Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 45

กำหนดกำรฝึกอบรม

• กำรจัดกำรกำรใช้ไฟฟ้ำ (Electrical Used Management)


• เทคนิคกำรประหยัดพลังงำนในห้องเย็น
• หลักกำรเบื้องต้นของกำรอบแห้ง

1
กำรจัดกำรกำรใช้ไฟฟ้ำ (Electrical Used Management)

• โครงสร้างค่าไฟฟ้า (Electrical Tariff)


• ตัวประกอบการใช้ไฟฟ้า (Load Factor : LF)
• การลดค่าไฟฟ้าเฉลี่ย
• ตัวประกอบกาลังไฟฟ้า
• หม้อแปลงไฟฟ้า

2
พื้นฐำนกำรใช้งำนพลังงำนไฟฟ้ำ : คำศัพท์ทำงพลังงำนที่ควรทรำบ
• กำลังไฟฟ้ำ คือ ความต้องการไฟฟ้าที่อุปกรณ์หรือเครื่องจักรใช้ในการทางาน มีหน่วย
เป็น วัตต์ (Watt ; W)
• พลังงำนไฟฟ้ำ คือ พลังงานไฟฟ้าที่อุปกรณ์หรือเครื่องจักรใช้ในการทางานระยะเวลา
หนึ่ง มีหน่วยเป็น กิโลวัตต์ชั่วโมง (kWh) หรือเรียกว่า หน่วย หรือ ยูนิต (Unit) หาได้จาก

กำลังไฟฟ้ำ (วัตต์)  เวลำ (ชั่วโมง)


1,000

3
ตัวอย่ำง เช่น.............
มอเตอร์ ขนำด 2,200 วัตต์ เปิดใช้งำน 30 นำที

พลังงำนไฟฟ้ำ
= (2,200/1,000 kW) x 0.5 ชั่วโมง
= 1.1 kWh (หน่วย)

4
ตัวอย่ำง กำรคำนวณหน่วยไฟฟ้ำ

5
ประเภทอัตรำค่ำไฟฟ้ำทั่วไป : แบ่งออกเป็น 3 แบบ

1. อัตรำปกติ
2. อัตรำค่ำไฟฟ้ำตำมช่วงเวลำของวัน (Time of Day Rate : TOD)
3. อัตรำตำมช่วงเวลำของกำรใช้ TOU (Time of Use Rate : TOU)
- On Peak : 09.00 – 22.00 น. (จ. – ศ.)
- Off Peak : 22.00 – 09.00 น. (จ. – ศ.)
- Holiday : ส. – อำ. และวันหยุดรำชกำร (ทั้งวัน)

6
กำรแบ่งประเภทผู้ใช้ไฟฟ้ำ
ประเภทที่ 1 บ้ำนที่อยู่อำศัย ประเภทที่ 5 กิจกำรเฉพำะอย่ำง
ประเภทที่ 2 กิจกำรขนำดเล็ก ประเภทที่ 6 ส่วนรำชกำร
ประเภทที่ 3 กิจกำรขนำดกลำง ประเภทที่ 7 สูบน้ำเพื่อกำรเกษตร
ประเภทที่ 4 กิจกำรขนำดใหญ่
250,000 ปริมำณกำรใช้
ลักษณะผู้ใช้ไฟฟ้ำ
ประเภทที่ 1. พลังงำนไฟฟ้ำ
บ้ำนที่อยู่อำศัย
ประเภทที่ 6. (หน่วย/เดือน)
ส่วนรำชกำร ประเภทที่ 4.
ธุรกิจ อุตสำหกรรม ประเภทที่ 3.
ประเภทที่ 2.
กิจกำรเฉพำะอย่ำง ประเภทที่ 5.
สูบน้ำเพื่อกำรเกษตร ประเภทที่ 7. ควำมต้องกำร
0 30 1,000 กำลังไฟฟ้ำสูงสุด7 (kW)
ส่วนประกอบของบิลค่ำไฟฟ้ำ : บ้ำนที่อยู่อำศัย
1. ค่ำพลังงำนไฟฟ้ำ (Energy Charge)
2. ค่ำบริกำร (Service Charge)
3. ค่ำตัวประกอบกำรปรับอัตรำค่ำไฟฟ้ำอัตโนมัติ (FT)
4. ค่ำภำษีมูลค่ำเพิ่ม (VAT)

