจ้าของบ้านร่ วมกัน ไม่ใช่ เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของใครเพียง
คนเดี ยว จากพฤติกรรมของตัวละครได้สะท้อนแนวคิดของสตรี ไทยที่มีสิทธิ์
ในการเรี ยกร้อง หรื อแสดงสิ ทธิ์ ในการเป็ นเจ้าของทรัพย์สิน โดยไม่ให้ตกอยูใ่ น
ความดูแลของฝ่ ายชายเพียงฝ่ ายเดียว

5.5 สิ ทธิทางวัฒ นธรรม (Cultural Rights) มีการแสดงออก 2 ด้าน ดังนี้


5.5.1 สิ ทธิ ทางวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถิ่น คือ เสรี ภาพในการใช้
ภาษาหรื อสื่ อความหมายในภาษาของตน ด้วยโครงเรื่ อง และฉาก ในนวนิ ยาย
ของณาราหลายเรื่ องได้ดาํ เนิ นเรื่ องราวให้ตวั ละครใช้ชีวิตในต่างประเทศ แต่
ผูเ้ ขียนก็เลื อกให้ตวั ละครใช้ภาษาถิ่นในการสื่ อสาร เช่ น ตัวละคร รติมา และ
ตัว ละคร จัน ทร์ ม าลา ทั้ง สองมี เ ชื้ อ สายไทย จึ ง เลื อ กใช้ภ าษาไทยสื่ อสารกัน
ในองค์กรที่มีผูร้ ่ วมงานเป็ นคนต่างชาติ เพราะถือว่าการสื่ อสารในเรื่ องส่ วนตัว
ย่อมมีสิทธิเลือกใช้ภาษาใดก็ได้ หากไม่ขอ้ งเกี่ยวกับบุคคลอื่น

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 42

5.5.2 สิ ทธิ เสรี ภาพในการปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมประเพณี สิ ทธิ ใน


ด้า นนี้ เป็ นสิ ท ธิ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกับ ความคิ ด ตามแบบวัฒ นธรรมไทยในเรื่ อง
ความสั ม พัน ธ์ ก่ อ นแต่ ง งาน การวางตัว ของสตรี ไ ทย และความคิ ด ในเรื่ อ ง
การรักนวลสงวนตัวตามแบบวัฒนธรรมไทย ซึ่ งจะแทรกอยูใ่ นตัวละครเอกฝ่ าย
หญิงที่ ไปใช้ชีวิตอยู่ในวัฒนธรรมต่างชาติ แต่ยงั คงแสดงให้เห็ นซึ่ งสิ ทธิ สตรี
ไทยในเชิงก้าวหน้าที่มีความคิดเป็ นของตนเอง ไม่ตามไปกับกระแสวัฒนธรรม
ต่างชาติ มี ความเชื่ อมัน่ และยึดถือตามขนบวัฒนธรรมไทย ดังเช่ น ตัวละคร
ติ กาหรั ง ในเรื่ องขุมทรั พย์แห่ งมาซิ ดอน และตัวละคร บุ ษบาบรรณ ในเรื่ อง
เล่ห์รักบุษบา ที่ปฏิเสธในการมี เพศสัมพันธ์กบั ฝ่ ายชาย โดยให้เหตุผลว่าเป็ น
วัฒนธรรมของคนไทยที่ผหู ้ ญิงต้องปกป้องและรักษาศักดิ์ศรี ของตน ดังข้อความ

“คุณไม่เข้าใจ ฉันรู ้วา่ คุณเป็ นชาวตะวันตก เห็นเรื่ องนี้เป็ น


เรื่ องธรรมดา แต่ฉนั ...เป็ นคนไทย เรามีวฒั นธรรมแตกต่างกัน ฉันขอโทษ ฉัน
ตามใจคุณไม่ได้”
(ขุมทรัพย์แห่ งมาซิดอน, น. 101)