8
ตัวอย่ำงบิลค่ำไฟฟ้ำ

330.39
55.13
385.52
26.99 9
412.49
1. ค่ำพลังงำนไฟฟ้ำ (Energy Charge)
คือ ผลคูณระหว่ำงค่ำพลังไฟฟ้ำ (kW) กับเวลำ (h)
มีหน่วยเป็น kWh หรือ ยูนิต

10
1. ค่ำพลังงำนไฟฟ้ำ
(Energy Charge)

kWh

330.39
55.13
385.52
26.99 11
412.49
2. ค่ำบริกำร (Service Charge)
คือ ค่ำใช้จ่ำยที่กำรไฟฟ้ำคิดจำกกำรให้บริกำรให้กับผู้ใช้ไฟฟ้ำ
เช่น กำรจดมิเตอร์ กำรออกใบแจ้งหนี้ เป็นต้น

12
3. ค่ำบริกำร (Service Charge)

ค่ำบริกำร

13
3. ค่ำตัวประกอบกำรปรับอัตรำค่ำไฟฟ้ำอัตโนมัติ (FT)
คือ ค่ำไฟฟ้ำที่ปรับเปลี่ยนตำมต้นทุนกำรผลิต ระบบขนส่ง
และระบบจำหน่ำย ซึ่งเป็นปัจจัยที่อยู่นอกเหนือกำรควบคุม
ของกำรไฟฟ้ำ โดยจะปรับทุกๆ 4 เดือน

14
3. ค่ำตัวประกอบกำร
ปรับอัตรำค่ำไฟฟ้ำ
อัตโนมัติ (FT)
Ft

ค่ำ FT 330.39
55.13
385.52
26.99
15
412.49
4. ค่ำภำษีมูลค่ำเพิม่ (VAT)

คือ ค่ำภำษีมูลค่ำเพิ่มอัตรำร้อยละ 7 โดยคิดจำกยอดรวม


ของค่ำไฟฟ้ำฐำน + ค่ำ FT + ค่ำบริกำร

16
4. ค่ำภำษีมูลค่ำเพิม่ (VAT)

330.39
Vat 55.13
385.52
26.99
412.49
17
ส่วนประกอบค่ำไฟฟ้ำ
พลังงำนไฟฟ้ำ

ค่ำไฟฟ้ำไม่รวม Ft
ค่ำ Ft
ค่ำไฟฟ้ำ + Ft
ค่ำบริกำร
ค่ำไฟฟ้ำรวม
ภำษีมูลค่ำเพิ่ม VAT
เงินที่ต้องชำระ
18
ลองมำดู
บิลค่ำไฟฟ้ำ ตำมบ้ำนกัน!!!!

19
20
ตัวอย่ำง
บิลค่ำไฟฟ้ำ
ตำมบ้ำน 330.39
55.13
385.52
26.99
412.49 21
การคานวณ : บ้านนายรักไทย ใช้ไฟไป 97 หน่วย
ส่วนที่ 1 ค่ำไฟฟ้ำฐำน
ช่วง 1 - 15 หน่วย = 15 x 2.3488 = 35.23 บำท
ช่วง 16 - 25 หน่วย = 10 x 2.9882 = 29.88 บำท
ช่วง 26 - 35 หน่วย = 10 x 3.2405 = 32.41 บำท
ช่วง 36 - 97 หน่วย = 62 x 3.6237 = 224.67 บำท
รวมค่ำไฟฟ้ำฐำน = 322.19 บำท
ค่ำบริกำร = 8.19 บำท
รวมค่ำไฟฟ้ำฐำน+ค่ำบริกำร = 330.39 บำท