“มันไม่เห็นแปลกสักนิ ด เมื่อชายหญิงที่พึงพอใจกันจะหลับ
นอนกัน ผมเจอเยอะแยะที่ตามกลับบ้านหลังจากดื่มกันไปแค่ไม่กี่แก้ว อย่างเราก็
รู ้จกั กันมาพอสมควรแล้วด้วยซํ้า”
“สํา หรั บ คุ ณ อาจไม่ แ ปลก แต่ สํา หรั บ ฉั น มัน เป็ นเรื่ อ งที่
ไม่สมควรอย่างยิง่ พ่อกับแม่ของฉันท่านอบรมสั่งสอนเสมอว่าวันที่มีค่าที่สุดคือ
คืนวันแต่งงาน เมื่อชายหญิ งเพาะบ่มความรั กจนสุ กงอมและเก็บเกี่ ยวผลแห่ ง
ความรักในคืนแห่งความทรงจําของทั้งคู่ไปตลอดชีวิต”
“ว้าว...” ฟั ลคอนอึ้ง ไม่คิดว่าหญิงสาวอายุมากขนาดนี้ ยงั เชื่อ
นิ ทานหลอกเด็กอีก หญิงสาวชาวตะวันตกไม่มีใครเห็นคุณค่าของความบริ สุทธิ์
กันแล้ว และปั จจุบนั ทั้งชายและหญิงมีอิสรภาพเท่าเทียมกัน สามารถเลือกคบ

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 43

หรื อมีเพศสัมพันธ์กนั ได้อย่างเสรี ดังนั้นสิ งที่ได้ยินจากหญิงสาวที่นั่งร่ วมโต๊ะ


จึงฟังดูคล้ายล้าหลังเต็มที...”
(เล่ห์รักบุษบา, น. 253-254)

จากตัวอย่างตามสถานการณ์ที่เกิดกับตัวละคร แม้ว่าตัวละคร
เอกฝ่ ายหญิงจะมีความเป็ นผูห้ ญิงสมัยใหม่ที่มีความมัน่ ใจในตนเอง อยูใ่ นบริ บท
ทางวั ฒ นธรรมตะวั น ตกที่ มี ค วามแตกต่ า งทางความคิ ด แตกต่ า งทาง
การแสดงออกทางวัฒนธรรม แต่ตวั ละครก็แสดงให้เห็นถึงลักษณะสิ ทธิสตรี ไทย
ในเชิงก้าวหน้าในการยึดมัน่ แนวคิดและแสดงสิ ทธิตามวิถีของวัฒนธรรมไทย

6. สรุปและอภิปรายผล

การศึกษาตัวละครเอกฝ่ ายหญิงในนวนิ ยายของณารา มีวตั ถุประสงค์


เพื่ อ ศึ ก ษาสิ ท ธิ ส ตรี ไ ทยในเชิ ง ก้า วหน้า ที่ ป รากฏในนวนิ ย ายไทย 5 ด้า น คื อ
สิ ท ธิ พ ลเมื อ ง สิ ท ธิ ท างการเมื อ ง สิ ท ธิ ท างสัง คม สิ ท ธิ ท างเศรษฐกิ จ และ
สิ ทธิ ท างวัฒ นธรรม โดยศึ ก ษาการสร้ า งตั ว ละครที่ มี ผ ลต่ อ พฤติ ก รรม
การแสดงออกและแนวคิดของตัวละครเอกฝ่ ายหญิ ง จากนวนิ ยายของณารา
จํานวน 19 เรื่ อง พบว่า ตัวละครแสดงลักษณะและพฤติกรรมการแสดงออกซึ่ ง
สิ ท ธิ ส ตรี ตามแนวคิ ด สตรี นิ ย มในยุค First wave feminism ซึ่ ง เป็ นการต่ อ สู ้
เพื่อให้ได้รับสิ ทธิ ดังนี้ กฎหมายและการแต่งงานแบบใหม่ท่ีให้ผูห้ ญิ งมี สิทธิ์
ขอหย่าและมีสิทธิ ในการดูแลลูก มีสิทธิ ในการเป็ นเจ้าของทรัพย์สิน มีสิทธิ ใน
การทํางาน และมีสิทธิ ในการศึกษาเท่าเทียมกัน และ Second wave feminism ที่
นําผูห้ ญิงเข้ามาสู่ สิทธิ และเสรี ภาพที่เท่าเทียมกันในการใช้ชีวิต (อรทัย เพียยุระ,
2561) โดยเฉพาะสิ ทธิ ทางสังคมและสิ ทธิพลเมือง มีการสร้างตัวละครให้พฒั นา
องค์ประกอบพื้นฐานตามลัก ษณะการดํา เนิ น ชี วิ ต แสดงสิ ทธิ เ ชิ งก้า วหน้า มี
ความพยายามพัฒนาศักยภาพของตนเองในด้านการศึกษา โดยนําความรู ้ ที่ได้
จากการศึกษาสร้างความโดดเด่นทางด้านสายงานเพื่อต้องการให้สังคมยอมรับ
สร้างความเสมอภาคในสังคมหรื อองค์กรต่าง ๆ ในการก้าวขึ้นสู่ บทบาท สถานะ