ส่วนที่ 2 ค่ำ FT
จำนวนพลังงำนไฟฟ้ำ x ค่ำ Ft = 97 x 0.5683 = 55.13 บำท
ส่วนที่ 3 ค่ำภำษีมูลค่ำเพิ่ม 7 %
(ค่ำไฟฟ้ำฐำน + ค่ำ Ft) x 7/100 = (330.39 + 55.13) x 7/100 = 26.99 บำท
รวมเงินค่ำไฟฟ้ำ = 330.39 + 55.13 + 26.99 = 412.49 บำท 22
ขอบคุณครับ

23
การประหยัดพลังงานในระบบทาความเย็น

24
การลดพลังงานในระบบทาความเย็นสามารถทาได้โดย

25
ปัจจัยที่ทำให้ ประสิ ทธิภำพของระบบทำควำมเย็น

26
มาตรการประหยัดพลังงานในระบบทาความเย็น

27
มาตรการประหยัดพลังงานในระบบทาความเย็น

28
มาตรการประหยัดพลังงานในระบบทาความเย็น
• ติดตั้งฉนวนที่ผนังและหลังคาห้องเย็นเพื่อลดภาระทาความเย็น
• เพิ่มประสิทธิภาพการระบายความร้อนของคอมเพรสเซอร์
• ปรับเวลาการเปิด-ปิด ห้องเย็น (ลดการใช้งานห้องเย็น)
• ทาความสะอาดคอยล์ร้อนและคอยล์เย็น

29
ขอบคุณครับ

30
พฤติกรรมการอบแห้ง
กำรอบแห้ง (Drying) คือ การเอาน้าออกจากวัสดุที่ต้องการทาให้ปริมาณน้าในวัสดุน้นั ลดลง
(ความชื้นลดลง) โดยส่วนใหญ่วัสดุน้นั จะอยู่ในสถานะของแข็ง น้าที่ระเหยออกจากวัสดุน้นั อาจจะ
ไม่ต้องระเหยที่จุดเดือดแต่ใช้อากาศพัดผ่านวัสดุนั้นเพื่อดึงน้าออกมา

วัสดุจะแห้งได้มาก-น้อยจะขึ้นอยู่กับธรรมชาติของมันด้วย ในการอบ เมื่อทาให้ของเหลวใน


วัตถุดิบระเหยเป็นไอ จะได้ผลิตภัณฑ์ของแข็งที่มีสัดส่วนของของเหลวต่าลง

31
อัตราความชื้น
• แสดงปริมาณน้าที่มีอยู่ในวัตถุดิบ จะสามารถแสดงได้ด้วยปริมาณน้าต่อปริมาณมวลรวมเปียก
(ค่า wet base) หรือปริมาณน้าต่อปริมาณวัตถุดิบแห้ง (ค่า dry base)

• ในการคานวณทางอุตสาหกรรม จะใช้ปริมาณน้าต่อปริมาณวัตถุดิบแห้ง หรือ ควำมชื้น


มำตรฐำนแห้ง เนื่องจากมวลแห้งนี้มีค่าคงที่ตลอดการอบ จึงมีความสะดวกมากกว่า

32
อัตราเร็ วในการอบแห้ง
กลไกการอบสามารถแบ่งได้เป็น 3 ระยะที่มีลักษณะแตกต่างกัน ได้แก่
1. ช่วงอุ่นวัตถุดิบ
2. ช่วงอบด้วยอัตราเร็วคงที่
3. ช่วงอบด้วยอัตราเร็วลดลง

33
อัตราเร็ วในการอบแห้ง
1. ช่วงอุ่นวัตถุดิบ
• เป็นช่วงที่อุณหภูมิของวัตถุดิบจะค่อยๆ เพิ่มขึ้นจาก
อุณหภูมิตั้งต้น (อุณหภูมิห้อง) จนถึงอุณหภูมิสมดุล
ที่ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขการอบ