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 44

ผูน้ าํ ในสังคม ต้องการแสดงศักยภาพผ่านผลงานและความสามารถของตนเอง


หรื อเป็ นสตรี ที่มีแนวคิดในสิ ทธิ ทางครอบครั วต้องการใช้ชีวิตอย่างเสรี เลือก
และกําหนดรู ปแบบการดําเนิ นชี วิตของตนเองโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานความพึง
พอใจ มี แ นวคิ ดในการใช้ชีวิตตามรู ปแบบสมัยใหม่ คื อ สามารถพึงพาดู แล
ตนเองด้วยความสามารถที่มี ทั้งในเรื่ องของการเลือกคู่ครอง การแต่งงาน หรื อ
การดูแลบุตร มีความมุ่งมัน่ และมีความมัน่ ใจ แต่ในขณะเดียวกันก็แสดงออกซึ่ง
สิ ทธิ ตามสังคมไทยในการยึดถือวัฒนธรรมอันดีงามหรื อวางตัวให้เหมาะสมตาม
บริ บทของสั ง คม ซึ่ งพิ จ ารณาได้ว่ า เป็ นภาพสะท้อ นของสภาพการณ์ ใ น
สั ง คมไทย ที่ ส ตรี ต ้อ งการก้า วหน้า มุ่ ง มั่น เพื่ อ ยกฐานะ บทบาท สถานภาพ
ขึ้นเป็ นผูน้ าํ ในสังคม และต้องการแสดงศักยภาพตนเองผ่านรู ปแบบชี วิตและ
ผลงานจากความสามารถ