• ในกรณีที่วัตถุดิบได้รับความร้อนด้วยการพาความ
ร้อนโดยลมร้อน อุณหภูมิสมดุลนี้จะมีค่าเท่ากับ
อุณหภูมิกระเปาะแห้งของลมร้อนนั้น

34
อัตราเร็ วในการอบแห้ง
2. ช่วงอบด้วยอัตรำเร็วคงที่
• ในช่วงนี้ผลิตภัณฑ์จะมีอุณหภูมิคงที่ ปริมาณความ
ร้อนทั้งหมดที่ได้รับจะถูกใช้ไปในการระเหยความชื้น
เท่านั้น
• ชั้นของการระเหยจะเกิดที่ผิวหน้าของวัตถุดิบโดย
อัตราเร็วในการอบจะมีค่าคงที่ ซึ่งจะดาเนินไป
ตราบเท่าที่มีความชื้นอิสระให้ระเหยอยู่ที่ผิวหน้า
ของวัตถุดิบ
• อัตราความชื้นของวัตถุดิบจะลดลงด้วยอัตราเร็ว
คงที่
35
อัตราเร็ วในการอบแห้ง
3. ช่วงอบด้วยอัตรำเร็วลดลง
• ชั้นของการระเหยจะค่อยๆ เลื่อนลงลึกเข้าไปในเนื้อ
วัตถุดิบ อุณหภูมิของวัตถุดิบจะเริ่มเข้าใกล้อุณหภูมิ
ของลมร้อนจากบริเวณพื้นผิว ในการอบความร้อน
จะต้องเข้าไปถึงภายในเนื้อวัตถุดิบ
• นอกจากนี้ความร้อนส่วนหนึ่งยังต้องใช้ไปในการให้
ความร้อนตัววัตถุดิบเองอีกด้วย อัตราเร็วในการอบ
จึงค่อยๆ ลดลงตามเวลาที่ผ่านไป

36
ปัจจัยที่มีผลต่อการอบแห้ง
• ลักษณะธรรมชำติของวัสดุ เช่น วัสดุที่มีโครงสร้างเป็นรูพรุน โมเลกุลน้าในวัตถุจะสามารถ
เคลื่อนที่ออกมาได้ง่าย ทาให้สามารถอบแห้งได้เร็วขึ้น

• ขนำดและรูปร่ำงของวัสดุ วัสดุที่มีขนาดและรูปร่างที่ทาให้อัตราส่วนของพื้นที่ตอ่ ปริมาตร


มาก จะทาให้ประสิทธิภาพในการส่งผ่านความร้อนให้ทั่วชิ้นวัสดุดีขึ้น อัตราการอบแห้งจึงเร็ว
ขึ้น

• ปริมำณและกำรจัดเรียง การนาวัสดุมาจัดเรียงซ้อนกันหลาย ๆ ชั้นในถาด จะทาให้วัสดุที่อยู่


ตรงกลางได้รับความร้อนไม่ทั่วถึง ทาให้บริเวณนั้นมีอัตราการอบแห้งค่อนข้างช้า
37
ปัจจัยที่มีผลต่อการอบแห้ง
• อุณหภูมิของอำกำศร้อน เมื่ออุณหภูมิของอากาศร้อนสูงขึ้น อัตราการอบแห้งจะเร็วขึ้น แต่
จาเป็นต้องคานึงถึงความเหมาะสมกับวัสดุที่ใช้ในการอบแห้งด้วย

• ควำมชื้นของอำกำศร้อน หากความชื้นของอากาศร้อนมีค่ามาก จะทาให้การระเหยของน้า


เป็นไปได้ยาก ส่งผลให้อัตราการอบแห้งช้าลง

• ควำมดันของบรรยำกำศ ปกติแล้วการอบแห้งโดยทั่วไปจะทาที่ความดันหนึ่งบรรยากาศ
หากมีการลดความดันของบรรยากาศลง จะทาให้อัตราการอบแห้งเพิ่มขึ้น เนื่องจากจุดเดือด
ของน้าจะลดลง
38
ปัจจัยที่มีผลต่อการอบแห้ง
• ควำมเร็วของลมร้อน ถ้าความเร็วของลมร้อนมีค่ามาก จะทาให้การระเหยของน้าทีผ่ ิวหน้า
วัสดุดีขึ้น ทาให้อัตราการอบแห้งเพิ่มขึ้น