สิ ทธิ สตรี ไทยในเชิงก้าวหน้าที่ปรากฏในนวนิยายของณารา ได้สะท้อน


ภาพสตรี ไทยในสังคมปั จจุบนั ที่แสดงออก เรี ยกร้องซึ่งสิ ทธิ พ้ืนฐานตามแนวคิด
สตรี นิ ย มในการดํา รงชี วิ ต อย่ า งเท่ า เที ย มและเสมอภาค และแสดงออกใน
เชิงก้าวหน้าด้วยการพัฒนาตนเอง เพิ่มศักยภาพให้ตนเองมีคุณค่า ผ่านการศึกษา
และการทํางานอันจะสร้ างประโยชน์แก่ ส่วนรวม สอดคล้องกับงานวิจยั ของ
ศรี จัน ทร์ พัน ธุ์ พ านิ ช เรื่ องการวิ เ คราะห์ ต ัว ละครผู ้ห ญิ ง ในนวนิ ย ายของ
ว.วิ นิ จ ฉั ย กุ ล และ เสาวลัก ษณ์ พลรั ฐ ธนาสิ ท ธิ์ เรื่ อง บุ ค ลิ ก ลัก ษณะของ
ตัวละครหญิ ง บทบาท สถานภาพ และทัศนะของผูเ้ ขี ยนนวนิ ยาย ที่ ปรากฏ
ในนวนิ ยายของนํ้าอบ การวิเคราะห์ตวั ละครเอกฝ่ ายหญิงได้สะท้อนภาพและ
แนวโน้ ม สตรี ไทยในสั ง คมว่ า มี ภ าวะความเป็ นผู ้นํา ทั้ง เรื่ องชี วิ ต ส่ ว นตัว
การทํางาน และบทบาทฐานะในสังคมต่าง ๆ มีความมัน่ ใจในตนเอง เป็ นสตรี ที่
มีแนวคิดในการใช้ชีวิตอย่างอิสระลดการพึ่งพาผูอ้ ื่น สามารถดูแลตนเองและคน
รอบข้างได้ให้อยู่บนพื้นฐานของสิ ทธิ ต่าง ๆ อย่างสมบูรณ์ และอยู่บนพื้นฐาน
ของความถูกต้องเหมาะสมของสังคมและวัฒนธรรมไทย

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562


Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU | 45

เอกสารอ้างอิง
ชัชริ นทร์ ไชยวัฒน์. (2546). ระวังผู้หญิง. กรุ งเทพฯ: พิมพ์คาํ .
บุญยงค์ เกศเทศ. (2536). แลลอดวรรณกรรมไทย. กรุ งเทพฯ: โอ.เอส.พริ้ นติ้ง.
เฮ้าส์.
ปรานี วงษ์เทศ. (2544). เพศและวัฒนธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุ งเทพฯ: เรื อน
แก้วการพิมพ์.
เปลื้ อ ง ณ นคร. (2514). การประพั น ธ์ และหนั ง สื อ พิ มพ์ . (พิ ม พ์ค รั้ งที่ 4).
พระนครศรี อยุธยา: ไทยวัฒนาพาณิ ช.
ภัส สร ลิ ม านนท์ . (2543). บทบาทเพศ สถานภาพสตรี กั บ การพั ฒนา.
(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุ งเทพฯ: วิทยาลัยประชากรศาสตร์.
รื่ นฤทัย สัจจพันธ์. (2523). วรรณกรรมปั จจุบัน. กรุ งเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทย
และภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
สมชาย กษิ ติ ป ระดิ ษ ฐ์ . (2546). สิ ทธิ ม นุ ษ ยชน. กรุ งเทพฯ: สํ า นั ก พิ ม พ์
มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
เสาวลักษณ์ พลรั ฐธนาสิ ทธิ์ . (2554, กรกฎาคม 8). แนวคิ ดเกี่ยวกับผู้หญิ งใน
นวนิ ยาย “นํ้า อบ”: การศึ ก ษาเชิ ง วิ เ คราะห์ . สื บ ค้น จากhttp://www.
Thaied research.org/thaied/index
ศรี จ ัน ทร์ พัน ธุ์ พ านิ ช. (2550). การวิ เคราะห์ ตัวละครผู้ห ญิ งใ นนวนิ ยายของ
ว.วิ นิ จฉั ยกุ ล . ปริ ญ ญานิ พ นธ์ ม หาบัณ ฑิ ต ภาษาไทย มหาวิ ท ยาลัย
ศรี นคริ นทรวิโรฒ.
หทัยวรรณ ไชยะกุล. (2544). วรรณกรรมศึกษา. เชียงใหม่: โรงพิมพ์มิ่งเมือง.
อรทัย เพียยุระ. (2561). วรรณกรรมกับเพศภาวะ. (พิมพ์ครั้ งที่ 2). ขอนแก่ น:
ขอนแก่นการพิมพ์.
Martha, F. L. (1980). Rural women: Unequal partners in development. Genève:
International Lobour Organization.

วารสารมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562

You might also like