• คุณสมบัติเชิงควำมร้อนและฟิสิกส์ของวัสดุ คุณสมบัติเชิงความร้อนได้แก่ ความร้อน


จาเพาะ สภาพการนาความร้อน และการแพร่ความร้อน ส่วนคุณสมบัติเชิงฟิสิกส์ได้แก่
ความหนาแน่นจริง ความหนาแน่นปรากฎ และสัดส่วนช่องว่างของอากาศในกองวัสดุเป็นต้น

39
เครื่ องอบแห้งผลไม้

40
มาตรการประหยัดพลังงานเครื่ องอบแห้ง
• ไล่น้าออกจากวัสดุก่อนทาการอบแห้ง เช่น ใช้เครื่องกรอง, เครื่องสลัดเหวี่ยงความเร็วสูง
เป็นต้น
• ป้องกันการสูญเสียความร้อนจากเครื่องอบแห้ง เช่น
- ติดตั้งฉนวนความร้อน
- ป้องกันการรั่วของอากาศร้อน โดยเฉพาะที่บริเวณข้อต่อต่าง ๆ
- ปรับสมดุลความดันภายในและภายนอกเครื่องอบแห้ง

41
มาตรการประหยัดพลังงานเครื่ องอบแห้ง
• ประหยัดพลังงานโดยการหมุนเวียนอากาศร้อนชื้นบางส่วน
กรณีไม่มีอำกำศหมุนเวียน
อำกำศภำยนอก ระบบ ลมร้อน อำกำศร้อนชื้น
ห้องอบแห้ง
T1 อุ่นอำกำศ T2 T3

กรณีมีอำกำศหมุนเวียน
อำกำศภำยนอก ระบบ ลมร้อน อำกำศร้อนชื้น
ห้องอบแห้ง
T0 T1 อุ่นอำกำศ T2 T3

42
มาตรการประหยัดพลังงานเครื่ องอบแห้ง
• การเก็บกลับความร้อนจากผลิตภัณฑ์อบแห้งร้อน
ใช้ได้ดีกับกรณีของเครื่องอบแห้งแบบสวนทางระหว่างผลิตภัณฑ์และลมร้อน โดยการนา
ผลิตภัณฑ์อบแห้งที่มีอุณหภูมิสูงมาใช้ในการอุ่นอากาศที่ใช้ในการอบ

• ประปรุงลักษณะการกระจายตัวของลมร้อนในเครือ่ งอบแห้ง
เช่น ในกรณีที่ที่เครื่องอบแห้งมีความยาวของห้องอบแห้งมาก ๆ ควรเปลี่ยนลักษณะการ
ไหลของลมร้อนให้เป็นแบบไหลตัดจากผนังด้านข้างหนึ่ง ไปยังอีกข้างหนึ่ง
43
มาตรการประหยัดพลังงานเครื่ องอบแห้ง
• การอบแห้งแบบสองขั้นตอน
บางครั้งเราสามารถประหยัดพลังงานได้โดยใช้เครื่องอบแห้ง 2 ตัว โดยอบให้มีความชื้น
สูงกว่าที่ต้องการในเครือ่ งตัวแรก และนาไปอบให้ได้ค่าความชื้นตามที่ต้องการในเครือ่ ง
ตัวที่สอง
• ใช้หัวเผาประสิทธิภาพสูง เช่น เซรามิกส์เบิร์นเนอร์
• ใช้การอบแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
• ปรับแต่งช่องระบายอากาศให้มีความเหมาะสม
44
ขอบคุณครับ

45

You might also like